SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
Download to read offline
สาระสาคัญ
“การปรับปรุงโครงสร้าง ระบบและกลไกของ
หน่วยงานทุกระดับ”
แผนและขั้นตอนการดาเนินการปฏิรูปประเทศด้าน
การศึกษา
ตามร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
 ความเป็นมา
โลกก้าวสู่สังคมเศรษฐกิจความรู้ การศึกษานับเป็นเครื่องมือพัฒนา
ทรัพยากรมนุษย์ให้มีศักยภาพทันต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีในยุค
ศตวรรษที่ 21
จากกระแสการเปลี่ยนแปลงสังคมโลก และการก้าวสู่ประชาคม
อาเซียน ในขณะที่ประเทศประสบวิกฤติการศึกษา โดยมีประชากรวัยเรียน
เกือบ 1 ล้านคน ไม่อยู่ในระดับการศึกษามากกว่า 4 ล้านคน เรียนรู้แบบ
ไร้ความสามารถ เสมือน “เด็กลอยล่อง” มีแนวโน้มออกกลางคันสูง ในขณะ
ที่คุณภาพและอันดับการแข่งขันของประเทศตกต่า ระบบบริหารจัดการ
อ่อนแอและใช้งบประมาณการศึกษาที่สูงมาก จนได้รับการวิพากษ์วิจารณ์
สถานการณ์การศึกษาไทย เป็น “Thai Lost Decade : ศตวรรษที่สูญหาย
.. การศึกษาไทยที่ล้มเหลว”
กระทรวงศึกษาธิการ ได้สรุปปัญหาอุปสรรคในการบริหารราชการ
ส่งมอบบริการการศึกษาสู่ชุมชนสาธารณะ (กพร.สป.) โดยสรุป
(1) การบริหารงานแบบแยกส่วน ขาดการบูรณาการ
(2) ไม่มี CEO อย่างแท้จริง
(3) เขตพื้ นที่การศึกษ าไม่ได้เป็นเขตพื้ นที่การศึกษาของ
กระทรวงการคลัง
(4) การบริหารงานบุคคลในระดับเขตพื้นที่การศึกษามีการ
แทรกแซงทางการเมือง มีปัญหาเรื่องความ เป็นธรรมและความ
โปร่งใส
(5) กรมวิชาการถูกยุบเป็นระดับสานัก ทั้งที่มีความสาคัญใน
ระดับชาติ มีภารกิจและปริมาณงานมาก
(6) สานักงาน กศน. สานักงาน ก.ค.ศ. และ สช. อยู่ผิดที่
ด้วยเหตุผลดังกล่าว สภานิติบัญญัติแห่งชาติ โดยคณะกรรมาธิการ
การศึกษาและการกีฬา จึงจัดทา
ข้อเสนอและแผนการดาเนินการปรับโครงสร้างบริหารราชการ
กระทรวงศึกษาธิการที่สอดรับการปฏิรูปการศึกษา ที่ยึดจังหวัดเป็นฐาน
(จังหวัดการศึกษา) รองรับการพัฒนากาลังคน ภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ 20
ปี (พ.ศ.2560-2579) เพื่อการบรรลุวิสัยทัศน์ประเทศสู่.. สังคมมั่นคง- มั่ง
คั่ง-ยั่งยืน
 วัตถุประสงค์
เพื่อเสริมสร้างประสิทธิภาพการบริหารจัดการของหน่วยงานทุกระดับ
ให้เป็น “องค์กรสมรรถนะสูง” (HPO) มีศักยภาพส่งมอบบริการการศึกษาที่
มีคุณภาพมาตรฐานตามจุดมุ่งหมายของการศึกษาและเป้าหมายของการ
ปฏิรูปประเทศ
1. จุดมุ่งหมายการศึกษา
การศึกษาทั้งปวงต้องมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีวินัย ภูมิใจใน
ชาติ สามารถเชี่ยวชาญได้ตามความถนัดของตน และมีความรับผิดชอบต่อ
ครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ
- 2 –
2. เป้าหมายการปฏิรูปประเทศ
1) ประเทศชาติมีความสงบเรียบร้อย มีความสามัคคีปรองดอง มี
การพัฒนาอย่างยั่งยืน ตามหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมีความสมดุลระหว่างการพัฒนาด้าน
วัตถุกับการพัฒนาด้านจิตใจ
2) สังคมมีความสงบสุข เป็นธรรม และมีโอกาสอันทัดเทียมกันเพื่อ
ขจัดความเหลื่อมล้า
3) ประชาชนมีความสุข มีคุณภาพชีวิตที่ดีและมีส่วนร่วมในการ
พัฒนาประเทศและการปกครองใน
ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
 กรอบแนวคิดและหลักการ
การปรับโครงสร้างระบบและกลไกของหน่วยงาน ยึดหลักการ
พื้นฐาน.. “การศึกษาจังหวัด” ที่มุ่ง
การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมบูรณาการจัดการศึกษาที่
เป็นเอกภาพเชิงนโยบาย และหลากหลาย
การปฏิบัติโดยกระจายอานาจให้หน่วยปฏิบัติในพื้นที่ บนหลัก.. “มีความ
อิสระคล่องตัวและรับผิดชอบผลงาน”
ดังนี้
1. NPM : New Public Management
ตามยุทธศาสตร์การปฏิรูประบบราชการ กรอบแนวคิดและแนวทางการจัด
ส่วนราชการในภูมิภาค
2. OSM : Integration @ “A-F-P-P”
ตาม พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2550 ที่
มุ่งเน้นการบูรณาการยุทธศาสตร์การ
พัฒนาประเทศ โดยใช้พื้นที่จังหวัดเป็นฐาน บนหลักการ.. “A-F-P-P”
(Area-Function-Participation-People) โดยการจัดทายุทธศาสตร์การ
พั ฒ น า จั งห วั ด แ ล ะก ลุ่ ม จั งห วั ด (OSM : The Office of Strategy
Management) ตามแนวคิดของ Kaplan & Norton
Robert & Kaplan c]t David P. Norton ได้เสนอแนวความคิด
ใ น ว า ร ส า ร Harvard Business Review เรื่ อ ง Office of Strategy
Management เพื่ ออธิบายถึงสาเหตุของความล้มเหลวใน การน า
ยุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติ โดยในองค์การส่วนใหญ่ประมาณร้อยละ 60-
90 มักประสบปัญหาความล้มเหลวในการบริหารยุทธศาสตร์ ซึ่งเป็นผลมา
จากการที่องค์การดังกล่าวมีรูปแบบการบริหารงานแบบแยกส่วน
(Fragmentation) มีขั้นตอนการทางานที่ต่างคนต่างทาและต่างคนต่าง
รายงานตรงต่อผู้บังคับบัญชาตามสายบังคับบัญชาของตนเอง ทาให้เกิด
ปัญหาของการแปลงยุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติภายในองค์การและขาด
ความเชื่อมโยงซึ่งกันและกันอย่างเป็นระบบ Robert S. Kaplan และ
David P. Norton จึงได้ศึกษาวิจัยและเขียนหนังสือเรื่อง The Strategy-
Focused Organization ขึ้น เพื่ออธิบายถึงความสาคัญของการยึด
ยุทธศาสตร์เป็นหลักโดยใช้ยุทธศาสตร์เป็นศูนย์กลางของระบบบริหาร
จัดการและกระบวนการปฏิบัติงาน รวมถึงอธิบายวิธีการหรือแนวทางใน
การพัฒนาไปสู่องค์กรที่มุ่งเน้นยุทธศาสตร์ ซึ่งได้เสนอให้มีการจัดตั้ง
หน่วยงานใหม่ในระดับองค์การที่เรียกว่า “สานักบริหารยุทธศาสตร์ The
Office of Strategy Management ห รือ OSM” เพื่ อท าห น้ าที่ ดู แ ล
รับผิดชอบในเรื่องการบริหารยุทธศาสตร์เป็นการเฉพาะ มีลักษณะเป็น
หน่วยงานขนาดเล็ก คล่องตัว ทาหน้าที่เป็นเจ้าภาพในการเชื่อมโยงและ
ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ในระดับต่างๆ ขององค์การไปสู่การปฏิบัติอย่างมี
ประสิทธิผล ตลอดจนการส่งเสริมให้มีการสื่อสารแลกเปลี่ยนความรู้
ประสบการณ์เกี่ยวกับการนายุทธศาสตร์ไปปฏิบัติ และการประสานงาน
- 3 –
ร่วมกับหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อนายุทธศาสตร์ขององค์การไปสู
การปฏิบัติร่วมกันอย่างเป็นระบบ ซึ่งแนวคิดและทฤษฎีดังกล่าวได้
ถูกหน่วยงานภาครัฐนาไปใช้ประโยชน์ในเวลาต่อมา
จากแนวคิดของ Kaplan และ Norton ดังกล่าว สานักงาน ก.พ.ร.
และกระทรวงมหาดไทย จึงได้ร่วมหารือและเห็นร่วมกันที่จะให้มีสานัก
บริหารยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด (OSM) เพื่อทาหน้าที่เป็นหน่วยงานระดับ
ปฏิบัติเป็นเจ้าภาพในการประสานยุทธศาสตร์แผนงาน/โครงการ ในระดับ
กลุ่มจังหวัด รวมทั้งการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด ประสานงานกับ
หน่วยงานอานวยการระดับชาติ ได้แก่ สานักนายกรัฐมนตรี สานักงาน
ก.พ.ร. สานักงาน ก.พ. สานักงบประมาณและ สศช.
3. Participation @ ALL for Education
การมีส่วนร่วมของประชาชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง การดาเนินการ
ปฏิรูปประเทศด้านการศึกษาต้องเน้นการมี
ส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในสังคมให้มีส่วนร่วมในการคิดและตัดสินใจ
(Decision Making) มีส่วนร่วมการปฏิบัติ
และดาเนินการ (Implementation) และการกากับติดตามประเมินผล
(evaluation) รวมทั้งมีส่วนร่วมในการ
รับผิดชอบและรับผลประโยชน์ (Benefit) ในการจัดการศึกษาอย่าง
เหมาะสม โดยรัฐและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ต้องดาเนินการ ดังนี้
1) ต้องส่งเสริมและสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
และภาคเอกชนเข้ามามีส่วนร่วมใน
การดาเนินการปฏิรูปประเทศชาติด้านการศึกษาอย่างจริงจังและต่อเนื่อง
2) ต้องจัดให้มีการร่วมมือกันระหว่างรัฐ องค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่น และภาคเอกชน ในการ
จัดการศึกษาทุกระดับ โดยรัฐมีหน้าที่ดาเนินการ กากับ ส่งเสริม และ
สนับสนุน ให้การจัดการศึกษาดังกล่าว มีคุณ ภาพและได้
มาตรฐานสากล
4. ระเบียบกฎหมาย
ตามมาตรา 33 แห่งพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และ
วิธีการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี
พ.ศ.2546 บัญญัติให้ส่วนราชการจัดให้มีการทบทวนบทบาท ภารกิจของ
ตนว่าภารกิจใดมีความจาเป็นหรือสมควรที่จะได้ดาเนินการต่อไปหรือไม่
โดยคานึงถึงแผนการบริหารราชการแผ่นดิน นโยบายของคณะรัฐมนตรี
กาลังเงินของประเทศ ความคุ้มค่าของภารกิจและสถานการณ์อื่นประกอบ
กัน ซึ่งแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย พ.ศ.2556-2561
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 การส่งเสริมระบบการบริหารกิจการบ้านเมืองแบบ
ร่วมมือกันระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน ส่งเสริมให้ส่วน
ราชการทบทวนบทบาท ภารกิจ และอานาจหน้าที่ รวมทั้งสารวจ
ตรวจสอบ และทบทวนกฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และประกาศที่อยู่ใน
ความรับผิดชอบ โดยคานึงถึงความสะดวก รวดเร็ว และลดภาระของ
ประชาชนเป็นสาคัญ
ประกอบกับนโยบายของคณะรัฐมนตรี พลเอกประยุทธ์ จันทร์
โอชา นายกรัฐมนตรี ที่แถลงต่อ
สภานิติบัญญัติแห่งชาติ เมื่อวันที่ 12 กันยายน 2558 ข้อ 10.1 ให้ปรับปรุง
ระบบราชการในด้านองค์กรหรือหน่วยงานภาครัฐ ทั้งในระดับประเทศ
ภูมิภาค และท้องถิ่น ทบทวนโครงสร้างหน่วยงานภาครัฐที่มีอานาจหน้าที่
ซ้าซ้อน ลักลั่น หรือมีเส้นทางการปฏิบัติยืดยาว ปรับปรุงวิธีการปฏิบัติ
ราชการให้ทันสมัย โดยนาเทคโนโลยีมาใช้
แก้ไขกฎระเบียบให้โปร่งใส ชัดเจน สามารถบริการประชาชนได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ ตลอดจนจัดระบบอัตรากาลัง
- 4 –
และปรับปรุงค่าตอบแทนบุคลากรภาครัฐให้เหมาะสมและเป็นธรรม ยึด
หลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี การ
บริหารจัดการภาครัฐแบบใหม่ การอานวยความสะดวกแก่ผู้ใช้บริการ ลด
ต้นทุนดาเนินการของภาคธุรกิจ เพิ่ม
ศักยภาพในการแข่งขันกับนานาประเทศ และการรักษาบุคลากรภาครัฐที่มี
ประสิทธิภาพไว้ในระบบราชการ
จากหลักการ แนวนโยบายและระเบียบกฎหมาย รัฐบาล
จาเป็นต้องปรับรื้อระบบบริหาร
โครงสร้างและกลไกหน่วยงานทุกระดับ ตามกรอบแนวคิดการปฏิรูป
การศึกษาแบบองค์รวมเชิงบูรณาการ
 แผนและขั้นตอนดาเนินงาน
การปรับปรุงโครงสร้าง ระบบและกลไกหน่วยงานดาเนินการ บน
หลักการวิเคราะห์ภารกิจ (Mission
Analysis) เพื่อการจัดทาข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง (Base Print for
Change) และการตรากฎหมาย โดยยึดโยง
แนวคิด.. “การศึกษาจังหวัด” โดย
1. หลักการ
(1) NPM >> PMQA >>> HPO
(2)
(3) Change Management
(4) Participation
(5) OSM .>> A-F-P-P
- 5 –
2. ปรับบทบาทภารกิจ เน้น.. กระจายอานาจและความรับผิดชอบ
ให้หน่วยปฏิบัติในพื้นที่
รมว. : กาหนดนโยบาย (Policy Maker)
ส่วนกลาง : ควบคุม/ผู้วางนโยบาย (Regulator)
: นาไปปฏิบัติ (Implementation)
: ติดตาม (Monitor)
: ตรวจสอบ (Auditor)
: ตรวจราชการ (Inspector)
ภาค : ติดตาม (Monitor)
: ส นั บ ส นุ น ก า ร ต ร ว จ ร า ช ก า ร (Inspector
Supporting)
จังหวัด : ฝ่ายปฏิบัติ (Operation)
3. ออกแบบระบบบริหารจัดการ ที่เอื้อให้ครูสอนเด็กได้อย่างเต็ม
เวลา เติมกระบวนการโดยยึดเด็ก
เป็นสาคัญ ทั้งโครงสร้างบริหาร ระบบบริหารงานบุคคล ระบบงบประมาณ
และระบบตรวจสอบสาธารณะ โดย..
Re-engineering Education ดังนี้
 Re-Think (คิดใหม่)
: ปฏิเสธระบบเดิมโดยสิ้นเชิง- Positive Learning เรีย น
มาก รู้น้อย
: Strategic Thinking - Change Management
- Strategic Management
: Re-Culture - High Performance
Culture
 Re-Design (ออกแบบใหม่)
: ADMINISTRATOR - รื้อกระทรวง แยกทบวง &
สภาการศึกษา
- “ HPO & SMART School :
สถานศึกษานิติบุคคล”
: LEARNING - Active Learning :
Project Base Learning”
: HR - เป็นครูทั้งทบวง.. “ครูสอน – ครูบริหาร – ครู
สนับสนุน”
- สานักงาน ก.ค.ศ. เป็นนิติบุคคลขึ้นตรง รมต.ศธ.
- คุรุสภา และ สกสค. เป็นองค์กรวิชาขีพ.. “อย่าง
แท้จริง”
- Diversity Management & Competency Base
Management
- HRM  ดึงคนดี – เก่ง เป็นครู
 Individual Scorecard & ID.Plan
- HRD.  Motivation
 วิ ท ย ฐ าน ะ ผ่ าน –SMART : Port
Folio
: BUDGET - SPBB : Block Gantt (ชี้เป้าและจัดเงิน
ก้อนให้หน่วยปฏิบัติการในพื้นที่) - Contracted
Outputs ระบบสัญญาปฏิบัติงาน
: R & D Innovative HUB : R to R
- 6 –
 Re-Tool (ใช้นวัตกรรม.. “Life Long Learning”
: visual Learning – “Anyone-Anywhere-Anytime”
: Flipped Classroom.. “Anyone-Anyplace” เรีย น ที่
บ้าน ทาการบ้านที่โรงเรียน
4. การออกแบบโครงสร้าง
การออกแบบโครงสร้างหน่วยงานในระดับจังหวัด ตามแนวคิด
.. “จังหวัดการศึกษา” ในครั้งนี้ เป็นการออกแบบโครงสร้างภายใต้หลักการ
ตามที่ดราฟ (draf 1986) อ้างถึงใน ทิพวรรณ หล่อสุวรรณรัตน์ 2547 :
63-64) ได้ระบุไว้ คือ การแบ่งงานกันทา (Division of Labor) ซึ่งเป็นการ
แบ่งตามความชานาญเฉพาะด้านแนวนอน แบ่งเป็นกิจกรรมต่างๆ ตาม
กระบวนการทางานในองค์กร เช่น การวางแผน การนิเทศ การเงิน เป็นต้น
การนาโครงสร้างดังกล่าวไปสู่การปฏิบัติต้องมีการเน้นการมอบหมาย
อานาจหน้าที่ (Delegation of Authority) คือการกระจายอานาจหน้าที่ลง
ไปยังหน่วยปฏิบัติระดับล่าง ควบคู่ไปด้วย โดยเฉพาะการกระจายอานาจ
การบริหาร บนหลักความเป็นนิติบุคคลที่ให้ความเป็นอิสระบริหารจัดการ
แต่ต้องรับผิดชอบผลงาน
5. การตรากฎหมาย ตามกระบวนการนิติบัญญัติ
 ผลลัพธ์ที่คาดหวัง
เป้าหมายความสาเร็จการปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกหน่วยงาน
จะเกิดประโยชน์และผลกระทบ ดังนี้
1. ประโยชน์ที่จะได้รับ
(1) โครงสร้างการจัดการศึกษาระดับชาติ ระดับพื้นที่จังหวัด
ที่มีความสอดคล้องกับระเบียบบริหาร
ราชการแผ่นดินของประเทศ โดยแยกบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบ
ของฝ่ายกาหนดนโยบาย (Regulator) และฝ่ายปฏิบัติ (Operator) ออก
จากกันให้ชัดเจน
(2) การบริหารราชการมีความเป็นเอกภาพ การออกแบบ
โครงสร้างให้สามารถทางานประสาน
แนวระนาบ (Cross Function) ระหว่างการศึกษาระดับและประเภทต่างๆ
และสามารถใช้ทรัพยากรร่วมกันให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด การลดขั้นตอน
กระจายความรับผิดชอบ และครอบคลุมการให้บริการที่รวดเร็วในทุก
กลุ่มเป้าหมายของการจัดการศึกษา ขจัดปัญหาทางานแบบแยกส่วนตาม
ระดับและประเภทการศึกษา ที่ขาดการบูรณาการการวางแผนร่วมกันเป็น
ปัญหาเชิงโครงสร้างมาช้านาน
(3) สามารถให้บริการผู้เรียน ผู้ปกครอง และประชาชนได้
อย่างมีประสิทธิภาพ เกิดความคล่องตัวใน
การบริหารจัดการภารกิจทั้งแนวดิ่งและแนวราบที่สามารถเป็นกลไกในการ
ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ของกระทรวงทั้งในระดับส่วนกลางและระดับพื้นที่ให้
เป็นแนวเดียวกัน
(4) เกิดกลไกการดาเนินงานแบบบูรณาการที่สามารถ
เชื่อมโยงและขับเคลื่อนนโยบาย ยุทธศาสตร์
และภารกิจของรัฐบาลและกระทรวงศึกษาธิการไปสู่การปฏิบัติในระดับ
ภาคและจังหวัดที่เป็นแนวเดียวกัน การประสานราชการในภาพรวมที่เป็น
เอกภาพและมีประสิทธิภาพ สามารถเชื่อมโยงกับกระทรวงหรือส่วน
ราชการอื่นในจังหวัดที่สอดคล้องกับระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
(ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ท้องถิ่น) ให้เกิดประสิทธิภาพ การบริหารราชการ
ของกระทรวงในระดับจังหวัด เพื่อไปสู่เป้าหมายให้ประชาชนสามารถ
เข้าถึงระบบการศึกษาอย่างเท่าเทียม สร้างศักยภาพในเชิงการแข่งขัน
ตอบสนองต่อความต้องการภายในประเทศและภูมิภาค
- 7 –
(5) มีระบบการตรวจสอบและถ่วงดุลในระดับจังหวัด สามารถ
แก้ปัญหาการทุจริตและประพฤติ
มิชอบ ให้เกิดความเป็นธรรมและความโปร่งใสในการแต่งตั้ง โยกย้าย
ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
2. ผลกระทบ
กระทรวงศึกษาธิการสามารถสร้างอัตลักษณ์คนไทยที่มีศักยภาพ
ระดับสากล รองรับการขับเคลื่อน
ยุทธศาสตร์ชาติสู่การบรรลุวิสัยทัศน์ ประเทศไทยพัฒนาสู่.. สังคมที่
“มั่นคง-มั่งคั่ง และยั่งยืน” ตามเจตนารมณ์คืนความสุขให้คนไทย

More Related Content

What's hot

Utq 220ระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียน
Utq 220ระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียนUtq 220ระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียน
Utq 220ระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียนkrusoon1103
 
ยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงาน ปี 2558
ยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงาน ปี 2558ยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงาน ปี 2558
ยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงาน ปี 2558pakpoom khangtomnium
 
หลักสูตรการศึกษานอกระบบ 2551
หลักสูตรการศึกษานอกระบบ 2551หลักสูตรการศึกษานอกระบบ 2551
หลักสูตรการศึกษานอกระบบ 2551Panlop
 
พรบ การศึกษา ข้อสอบแบบทวนความรู้
พรบ การศึกษา ข้อสอบแบบทวนความรู้พรบ การศึกษา ข้อสอบแบบทวนความรู้
พรบ การศึกษา ข้อสอบแบบทวนความรู้คน ขี้เล่า
 
มาตรฐานวิชาชีพครู ปี 2556
มาตรฐานวิชาชีพครู ปี 2556มาตรฐานวิชาชีพครู ปี 2556
มาตรฐานวิชาชีพครู ปี 2556Thanaporn Sangthong
 
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาokTophit Sampootong
 
5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพok
5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพok5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพok
5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพokTophit Sampootong
 
การบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานการบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานrbsupervision
 
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551คน ขี้เล่า
 
แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงคราม
แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงครามแผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงคราม
แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงครามSuppalak Lim
 
การบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานการบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานKatekyo Sama
 
คุณลักษณะครูที่พึงประสงค์
คุณลักษณะครูที่พึงประสงค์คุณลักษณะครูที่พึงประสงค์
คุณลักษณะครูที่พึงประสงค์pimkhwan
 
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาชีพครู (เก่าแล้วใช้ได้บางส...
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาชีพครู (เก่าแล้วใช้ได้บางส...ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาชีพครู (เก่าแล้วใช้ได้บางส...
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาชีพครู (เก่าแล้วใช้ได้บางส...สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
6 สมรรถนะของครูok
6 สมรรถนะของครูok6 สมรรถนะของครูok
6 สมรรถนะของครูokTophit Sampootong
 

What's hot (18)

Utq 220ระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียน
Utq 220ระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียนUtq 220ระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียน
Utq 220ระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียน
 
กฏหมาย
กฏหมายกฏหมาย
กฏหมาย
 
ยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงาน ปี 2558
ยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงาน ปี 2558ยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงาน ปี 2558
ยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงาน ปี 2558
 
หลักสูตรการศึกษานอกระบบ 2551
หลักสูตรการศึกษานอกระบบ 2551หลักสูตรการศึกษานอกระบบ 2551
หลักสูตรการศึกษานอกระบบ 2551
 
พรบ การศึกษา ข้อสอบแบบทวนความรู้
พรบ การศึกษา ข้อสอบแบบทวนความรู้พรบ การศึกษา ข้อสอบแบบทวนความรู้
พรบ การศึกษา ข้อสอบแบบทวนความรู้
 
มาตรฐานวิชาชีพครู ปี 2556
มาตรฐานวิชาชีพครู ปี 2556มาตรฐานวิชาชีพครู ปี 2556
มาตรฐานวิชาชีพครู ปี 2556
 
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
 
5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพok
5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพok5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพok
5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพok
 
ยุทธศาสตร์ กศน ปี 2560
ยุทธศาสตร์ กศน ปี 2560ยุทธศาสตร์ กศน ปี 2560
ยุทธศาสตร์ กศน ปี 2560
 
การบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานการบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
 
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
 
แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงคราม
แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงครามแผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงคราม
แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงคราม
 
การบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานการบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
 
Id plan
Id planId plan
Id plan
 
ชื่อโครงการ 57
ชื่อโครงการ 57ชื่อโครงการ 57
ชื่อโครงการ 57
 
คุณลักษณะครูที่พึงประสงค์
คุณลักษณะครูที่พึงประสงค์คุณลักษณะครูที่พึงประสงค์
คุณลักษณะครูที่พึงประสงค์
 
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาชีพครู (เก่าแล้วใช้ได้บางส...
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาชีพครู (เก่าแล้วใช้ได้บางส...ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาชีพครู (เก่าแล้วใช้ได้บางส...
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาชีพครู (เก่าแล้วใช้ได้บางส...
 
6 สมรรถนะของครูok
6 สมรรถนะของครูok6 สมรรถนะของครูok
6 สมรรถนะของครูok
 

Viewers also liked

สอบครูดอทคอม(อ.บวร) แนวข้อสอบพนักงานราชการ ความรู้ความสามารถทั่วไป
สอบครูดอทคอม(อ.บวร) แนวข้อสอบพนักงานราชการ ความรู้ความสามารถทั่วไปสอบครูดอทคอม(อ.บวร) แนวข้อสอบพนักงานราชการ ความรู้ความสามารถทั่วไป
สอบครูดอทคอม(อ.บวร) แนวข้อสอบพนักงานราชการ ความรู้ความสามารถทั่วไปสอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 

Viewers also liked (8)

นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการนโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
 
รวมแนวข้อสอบครูผู้ช่วยฉบับปรับปรุง
รวมแนวข้อสอบครูผู้ช่วยฉบับปรับปรุงรวมแนวข้อสอบครูผู้ช่วยฉบับปรับปรุง
รวมแนวข้อสอบครูผู้ช่วยฉบับปรับปรุง
 
แผนปฏิบัติราชการกระทรวงศึกษาธิการปีงบประมาณ 2560
แผนปฏิบัติราชการกระทรวงศึกษาธิการปีงบประมาณ 2560แผนปฏิบัติราชการกระทรวงศึกษาธิการปีงบประมาณ 2560
แผนปฏิบัติราชการกระทรวงศึกษาธิการปีงบประมาณ 2560
 
รวมแนวข้อสอบเจาะข้อสอบบริหาร
รวมแนวข้อสอบเจาะข้อสอบบริหารรวมแนวข้อสอบเจาะข้อสอบบริหาร
รวมแนวข้อสอบเจาะข้อสอบบริหาร
 
รวมแนวข้อสอบบริหารเก็งข้อสอบผู้บริหาร
รวมแนวข้อสอบบริหารเก็งข้อสอบผู้บริหารรวมแนวข้อสอบบริหารเก็งข้อสอบผู้บริหาร
รวมแนวข้อสอบบริหารเก็งข้อสอบผู้บริหาร
 
รวมแนวข้อสอบกรุข้อสอบผู้บริหาร
รวมแนวข้อสอบกรุข้อสอบผู้บริหารรวมแนวข้อสอบกรุข้อสอบผู้บริหาร
รวมแนวข้อสอบกรุข้อสอบผู้บริหาร
 
คู่มือเตรียมสอบพนักงานราชการครูผู้สอน
คู่มือเตรียมสอบพนักงานราชการครูผู้สอนคู่มือเตรียมสอบพนักงานราชการครูผู้สอน
คู่มือเตรียมสอบพนักงานราชการครูผู้สอน
 
สอบครูดอทคอม(อ.บวร) แนวข้อสอบพนักงานราชการ ความรู้ความสามารถทั่วไป
สอบครูดอทคอม(อ.บวร) แนวข้อสอบพนักงานราชการ ความรู้ความสามารถทั่วไปสอบครูดอทคอม(อ.บวร) แนวข้อสอบพนักงานราชการ ความรู้ความสามารถทั่วไป
สอบครูดอทคอม(อ.บวร) แนวข้อสอบพนักงานราชการ ความรู้ความสามารถทั่วไป
 

Similar to สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินงานการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษาตามร่างรธน.ฯ

บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1kanwan0429
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1kanwan0429
 
1.แนวคิดก..
1.แนวคิดก..1.แนวคิดก..
1.แนวคิดก..krupotjanee
 
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้Nona Khet
 
4รายงานนวีตกรรม
4รายงานนวีตกรรม 4รายงานนวีตกรรม
4รายงานนวีตกรรม krupornpana55
 
Mobile learning to enhance the training of personnel in the corporate.
Mobile learning to enhance the training of personnel in the corporate.Mobile learning to enhance the training of personnel in the corporate.
Mobile learning to enhance the training of personnel in the corporate.Napin Yeamprayunsawasd
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1nattawad147
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1benty2443
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1nattawad147
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1nattawad147
 
1 170819173012
1 1708191730121 170819173012
1 170819173012gam030
 

Similar to สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินงานการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษาตามร่างรธน.ฯ (20)

บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
1.แนวคิดก..
1.แนวคิดก..1.แนวคิดก..
1.แนวคิดก..
 
Lib2.0
Lib2.0Lib2.0
Lib2.0
 
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
 
4รายงานนวีตกรรม
4รายงานนวีตกรรม 4รายงานนวีตกรรม
4รายงานนวีตกรรม
 
Mobile learning to enhance the training of personnel in the corporate.
Mobile learning to enhance the training of personnel in the corporate.Mobile learning to enhance the training of personnel in the corporate.
Mobile learning to enhance the training of personnel in the corporate.
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
1 170819173012
1 1708191730121 170819173012
1 170819173012
 
1 170819173012
1 1708191730121 170819173012
1 170819173012
 
1 170819173012
1 1708191730121 170819173012
1 170819173012
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
1 170819173012
1 1708191730121 170819173012
1 170819173012
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
1 170819173012
1 1708191730121 170819173012
1 170819173012
 
1 170819173012
1 1708191730121 170819173012
1 170819173012
 

More from สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ

ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ฉบับลงประชามติ 7 สิงหาคม 2559
ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ฉบับลงประชามติ 7 สิงหาคม 2559ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ฉบับลงประชามติ 7 สิงหาคม 2559
ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ฉบับลงประชามติ 7 สิงหาคม 2559สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคล...
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคล...สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคล...
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคล...สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
แผนปฏิบัติการขับเคลื่อนการป้องกันและปราบปรามทุจริตของกระทรวงศึกษาธิการ
แผนปฏิบัติการขับเคลื่อนการป้องกันและปราบปรามทุจริตของกระทรวงศึกษาธิการแผนปฏิบัติการขับเคลื่อนการป้องกันและปราบปรามทุจริตของกระทรวงศึกษาธิการ
แผนปฏิบัติการขับเคลื่อนการป้องกันและปราบปรามทุจริตของกระทรวงศึกษาธิการสอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
แผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 กระทรวงศึกษาธิการ
แผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 กระทรวงศึกษาธิการแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 กระทรวงศึกษาธิการ
แผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 กระทรวงศึกษาธิการสอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 

More from สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ (20)

แนวข้อสอบเจาะข้อสอบผู้บริหาร
แนวข้อสอบเจาะข้อสอบผู้บริหารแนวข้อสอบเจาะข้อสอบผู้บริหาร
แนวข้อสอบเจาะข้อสอบผู้บริหาร
 
แนวข้อสอบเก็งข้อสอบผู้บริหาร
แนวข้อสอบเก็งข้อสอบผู้บริหารแนวข้อสอบเก็งข้อสอบผู้บริหาร
แนวข้อสอบเก็งข้อสอบผู้บริหาร
 
รวมแบบทดสอบกฎหมายสำหรับนักการศึกษา
รวมแบบทดสอบกฎหมายสำหรับนักการศึกษารวมแบบทดสอบกฎหมายสำหรับนักการศึกษา
รวมแบบทดสอบกฎหมายสำหรับนักการศึกษา
 
รวมแนวข้อสอบเตรียมผู้บริหารศึกษานิเทศก์
รวมแนวข้อสอบเตรียมผู้บริหารศึกษานิเทศก์รวมแนวข้อสอบเตรียมผู้บริหารศึกษานิเทศก์
รวมแนวข้อสอบเตรียมผู้บริหารศึกษานิเทศก์
 
คู่มือเตรียมสอบผู้บริหารการศึกษา
คู่มือเตรียมสอบผู้บริหารการศึกษาคู่มือเตรียมสอบผู้บริหารการศึกษา
คู่มือเตรียมสอบผู้บริหารการศึกษา
 
คู่มือเตรียมสอบผู้บริหารสถานศึกษา ภาค ก
คู่มือเตรียมสอบผู้บริหารสถานศึกษา ภาค กคู่มือเตรียมสอบผู้บริหารสถานศึกษา ภาค ก
คู่มือเตรียมสอบผู้บริหารสถานศึกษา ภาค ก
 
คู่มือเตรียมสอบผู้บริหารสถานศึกษา
คู่มือเตรียมสอบผู้บริหารสถานศึกษาคู่มือเตรียมสอบผู้บริหารสถานศึกษา
คู่มือเตรียมสอบผู้บริหารสถานศึกษา
 
คู่มือเตรียมสอบศึกษานิเทศก์
คู่มือเตรียมสอบศึกษานิเทศก์คู่มือเตรียมสอบศึกษานิเทศก์
คู่มือเตรียมสอบศึกษานิเทศก์
 
คู่มือเตรียมสอบบรรจุครูผู้ช่วยฉบับพร้อมสอบ
คู่มือเตรียมสอบบรรจุครูผู้ช่วยฉบับพร้อมสอบคู่มือเตรียมสอบบรรจุครูผู้ช่วยฉบับพร้อมสอบ
คู่มือเตรียมสอบบรรจุครูผู้ช่วยฉบับพร้อมสอบ
 
ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ฉบับลงประชามติ 7 สิงหาคม 2559
ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ฉบับลงประชามติ 7 สิงหาคม 2559ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ฉบับลงประชามติ 7 สิงหาคม 2559
ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ฉบับลงประชามติ 7 สิงหาคม 2559
 
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคล...
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคล...สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคล...
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคล...
 
แนวทางปฏิรูปการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ
แนวทางปฏิรูปการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการแนวทางปฏิรูปการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ
แนวทางปฏิรูปการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ
 
แผนปฏิบัติการขับเคลื่อนการป้องกันและปราบปรามทุจริตของกระทรวงศึกษาธิการ
แผนปฏิบัติการขับเคลื่อนการป้องกันและปราบปรามทุจริตของกระทรวงศึกษาธิการแผนปฏิบัติการขับเคลื่อนการป้องกันและปราบปรามทุจริตของกระทรวงศึกษาธิการ
แผนปฏิบัติการขับเคลื่อนการป้องกันและปราบปรามทุจริตของกระทรวงศึกษาธิการ
 
การขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษา
การขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษาการขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษา
การขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษา
 
นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการนโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
 
เอกสารนายกรัฐมนตรีพบเพื่อนครู
เอกสารนายกรัฐมนตรีพบเพื่อนครูเอกสารนายกรัฐมนตรีพบเพื่อนครู
เอกสารนายกรัฐมนตรีพบเพื่อนครู
 
ร่่างกรอบทิศทางแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๔
ร่่างกรอบทิศทางแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๔ร่่างกรอบทิศทางแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๔
ร่่างกรอบทิศทางแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๔
 
คู่มือการบริหารงานบุคคล ของ.กศจ.
คู่มือการบริหารงานบุคคล ของ.กศจ.คู่มือการบริหารงานบุคคล ของ.กศจ.
คู่มือการบริหารงานบุคคล ของ.กศจ.
 
แผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 กระทรวงศึกษาธิการ
แผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 กระทรวงศึกษาธิการแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 กระทรวงศึกษาธิการ
แผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 กระทรวงศึกษาธิการ
 
อินโฟกราฟิกร่างรัฐธรรมนูญเบื้องต้น
อินโฟกราฟิกร่างรัฐธรรมนูญเบื้องต้น อินโฟกราฟิกร่างรัฐธรรมนูญเบื้องต้น
อินโฟกราฟิกร่างรัฐธรรมนูญเบื้องต้น
 

สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินงานการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษาตามร่างรธน.ฯ

  • 1. สาระสาคัญ “การปรับปรุงโครงสร้าง ระบบและกลไกของ หน่วยงานทุกระดับ” แผนและขั้นตอนการดาเนินการปฏิรูปประเทศด้าน การศึกษา ตามร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย  ความเป็นมา โลกก้าวสู่สังคมเศรษฐกิจความรู้ การศึกษานับเป็นเครื่องมือพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์ให้มีศักยภาพทันต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีในยุค ศตวรรษที่ 21 จากกระแสการเปลี่ยนแปลงสังคมโลก และการก้าวสู่ประชาคม อาเซียน ในขณะที่ประเทศประสบวิกฤติการศึกษา โดยมีประชากรวัยเรียน เกือบ 1 ล้านคน ไม่อยู่ในระดับการศึกษามากกว่า 4 ล้านคน เรียนรู้แบบ ไร้ความสามารถ เสมือน “เด็กลอยล่อง” มีแนวโน้มออกกลางคันสูง ในขณะ ที่คุณภาพและอันดับการแข่งขันของประเทศตกต่า ระบบบริหารจัดการ อ่อนแอและใช้งบประมาณการศึกษาที่สูงมาก จนได้รับการวิพากษ์วิจารณ์ สถานการณ์การศึกษาไทย เป็น “Thai Lost Decade : ศตวรรษที่สูญหาย .. การศึกษาไทยที่ล้มเหลว” กระทรวงศึกษาธิการ ได้สรุปปัญหาอุปสรรคในการบริหารราชการ ส่งมอบบริการการศึกษาสู่ชุมชนสาธารณะ (กพร.สป.) โดยสรุป (1) การบริหารงานแบบแยกส่วน ขาดการบูรณาการ (2) ไม่มี CEO อย่างแท้จริง (3) เขตพื้ นที่การศึกษ าไม่ได้เป็นเขตพื้ นที่การศึกษาของ กระทรวงการคลัง (4) การบริหารงานบุคคลในระดับเขตพื้นที่การศึกษามีการ แทรกแซงทางการเมือง มีปัญหาเรื่องความ เป็นธรรมและความ โปร่งใส (5) กรมวิชาการถูกยุบเป็นระดับสานัก ทั้งที่มีความสาคัญใน ระดับชาติ มีภารกิจและปริมาณงานมาก
  • 2. (6) สานักงาน กศน. สานักงาน ก.ค.ศ. และ สช. อยู่ผิดที่ ด้วยเหตุผลดังกล่าว สภานิติบัญญัติแห่งชาติ โดยคณะกรรมาธิการ การศึกษาและการกีฬา จึงจัดทา ข้อเสนอและแผนการดาเนินการปรับโครงสร้างบริหารราชการ กระทรวงศึกษาธิการที่สอดรับการปฏิรูปการศึกษา ที่ยึดจังหวัดเป็นฐาน (จังหวัดการศึกษา) รองรับการพัฒนากาลังคน ภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ.2560-2579) เพื่อการบรรลุวิสัยทัศน์ประเทศสู่.. สังคมมั่นคง- มั่ง คั่ง-ยั่งยืน  วัตถุประสงค์ เพื่อเสริมสร้างประสิทธิภาพการบริหารจัดการของหน่วยงานทุกระดับ ให้เป็น “องค์กรสมรรถนะสูง” (HPO) มีศักยภาพส่งมอบบริการการศึกษาที่ มีคุณภาพมาตรฐานตามจุดมุ่งหมายของการศึกษาและเป้าหมายของการ ปฏิรูปประเทศ 1. จุดมุ่งหมายการศึกษา การศึกษาทั้งปวงต้องมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีวินัย ภูมิใจใน ชาติ สามารถเชี่ยวชาญได้ตามความถนัดของตน และมีความรับผิดชอบต่อ ครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ - 2 – 2. เป้าหมายการปฏิรูปประเทศ 1) ประเทศชาติมีความสงบเรียบร้อย มีความสามัคคีปรองดอง มี การพัฒนาอย่างยั่งยืน ตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมีความสมดุลระหว่างการพัฒนาด้าน วัตถุกับการพัฒนาด้านจิตใจ 2) สังคมมีความสงบสุข เป็นธรรม และมีโอกาสอันทัดเทียมกันเพื่อ ขจัดความเหลื่อมล้า 3) ประชาชนมีความสุข มีคุณภาพชีวิตที่ดีและมีส่วนร่วมในการ พัฒนาประเทศและการปกครองใน ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข  กรอบแนวคิดและหลักการ การปรับโครงสร้างระบบและกลไกของหน่วยงาน ยึดหลักการ พื้นฐาน.. “การศึกษาจังหวัด” ที่มุ่ง
  • 3. การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมบูรณาการจัดการศึกษาที่ เป็นเอกภาพเชิงนโยบาย และหลากหลาย การปฏิบัติโดยกระจายอานาจให้หน่วยปฏิบัติในพื้นที่ บนหลัก.. “มีความ อิสระคล่องตัวและรับผิดชอบผลงาน” ดังนี้ 1. NPM : New Public Management ตามยุทธศาสตร์การปฏิรูประบบราชการ กรอบแนวคิดและแนวทางการจัด ส่วนราชการในภูมิภาค 2. OSM : Integration @ “A-F-P-P” ตาม พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2550 ที่ มุ่งเน้นการบูรณาการยุทธศาสตร์การ พัฒนาประเทศ โดยใช้พื้นที่จังหวัดเป็นฐาน บนหลักการ.. “A-F-P-P” (Area-Function-Participation-People) โดยการจัดทายุทธศาสตร์การ พั ฒ น า จั งห วั ด แ ล ะก ลุ่ ม จั งห วั ด (OSM : The Office of Strategy Management) ตามแนวคิดของ Kaplan & Norton Robert & Kaplan c]t David P. Norton ได้เสนอแนวความคิด ใ น ว า ร ส า ร Harvard Business Review เรื่ อ ง Office of Strategy Management เพื่ ออธิบายถึงสาเหตุของความล้มเหลวใน การน า ยุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติ โดยในองค์การส่วนใหญ่ประมาณร้อยละ 60- 90 มักประสบปัญหาความล้มเหลวในการบริหารยุทธศาสตร์ ซึ่งเป็นผลมา จากการที่องค์การดังกล่าวมีรูปแบบการบริหารงานแบบแยกส่วน (Fragmentation) มีขั้นตอนการทางานที่ต่างคนต่างทาและต่างคนต่าง รายงานตรงต่อผู้บังคับบัญชาตามสายบังคับบัญชาของตนเอง ทาให้เกิด ปัญหาของการแปลงยุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติภายในองค์การและขาด ความเชื่อมโยงซึ่งกันและกันอย่างเป็นระบบ Robert S. Kaplan และ David P. Norton จึงได้ศึกษาวิจัยและเขียนหนังสือเรื่อง The Strategy- Focused Organization ขึ้น เพื่ออธิบายถึงความสาคัญของการยึด ยุทธศาสตร์เป็นหลักโดยใช้ยุทธศาสตร์เป็นศูนย์กลางของระบบบริหาร จัดการและกระบวนการปฏิบัติงาน รวมถึงอธิบายวิธีการหรือแนวทางใน การพัฒนาไปสู่องค์กรที่มุ่งเน้นยุทธศาสตร์ ซึ่งได้เสนอให้มีการจัดตั้ง
  • 4. หน่วยงานใหม่ในระดับองค์การที่เรียกว่า “สานักบริหารยุทธศาสตร์ The Office of Strategy Management ห รือ OSM” เพื่ อท าห น้ าที่ ดู แ ล รับผิดชอบในเรื่องการบริหารยุทธศาสตร์เป็นการเฉพาะ มีลักษณะเป็น หน่วยงานขนาดเล็ก คล่องตัว ทาหน้าที่เป็นเจ้าภาพในการเชื่อมโยงและ ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ในระดับต่างๆ ขององค์การไปสู่การปฏิบัติอย่างมี ประสิทธิผล ตลอดจนการส่งเสริมให้มีการสื่อสารแลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์เกี่ยวกับการนายุทธศาสตร์ไปปฏิบัติ และการประสานงาน - 3 – ร่วมกับหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อนายุทธศาสตร์ขององค์การไปสู การปฏิบัติร่วมกันอย่างเป็นระบบ ซึ่งแนวคิดและทฤษฎีดังกล่าวได้ ถูกหน่วยงานภาครัฐนาไปใช้ประโยชน์ในเวลาต่อมา จากแนวคิดของ Kaplan และ Norton ดังกล่าว สานักงาน ก.พ.ร. และกระทรวงมหาดไทย จึงได้ร่วมหารือและเห็นร่วมกันที่จะให้มีสานัก บริหารยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด (OSM) เพื่อทาหน้าที่เป็นหน่วยงานระดับ ปฏิบัติเป็นเจ้าภาพในการประสานยุทธศาสตร์แผนงาน/โครงการ ในระดับ กลุ่มจังหวัด รวมทั้งการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด ประสานงานกับ หน่วยงานอานวยการระดับชาติ ได้แก่ สานักนายกรัฐมนตรี สานักงาน ก.พ.ร. สานักงาน ก.พ. สานักงบประมาณและ สศช. 3. Participation @ ALL for Education การมีส่วนร่วมของประชาชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง การดาเนินการ ปฏิรูปประเทศด้านการศึกษาต้องเน้นการมี ส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในสังคมให้มีส่วนร่วมในการคิดและตัดสินใจ (Decision Making) มีส่วนร่วมการปฏิบัติ และดาเนินการ (Implementation) และการกากับติดตามประเมินผล (evaluation) รวมทั้งมีส่วนร่วมในการ รับผิดชอบและรับผลประโยชน์ (Benefit) ในการจัดการศึกษาอย่าง เหมาะสม โดยรัฐและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ต้องดาเนินการ ดังนี้
  • 5. 1) ต้องส่งเสริมและสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และภาคเอกชนเข้ามามีส่วนร่วมใน การดาเนินการปฏิรูปประเทศชาติด้านการศึกษาอย่างจริงจังและต่อเนื่อง 2) ต้องจัดให้มีการร่วมมือกันระหว่างรัฐ องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น และภาคเอกชน ในการ จัดการศึกษาทุกระดับ โดยรัฐมีหน้าที่ดาเนินการ กากับ ส่งเสริม และ สนับสนุน ให้การจัดการศึกษาดังกล่าว มีคุณ ภาพและได้ มาตรฐานสากล 4. ระเบียบกฎหมาย ตามมาตรา 33 แห่งพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และ วิธีการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546 บัญญัติให้ส่วนราชการจัดให้มีการทบทวนบทบาท ภารกิจของ ตนว่าภารกิจใดมีความจาเป็นหรือสมควรที่จะได้ดาเนินการต่อไปหรือไม่ โดยคานึงถึงแผนการบริหารราชการแผ่นดิน นโยบายของคณะรัฐมนตรี กาลังเงินของประเทศ ความคุ้มค่าของภารกิจและสถานการณ์อื่นประกอบ กัน ซึ่งแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย พ.ศ.2556-2561 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 การส่งเสริมระบบการบริหารกิจการบ้านเมืองแบบ ร่วมมือกันระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน ส่งเสริมให้ส่วน ราชการทบทวนบทบาท ภารกิจ และอานาจหน้าที่ รวมทั้งสารวจ ตรวจสอบ และทบทวนกฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และประกาศที่อยู่ใน ความรับผิดชอบ โดยคานึงถึงความสะดวก รวดเร็ว และลดภาระของ ประชาชนเป็นสาคัญ ประกอบกับนโยบายของคณะรัฐมนตรี พลเอกประยุทธ์ จันทร์ โอชา นายกรัฐมนตรี ที่แถลงต่อ สภานิติบัญญัติแห่งชาติ เมื่อวันที่ 12 กันยายน 2558 ข้อ 10.1 ให้ปรับปรุง ระบบราชการในด้านองค์กรหรือหน่วยงานภาครัฐ ทั้งในระดับประเทศ ภูมิภาค และท้องถิ่น ทบทวนโครงสร้างหน่วยงานภาครัฐที่มีอานาจหน้าที่ ซ้าซ้อน ลักลั่น หรือมีเส้นทางการปฏิบัติยืดยาว ปรับปรุงวิธีการปฏิบัติ ราชการให้ทันสมัย โดยนาเทคโนโลยีมาใช้ แก้ไขกฎระเบียบให้โปร่งใส ชัดเจน สามารถบริการประชาชนได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ตลอดจนจัดระบบอัตรากาลัง
  • 6. - 4 – และปรับปรุงค่าตอบแทนบุคลากรภาครัฐให้เหมาะสมและเป็นธรรม ยึด หลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี การ บริหารจัดการภาครัฐแบบใหม่ การอานวยความสะดวกแก่ผู้ใช้บริการ ลด ต้นทุนดาเนินการของภาคธุรกิจ เพิ่ม ศักยภาพในการแข่งขันกับนานาประเทศ และการรักษาบุคลากรภาครัฐที่มี ประสิทธิภาพไว้ในระบบราชการ จากหลักการ แนวนโยบายและระเบียบกฎหมาย รัฐบาล จาเป็นต้องปรับรื้อระบบบริหาร โครงสร้างและกลไกหน่วยงานทุกระดับ ตามกรอบแนวคิดการปฏิรูป การศึกษาแบบองค์รวมเชิงบูรณาการ  แผนและขั้นตอนดาเนินงาน การปรับปรุงโครงสร้าง ระบบและกลไกหน่วยงานดาเนินการ บน หลักการวิเคราะห์ภารกิจ (Mission Analysis) เพื่อการจัดทาข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง (Base Print for Change) และการตรากฎหมาย โดยยึดโยง
  • 7. แนวคิด.. “การศึกษาจังหวัด” โดย 1. หลักการ (1) NPM >> PMQA >>> HPO (2) (3) Change Management (4) Participation (5) OSM .>> A-F-P-P - 5 – 2. ปรับบทบาทภารกิจ เน้น.. กระจายอานาจและความรับผิดชอบ ให้หน่วยปฏิบัติในพื้นที่ รมว. : กาหนดนโยบาย (Policy Maker) ส่วนกลาง : ควบคุม/ผู้วางนโยบาย (Regulator) : นาไปปฏิบัติ (Implementation) : ติดตาม (Monitor) : ตรวจสอบ (Auditor) : ตรวจราชการ (Inspector) ภาค : ติดตาม (Monitor) : ส นั บ ส นุ น ก า ร ต ร ว จ ร า ช ก า ร (Inspector Supporting) จังหวัด : ฝ่ายปฏิบัติ (Operation) 3. ออกแบบระบบบริหารจัดการ ที่เอื้อให้ครูสอนเด็กได้อย่างเต็ม เวลา เติมกระบวนการโดยยึดเด็ก เป็นสาคัญ ทั้งโครงสร้างบริหาร ระบบบริหารงานบุคคล ระบบงบประมาณ และระบบตรวจสอบสาธารณะ โดย.. Re-engineering Education ดังนี้
  • 8.  Re-Think (คิดใหม่) : ปฏิเสธระบบเดิมโดยสิ้นเชิง- Positive Learning เรีย น มาก รู้น้อย : Strategic Thinking - Change Management - Strategic Management : Re-Culture - High Performance Culture  Re-Design (ออกแบบใหม่) : ADMINISTRATOR - รื้อกระทรวง แยกทบวง & สภาการศึกษา - “ HPO & SMART School : สถานศึกษานิติบุคคล” : LEARNING - Active Learning : Project Base Learning” : HR - เป็นครูทั้งทบวง.. “ครูสอน – ครูบริหาร – ครู สนับสนุน” - สานักงาน ก.ค.ศ. เป็นนิติบุคคลขึ้นตรง รมต.ศธ. - คุรุสภา และ สกสค. เป็นองค์กรวิชาขีพ.. “อย่าง แท้จริง” - Diversity Management & Competency Base Management - HRM  ดึงคนดี – เก่ง เป็นครู  Individual Scorecard & ID.Plan - HRD.  Motivation  วิ ท ย ฐ าน ะ ผ่ าน –SMART : Port Folio
  • 9. : BUDGET - SPBB : Block Gantt (ชี้เป้าและจัดเงิน ก้อนให้หน่วยปฏิบัติการในพื้นที่) - Contracted Outputs ระบบสัญญาปฏิบัติงาน : R & D Innovative HUB : R to R - 6 –  Re-Tool (ใช้นวัตกรรม.. “Life Long Learning” : visual Learning – “Anyone-Anywhere-Anytime” : Flipped Classroom.. “Anyone-Anyplace” เรีย น ที่ บ้าน ทาการบ้านที่โรงเรียน 4. การออกแบบโครงสร้าง การออกแบบโครงสร้างหน่วยงานในระดับจังหวัด ตามแนวคิด .. “จังหวัดการศึกษา” ในครั้งนี้ เป็นการออกแบบโครงสร้างภายใต้หลักการ ตามที่ดราฟ (draf 1986) อ้างถึงใน ทิพวรรณ หล่อสุวรรณรัตน์ 2547 : 63-64) ได้ระบุไว้ คือ การแบ่งงานกันทา (Division of Labor) ซึ่งเป็นการ แบ่งตามความชานาญเฉพาะด้านแนวนอน แบ่งเป็นกิจกรรมต่างๆ ตาม กระบวนการทางานในองค์กร เช่น การวางแผน การนิเทศ การเงิน เป็นต้น การนาโครงสร้างดังกล่าวไปสู่การปฏิบัติต้องมีการเน้นการมอบหมาย อานาจหน้าที่ (Delegation of Authority) คือการกระจายอานาจหน้าที่ลง ไปยังหน่วยปฏิบัติระดับล่าง ควบคู่ไปด้วย โดยเฉพาะการกระจายอานาจ การบริหาร บนหลักความเป็นนิติบุคคลที่ให้ความเป็นอิสระบริหารจัดการ แต่ต้องรับผิดชอบผลงาน 5. การตรากฎหมาย ตามกระบวนการนิติบัญญัติ  ผลลัพธ์ที่คาดหวัง เป้าหมายความสาเร็จการปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกหน่วยงาน จะเกิดประโยชน์และผลกระทบ ดังนี้ 1. ประโยชน์ที่จะได้รับ (1) โครงสร้างการจัดการศึกษาระดับชาติ ระดับพื้นที่จังหวัด ที่มีความสอดคล้องกับระเบียบบริหาร
  • 10. ราชการแผ่นดินของประเทศ โดยแยกบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบ ของฝ่ายกาหนดนโยบาย (Regulator) และฝ่ายปฏิบัติ (Operator) ออก จากกันให้ชัดเจน (2) การบริหารราชการมีความเป็นเอกภาพ การออกแบบ โครงสร้างให้สามารถทางานประสาน แนวระนาบ (Cross Function) ระหว่างการศึกษาระดับและประเภทต่างๆ และสามารถใช้ทรัพยากรร่วมกันให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด การลดขั้นตอน กระจายความรับผิดชอบ และครอบคลุมการให้บริการที่รวดเร็วในทุก กลุ่มเป้าหมายของการจัดการศึกษา ขจัดปัญหาทางานแบบแยกส่วนตาม ระดับและประเภทการศึกษา ที่ขาดการบูรณาการการวางแผนร่วมกันเป็น ปัญหาเชิงโครงสร้างมาช้านาน (3) สามารถให้บริการผู้เรียน ผู้ปกครอง และประชาชนได้ อย่างมีประสิทธิภาพ เกิดความคล่องตัวใน การบริหารจัดการภารกิจทั้งแนวดิ่งและแนวราบที่สามารถเป็นกลไกในการ ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ของกระทรวงทั้งในระดับส่วนกลางและระดับพื้นที่ให้ เป็นแนวเดียวกัน (4) เกิดกลไกการดาเนินงานแบบบูรณาการที่สามารถ เชื่อมโยงและขับเคลื่อนนโยบาย ยุทธศาสตร์ และภารกิจของรัฐบาลและกระทรวงศึกษาธิการไปสู่การปฏิบัติในระดับ ภาคและจังหวัดที่เป็นแนวเดียวกัน การประสานราชการในภาพรวมที่เป็น เอกภาพและมีประสิทธิภาพ สามารถเชื่อมโยงกับกระทรวงหรือส่วน ราชการอื่นในจังหวัดที่สอดคล้องกับระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ท้องถิ่น) ให้เกิดประสิทธิภาพ การบริหารราชการ ของกระทรวงในระดับจังหวัด เพื่อไปสู่เป้าหมายให้ประชาชนสามารถ เข้าถึงระบบการศึกษาอย่างเท่าเทียม สร้างศักยภาพในเชิงการแข่งขัน ตอบสนองต่อความต้องการภายในประเทศและภูมิภาค - 7 – (5) มีระบบการตรวจสอบและถ่วงดุลในระดับจังหวัด สามารถ แก้ปัญหาการทุจริตและประพฤติ มิชอบ ให้เกิดความเป็นธรรมและความโปร่งใสในการแต่งตั้ง โยกย้าย ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 2. ผลกระทบ