SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
Download to read offline
ความขัดแย้งในกัมพูชา
โดย

         นายทักษ์ ทราปั ญ เลขที่ 4
      นางสาวกุลธิดา มาแสน เลขที่ 15
      นางสาวเจนจิรา รุจิวรกุล เลขที่16
      นางสาวปพิชญา งอกขึ้ น เลขที่ 21
      นางสาวปาริฉตร อินทยุง เลขที่ 23
                  ั
สงครามกัมพูชาเกิดขึ้ นหลังจากกัมพูชาได้เอกราชในปี 1975 และได้
นาเอาการปกครองแบบคอมมิวนิ สต์มาใช้ภายใต้การปกครองของกลุ่มบุคคล
ที่เรียกว่าเขมรแดง ต่อมาเวียดนามได้สงทหารจานวนมากเข้ายึดครอง
กัมพูชาทาให้เกิดสงคราม
สาเหตุความขัดแย้ง
 1. ปั ญหาความเกลียดชังระหว่างเชื้ อชาติระหว่างกัมพูชาและเวียดนามซึ่งมีมาอย่าง
    ต่อเนื่ องยาวนาน
 2. ความขัดแย้งในแนวชายแดนระหว่างกัมพูชาและเวียดนาม ในบริเวณที่เรียกว่า
    ดินแดนจงอยปากนกแก้ว (Parrot‘s Beak) ซึ่งกัมพูชาอ้างเสมอว่าเวียดนามได้บุก
    รุกเข้ามาตลอดเวลา ความขัดแย้งนี้ ทาให้เขมรแดงยิงปื นใหญ่เข้าไปในเขต
    เศรษฐกิจใหม่ของเวียดนาม จนกลายเป็ นความขัดแย้งและตอบโต้กนด้วยความ
                                                                  ั
    รุนแรง ทาให้เวียดนามต้องส่งทหารเข้ามาในกัมพูชา
 3. นโยบายรัฐบาลเขมรแดงที่ทารุนแรงกับคนกัมพูชา (จนเกิดกรณีทุ่งสังหาร) ในปี
    1977 ทาให้ผนาที่อยูในเขมรแดงด้วยกันไม่เห็นด้วย โดยเฉพาะเฮงสัมริน และฮุ น
                 ู้     ่
    เซน ทั้ง 2 คนจึงหนี ออกนอกประเทศและไปเชิญให้เวียดนามเข้ามาบุกยึดกัมพูชา
    และทั้ง 2 คนก็กลายเป็ นรัฐบาลหุนของเวียดนามในกัมพูชา
                                    ่
สงครามกัมพูชาเป็ นความขัดแย้ง 3 ระดับ

  1เป็ นสงครามกลางเมืองที่คนในชาติเดียวกันจับอาวุธเข้าทาสงครามกัน แบ่งออกเป็ น
     -ฝ่ ายรัฐบาลฮุ นเซนและเฮงสัมรินที่เวียดนามแต่งตั้งขึ้ น
     -ฝ่ ายต่อต้านฮุ นเซ็น คือเขมร 3 ฝ่ าย ที่ประกอบด้วยเขมรแดง ฝ่ ายเจ้านโรดมสีหนุ (ฟุน
     ซินเปก) และฝ่ ายซอนซาน
  2เป็ นความขัดแย้งระหว่าง 2 กลุ่มรัฐที่อยูในภูมิภาคเดียวกัน คือระหว่างกลุ่มรัฐในอินโดจีน
                                           ่
     และกลุ่มรัฐในอาเซียนในอาเซียนนั้นมีไทยเป็ นผูประสานงานให้อาเซียนมีบทบาทในการ
                                                    ้
     แก้ปัญหากัมพูชา เนื่ องจากไทยได้รบผลกระทบจากสงครามครั้งนี้ มากที่สุด และอาเซียน
                                         ั
     เป็ นผูสนับสนุ นเขมร 3 ฝ่ ายและต่อต้านเวียดนามและฝ่ ายเฮงสัมรินและฮุ นเซน
            ้
  3ความขัดแย้งระหว่างมหาอานาจของโลก 2 ประเทศคือจีนและสหภาพโซเวียต ทาให้
     สงครามกัมพูชาเป็ นสงครามตัวแทนของจีนและโซเวียตด้วย โดยโซเวียตหนุ นหลัง
     เวียดนามและรัฐบาลฮุ นเซน ส่วนจีนสนับสนุ นเขมร 3 ฝ่ าย
ลาดับเหตุการณ์

        คอมมิวนิ สต์เวียดนามและเขมรแดงจัดตั้งพันธมิตรเพื่อสูรบกับรัฐบาล
                                                            ้
ซึ่งมีสหรัฐอเมริกาหนุ นหลังในประเทศของตน แม้แสดงท่าทีร่วมมืออย่าง
เปิ ดเผยกับเวียดนาม แต่ผนาเขมรแดงเกรงว่าคอมมิวนิ สต์เวียดนามกาลัง
                          ู้
วางแผนจัดตั้งสหพันธ์อินโดจีนโดยมีเวียดนามเป็ นกาลังครอบงาในภูมิภาค
เพื่อชิงตัดหน้าความพยายามของเวียดนามในการครอบงาพวกตน ผูนาเขมร    ้
แดงจึงเริ่มกวาดล้างกาลังพลที่ได้รบการฝึ กจากเวียดนามในกองทหารของ
                                 ั
ตนเองเมื่อ พ.ศ. 2518
   จากนั้น ในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2518 กัมพูชาประชาธิปไตยซึ่งเพิ่งก่อตั้งขึ้ น
    ใหม่โดยมีเขมรแดงบงการนั้น เริ่มทาสงครามกับเวียดนาม ซึ่งเริ่มขึ้ นจากการ
    โจมตีเกาะฟูกวก (PhuQuoc) ของเวียดนาม แม้การสูรบเกิดขึ้ นระหว่างสอง
                 ๊                                 ้
    ประเทศ แต่ผนาของเวียดนามที่เพิ่งรวมชาติใหม่ ๆ กับกัมพูชานั้นก็ได้
                   ู้
    แลกเปลี่ยนทางการทูตสาธารณะหลายครั้งตลอด พ.ศ. 2519 เพื่อเน้น
    ความสัมพันธ์อนแนบแน่ นที่สมมติวาเป็ นจริงระหว่างกัน
                      ั             ่
อย่างไรก็ดี เบื้ องหลังฉากนั้น ผูนากัมพูชายังคงกลัวสิ่งที่พวกเขารับรูวาเป็ น
                                  ้                                   ้่
การขยายตัวของเวียดนาม เมือเป็ นเช่นนั้น ในวันที่ 30 เมษายน พ.ศ.
                               ่
2520 พวกเขาจึงเริ่มการโจมตีทางทหารครั้งใหญ่ต่อเวียดนามอีกครั้งหนึ่ ง
โดยตื่นตระหนกต่อการโจมตีของกัมพูชา เวียดนามเริ่มการตีแก้แค้นเมื่อ
ปลาย พ.ศ. 2520 ในความพยายามบีบให้รฐบาลกัมพูชาเจรจา
                                              ั
ในเดือนมกราคม พ.ศ. 2521 ทหารเวียดนามถอนออกไปเพราะเปาหมาย ้
ทางการเมืองไม่บรรลุผล 25 ธันวาคม พ.ศ. 2521 ทหารเวียดนาม 150,000
นายได้รุกรานกัมพูชาประชาธิปไตยและชนะกองทัพปฏิวติกมพูชาได้ในเวลา
                                               ั ั
เพียงสองสัปดาห์
   การสูรบขนาดเล็กดาเนิ นไประหว่างสองประเทศตลอด พ.ศ. 2521 เมื่อจีน
         ้
    พยายามไกล่เกลี่ยการเจรจาสันติภาพระหว่างทั้งสองฝ่ าย อย่างไรก็ดี ไม่มี
    ประเทศใดบรรลุการประนี ประนอมที่ยอมรับได้ที่โต๊ะเจรจา จนถึงปลาย
    พ.ศ. 2521 ผูนาเวียดนามตัดสินใจถอดรัฐบาลกัมพูชาประชาธิปไตยที่มเขมร
                ้                                                    ี
    แดงบงการอยู่ โดยมองว่าเขมรแดงอิงจีนและเป็ นปรปั กษ์ต่อเวียดนามเกินไป
   วันที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2522 สาธารณรัฐประชาชนกัมพูชานิ ยมเวียดนาม ถูก
    จัดตั้งขึ้ นในกรุงพนมเปญ นับเป็ นจุดเริ่มต้นของการยึดครองของเวียดนาม
    นานสิบปี ระหว่างช่วงนั้น กัมพูชาประชาธิปไตยของเขมรแดงยังได้รบการ ั
    รับรองโดยสหประชาชาติเป็ นรัฐบาลโดยชอบธรรมของกัมพูชา เพราะกลุ่ม
    ต่อต้านติดอาวุธหลายกลุ่มมีการจัดตั้งขึ้ นเพื่อสูรบกับการยึดครองของ
                                                    ้
    เวียดนาม
   หลังฉาก นายกรัฐมนตรีฮุน เซนแห่งรัฐบาลสาธารณรัฐประชาชนกัมพูชา
    เลียบเคียงฝ่ ายต่าง ๆ ของรัฐบาลผสมกัมพูชาประชาธิปไตยเพื่อเริ่มการ
    เจรจาสันติภาพ ภายใต้แรงกดดันทางการทูตและเศรษฐกิจอย่างหนักจาก
    ประชาคมนานาชาติ รัฐบาลเวียดนามจึงเริ่มนาการปฏิรปนโยบายเศรษฐกิจ
                                                      ู
    และต่างประเทศหลายอย่างมาใช้ ซึ่งนาไปสูการถอนตัวออกจากกัมพูชาใน
                                            ่
    เดือนกันยายน พ.ศ. 2532
   ที่การประชุมไม่เป็ นทางการจาการ์ตาครั้งที่สามใน พ.ศ. 2533 ภายใต้แผน
    สันติภาพกัมพูชาซึ่งออสเตรเลียเป็ นผูสนับสนุ น ผูแทนจากรัฐบาลผสม
                                        ้           ้
    กัมพูชาประชาธิปไตยและสาธารณรัฐประชาชนกัมพูชาตกลงจะจัดการแบ่ง
    อานาจกันโดยจัดตั้งรัฐบาลแห่งชาติขึ้น เรียกว่า สภาแห่งชาติสงสุด บทบาท
                                                              ู
    ของสภาแห่งชาติสงสุด คือ เป็ นตัวแทนอธิปไตยของกัมพูชาในเวทีระหว่าง
                       ู
    ประเทศ ขณะที่องค์กรบริหารชัวคราวแห่งสหประชาชาติในกัมพูชาได้รบ
                                 ่                                   ั
    มอบหมายให้ดแลนโยบายภายในประเทศของกัมพูชากระทังรัฐบาลกัมพูชา
                    ู                                      ่
    ได้รบเลือกตั้งผ่านกระบวนการอันเป็ นประชาธิปไตยอย่างสันติ
         ั
เส้นทางสู่สนติภาพของกัมพูชานั้นพิสจน์แล้วว่ายากยิง เพราะผูนาเขมรแดง
           ั                         ู             ่        ้
ตัดสินใจไม่เข้าร่วมการเลือกตั้งเป็ นการทัวไป แต่หนไปเลือกขัดขวาง
                                         ่       ั
กระบวนการเลือกตั้งโดยโจมตีทางทหารต่อเจ้าหน้าที่รกษาสันติภาพของ
                                                     ั
สหประชาชาติและสังหารผูอพยพเชื้ อชาติเวียดนาม
                          ้
ในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2536 ขบวนการฟุนซินเปค (FUNCINPEC) ของเจ้า
สีหนุ ชนะพรรคประชาชนกัมพูชา หรืออดีตพรรคปฏิวติประชาชนกัมพูชา ใน
                                                  ั
การเลือกตั้งเป็ นการทัวไป อย่างไรก็ดี ผูนาพรรคประชาชนกัมพูชาปฏิเสธ
                         ่               ้
ยอมรับความพ่ายแพ้และพวกเขาประกาศให้จงหวัดทางตะวันออกของ
                                            ั
กัมพูชา ที่ซึ่งเป็ นฐานเสียงส่วนใหญ่ของพรรค แยกตัวออกจากกัมพูชา เพื่อ
หลีกเลี่ยงผลเช่นนั้น เจ้านโรดม สีหนุ ผูนาพรรคฟุนซินเปคตกลงจัดตั้ง
                                       ้
รัฐบาลผสมกับพรรคประชาชนกัมพูชา ไม่นานจากนั้น ได้มการฟื้ นฟู
                                                      ี
ราชาธิปไตยภายใต้รฐธรรมนูญ และเขมรแดงถูกประกาศว่าผิดกฎหมายโดย
                       ั
รัฐบาลกัมพูชาที่เพิ่งตั้งขึ้ นใหม่นี้
แนวทางการแก้ไขปั ญหาของสหประชาชาติ

         ความคลี่คลายของปั ญหากัมพูชาเกิดขึ้ นเมื่อรัสเซียฟื้ นความสัมพันธ์
 กับจีน รัสเซียดาเนิ นตามการเรียกร้องของจีน คือการถอนทหารออกจาก
 อาฟกันนิ สถาน ลดกาลังทหารที่ประชิดชายแดนจีน จีนจะมาสนับสนุ น
 เวียดนามเหนื อ
          การเปลี่ยนแปลงนโยบายต่างประเทศของอเมริกาที่มีต่อกัมพูชาใน
 ปี 1990 เจมส์ เบเกอร์ รัฐมนตรีต่างประเทศของอเมริกาได้แถลงที่กรุง
 ปารีสว่า อเมริกาเตรียมพร้อมที่จะเปลี่ยนแปลงนโยบายเกี่ยวกับที่นังของ
                                                                   ่
 กัมพูชาในองค์กรสหประชาชาติ และจะเจรจากับเวียดนามเพื่อยุติสงครามใน
 กัมพูชา
ผลกระทบจากความขัดแย้ง

  ผลกระทบที่เกี่ยวข้องกับประเทศไทยคือ
 มีผอพยพเพื่อหนี เหตุการณ์ความไม่สงบในกัมพูชาเข้ามาในประเทศไทย
    ู้
 มากมาย เกิดปั ญหาเช่น ไทยต้องความช่วยเหลือ ให้ที่พกพิง และเกิดความ
                                                   ั
 ขัดแย้งระหว่างชายแดนตลอดเวลาที่เกิดสงคราม

More Related Content

Viewers also liked

ประวัติประเทศกัมพูชา
ประวัติประเทศกัมพูชาประวัติประเทศกัมพูชา
ประวัติประเทศกัมพูชาNobpakao Kantawong
 
Telepharma Pirsum
Telepharma PirsumTelepharma Pirsum
Telepharma Pirsumguest542dc8
 
อาเซียน ประเทศกัมพูชา
อาเซียน ประเทศกัมพูชาอาเซียน ประเทศกัมพูชา
อาเซียน ประเทศกัมพูชาChainarong Maharak
 
Panfleto carrefour meridiano 2012 ii
Panfleto carrefour meridiano 2012   iiPanfleto carrefour meridiano 2012   ii
Panfleto carrefour meridiano 2012 iioscargaliza
 
Zena acrta _cnc_30092011
Zena acrta _cnc_30092011Zena acrta _cnc_30092011
Zena acrta _cnc_30092011oscargaliza
 
ZFConf 2012: Реализация доступа к СУБД IBM DB2 посредством встраиваемого SQL ...
ZFConf 2012: Реализация доступа к СУБД IBM DB2 посредством встраиваемого SQL ...ZFConf 2012: Реализация доступа к СУБД IBM DB2 посредством встраиваемого SQL ...
ZFConf 2012: Реализация доступа к СУБД IBM DB2 посредством встраиваемого SQL ...ZFConf Conference
 
Corporate Presentation - WebonRetail
Corporate Presentation - WebonRetailCorporate Presentation - WebonRetail
Corporate Presentation - WebonRetaile_nitin
 
Un Millón de Botellas Templo Budista
Un Millón de Botellas Templo BudistaUn Millón de Botellas Templo Budista
Un Millón de Botellas Templo BudistaEva Cajigas
 
Manual de selección de medicamentos Minsal Chile 2010
Manual de selección de medicamentos Minsal Chile 2010Manual de selección de medicamentos Minsal Chile 2010
Manual de selección de medicamentos Minsal Chile 2010MANUEL RIVERA
 
Consciousness Hacking - Algemene Presentatie
Consciousness Hacking - Algemene PresentatieConsciousness Hacking - Algemene Presentatie
Consciousness Hacking - Algemene PresentatieYfke Laanstra
 
Consciousness Hacking NL
Consciousness Hacking NLConsciousness Hacking NL
Consciousness Hacking NLYfke Laanstra
 

Viewers also liked (20)

ประวัติประเทศกัมพูชา
ประวัติประเทศกัมพูชาประวัติประเทศกัมพูชา
ประวัติประเทศกัมพูชา
 
Telepharma Pirsum
Telepharma PirsumTelepharma Pirsum
Telepharma Pirsum
 
อาเซียน ประเทศกัมพูชา
อาเซียน ประเทศกัมพูชาอาเซียน ประเทศกัมพูชา
อาเซียน ประเทศกัมพูชา
 
Darth vader lego in steps for facebook
Darth vader lego in steps for facebookDarth vader lego in steps for facebook
Darth vader lego in steps for facebook
 
Panfleto carrefour meridiano 2012 ii
Panfleto carrefour meridiano 2012   iiPanfleto carrefour meridiano 2012   ii
Panfleto carrefour meridiano 2012 ii
 
Zena acrta _cnc_30092011
Zena acrta _cnc_30092011Zena acrta _cnc_30092011
Zena acrta _cnc_30092011
 
Asp Net Architecture
Asp Net ArchitectureAsp Net Architecture
Asp Net Architecture
 
ZFConf 2012: Реализация доступа к СУБД IBM DB2 посредством встраиваемого SQL ...
ZFConf 2012: Реализация доступа к СУБД IBM DB2 посредством встраиваемого SQL ...ZFConf 2012: Реализация доступа к СУБД IBM DB2 посредством встраиваемого SQL ...
ZFConf 2012: Реализация доступа к СУБД IBM DB2 посредством встраиваемого SQL ...
 
Corporate Presentation - WebonRetail
Corporate Presentation - WebonRetailCorporate Presentation - WebonRetail
Corporate Presentation - WebonRetail
 
Un Millón de Botellas Templo Budista
Un Millón de Botellas Templo BudistaUn Millón de Botellas Templo Budista
Un Millón de Botellas Templo Budista
 
Manual de selección de medicamentos Minsal Chile 2010
Manual de selección de medicamentos Minsal Chile 2010Manual de selección de medicamentos Minsal Chile 2010
Manual de selección de medicamentos Minsal Chile 2010
 
Consciousness Hacking - Algemene Presentatie
Consciousness Hacking - Algemene PresentatieConsciousness Hacking - Algemene Presentatie
Consciousness Hacking - Algemene Presentatie
 
เศรษฐกิจระหว่างประเทศ
เศรษฐกิจระหว่างประเทศเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
เศรษฐกิจระหว่างประเทศ
 
Consciousness Hacking NL
Consciousness Hacking NLConsciousness Hacking NL
Consciousness Hacking NL
 
Convegno Ordine dei dottori commercialisti di Catania - Personal Branding
Convegno Ordine dei dottori commercialisti di Catania - Personal BrandingConvegno Ordine dei dottori commercialisti di Catania - Personal Branding
Convegno Ordine dei dottori commercialisti di Catania - Personal Branding
 
Digital pr & Web Reputation
Digital pr & Web ReputationDigital pr & Web Reputation
Digital pr & Web Reputation
 
Presentatie Lastafel
Presentatie LastafelPresentatie Lastafel
Presentatie Lastafel
 
ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ
ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ
ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ
 
สงครามโลก..[2]
สงครามโลก..[2]สงครามโลก..[2]
สงครามโลก..[2]
 
editing
editingediting
editing
 

More from Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand

พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 

More from Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand (20)

กำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลินกำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลิน
 
รายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social mediaรายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social media
 
เศรษฐกิจ
เศรษฐกิจเศรษฐกิจ
เศรษฐกิจ
 
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
 
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
 
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3
 
รวม 5 สาระสัคม
รวม  5 สาระสัคมรวม  5 สาระสัคม
รวม 5 สาระสัคม
 
แบบรายงานการนำเสนอผลงาน
แบบรายงานการนำเสนอผลงานแบบรายงานการนำเสนอผลงาน
แบบรายงานการนำเสนอผลงาน
 
รวม 5 สาระสัคม
รวม  5 สาระสัคมรวม  5 สาระสัคม
รวม 5 สาระสัคม
 
Statby school 2555_m3_1057012007
Statby school 2555_m3_1057012007Statby school 2555_m3_1057012007
Statby school 2555_m3_1057012007
 
Content statbyschool 2554_m3_1057012007
Content statbyschool 2554_m3_1057012007Content statbyschool 2554_m3_1057012007
Content statbyschool 2554_m3_1057012007
 
Content statbyschool 2553_m3_1057012007
Content statbyschool 2553_m3_1057012007Content statbyschool 2553_m3_1057012007
Content statbyschool 2553_m3_1057012007
 
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็มผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
 
O net ม.3
O net ม.3O net ม.3
O net ม.3
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการแบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
 
1
11
1
 
การแบ่งภูมิภาค
การแบ่งภูมิภาคการแบ่งภูมิภาค
การแบ่งภูมิภาค
 

กัมพูชา

  • 2. โดย นายทักษ์ ทราปั ญ เลขที่ 4 นางสาวกุลธิดา มาแสน เลขที่ 15 นางสาวเจนจิรา รุจิวรกุล เลขที่16 นางสาวปพิชญา งอกขึ้ น เลขที่ 21 นางสาวปาริฉตร อินทยุง เลขที่ 23 ั
  • 3. สงครามกัมพูชาเกิดขึ้ นหลังจากกัมพูชาได้เอกราชในปี 1975 และได้ นาเอาการปกครองแบบคอมมิวนิ สต์มาใช้ภายใต้การปกครองของกลุ่มบุคคล ที่เรียกว่าเขมรแดง ต่อมาเวียดนามได้สงทหารจานวนมากเข้ายึดครอง กัมพูชาทาให้เกิดสงคราม
  • 4. สาเหตุความขัดแย้ง 1. ปั ญหาความเกลียดชังระหว่างเชื้ อชาติระหว่างกัมพูชาและเวียดนามซึ่งมีมาอย่าง ต่อเนื่ องยาวนาน 2. ความขัดแย้งในแนวชายแดนระหว่างกัมพูชาและเวียดนาม ในบริเวณที่เรียกว่า ดินแดนจงอยปากนกแก้ว (Parrot‘s Beak) ซึ่งกัมพูชาอ้างเสมอว่าเวียดนามได้บุก รุกเข้ามาตลอดเวลา ความขัดแย้งนี้ ทาให้เขมรแดงยิงปื นใหญ่เข้าไปในเขต เศรษฐกิจใหม่ของเวียดนาม จนกลายเป็ นความขัดแย้งและตอบโต้กนด้วยความ ั รุนแรง ทาให้เวียดนามต้องส่งทหารเข้ามาในกัมพูชา 3. นโยบายรัฐบาลเขมรแดงที่ทารุนแรงกับคนกัมพูชา (จนเกิดกรณีทุ่งสังหาร) ในปี 1977 ทาให้ผนาที่อยูในเขมรแดงด้วยกันไม่เห็นด้วย โดยเฉพาะเฮงสัมริน และฮุ น ู้ ่ เซน ทั้ง 2 คนจึงหนี ออกนอกประเทศและไปเชิญให้เวียดนามเข้ามาบุกยึดกัมพูชา และทั้ง 2 คนก็กลายเป็ นรัฐบาลหุนของเวียดนามในกัมพูชา ่
  • 5. สงครามกัมพูชาเป็ นความขัดแย้ง 3 ระดับ 1เป็ นสงครามกลางเมืองที่คนในชาติเดียวกันจับอาวุธเข้าทาสงครามกัน แบ่งออกเป็ น -ฝ่ ายรัฐบาลฮุ นเซนและเฮงสัมรินที่เวียดนามแต่งตั้งขึ้ น -ฝ่ ายต่อต้านฮุ นเซ็น คือเขมร 3 ฝ่ าย ที่ประกอบด้วยเขมรแดง ฝ่ ายเจ้านโรดมสีหนุ (ฟุน ซินเปก) และฝ่ ายซอนซาน 2เป็ นความขัดแย้งระหว่าง 2 กลุ่มรัฐที่อยูในภูมิภาคเดียวกัน คือระหว่างกลุ่มรัฐในอินโดจีน ่ และกลุ่มรัฐในอาเซียนในอาเซียนนั้นมีไทยเป็ นผูประสานงานให้อาเซียนมีบทบาทในการ ้ แก้ปัญหากัมพูชา เนื่ องจากไทยได้รบผลกระทบจากสงครามครั้งนี้ มากที่สุด และอาเซียน ั เป็ นผูสนับสนุ นเขมร 3 ฝ่ ายและต่อต้านเวียดนามและฝ่ ายเฮงสัมรินและฮุ นเซน ้ 3ความขัดแย้งระหว่างมหาอานาจของโลก 2 ประเทศคือจีนและสหภาพโซเวียต ทาให้ สงครามกัมพูชาเป็ นสงครามตัวแทนของจีนและโซเวียตด้วย โดยโซเวียตหนุ นหลัง เวียดนามและรัฐบาลฮุ นเซน ส่วนจีนสนับสนุ นเขมร 3 ฝ่ าย
  • 6. ลาดับเหตุการณ์ คอมมิวนิ สต์เวียดนามและเขมรแดงจัดตั้งพันธมิตรเพื่อสูรบกับรัฐบาล ้ ซึ่งมีสหรัฐอเมริกาหนุ นหลังในประเทศของตน แม้แสดงท่าทีร่วมมืออย่าง เปิ ดเผยกับเวียดนาม แต่ผนาเขมรแดงเกรงว่าคอมมิวนิ สต์เวียดนามกาลัง ู้ วางแผนจัดตั้งสหพันธ์อินโดจีนโดยมีเวียดนามเป็ นกาลังครอบงาในภูมิภาค เพื่อชิงตัดหน้าความพยายามของเวียดนามในการครอบงาพวกตน ผูนาเขมร ้ แดงจึงเริ่มกวาดล้างกาลังพลที่ได้รบการฝึ กจากเวียดนามในกองทหารของ ั ตนเองเมื่อ พ.ศ. 2518
  • 7. จากนั้น ในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2518 กัมพูชาประชาธิปไตยซึ่งเพิ่งก่อตั้งขึ้ น ใหม่โดยมีเขมรแดงบงการนั้น เริ่มทาสงครามกับเวียดนาม ซึ่งเริ่มขึ้ นจากการ โจมตีเกาะฟูกวก (PhuQuoc) ของเวียดนาม แม้การสูรบเกิดขึ้ นระหว่างสอง ๊ ้ ประเทศ แต่ผนาของเวียดนามที่เพิ่งรวมชาติใหม่ ๆ กับกัมพูชานั้นก็ได้ ู้ แลกเปลี่ยนทางการทูตสาธารณะหลายครั้งตลอด พ.ศ. 2519 เพื่อเน้น ความสัมพันธ์อนแนบแน่ นที่สมมติวาเป็ นจริงระหว่างกัน ั ่
  • 8. อย่างไรก็ดี เบื้ องหลังฉากนั้น ผูนากัมพูชายังคงกลัวสิ่งที่พวกเขารับรูวาเป็ น ้ ้่ การขยายตัวของเวียดนาม เมือเป็ นเช่นนั้น ในวันที่ 30 เมษายน พ.ศ. ่ 2520 พวกเขาจึงเริ่มการโจมตีทางทหารครั้งใหญ่ต่อเวียดนามอีกครั้งหนึ่ ง โดยตื่นตระหนกต่อการโจมตีของกัมพูชา เวียดนามเริ่มการตีแก้แค้นเมื่อ ปลาย พ.ศ. 2520 ในความพยายามบีบให้รฐบาลกัมพูชาเจรจา ั
  • 9. ในเดือนมกราคม พ.ศ. 2521 ทหารเวียดนามถอนออกไปเพราะเปาหมาย ้ ทางการเมืองไม่บรรลุผล 25 ธันวาคม พ.ศ. 2521 ทหารเวียดนาม 150,000 นายได้รุกรานกัมพูชาประชาธิปไตยและชนะกองทัพปฏิวติกมพูชาได้ในเวลา ั ั เพียงสองสัปดาห์
  • 10. การสูรบขนาดเล็กดาเนิ นไประหว่างสองประเทศตลอด พ.ศ. 2521 เมื่อจีน ้ พยายามไกล่เกลี่ยการเจรจาสันติภาพระหว่างทั้งสองฝ่ าย อย่างไรก็ดี ไม่มี ประเทศใดบรรลุการประนี ประนอมที่ยอมรับได้ที่โต๊ะเจรจา จนถึงปลาย พ.ศ. 2521 ผูนาเวียดนามตัดสินใจถอดรัฐบาลกัมพูชาประชาธิปไตยที่มเขมร ้ ี แดงบงการอยู่ โดยมองว่าเขมรแดงอิงจีนและเป็ นปรปั กษ์ต่อเวียดนามเกินไป
  • 11. วันที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2522 สาธารณรัฐประชาชนกัมพูชานิ ยมเวียดนาม ถูก จัดตั้งขึ้ นในกรุงพนมเปญ นับเป็ นจุดเริ่มต้นของการยึดครองของเวียดนาม นานสิบปี ระหว่างช่วงนั้น กัมพูชาประชาธิปไตยของเขมรแดงยังได้รบการ ั รับรองโดยสหประชาชาติเป็ นรัฐบาลโดยชอบธรรมของกัมพูชา เพราะกลุ่ม ต่อต้านติดอาวุธหลายกลุ่มมีการจัดตั้งขึ้ นเพื่อสูรบกับการยึดครองของ ้ เวียดนาม
  • 12. หลังฉาก นายกรัฐมนตรีฮุน เซนแห่งรัฐบาลสาธารณรัฐประชาชนกัมพูชา เลียบเคียงฝ่ ายต่าง ๆ ของรัฐบาลผสมกัมพูชาประชาธิปไตยเพื่อเริ่มการ เจรจาสันติภาพ ภายใต้แรงกดดันทางการทูตและเศรษฐกิจอย่างหนักจาก ประชาคมนานาชาติ รัฐบาลเวียดนามจึงเริ่มนาการปฏิรปนโยบายเศรษฐกิจ ู และต่างประเทศหลายอย่างมาใช้ ซึ่งนาไปสูการถอนตัวออกจากกัมพูชาใน ่ เดือนกันยายน พ.ศ. 2532
  • 13. ที่การประชุมไม่เป็ นทางการจาการ์ตาครั้งที่สามใน พ.ศ. 2533 ภายใต้แผน สันติภาพกัมพูชาซึ่งออสเตรเลียเป็ นผูสนับสนุ น ผูแทนจากรัฐบาลผสม ้ ้ กัมพูชาประชาธิปไตยและสาธารณรัฐประชาชนกัมพูชาตกลงจะจัดการแบ่ง อานาจกันโดยจัดตั้งรัฐบาลแห่งชาติขึ้น เรียกว่า สภาแห่งชาติสงสุด บทบาท ู ของสภาแห่งชาติสงสุด คือ เป็ นตัวแทนอธิปไตยของกัมพูชาในเวทีระหว่าง ู ประเทศ ขณะที่องค์กรบริหารชัวคราวแห่งสหประชาชาติในกัมพูชาได้รบ ่ ั มอบหมายให้ดแลนโยบายภายในประเทศของกัมพูชากระทังรัฐบาลกัมพูชา ู ่ ได้รบเลือกตั้งผ่านกระบวนการอันเป็ นประชาธิปไตยอย่างสันติ ั
  • 14. เส้นทางสู่สนติภาพของกัมพูชานั้นพิสจน์แล้วว่ายากยิง เพราะผูนาเขมรแดง ั ู ่ ้ ตัดสินใจไม่เข้าร่วมการเลือกตั้งเป็ นการทัวไป แต่หนไปเลือกขัดขวาง ่ ั กระบวนการเลือกตั้งโดยโจมตีทางทหารต่อเจ้าหน้าที่รกษาสันติภาพของ ั สหประชาชาติและสังหารผูอพยพเชื้ อชาติเวียดนาม ้
  • 15. ในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2536 ขบวนการฟุนซินเปค (FUNCINPEC) ของเจ้า สีหนุ ชนะพรรคประชาชนกัมพูชา หรืออดีตพรรคปฏิวติประชาชนกัมพูชา ใน ั การเลือกตั้งเป็ นการทัวไป อย่างไรก็ดี ผูนาพรรคประชาชนกัมพูชาปฏิเสธ ่ ้ ยอมรับความพ่ายแพ้และพวกเขาประกาศให้จงหวัดทางตะวันออกของ ั กัมพูชา ที่ซึ่งเป็ นฐานเสียงส่วนใหญ่ของพรรค แยกตัวออกจากกัมพูชา เพื่อ หลีกเลี่ยงผลเช่นนั้น เจ้านโรดม สีหนุ ผูนาพรรคฟุนซินเปคตกลงจัดตั้ง ้ รัฐบาลผสมกับพรรคประชาชนกัมพูชา ไม่นานจากนั้น ได้มการฟื้ นฟู ี ราชาธิปไตยภายใต้รฐธรรมนูญ และเขมรแดงถูกประกาศว่าผิดกฎหมายโดย ั รัฐบาลกัมพูชาที่เพิ่งตั้งขึ้ นใหม่นี้
  • 16. แนวทางการแก้ไขปั ญหาของสหประชาชาติ ความคลี่คลายของปั ญหากัมพูชาเกิดขึ้ นเมื่อรัสเซียฟื้ นความสัมพันธ์ กับจีน รัสเซียดาเนิ นตามการเรียกร้องของจีน คือการถอนทหารออกจาก อาฟกันนิ สถาน ลดกาลังทหารที่ประชิดชายแดนจีน จีนจะมาสนับสนุ น เวียดนามเหนื อ การเปลี่ยนแปลงนโยบายต่างประเทศของอเมริกาที่มีต่อกัมพูชาใน ปี 1990 เจมส์ เบเกอร์ รัฐมนตรีต่างประเทศของอเมริกาได้แถลงที่กรุง ปารีสว่า อเมริกาเตรียมพร้อมที่จะเปลี่ยนแปลงนโยบายเกี่ยวกับที่นังของ ่ กัมพูชาในองค์กรสหประชาชาติ และจะเจรจากับเวียดนามเพื่อยุติสงครามใน กัมพูชา
  • 17. ผลกระทบจากความขัดแย้ง ผลกระทบที่เกี่ยวข้องกับประเทศไทยคือ มีผอพยพเพื่อหนี เหตุการณ์ความไม่สงบในกัมพูชาเข้ามาในประเทศไทย ู้ มากมาย เกิดปั ญหาเช่น ไทยต้องความช่วยเหลือ ให้ที่พกพิง และเกิดความ ั ขัดแย้งระหว่างชายแดนตลอดเวลาที่เกิดสงคราม