O slideshow foi denunciado.
Seu SlideShare está sendo baixado. ×

บทที่7.pdf

Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Próximos SlideShares
บทที่8.pdf
บทที่8.pdf
Carregando em…3
×

Confira estes a seguir

1 de 35 Anúncio

Mais Conteúdo rRelacionado

Mais recentes (19)

Anúncio

บทที่7.pdf

  1. 1. การทดสอบสมบุติฐานสาหรับประชากรเดียว
  2. 2. 2 2 ข้อสมมุติหรือข้อความที่เกี่ยวข้องกันของประชากร 1 ชุดหรือมากกว่า การทดสอบสมมุติฐาน การทดสอบสมมุติฐาน(Hypothesis Testing) สมมุติฐาน ขั้นตอนหรือกระบวนการตัดสินใจว่าจะยอมรับหรือปฏิเสธสมมุติฐานนั้นๆ
  3. 3. 3 3 H0 : สมมุติฐานหลัก (Null Hypothesis) H1 : สมมุติฐานแย้ง (Alternative Hypothesis) H0 : µ = 60 (ค่าเฉลี่ยคะแนนวิชา Stat ของ นศ. = 60) H1 : µ ≠ 60 (ค่าเฉลี่ยคะแนนวิชา Stat ของ นศ. ≠ 60) H0 : µ = 50 (ค่าเฉลี่ยคะแนนวิชา Stat ของ นศ. = 50) H1 : µ < 50 (ค่าเฉลี่ยคะแนนวิชา Stat ของ นศ. < 50) การทดสอบสมมุติฐาน(Hypothesis Testing) การตั้งสมมุติฐาน
  4. 4. 4 4 H0 : µ = 50 (ค่าเฉลี่ยคะแนนวิชา Stat ของ นศ. = 50) H1 : µ ≠ 50 (ค่าเฉลี่ยคะแนนวิชา Stat ของ นศ. ≠ 50) การทดสอบสมมุติฐาน(Hypothesis Testing) การทดสอบสมมุติฐาน ค่าเฉลี่ยตัวอย่างมีได้หลากหลายค่า สมมุติให้ค่าเฉลี่ยตัวอย่าง อยู่ระหว่าง 48.5 ถึง 51.5 48.5 51.5 ไม่สามารถปฏิเสธ H0 µ=50 ปฏิเสธ H0 µ≠50 ปฏิเสธ H0 µ≠50
  5. 5. 5 5 ขั้นตอนการทดสอบสมมติฐานของพารามิเตอร์ การทดสอบสมมติฐานที่พบบ่อยคือ ค่าเฉลี่ย ความแปรปรวน และสัดส่วน ประกอบด้วย 6 ขั้นตอนคือ 1. กาหนดสมมติฐานหลัก H0 2. กาหนดสมมติฐานทางเลือก H1 3. เลือกค่าระดับนัยสาคัญ α 4. กาหนดบริเวณวิกฤติ (Critical Region) ตามระดับนัยสาคัญและการตั้งสมมติฐานทางเลือก H1 5. สุ่มตัวอย่างขนาด n และคานวณค่าสถิติที่ใช้ทดสอบ 6. นาค่าสถิติที่ได้จากการคานวณตามข้อที่ 5. เปรียบเทียบกับบริเวณวิกฤติตามข้อที่ 4. แล้วสรุปผลดังนี้ ❖ ถ้าอยู่ในบริเวณวิกฤติ จะปฏิเสธสมมติฐานหลัก H0 ❖ ถ้าอยู่นอกบริเวณวิกฤติ จะยอมรับสมมติฐานหลัก H0
  6. 6. 6 6 การตัดสินใจยอมรับ / ปฏิเสธสมมุติฐาน
  7. 7. ประเภทความผิดพลาดที่พบจากการทดสอบสมมติฐาน(Types of Error) การตัดสินใจที่จะยอมรับหรือปฏิเสธ H0 นั้น พิจารณาจากค่าสถิติที่คานวณได้จากกลุ่มตัวอย่าง ซึ่งมีโอกาส ที่จะเกิดความผิดพลาดในการตัดสินใจได้ ซึ่งประเภทความผิดพลาดที่พบแบ่งเป็น 2 ประเภทคือ 1. ความผิดพลาดแบบที่หนึ่ง (Type I Error) การปฏิเสธ H0 ทั้งที่ H0 เป็นจริง ให้ระดับนัยสาคัญ α แทนค่าความน่าจะเป็นความผิดพลาดแบบที่ 1 2. ความผิดพลาดแบบที่สอง (Type II Error) การยอมรับ H0 ทั้งที่ H0 เป็นเท็จ ให้ β แทนค่าความน่าจะเป็นความผิดพลาดแบบที่ 2 α = P(Type I Error) = P(Reject H0 | H0 is True) β = P(Type II Error) = P(Fail to Reject H0 | H0 is False)
  8. 8. ประเภทความผิดพลาดที่พบจากการทดสอบสมมติฐาน(Types of Error) ค่า (1 – β) เรียกว่าอานาจการทดสอบ (Power of the Test) เป็นความน่าจะเป็นที่ปฏิเสธสมมติฐานโดยที่ H0 เป็นเท็จ (1 – β) = Power = P(Reject H0 | H0 is False) อานาจการทดสอบจะเป็นตัววัดความไว (Sensitivity) ของการทดสอบ สมมติฐาน โดยจะบ่งบอกถึงความสามารถของการทดสอบที่จะตรวจพบความแตกต่างที่เกิดขึ้น
  9. 9. ความน่าจะเป็นของความผิดพลาดแบบที่สอง(ß) ความน่าจะเป็นของความผิดพลาดแบบที่หนึ่ง จะถูกกาหนดโดยผู้วิเคราะห์ว่าต้องการทดสอบภายใต้ระดับนัยสาคัญ α เท่าใด ส่วนความน่าจะเป็นของความผิดพลาดแบบที่สองจะขึ้นกับขนาดของกลุ่มตัวอย่าง
  10. 10. ความน่าจะเป็นของความผิดพลาดแบบที่สอง(ß)
  11. 11. ความน่าจะเป็นของความผิดพลาดแบบที่สอง(ß)
  12. 12. ขนาดตัวอย่างที่เหมาะสม (Sample Size)
  13. 13. ขนาดตัวอย่างที่เหมาะสม (Sample Size)
  14. 14. 14 14 การทดสอบสมมุตฐานของค่าเฉลี่ย (กรณีทราบความแปรปรวน) กรณี Two Tailed Test จะปฏิเสธ H0 เมื่อ n x z / 0 0   − = 2 /  z − 2 /  z 0 2 / 0 2 / 0   z z or z z  −  ค่าสถิติคือ กรณี One Tailed Test จะปฏิเสธ H0 เมื่อ Test Lower for z z − −   0 Test Upper for z z −   0 0 1 0 0 : , :      = H H 0 1 0 0 : , :      = H H 0 1 0 0 : , :      = H H
  15. 15. Example 1. ข้อกาหนดสินค้ามีอายุการใช้งานเฉลี่ย 50 ปี ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 2 ปี ในการทดสอบแบบสุ่มด้วย ระดับนัยสาคัญ เท่ากับ 0.05 ด้วยตัวอย่างทั้งสิ้น 25 ชิ้น ได้รับค่าเฉลี่ยตัวอย่าง 51.3 ปี จงสรุปผล การทดสอบสินค้านี้ 1. ตั้งสมมุติฐาน 2. ตัวสถิติทดสอบ 3. Reject H0 เมื่อ z0 > 1.96 หรือ z0 < -1.96 4. สรุปได้ว่า ค่า z0 ที่คานวณได้ =3.25 > z0.025 =1.96 ดังนั้นจึงปฏิเสธ H0 นั่นคือ อายุการใช้งานเฉลี่ยของประชากรไม่เท่ากับ 50 ปี ที่ระดับนัยสาคัญ 0.05 05 . 0 50 : , 50 : 1 0 =  =    H H  25 . 3 25 2 50 3 . 51 0 = − = − = n x z   96 . 1 96 . 1 2 / 2 / = − = −   z z 0.025 0.025
  16. 16. Example 2. โรงงานแห่งหนึ่งคาดการว่าปริมาณความต้องการวัตถุดิบเฉลี่ยที่ใช้ในโรงงานมีค่าต่ากว่า 650 ตัน/วัน จึงเก็บข้อมูลปริมาณวัตถุดิบที่ใช้เป็นเวลา 50 วัน ทั้งนี้จากข้อมูลตัวอย่างพบว่า ปริมาณความต้องการ เฉลี่ย 649.14 ตัน/วัน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 14.388 ตัน/วัน จงหาว่าการคาดคะเนเป็นจริงหรือไม่ หากทาการทดสอบที่ระดับนัยสาคัญ = 0.05 1. ตั้งสมมุติฐาน 2. ตัวสถิติทดสอบ แต่ n>30 จึงใช้ z0 แทน 3. Reject H0 เมื่อ z0 < -1.645 4. สรุปได้ว่า ค่า z0 ที่คานวณได้ =-0.42 > z0.05=-1.645 ดังนั้นจึงไม่สามารถปฏิเสธ H0 ได้ 05 . 0 650 : , 650 : 1 0 =  =    H H  n S x t  − = 0 42 . 0 50 388 . 14 650 14 . 649 0 − = − = − = n S x z 
  17. 17. Example 3. ในการสารวจข้อมูลเพื่อศึกษาว่าระดับคะแนน นศ.วิศวกรรม ปี 2546 มีค่าเท่ากับ 2.35 หรือไม่ ทบวง จึงสุ่มเก็บข้อมูลจานวน 100 ข้อมูล พบว่าระดับคะแนนมีการแจกแจงแบบปกติ ที่ค่าเฉลี่ยตัวอย่างเท่า กับ 2.437 และมีค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 1.026 จงหาว่าการคาดคะเนเป็นจริงหรือไม่ ที่ = 0.10 1. ตั้งสมมุติฐาน 2. ตัวสถิติทดสอบ แต่ n>30 จึงใช้ z0 แทน 3. Reject H0 เมื่อ z0 < -1.645 หรือ z0 > 1.645 4. สรุปได้ว่า ค่า z0 ที่คานวณได้ =-0.85 > z0.05=-1.645 ดังนั้นจึงไม่สามารถปฏิเสธ H0 ได้ นั่นคือ ค่าระดับคะแนน นศ.วิศวกรรม ปี 2546 มีค่าเท่ากับ 2.35 ที่ระดับนัยสาคัญ 0.10 10 . 0 35 . 2 : , 35 . 2 : 1 0 =  =    H H  n S x t  − = 0 85 . 0 100 026 . 1 35 . 2 437 . 2 0 − = − = − = n S x z 
  18. 18. 18 18 ค่า P - Value นอกจากการทดสอบสมมุติฐาน โดยใช้ค่าสถิติเปรียบเทียบกับเขตวิกฤตแล้ว ยังสามารถใช้ P-Value ได้ P-Value คือ ระดับต่าสุดของนัยสาคัญ ที่นาไปสู่การปฏิเสธ H0 ที่ถูกพิจารณาจากข้อมูลเดิมที่มีอยู่ โดยจะปฏิเสธสมมุติฐานหลักก็ต่อเมื่อ โดยที่   −Value P Test Tailed Two for z Value P − −  − = − : ] 1 [ 2 0 Test Tailed Upper for z − −  − = : ] 1 [ 0 Test Tailed Lower for z − −  = : 0 0 1 0 0 : , :      = H H 0 1 0 0 : , :      = H H 0 1 0 0 : , :      = H H
  19. 19. Example 4. (จากตัวอย่างที่ 1) ข้อกาหนดสินค้ามีอายุการใช้งานเฉลี่ย 50 ปี ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 2 ปี ในการทดสอบแบบสุ่มด้วย ระดับนัยสาคัญ เท่ากับ 0.05 ด้วยตัวอย่างทั้งสิ้น 25 ชิ้น ได้รับค่าเฉลี่ยตัวอย่าง 51.3 ปี จงสรุปผล การทดสอบสินค้านี้ 1. ตั้งสมมุติฐาน 2. ตัวสถิติทดสอบ 3. Reject H0 เมื่อ z0 > 1.96 หรือ z0 < -1.96 4. สรุปได้ว่า ค่า z0 ที่คานวณได้ =3.25 > z0.025 =1.96 ดังนั้นจึงปฏิเสธ H0 05 . 0 50 : , 50 : 1 0 =  =    H H  25 . 3 25 2 50 3 . 51 0 = − = − = n x z   ] 25 . 3 1 [ 2  − = −Value P ] 9994 . 0 1 [ 2 − = 012 . 0 = ได้ค่า P-Value = 0.012 ซึ่ง < 0.05 ดังนั้นจึงปฏิเสธ H0
  20. 20. 20 20 การหาขนาดที่เหมาะสมของตัวอย่าง กรณีทดสอบ 2 ด้าน (Two Tailed Test) 0 2 2 2 2 / ; ) (        − = +  z z n กรณีทดสอบด้านเดียว (One Tailed Test : upper or Lower) 0 2 2 2 ; ) (        − = +  z z n
  21. 21. Example 5. สมมุติให้ความแตกต่างของ และ มีค่าประมาณ 1 ปี อานาจการทดสอบ (power of test) เท่ากับ 90% (การทดสอบสามารถตรวจสอบความผิดพลาดหรือปฏิเสธสมมุติฐานหลักที่ผิด) กาหนดให้ ) ( 0    10 . 0 05 . 0 , 1 , 2 0 =  = = − = =       0 2 2 2 2 / ; ) (        − = +  z z n 42 1 2 ) 28 . 1 96 . 1 ( 2 2 2 = +  n
  22. 22. 22 22 การสร้างช่วงความเชื่อมั่นของค่าเฉลี่ย (กรณีทราบความแปรปรวน) กรณี Two Tailed Test ความน่าจะเป็นในการยอมรับ H0 = 1- n x z /   − = 2 /  z − 2 /  z 0     − =   − 1 ) ( 2 / 2 / z z z P      − =  −  − 1 ) / ( 2 / 2 / z n x z P       − = −   −  1 ) ( 2 / 2 / n z x n z x P ถ้า เป็นค่าเฉลี่ยของตัวอย่างสุ่มขนาด n ดังนั้น ช่วงความ เชื่อมั่นของ จะเท่ากับ x  n z x n z x      2 / 2 / +   − กรณี One Tailed Test Upper n z x :    +  Lower n z x :     −
  23. 23. Example 6. จงสร้างช่วงความเชื่อมั่น 95% ของค่าเฉลี่ยของอายุการใช้งานจากตัวอย่างที่ 1 96 . 1 025 . 0 2 / = = z z  25 ) 2 ( 96 . 1 3 . 51 25 ) 2 ( 96 . 1 3 . 51 2 / 2 / +   − = −   −        n z x n z x ช่วงความเชื่อมั่น 95% ของค่าเฉลี่ยของอายุการใช้งานคือ 08 . 52 52 . 50   =  08 . 52 52 . 50   
  24. 24. 24 24 การทดสอบสมมุตฐานของค่าเฉลี่ย (กรณีไม่ทราบความแปรปรวน) กรณี Two Tailed Test จะปฏิเสธ H0 เมื่อ 1 ; / 0 0 − = − = n n s x t   1 , 2 / − − n t 1 , 2 / − n t 0 1 , 2 / 0 1 , 2 / 0 − −  −  n n t t or t t   ค่าสถิติคือ กรณี One Tailed Test จะปฏิเสธ H0 เมื่อ Test Lower for t t n − −  −1 , 0  Test Upper for t t n −  −1 , 0  0 1 0 0 : , :      = H H 0 1 0 0 : , :      = H H 0 1 0 0 : , :      = H H
  25. 25. Example 7. การทดสอบแรงดึงพบว่ามีค่าเฉลี่ยตัวอย่าง =13.71 ,s=3.55 จงทดสอบว่าค่าเฉลี่ยมากกว่า 10 หรือไม่ โดยสมมุติว่าแรงดึงมีการแจกแจงแบบปกติ กาหนดให้ = 0.05 และ n = 22 x สถิติทดสอบ  05 . 0 10 : , 10 : 1 0 =  =    H H 21 ; 90 . 4 22 / 55 . 3 10 71 . 13 / 0 0 = = − = − =   n s x t Reject H0 เมื่อ t0 > t0.05,21=1.721 สรุปได้ว่า ค่า t0 ที่คานวณได้ =4.90 > t0.05,21 =1.721 ดังนั้นจึงสามารถปฏิเสธ H0 นั่นคือ ค่าเฉลี่ยของแรงดึงมากกว่า 10 (จากการทดสอบตัวอย่างสุ่มขนาด 22)
  26. 26. Example 8. ผู้ผลิตไอศกรีมรายหนึ่ง เชื่อว่า ไอศกรีมที่ผลิตมีแคลลอรี่โดยเฉลี่ยน้อยกว่า 75 Cal./1g. วิศวกรจึงได้รวบ รวมข้อมูลมา 25 ก้อน ได้ผลค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของปริมาณแคลลอรี่/1g. =74.883 และ 1.178 ตามลาดับ จงทดสอบว่าการคาดคะเนถูกต้องหรือไม่ที่ ระดับนัยสาคัญ 0.05 สถิติทดสอบ 05 . 0 75 : , 75 : 1 0 =  =    H H 24 ; 50 . 0 25 / 178 . 1 75 883 . 74 / 0 0 = − = − = − =   n s x t Reject H0 เมื่อ t0 < -t0.05,24=-1.711 สรุปได้ว่า ค่า t0 ที่คานวณได้ =-0.50 > t0.05,24 =-1.711 ดังนั้นจึงไม่สามารถปฏิเสธ H0 นั่นคือ ไอศกรีมที่ผลิตมีแคลลอรี่โดยเฉลี่ยน้อยกว่า 75 Cal./1g.
  27. 27. Example 9. ผู้ผลิตรถยนต์รายหนึ่ง กล่าวว่า อายุใช้งานเฉลี่ยก่อนเสียจนใช้งานไม่ได้เท่ากับ 175,000 km. เพื่อทดสอบ คุณภาพ จึงได้ทาการสุ่มจากผู้ซื้อ 25 คัน พบว่าค่าเฉลี่ย= 191574 km. SD.=25801 km. จงทดสอบว่า คุณลักษณะเป็นไปตามที่บริษัทกาหนดหรือไม่ ณ ระดับนัยสาคัญ 0.01 สถิติทดสอบ 01 . 0 175000 : , 175000 : 1 0 =  =    H H 24 ; 25 . 3 25 / 25801 175000 191574 / 0 0 = = − = − =   n s x t Reject H0 เมื่อ t0 < -t0.005,24=-2.797 หรือ t0 > t0.005,24= 2.797 สรุปได้ว่า ค่า t0 ที่คานวณได้ =3.25 > t0.005,24 = 2.797 ดังนั้นจึงต้องปฏิเสธ H0 นั่นคือ อายุการใช้งานเฉลี่ยก่อนเสียไม่เท่ากับ 175,000 km.
  28. 28. 28 28 การสร้างช่วงความเชื่อมั่นของค่าเฉลี่ย (กรณีไม่ทราบความแปรปรวน) ถ้าตัวแปรสุ่ม และ เป็นค่าเฉลี่ยและความแปรปรวนตัวอย่างซึ่งสุ่มมาจากประชากรที่มีการแจกแจงแบบ ปกติ ดังนั้นช่วงความเชื่อมั่น ของ ถูกกาหนดโดย 2 S X  n s t x n s t x n n 1 , 2 / 1 , 2 / − − +   −    กรณี Two Tailed Test n s t x n 1 , − +       − − n s t x n 1 , )% 1 ( 100  − กรณี One Tailed Test (Upper) กรณี One Tailed Test (Lower)
  29. 29. การทดสอบสมมุติฐานของค่าสัดส่วน(p0) หรือจานวนครั้งที่พบความสาเร็จ(np0) ถ้าทาการทดลองสุ่ม n ครั้ง จากประชากรที่มีการแจกแจงแบบทวินาม และพบตัวแปรสุ่ม x คือจานวนครั้งในการเกิดวามสาเร็จ ซึ่งมีค่าเฉลี่ย np0 และความแปรปรวน np0(1-p0) ดังนั้นการศึกษาเพื่อทดสอบว่าค่าสัดส่วน หรืออัตราส่วนจากตัวอย่าง หรือจานวนครั้งของความสาเร็จ(x) จากตัวอย่างใดๆ สามารถยอมรับได้ว่ามีค่าใกล้เคียง p0 หรือ มากกว่า p0 หรือน้อยกว่า p0 ค่าของ p0 หรือ np0 จะมีสมมุติฐานดังนี้ ) / ˆ ( n x p = กรณี Two Tailed Test จะปฏิเสธ H0 เมื่อ n p p p p Z or n p p p n x Z ) 1 ( ˆ , ) 1 ( / 0 0 0 0 0 0 0 0 − − = − − = 2 / 0 2 / 0   z z or z z −   ค่าสถิติ กรณีกาหนดเป็นอัตราส่วน คือ กรณี One Tailed Test จะปฏิเสธ H0 เมื่อ จะปฏิเสธ H0 เมื่อ 0 1 0 0 : , :      = H H 0 1 0 0 : , :      = H H 0 1 0 0 : , :      = H H ค่าสถิติ กรณีกาหนดเป็นจานวนครั้งสาเร็จ ) 1 ( ) ˆ ( , ) 1 ( 0 0 0 0 0 0 0 0 p np p p n Z or p np np x Z − − = − − = ) ( 0 upper z z   ) ( 0 lower z z  − 
  30. 30. Example 10. ในการผลิต Semiconductor อัตราส่วนของชิ้นงานบกพร่องไม่ควรเกิน 0.05 ดังนั้นจึงมีการตรวจสอบ ด้วยระดับนัยสาคัญ จานวนทั้งสิ้น 200 ชิ้น และพบว่ามี 4 ชิ้นบกพร่อง สามารถสรุปผลการทดลอง ได้อย่างไร สถิติทดสอบ 05 . 0 05 . 0 : , 05 . 0 : 1 0 =  =  p H p H Reject H0 เมื่อ Z0 < -z0.05 =-1.645 สรุปได้ว่า ค่า Z0 ที่คานวณได้ =-1.95 < -z0.05 =-1.645 ดังนั้นจึงต้องปฏิเสธ H0 นั่นคือ อัตราส่วนของชิ้นงานบกพร่องน้อยกว่า 0.05 แสดงว่ากระบวนการมีประสิทธิภาพดี 05 . 0 =  95 . 1 ) 95 . 0 )( 05 . 0 ( 200 ) 05 . 0 ( 200 4 ) 1 ( 0 0 0 0 − = − = − − = p np np x Z
  31. 31. Example 11. ผู้ประกอบการด้านประกันชีวิต ต้องการตรวจสอบสัดส่วนคนไทยที่อายุระหว่าง 35 ปีขึ้นไป ว่ามีค่าโดย ประมาณ 0.45 จึงทาการสารวจ 200 คน พบว่ามีผู้ทาประกันชีวิต 84 คน จากหลักฐานดังกล่าวสามารถ สรุปตามที่บริษัทคาดไว้หรือไม่ ณ ระดับนัยสาคัญที่ สถิติทดสอบ 01 . 0 45 . 0 : , 45 . 0 : 1 0 =  =  p H p H Reject H0 เมื่อ Z0 < -z0.005 =-2.575 หรือ Z0 >z0.005 =2.575 สรุปได้ว่า ค่า Z0 ที่คานวณได้ =-0.853 > -z0.005 =-2.575 ดังนั้นจึงไม่สามารถปฏิเสธ H0 นั่นคือ สัดส่วนคนไทยที่อายุระหว่าง 35 ปีขึ้นไปที่มีการทาประกันชีวิตมีค่าเท่ากับ 0.45 01 . 0 =  853 . 0 ) 55 . 0 )( 45 . 0 ( 200 ) 45 . 0 ( 200 84 ) 1 ( 0 0 0 0 − = − = − − = p np np x Z
  32. 32. 32 32 การสร้างช่วงความเชื่อมั่นของค่าสัดส่วน ถ้ากาหนดให้ เป็นค่าสัดส่วนของตัวอย่าง n ซึ่งเกิดความสาเร็จ ดังนั้นช่วงความเชื่อมั่น ของ p จากประชากรทั้งหมดที่เกิดความสาเร็จ เท่ากับ p̂ n p p z p p n p p z p ) ˆ 1 ( ˆ ˆ ) ˆ 1 ( ˆ ˆ 2 / 2 / − +   − −   กรณี Two Tailed Test )% 1 ( 100  − กรณี One Tailed Test (Upper) กรณี One Tailed Test (Lower) n p p z p p ) ˆ 1 ( ˆ ˆ − +   p n p p z p  − − ) ˆ 1 ( ˆ ˆ 
  33. 33. 33 33 การทดสอบสมมุติฐานของความแปรปรวน กรณี Two Tailed Test จะปฏิเสธ H0 เมื่อ 1 ; ) 1 ( 2 0 2 2 0 − = − = n s n    2 1 , 2 / 2 0 2 1 , 2 / 1 2 0 − − −   n n or       ค่าสถิติคือ กรณี One Tailed Test จะปฏิเสธ H0 เมื่อ 2 0 2 1 2 0 2 0 : , :      = H H upper for n 2 1 , 2 0 −     2 0 2 1 2 0 2 0 : , :      = H H lower for n 2 1 , 1 2 0 − −     2 0 2 1 2 0 2 0 : , :      = H H
  34. 34. Example 12. กาหนดให้ โดยสมมุติให้ตัวแปรสุ่มมีการแจกแจงแบบปกติด้วยค่า n=20 จงตรวจสอบ ว่า หรือไม่ สถิติทดสอบ 05 . 0 01 . 0 : , 01 . 0 : 2 1 2 0 =  =    H H Reject H0 เมื่อ สรุปได้ว่า ค่า ที่คานวณได้ =29.07 < ดังนั้นจึงไม่สามารถปฏิเสธ H0 นั่นคือ ความแปรปรวนมีค่าเท่ากับ 0.01 05 . 0 , 0153 . 0 2 = =  s 01 . 0 2   1 ; ) 1 ( 2 0 2 2 0 − = − = n s n    07 . 29 01 . 0 0153 . 0 ) 1 20 ( 2 = − = 14 . 30 2 19 , 05 . 0 2 1 , 2 0 = =  −     n 2 0  14 . 30 2 19 , 05 . 0 = 
  35. 35. 35 35 การสร้างช่วงความเชื่อมั่นของความแปรปรวน ถ้าให้ S2 เป็นค่าความแปรปรวนของตัวอย่างจานวน n ค่า ซึ่งมากประชากรที่มีการแจกแจงแบบปกติด้วย ความแปรปรวนที่ไม่ทราบค่า ดังนั้นช่วงความเชื่อมั่น ของ คือ 2  2 1 , 2 / 1 2 2 2 1 , 2 / 2 ) 1 ( ) 1 ( − − − −   − n n S n S n      กรณี Two Tailed Test )% 1 ( 100  − กรณี One Tailed Test (Upper) กรณี One Tailed Test (Lower) 2  2 1 , 1 2 2 ) 1 ( − − −  n S n    2 2 1 , 2 ) 1 (    − − n S n

×