O slideshow foi denunciado.
Seu SlideShare está sendo baixado. ×

บทที่4.pdf

Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio

Confira estes a seguir

1 de 25 Anúncio

Mais Conteúdo rRelacionado

Semelhante a บทที่4.pdf (20)

Anúncio

Mais recentes (19)

บทที่4.pdf

  1. 1. การคาดคะเนทางคณิตศาสตร์
  2. 2. กฎสำคัญในกำรคำดคะเนทำงคณิตศำสตร์ ค่ำคำดหมำย (Expected Value) คือ ค่ำเฉลี่ยของตัวแปรสุ่ม สัญลักษณ์คือ ใช้แทน ซึ่งสูตรทั่วไปของค่ำคำดคะเน จำแนกตำมประเภทตัวแปรสุ่ม ดังนี้ กฎทั่วไป ถ้า เป็นฟังก์ชันของตัวแปรสุ่ม X เช่น เป็นต้น 1) ถ้ำ X เป็นตัวแปรสุ่มไม่ต่อเนื่อง และมีฟังก์ชันกำรแจกแจงควำมน่ำจะเป็นคือ f(x)=P(X=x) 2) ถ้ำ X เป็นตัวแปรสุ่มต่อเนื่อง และมีฟังก์ชันกำรแจกแจงควำมน่ำจะเป็นคือ f(x)  E ) (     ) (x W =  ) sin( , 2 x X =  =    =  =  x x X P E ) ( *    =  x dx x f E ) ( *
  3. 3. สรุปกฎสำคัญในกำรคำดคะเนทำงคณิตศำสตร์ กฎข้อที่ 1 ค่ำคำดหมำยของตัวแปรสุ่มใดๆ คือ ค่ำเฉลี่ย (Mean) ของตัวแปรนั้นๆ (µ) ค่ำเฉลี่ย E[x] = µ = X : เป็นตัวแปรสุ่มไม่ต่อเนื่อง E[x] = µ = X : เป็นตัวแปรสุ่มต่อเนื่อง   = x x X P x ) ( *    − dx x xf ) (
  4. 4. Example 1. ถ้ำตัวแปรสุ่มต่อเนื่อง (X) คือขนำดเส้นผ่ำนศูนย์กลำงของชิ้นงำน(นิ้ว) มีฟังก์ชันกำรแจกแจงควำม น่ำจะเป็นคือ จงหำค่ำเฉลี่ยของ X ค่ำเฉลี่ย = E[x] = µ 1 0 ; ) 1 ( 12 ) ( 2   − = x x x x f dx x x x dx x f x ) ) 1 ( 12 ( ) ( 2 1 0 − = =     − 1 0 5 4 3 1 0 4 3 2 5 4 2 2 12 ) 2 ( 12        + − = + − =  x x x dx x x x  4 . 0 5 1 2 1 3 1 12 =       + − =
  5. 5. Example 2. บริษัทผลิตเบำะนั่ง ผลิตรุ่นละ 20 ตัว ถ้ำทรำบว่ำแต่ละรุ่นมีชำรุด 3 ตัว บริษัทสุ่มตรวจ5 ตัวต่อรุ่น กำหนดให้ X คือจำนวนเบำะที่ชำรุดในกำรสุ่มตัวอย่ำง จงหำว่ำโดยเฉลี่ยในกำรตรวจสอบจะพบเบำะ ชำรุดในกำรสุ่มตัวอย่ำงจำนวนเท่ำไร เมื่อ X คือจำนวนเบำะที่ชำรุด (X=0,1,2,3) และกำรแจกแจงควำมน่ำจะเป็น X เป็นดังตำรำง ดังนั้น โดยเฉลี่ยในกำรตรวจสอบจะพบเบำะชำรุดในกำรสุ่มตัวอย่ำง E[x] = µ = X : เป็นตัวแปรสุ่มไม่ต่อเนื่อง = 0(0.3991)+1(0.4605)+2(0.1316)+3(0.0088) = 0.7501 ตัว X 0 1 2 3 P(X=x) 0.3991 0.4605 0.1316 0.0088   = x x X P x ) ( *
  6. 6. กฎสำคัญในกำรคำดคะเนทำงคณิตศำสตร์ กฎข้อที่ 2 ถ้ำ g(x) เป็นฟังก์ชันของตัวแปรสุ่ม x ใดๆ จะได้ E[g(x)] = X : เป็นตัวแปรสุ่มไม่ต่อเนื่อง E[g(x)] = X : เป็นตัวแปรสุ่มต่อเนื่อง กฎข้อที่ 3 E[u(x) ± Ev(x)] = E[u(x)] ± E[v(x)] กฎกำรกระจำย กฎข้อที่ 4 E[aX±b] = aE[X] ± b ; a, b เป็นค่ำคงที่  x x f x g ) ( ) (    − dx x f x g ) ( ) (
  7. 7. Example 3. จำกโจทย์ตัวอย่ำง 3.3 กำหนดให้ X เป็นตัวแปรสุ่มไม่ต่อเนื่อง ซึ่งมีกำรแจกแจงควำมน่ำจะเป็นตำม ตำรำง จงหำ ค่ำเฉลี่ยของ X2 และ X3-1 E[g(x)] = X : เป็นตัวแปรสุ่มไม่ต่อเนื่อง E[X2] = = 02(1/4)+12(1/8)+22(1/2)+32(1/8) = 3.25 E[X3-1] = = (03-1)(1/4)+(13-1)(1/8)+(23-1)(1/2)+(33-1)(1/8) = -1/4+0+7/2+26/8 = 52/8 = 6.5 X 0 1 2 3 P(X=x) 1/4 1/8 1/2 1/8   = x x X P x ) ( * 2  x x f x g ) ( ) (   = − x x X P x ) ( * ) 1 ( 3
  8. 8. Example 4. ในกำรเจำะชิ้นงำนโลหะ ใช้ในกำรประกอบบำนตู้เย็น พบว่ำ ขนำดเส้นผ่ำนศูนย์กลำงของรูเจำะ(X) มีฟังก์ชันกำรแจกแจงควำมน่ำจะเป็นสะสมดังนี้ X : เป็นตัวแปรสุ่มต่อเนื่อง จงหำ ค่ำเฉลี่ยของ X2 E[g(x)] = X : เป็นตัวแปรสุ่มไม่ต่อเนื่อง E[X2] =           −  = 1 1 1 0 ) 5 ( 5 . 12 0 0 ) ( 5 x x x x x x F 1 0 ; ) 1 ( 25 . 1 ) ( ) ( 4   − = = x x dx x dF x f    − dx x f x g ) ( ) ( 2381 . 0 7 3 25 . 1 )] 1 ( 25 . 1 [ 1 0 7 3 1 0 4 2 =        − = −  x x dx x x
  9. 9. Example 5. จำกตัวอย่ำงที่ 4 และค่ำเฉลี่ยของ 2X-X2+5 และค่ำเฉลี่ยของเส้นรอบวงรูที่เจำะ ค่ำเฉลี่ยของ 2X-X2+5 = E[2X-X2+5] = E[2X]-E[X2-5] ; กฎข้อที่ 3 = 2E[X]-E[X2]+5 ; กฎข้อที่ 4 ค่ำเฉลี่ยของเส้นรอบวงของรูที่เจำะ = 4167 . 0 6 2 25 . 1 )] 1 ( 25 . 1 [ ) ( 1 0 6 2 1 0 4 =        − = − =  x x dx x x X E 2381 . 0 ) ( 2 = X E 5963 . 5 5 2381 . 0 ) 4167 . 0 ( 2 5 ] [ ] [ 2 ] 5 2 [ 2 2 = + − = + − = + −  X E X E X X E ] [ ] 2 2 [ X E X E   = 3096 . 1 ) 7 22 ( 4167 . 0 ] [ = = = X E 
  10. 10. กฎสำคัญในกำรคำดคะเนทำงคณิตศำสตร์ กฎข้อที่ 5 ให้ g(x,y) เป็นฟังก์ชันร่วมของตัวแปรสุ่ม X และ Y E[g(x,y)] = X, Y : เป็นตัวแปรสุ่มไม่ต่อเนื่อง E[g(x,y)] = X, Y : เป็นตัวแปรสุ่มต่อเนื่อง กฎข้อที่ 6 ถ้ำตัวแปรสุ่ม X และ Y เป็นอิสระต่อกัน จะได้ E[XY] = E[X].E[Y] เนื่องจำก f(x,y) = g(x).h(y) ดังนั้น กฎข้อที่ 7 E[g(x,y) ± h(x,y)] = E[g(x,y)] ± E[h(x,y)]    x y y x f y x g ) , ( ). , ( dy dx y x f y x g x y    ) , ( ) , (          = = = x y Y E X E dy y h y dx x g x y h y x g x XY E ] [ ]. [ ) ( . ) ( . ) ( . ) ( . ] [
  11. 11. Example 6. จำกบทควำม Performance Comparison … อธิบำยแบบกำรเคลื่อนไหวของ Notebook โดยสมมุติ ให้ Notebook เคลื่อนที่ตำมแนวแกน X ภำยในเส้นตรง x=1 และเส้นตรง x=y กำหนดให้ (X,Y) แทน ตำแหน่ง Notebook มีฟังก์ชันกำรแจกแจงวำมน่ำจะเป็นร่วมของ X และ Y คือ ก) หำค่ำเฉลี่ย XY ค่าเฉลี่ย XY = E[XY] = E[g(x,y)] ;X,Y ตัวแปรสุ่มต่อเนื่อง .... ; 1 0 ; 0 8 ) ( Other y xy x f      =    = x y dxdy y x f y x g ) , ( ) , ( 9 4 3 8 3 8 ) ) 8 ( ( ) 8 ( ) , ( 1 0 5 0 1 0 3 2 1 0 0 2 2 1 0 0 1 0 0 =        =        = = = =       dx x dx y x dx dy y x dxdy xy xy dxdy y x f xy x x x x
  12. 12. Example 6.(ต่อ) ข) สรุปได้หรือไม่ว่ำ X และ Y เป็นอิสระต่อกัน ดังนั้นจะเห็นว่า E[XY] ≠ E[X].E[Y] สรุปว่า ตัวแปรสุ่ม X และ Y ไม่เป็นอิสระต่อกัน    = = x x x x xydy x f 0 3 1 0 ; 4 8 ) (  5 4 5 4 ) 4 ( ] [ 1 0 5 1 0 3 =        = =  x dx x x X E    − = = 1 3 1 0 ; 4 4 8 ) ( y y y y y xydx y f  15 8 5 4 3 4 ) 4 4 ( ] [ 1 0 5 3 1 0 3 =        − = − =  y y dy y y y Y E 15 8 . 5 4 9 4  
  13. 13. Example 7. บริษัทรับเหมำก่อสร้ำง มีโครงกำรลงทุนที่วิศวกรเสนอมำ 10 โครงกำร ดังนี้ บริษัทมีค่ำใช้จ่ำยปีละ 7 ล้ำนบำท ถ้ำบริษัทลงทุนโดยสุ่มเลือก 2 โครงกำรในแต่ละปี ถ้ำแต่ละโครงกำรเป็นอิสระต่อกัน และกำรแจก แจงควำมน่ำจะเป็นร่วมของตัวแปรสุ่ม X และ Y ได้ดังตำรำง เมื่อ X คือ จำนวนโครงกำรบ้ำนจัดสรรที่เลือกลงทุน Y คือ จำนวนโครงกำรเขื่อนที่เลือกลงทุน จงหำค่ำคำดหมำยของกำไรสุทธิและค่ำเฉลี่ยของ XY โครงการ โครงการ ที่เสนอ กาไรที่จะได้ (ล้าน/โครง) บ้านจัดสรร (X) 2 5 เขื่อน (Y) 4 9 สะพาน (Z) 4 1 0 6/45 8/45 1/45 1 16/45 8/45 - 2 6/45 - -
  14. 14. Example 7.(ต่อ) ค่ำคำดหมำยของกำไรสุทธิ = E[5X+9Y+Z-7] = E[5X+9Y+(2-X-Y)-7] = E[4X+8Y-5] = 4E[X]+8E[Y]-5 เพรำะว่ำ ค่ำคำดหมำยของกำไรสุทธิ = 4E[X]+8E[Y]-5 = 4(2/5)+8(4/5)-5 = 3 ล้าน และ x 0 1 2 P(X=x) 28/45 16/45 1/45 y 0 1 2 P(Y=y) 15/45 24/45 6/45 5 2 45 18 ) ( ] [ = = = =  x x X xP X E 5 4 45 36 ) ( ] [ = = = =  y y Y yP Y E    = = = = = y x Y E X E y Y x X xyP XY E 25 8 ] [ ] [ ) , ( ] [
  15. 15. กฎสำคัญเกี่ยวกับควำมแปรปรวนของประชำกร กฎข้อที่ 8 ควำมแปรปรวนของตัวแปรสุ่ม X = กฎข้อที่ 9 กฎข้อที่ 10 1) ควำมแปรปรวนของค่ำคงที่มีค่ำ = 0 เช่น V(5) = 0 2) ควำมแปรปรวนของค่ำคงที่คูณตัวแปรสุ่ม ดังนั้น เมื่อ a, b เป็นค่ำคงที่ (เพรำะ V(b)=0) 2 x  2 2 2 2 2 2 ] [ } ] [ { ] [ ] ) [( ) (    − = − = − = = X E X E X E X E X V x 2 ) ( 2 2 ) ( 2 ) ( ] ) ( [ )] ) ( [( )) ( ( x g x g x g x g E x g E x g V    − = − = = 2 2 2 2 ) ( ) ( x ax a X V a aX V   = = = ) ( 2 b aX V b ax  =   2 2 2 ) ( x a X V a  = =
  16. 16. Example 8. จำกตัวอย่ำง 4.4 จงหำควำมแปรปรวนของตัวแปรสุ่มต่อเนื่อง X และของพท.ของรูที่เจำะ (mm.) ควำมแปรปรวนของพื้นที่ของรูที่เจำะ กฎข้อที่ 9 4167 . 0 6 2 25 . 1 ] ) 1 ( 25 . 1 [ ) ( 1 0 6 2 1 0 4 =        − = − =  x x dx x x X E  2381 . 0 7 3 25 . 1 )] 1 ( 25 . 1 [ ) ( 1 0 7 3 1 0 4 2 2 =        − = − =  x x dx x x X E and 2 2 2 2 2 2 ] [ } ] [ { ] [ ] ) [( ) (    − = − = − = =  X E X E X E X E X V x 2 2 0645 . 0 ) 4167 . 0 ( 2381 . 0 mm = − = } ] [ ] [ { 16 1 ] [ 16 1 ] 4 [ 2 2 4 2 2 2 2 X E X E X V X V − = = =    2 2 2 1 0 2 4 4 2 0034 . 0 ) 05442 . 0 ( 16 1 } ) 2381 . 0 ( )] 1 ( 25 . 1 [ { 16 1 mm dx x x    = = − − = 
  17. 17. กฎสำคัญเกี่ยวกับควำมแปรปรวนของประชำกร กฎข้อที่ 11 ควำมแปรปรวนร่วม ของตัวแปรสุ่ม X และ Y คือ - ถ้ำ ค่ำควำมแปรปรวนร่วม > 0 X และ Y เปลี่ยนแปลงในทิศทำงเดียวกัน - ถ้ำ ค่ำควำมแปรปรวนร่วม < 0 X และ Y เปลี่ยนแปลงในทิศทำงตรงข้ำม - ถ้ำ ค่ำควำมแปรปรวนร่วม = 0 X และ Y เป็นอิสระต่อกัน กฎข้อที่ 12 ค่ำส่วนเบี่ยงเบนมำตรฐำน xy  ] [ * ] [ ] [ )] )( [( ) , ( Y E X E XY E Y X E Y X Cov y x xy − = − − = =     2 2 2 ] [ . .    − = = = X E D S
  18. 18. กฎสำคัญเกี่ยวกับควำมแปรปรวนของประชำกร กฎข้อที่ 13 ควำมแปรปรวนของผลบวกหรือผลต่ำง ของส่วนประกอบเชิงเส้นของตัวแปรสุ่ม X และ Y คือ V(aX ± bY) ถ้ำ X และ Y เป็นอิสระต่อกัน จะได้ว่ำ เนื่องจำก ถ้ำ X, Y เป็นอิสระต่อกัน ) , ( 2 ) ( ) ( ) ( 2 2 2 Y X abCov Y V b X V a bY aX V bY aX   = =    ) ( ) ( ) ( 2 2 2 Y V b X V a bY aX V bY aX  =  =   0 ] [ ] [ ] [ ) , ( = − = Y E X E XY E y x Cov
  19. 19. Example 9. จำกตัวอย่ำงที่ 4.6 จงหำค่ำควำมแปรปรวนร่วมของตัวแปรสุ่ม X และ Y ค่ำเฉลี่ย XY = E[XY] = 4/9 ค่ำควำมแปรปรวนร่วมของตัวแปรสุ่ม X และ Y จะเห็นว่า ค่ำควำมแปรปรวนร่วมของตัวแปรสุ่ม X และ Y มีค่ำมำกกว่ำ 0 แสดงว่ำ X และ Y เปลี่ยนแปลงไปในทำงเดียวกัน (X เพิ่ม Y เพิ่ม) 5 4 5 4 ) 4 ( ] [ 1 0 5 1 0 3 =        = =  x dx x x X E 15 8 5 4 3 4 ) 4 4 ( ] [ 1 0 5 3 1 0 3 =        − = − =  y y dy y y y Y E ] [ * ] [ ] [ ) , ( Y E X E XY E Y X Cov − = 01778 . 0 225 4 225 96 100 ) 15 8 ( 5 4 9 4 = = − = − =
  20. 20. Example 10. จำกตัวอย่ำงที่ 4.7 จงหำควำมแปรปรวนของกำไรสุทธิในแต่ละปี ควำมแปรปรวนร่วมของตัวแปรสุ่ม X และ Y เมื่อ X คือจำนวนโครงกำรบ้ำนจัดสรรที่เลือกลงทุน Y คือจำนวนโครงกำรเขื่อนที่เลือกลงทุน และจงหำส่วนเบี่ยงเบนมำตรฐำนของจำนวนโครงกำรบ้ำนจัดสรรที่สุ่มได้ จำกตัวอย่ำง 4.7 ค่ำคำดหมำยของกำไรสุทธิ = 4E[X]+8E[Y]-5 = 3 ล้านบาท ดังนั้น ควำมแปรปรวนร่วมของตัวแปรสุ่ม X และ Y = ควำมแปรปรวนร่วมของตัวแปรสุ่ม X และ Y < 0 แสดงว่ำ จำนวนโครงกำรบ้ำนจัดสรรที่เลือกลงทุนมีจำนวนเพิ่มขึ้น ส่วนจำนวนโครงกำรเขื่อนที่เลือกลงทุนจะลดลง (X เพิ่ม Y ลดลง) 5 2 45 18 ) ( ] [ = = = =  x x X xP X E 5 4 45 36 ) ( ] [ = = = =  y y Y yP Y E    = = = = y x y Y x X xyP XY E 45 8 ) , ( ] [ ] [ * ] [ ] [ ) , ( Y E X E XY E y x Cov − = ) 0 ( 225 32 225 72 40 ) 5 4 ( 5 2 45 8  − = − = − =
  21. 21. Example 10.(ต่อ) ควำมแปรปรวนของกำไรสุทธิแต่ละปี = V[4X+8Y-5] = V[4X+8Y] = 16V[X]+64V[Y]+2(4)(8)Cov(X,Y) เพรำะว่ำ ควำมแปรปรวนของกำไรสุทธิแต่ละปี = 16V[X]+64V[Y]+2(4)(8)Cov(X,Y) ส่วน SD.ของจำนวนโครงกำรบ้ำนจัดสรร x 0 1 2 P(X=x) 28/45 16/45 1/45 y 0 1 2 P(Y=y) 15/45 24/45 6/45 45 20 45 4 16 ) ( ] [ 2 2 = + = = =  x x X P x X E 45 48 45 24 24 ) ( ] [ 2 2 = + = = =  y y Y P y Y E 53 . 0 15 8 225 64 ] [ 2 2 2 = = = − = =    X E 225 64 ]} [ { ] [ ] [ 2 2 = − = X E X E X V 75 32 ]} [ { ] [ ] [ 2 2 = − = Y E Y E Y V 96 . 40 25 024 , 1 ) 225 32 ( 64 ) 75 32 ( 64 ) 225 64 ( 16 = = − + + =
  22. 22. กำรหำมัธยฐำน ค่ำมัธยฐำน (Median) = เมื่อ ; X เป็นตัวแปรสุ่มไม่ต่อเนื่อง ; X เป็นตัวแปรสุ่มต่อเนื่อง X ~  − = X dx x f ~ 5 . 0 ) ( 5 . 0 ) ( ~ = =   − X x X P
  23. 23. Example 11. ถ้ำเวลำที่ใช้ในกำรปล่อยอนุภำคแอลฟำ (X มีหน่วยเป็นวินำที) ของสำรกัมมันตรังสีชนิดหนึ่ง มีฟังก์ชัน กำรแจกแจงควำมน่ำจะเป็นคือ หำค่ำมัธยฐำน ;X,Y ตัวแปรสุ่มต่อเนื่อง 0 ; 1 . 0 ) ( 1 . 0  = − x e x f x 5 . 0 ) ( ~ =  − dx x f X 5 . 0 1 10 1 ~ 1 . 0 ~ 0 10 = − = = − −  X X x e dx e 5 . 0 ln ~ 1 . 0 = − X . 931 . 6 ~ S X =
  24. 24. Chebyshev’s Theorem ถ้ำ X เป็นตัวแปรสุ่มต่อเนื่อง และมีกำรแจกแจงสมมำตร ซึ่งรู้ค่ำเฉลี่ย และควำมแปรปรวน แต่ไม่ทรำบฟังก์ชันกำรแจกแจงควำมน่ำจะเป็น สำหรับเลขบวก k ใดๆ จะสำมำรถประมำณ ค่ำควำมน่ำจะเป็นได้จำก นั่นคือ 2 1 1 ] | [| k k x P −   −   2 1 1 ] [ k k x k P −  +   −    
  25. 25. Example 12. ค่ำใช้จ่ำยต่อวันในกำรใช้เครื่องมือชนิดหนึ่ง เป็นตัวแปรสุ่มต่อเนื่องและมีกำรแจกแจงแบบสมมำตร โดยมีค่ำเฉลี่ย = 18 ดอลลำร์ และมีควำมแปรปรวน = 25 อยำกทรำบว่ำบ่อยแค่ไหนที่จะพบว่ำ ค่ำใช้จ่ำยมีค่ำมำกกว่ำ 28 ดอลลำร์ นั่นคือ เนื่องจำก X มีกำรแจกแจงสมมำตร ดังนั้น โอกำสที่จะพบว่ำค่ำใช้จ่ำยต่อวันมำกกว่ำ 28 ดอลลำร์ มีค่ำไม่เกิน 12.5% 2 1 1 ] | [| k k x P −   −      2 10 18 ) 5 ( 2 18 28 + = + = + = 2 =  k 4 1 1 ] 2 2 [ −  +   −     x P  25 . 0 ] 2 [ ] 2 [  +  + −      x P x P 25 . 0 ] 2 [ 2  +    x P 125 . 0 ] 28 [    x P

×