SlideShare a Scribd company logo
1 of 77
3 Elasticity of Demand 
and Supply 
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปาาน 
Copyright © 2004 South-Western
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์(Elasticity of Demand) 
 ค่าที่ใช้วัดเปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของปริมาณเสนอซื้อ ต่อเปอร์เซ็นต์ 
การเปลี่ยนแปลงของตัวแปรอื่นๆ ที่เป็นตัวกา หนดปริมาณเสนอซื้อ 
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา ( Price Elasticity of Demand ) 
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ ( Income Elasticity of Demand ) 
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาสินค้าชนิดอื่น ( Cross Elasticity of 
Demand ) 
20/09/57 2 
1 
2 
3
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา 
( Price Elasticity of Demand)
1. ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา 
( Price Elasticity of Demand) 
• 1.1 ความหมาย 
• 1.2 วิธีการคานวณหาค่าความยืดหยุ่น 
• 1.3 ค่าความยืดหยนุ่กับลักษณะของเส้นอุปสงค์ 
• 1.4 ปัจ 
จัยที่มีส่วนกา หนดค่าความยืดหยุ่น 
Copyright © 2004 South-Western/Thomson Learning
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์(Price Elasticity of Demand) 
• ทา ไมเมื่อราคาสินค้าปรับเพมิ่ในสัดส่วนที่เท่ากัน แต่เรากลับลดการ 
ซื้อสินค้าบางอย่างมาก ในขณะที่สินค้าบางอย่างเราลดปริมาณการ 
ซื้อเพียงนิดเดียว 
หากราคาน้าอัดลม และยาแก้ไอ เพิ่มขึ้น 50% จะทา ให้ความต้องการซื้อสินค้า 
Copyright © 2004 South-Western/Thomson Learning 
ชนิดใดลดลงมากกว่ากัน 
ความต้องการของคนเรามีความอ่อนไหวต่อราคาที่เปลี่ยนแปลงไปของสินค้า 
แต่ละอย่างไม่เท่ากัน
1.1 ความหมาย ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา 
• เป็นค่าที่ใช้วัดเปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของปริมาณเสนอซื้อ 
ต่อเปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้าชนิดนั้นๆ 
เปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของปริมาณเสนอซื้อ 
เปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้า 
Copyright © 2004 South-Western/Thomson Learning 
εP = 
εP = % ΔQ 
% ΔP
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา (ต่อ) 
 การเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้า และการเปลี่ยนแปลงของ 
ปริมาณเสนอซื้อ จะเป็นไปในทิศทางตรงข้ามกัน 
 ความยืดหย่นุของอุปสงค์ต่อราคามีเครื่องหมายลบ 
 โดยทัว่ไป เราจะพูดถึงค่าสัมบูรณ์ของความยืดหยุ่น 
20/09/57 7
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา (ต่อ) 
P 
P 
P1 
εP 
= % ΔQ 
% ΔP 
จากกราฟ ให้ 
คา ถาม คือ จากเส้นDemand ของสินค้าทัง้ 
สอง สินค้าชนิดใดมีความยืดหยุ่นมากกว่ากัน 
DIphone 
Q 
Dข้าว 
A 
Q1 Q2 Q 
Iphone มีความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา มากกว่าข้าว 
20/09/57 8
1.2 การคานวณหาค่าความยืดหยุ่น 
• ความยืดหยุ่นของอุปสงค์แบบจุด (Point elasticity of demand) 
• ความยืดหยุ่นของอุปสงค์แบบช่วง (Arc Elasticity) 
Copyright © 2004 South-Western/Thomson Learning
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ตรงจุด 
(Point elasticity of demand) 
εP = 
จา นวนการเปลี่ยนแปลงของปริมาณเสนอซื้อ 
ปริมาณเสนอซื้อแต่เริ่มแรก 
X 100 
จา นวนการเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้า 
ราคาสินค้าแต่เริ่มแรก 
X 100 
Growth ของ Q หารด้วย Growth ของ P 
20/09/57 10
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์แบบจุด 
(Point elasticity of demand) 
εP = 
% ΔQ 
% ΔP 
Q2 – Q1 
= Q1 
P2 – P1 
P1 
X 100 
X 100 
 Q1 ปริมาณเสนอซื้อเดิม 
 Q2 ปริมาณเสนอซื้อใหม่ 
 P1 ราคาสินค้าเดิม 
 P2 ราคาสินค้าใหม่ 
20/09/57 11
ตัวอย่าง 1 ส้มโอราคา 20 บาท มีคนซื้อ 10 ลูก แต่ราคาลดลงเป็น 
18 บาท คนจะซื้อเพมิ่เป็น 15 ลูก ค่าความยืดหย่นุของอุปสงค์ต่อ 
ราคาแบบจุด คือเท่าใด 
= 
Q2 – Q1 
Q1 
P2 – P1 
P1 
X 100 
X 100 
εP 
จากโจทย์ : P1 = 20 P2 = 18 
Q1 = 10 Q2 = 15 
นาตัวเลขไปแานค่าตามสูตร
ค่าความยืดหย่นุ = -5 หมายถึงว่า ถ้าราคาเปลี่ยนไป 1% ปริมาณซื้อ 
จะเปลี่ยนไป 5% ส่วนเครื่องหมายเป็นลบเนื่องจากความสัมพันธ์ 
ระหว่างราคาและปริมาณความต้องการซื้อมีทิศทางตรงกันข้าม ค่า 
ความยืดหย่นุจะพิจารณาเฉพาะตัวเลขเท่านั้น 
εP ที่มีค่ามากว่า 1 (ไม่ดูเครื่องหมาย) แสดงว่าการเปลี่ยนแปลงปริมาณ 
ความต้องการซื้อมากกว่าการเปลี่ยนแปลงของราคา แสดงว่าสินค้านี้มี 
ความยืดหยุ่นมาก Elastic
ตัวอย่างที่ 2 การคา นวณความยืดหยุ่นของอุปสงค์แบบจุด 
If the price of an ice cream cone increases from 
$2.00 to $2.20 and the amount you buy falls from 
10 to 8 cones, then your elasticity of demand 
would be calculated as? 
Copyright © 2004 South-Western/Thomson Learning
 : P1 = $ 2 P2 = $2.20 Q1 = 10 Q2 = 8 
Q2 – Q1 
Q1 
P2 – P1 
P1 
( ) 
10 8 
10 
X 100 
X 100 
100 
 
 
( 2 . 20  
2 . 00 
) 
2 . 
00 
100 
20% 
10% 
ความหมายของค่า 
ความยืดหยุ่นที่ได้ 
2 
 
  
εP = 
εP = 
จงอธิบาย 
20/09/57 15
ถ้าราคายาแก้ปวด ลดลงจากแผงละ ละ 12 บาท เป็น 10 บาท 
จะทา ให้ปริมาณความต้องการยาแก้ปวดเพมิ่ขึ้น จากที่เคยซื้อ 9 แผง 
เพมิ่ขึ้นเป็น 10 แผง ดังนั้น ค่าความยืดหย่นุของอุปสงค์ต่อราคาของยา 
แก้ปวดเป็นเท่าใด 
จงหาคานวณโดยใช้สูตรการหาความ 
ยืดหย่นุแบบจุด พร้อมทัง้อธิบายค่าความ 
ยืดหย่นุที่ได้
การคา นวณค่าความยืดหยุ่นแบบช่วง (Arc Elasticity) 
การคานวณค่าความยืดหยุ่นแบบช่วง (Arc Elasticity) : คือ การ 
คา นวณค่าความยืดหย่นุ ณ ช่วงใดช่วงหนึ่ง บนเส้นอุปสงค์เส้นเดียวกัน 
มีสูตรเป็นดังนี้ข้อดีคือ ไม่ว่าจะคา นวณจากจุด A มา B หรือ B มา A 
จะได้ค่าความยืดหย่นุที่เท่ากัน 
Copyright © 2004 South-Western/Thomson Learning 
P P 
1 2 
 
E d  
1 2 
Q Q 
1 2 
1 2 
P P 
Q Q 
 
 
 
 
โดยาี่Ed = ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา Q1= ปริมาณซื้อเดิมก่อนราคาเปลยี่นแปลง 
Q2= ปริมาณซื้อใหม่หลังราคาเปลี่ยนแปลง 
P1 = ราคาเดิม P2 = ราคาใหม่
จงคานวณหาค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาแบบช่วงจากจุด A ไปจุด B บน 
เส้นอุปสงค์จากรูปด้านล่าง 
12  
10 
12 10 
120  
160 
120 160 
 
 
 
 d E 
22 
2 
40 
280 
 
 
 
11 
 
7 
D 
Q Q 
 
1 2 
 
E d Q  
Q 
 
1 2 
A 
P P 
1 2 
P P 
1 2 
B 
ราคา 
12 
10 
O 
 
120 160 ปริมาณผลผลิต 
 
 1.57
การคานวณค่าความยืดหยุ่นแบบช่วง (Arc Elasticity) 
• ค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา = 1.57 
• หมายความว่าในช่วงราคา 12 บาท ถึง 10 บาท โดยเฉลี่ยการ 
เปลี่ยนแปลงของราคาสินค้า X 1% จะมีผลทาให้อุปสงค์ต่อสินค้า X 
เปลี่ยนแปลงไปในทิศทางตรงกันข้ามเท่ากับ 1.57 % 
• สินค้านี้มีความยืดหย่นุมาก (Elastic) เนื่องจาก  Ed  > 1 
Copyright © 2004 South-Western/Thomson Learning
สมมติให้ราคาสินค้า X ลดลงจาก 10 บาท เป็น 6 บาท ปริมาณ 
ซื้อที่ผู้บริโภคมีต่อสินค้า X เพมิ่ขึ้นจาก 1,400 หน่วย เป็น 1,800 
หน่วย 
จงหาคานวณโดยใช้สูตรการหาความยืดหยุ่น 
ของอุปสงค์ต่อราคาแบบช่วง พร้อมทัง้อธิบายค่า 
ความยืดหย่นุที่ได้
1.3 ค่าความยืดหยุ่นกับลักษณะของเส้นอุปสงค์ 
Copyright © 2004 South-Western/Thomson Learning 
Ed = 
% Q 
% P 
ถ้า % Q > % P   Ed  > 1 ความยืดหยุ่นสูง (elastic) 
ถ้า % Q < % P   Ed  < 1 ความยืดหยุ่นต่า (Inelastic) 
ถ้า % Q = % P   Ed  = 1 ความยืดหยุ่นคงที่ 
ถ้า % Q = 0   Ed  = 0 Perfectly inelastic 
ถ้า % P = 0   Ed  =  Perfectly elastic
20/09/57 22
ค่าความยืดหยุ่นกับลักษณะของเส้นอุปสงค์(ต่อ) 
 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์จะเป็นการกล่าวถึงความยืดหยุ่น ณ 
ระดับราคาใดราคาหนึ่งเสมอ เนื่องจากแต่ละจุดบนเส้นอุปสงค์ที่ 
เป็นเส้นตรงจะมีค่าความยืดหยุ่นไม่เท่ากัน (ซึ่งแตกต่างจากความ 
ชัน) 
 การเปรียบเทียบค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์สองเส้นจะทาได้ก็ 
ต่อเมื่อเป็นการเปรียบเทียบ ณ ระดับราคาเดียวกัน 
20/09/57 23
1. อุปสงค์ไม่มีความยืดหยุ่น หรือค่าความยืดหยุ่นเา่ากับศูนย์ 
เส้นอุปสงค์มีความยืดหยุ่นเท่ากับศูนย์ตลอด 
ทั้งเส้น ปริมาณซื้อจะไม่เปลี่ยนแปลงเมื่อราคา 
เปลี่ยนแปลง เสน้ D จะตั้งฉากแกน X 
สินค้าที่มีความยืดหยุ่นเท่ากับศูนย์ได้แก่ 
สินค้าาี่มีความจาเป็นมากาี่สุด ไม่ว่าราคาจะสูงขึ้น 
หรือลดลงก็ตามปริมาณความต้องการซื้อจะไม่ 
เปลี่ยนแปลง เช่น โลงศพ ยารักษาโรค 
Copyright © 2004 South-Western/Thomson Learning
Figure 1 The Price Elasticity of Demand 
(a) Perfectly Inelastic Demand: Elasticity Equals 0 
20/09/57 25 
Copyright©2003 Southwestern/Thomson Learning 
$5 
4 
Quantity 
Demand 
0 100 
1. An 
increase 
in price . . . 
2. . . . leaves the quantity demanded unchanged. 
Price
อุปสงค์มีค่าความยืดหยุ่นน้อยกว่าหนึ่ง 
• ร้อยละการเปลี่ยนแปลงของปริมาณซื้อน้อยกว่าร้อยละการเปลี่ยนแปลง 
ของราคา 
• สินค้าที่สินค้าที่มีความจา เป็นต่อการดา รงชีวิตของมนุษย์ทัว่ไป เช่น 
อาหาร เสื้อผ้า 
Copyright © 2004 South-Western/Thomson Learning
Figure 1 The Price Elasticity of Demand 
(b) Inelastic Demand: Elasticity Is Less Than 1 
Price 
4 
1. A 22% Demand 
increase 
in price . . . 
0 Quantity 
$5 
90 
100 
2. . . . leads to an 11% decrease in quantity demanded. 
20/09/57 27
อุปสงค์มีค่าความยืดหยุ่นเา่ากับหนึ่ง 
• ร้อยละการเปลี่ยนแปลงปริมาณซื้อเท่ากับร้อยละการเปลี่ยนแปลงราคา 
• อุปสงค์เป็นเส้นโค้งแบบ Rectangular Hyperbolar 
• พื้นที่รูปสี่เหลี่ยมใต้โค้งมีค่าเท่ากันตลอด 
Copyright © 2004 South-Western/Thomson Learning
Figure 1 The Price Elasticity of Demand 
(c) Unit Elastic Demand: Elasticity Equals 1 
Quantity 
2. . . . leads to a 22% decrease in quantity demanded. 
20/09/57 29 
Copyright©2003 Southwestern/Thomson Learning 
4 
0 100 
Price 
$5 
80 
1. A 22% 
increase 
in price . . . 
Demand
อุปสงค์มีค่าความยืดหยุ่นมากกว่าหนึ่ง 
• ความยืดหยุ่นมีค่ามากกว่าหนึ่ง แต่น้อยกว่า ∞ 
• ร้อยละของการเปลี่ยนแปลงปริมาณซื้อมากกว่าร้อยละการเปลี่ยนแปลง 
ปริมาณราคา 
• สินค้าประเภทฟุ่มเฟือย เช่น ของ Brand names เครื่องประดับ 
เครื่องสา อาง 
Copyright © 2004 South-Western/Thomson Learning
Figure 1 The Price Elasticity of Demand 
(d) Elastic Demand: Elasticity Is Greater Than 1 
Demand 
Quantity 
Price 
$5 
4 
0 50 
100 
1. A 22% 
increase 
in price . . . 
2. . . . leads to a 67% decrease in quantity demanded. 
20/09/57 31
อุปสงค์มีค่าความยืดหยุ่นเา่ากับ ∞ 
• สินค้าที่ ราคาไม่เปลี่ยนแปลงแม้ปริมาณซื้อสินค้าจะเปลี่ยนแปลงไป 
อย่างไรก็ตาม ได้แก่ สินค้าที่มีการแข่งขันอย่างสมบูรณ์เช่น สินค้า 
เกษตร เป็นต้น กล่าวคือเป็นสินค้าที่ถ้าผู้ขายรายใดขึ้นราคาสูงกว่า 
OP จะไม่มีใครซื้อสินค้าเลย 
• ปริมาณซื้ออาจลดลงหรือเพมิ่ขึ้นไม่จา กัด ตราบเท่าที่ผู้ผลิตยังคงราคา 
เดิมหรือลดราคาลง ถ้าแม้ว่าผู้ผลิตขึ้นราคาแม้แต่เล็กน้อย ปริมาณซื้อ 
จะลดลงเหลือศูนย์หรือใกล้ศูนย์ 
Copyright © 2004 South-Western/Thomson Learning
Figure 1 The Price Elasticity of Demand 
(e) Perfectly Elastic Demand: Elasticity Equals Infinity 
Price 
1. At any price 
above $4, quantity 
demanded is zero. 
$4=p Demand 
2. At exactly $4, 
consumers will 
buy any quantity. 
0 Quantity 
3. At a price below $4, 
quantity demanded is infinite. 
20/09/57 33
ประโยชน์ของความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา 
การที่เราทราบว่าสินค้านั้นมีความยืดหย่นุของ 
อุปสงค์ต่อราคามากหรือน้อย มีประโยชน์อย่างไร? 
ถ้าเราขายของที่มีความยืดหย่นุน้อยเราควร ขึ้น หรือ ลด ราคา 
เพื่อเพมิ่รายรับรวม (Total Revenue) 
Copyright © 2004 South-Western/Thomson Learning
ค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์และความสัมพันธ์กับรายรับรวม 
• รายรับ = ปริมาณขาย x ราคาสินค้า 
TR (Total Revenue) = P x Q 
• การเปลี่ยนแปลงของ P จะก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของ Q 
ส่งผลกระทบต่อ TR 
• พิจารณาใน 2 กรณี 
• กรณี P ลดลง 
• กรณี P เพมิ่ขึ้น 
Copyright © 2004 South-Western/Thomson Learning
Figure 2 Total Revenue 
Demand 
Quantity 
20/09/57 36 
Copyright©2003 Southwestern/Thomson Learning 
Q 
Price 
P 
0 
P × Q = $400 
(revenue) 
$4 
100
เพมิ่ราคาสินค้าที่มีความยืดหย่นุน้อย 
 การเพมิ่ราคาจะทา ให้ ปริมาณการบริโภคสินค้าลดลงน้อย 
กว่า ดังนั้น ทา ให้รายรับรวมเพมิ่ขึ้น 
20/09/57 37
Figure 3 How Total Revenue Changes When Price Changes: Inelastic Demand 
Revenue = $100 
Price 
Revenue = $240 
Demand 
20/09/57 38 
Copyright©2003 Southwestern/Thomson Learning 
Demand 
Price 
0 Quantity 
0 Quantity 
$1 
100 
$3 
80 
An Increase in price from $1 
to $3 … 
… leads to an Increase in 
total revenue from $100 to 
$240
เพมิ่ราคาสินค้าที่มีความยืดหย่นุมาก 
 การเพมิ่ราคาจะทา ให้ ปริมาณการบริโภคสินค้าลดลง 
มากกว่า ดังนั้น ทา ให้รายรับรวมลดลง 
20/09/57 39
Figure 4 How Total Revenue Changes When Price Changes: Elastic Demand 
Revenue = $200 
Price 
Revenue = $100 
$5 
20/09/57 40 
Copyright©2003 Southwestern/Thomson Learning 
Demand 
Price 
$4 
0 50 
Quantity 
Demand 
0 20 
Quantity 
An Increase in price from $4 
to $5 … 
… leads to an decrease in 
total revenue from $200 to 
$100
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคามีประโยชน์ต่อผู้ผลิตในการตัง้ราคา หรือปรับราคาสินค้า 
20/09/57 41
การคา นวณค่าความยืดหยุ่น ณ จุดต่างๆ 
ปริมาณ 
ราคา Ed=Infinity 
7.6 
40 60 
Ed=0 
Ed>1 
Ed<1 
Ed=1 
20 30 50 
6.2 
3.8 
2.3 
A 
B 
C 
D 
80
ปัจจัยที่มีส่วนกา หนดค่าความยืดหยุ่น 
Necessities versus Luxuries 
 สินค้าจาเป็นมีแนวโน้มที่จะมีความยืดหยุ่นน้อยกว่าสินค้าฟุ่มเฟือย เช่น 
กรณีของการรักษาพยาบาล กับการล่องเรือใบ 
 Availability of Close Substitutes 
 สินค้าที่หาแทนกันได้ง่าย ความยืดหยุ่นมีแนวโน้มสูง (เช่น เนย กับ 
มาการีน) สินค้าที่หาทดอันอื่นทดแทนได้ยากก็จะมีความยืดหยุ่นน้อย 
20/09/57 43
ปัจจัยที่มีส่วนกา หนดค่าความยืดหยุ่น (ต่อ) 
 นิสัยหรือความเคยชินของผู้บริโภค 
 สินค้าที่ผู้บริโภคมีความเคยชิน เช่น บุหรี่ สุรา มีความยืดหยุ่นต่า เมื่อเทียบกับ 
สินค้าอื่น 
 ระยะเวลาในการปรับตัวของผู้บริโภค 
 ถ้าผู้บริโภคมีเวลามากพอที่จะปรับตัวตามการเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้า 
ปริมาณเสนอซื้อก็อาจเปลี่ยนแปลงไปได้มากขึ้น เนื่องจากมีเวลาหาสินค้าอื่นมา 
ทดแทน เช่น การใช้ไบโอดีเซล แทนน้ามันดีเซล 
 ในระยะสัน้การปรับตัวของ Q d ที่มีต่อ P จะน้อย => E d < 1 (Inelastic) 
 ในระยะยาวการปรับตัวของ Q d ที่มีต่อ P จะดีขึ้น => E d > 1 (Elastic) 
20/09/57 44
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ 
( Income Elasticity of Demand)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ 
(Income elasticity of demand) 
• เป็นค่าที่ใช้วัดเปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของปริมาณเสนอซื้อ ณ ขณะใด 
ขณะหนึ่ง ต่อเปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของรายได้ เมื่อกา หนดให้สิ่ง 
อื่นๆคงที่ 
• 
เปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของปริมาณเสนอซื้อ 
เปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของรายได้ 
20/09/57 46 
Copyright © 2004 South-Western/Thomson Learning 
= 
= % ΔQ 
% ΔY 
y 
d E
การคา นณค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ 
1. การคา นวณค่าความยืดหยุ่นแบบช่วง (Arc Elasticity) : 
2. การคา นวณค่าความยืดหยุ่นแบบจุด (Point Elasticity): 
Copyright © 2004 South-Western/Thomson Learning 
Y  
Y 
1 2 
1 2 
Q  
Q 
1 2 
1 2 
Y Y 
Q Q 
Ey 
 
d  
 
 
100 
 
100 
Q  
Q 
2 1 
Q 
1 
Y  
Y 
2 1 
Y 
1 
 
 
Ey 
d 
โดยาี่= ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ Y คือ รายได้ 
y 
d E
(Income elasticity of demand) 
• เครื่องหมาย 
• ความยืดหย่นุมีเครื่องหมายเป็นบวก แสดงว่าเป็นสินค้าปกติ 
• ความยืดหย่นุมีเครื่องหมายเป็นลบ แสดงว่าเป็นสินค้าด้อย 
• ค่าความยืดหยุ่น 
• ค่าความยืดหย่นุของอุปสงค์ต่อรายได้สูง (มากกว่า 1) : สินค้าฟุ่มเฟือย 
• ค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ตา่(น้อยกว่า 1) : สินค้าจา เป็น 
48 
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ 
Copyright © 2004 South-Western/Thomson Learning
ตัวอย่างการคา นวณความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ แบบจุด 
ให้หา y ที่จุด A 
d E 
100 
Y 
1 
Q 
1 
Q Q 
2 1 
Q 
1 
Y Y 
2 1 
Q  
Q 
2 1 
Y Y 
2 1 
 y 
d E 
หมายความว่า เมื่อรายได้เปลี่ยนแปลงไป 1 เปอร์เซ็นต์ ปริมาณการเสนอซื้อจะ 
เปลี่ยนแปลงไป 2 เปอร์เซ็นต์ในทิศทางเดียวกัน สินค้าดังกลา่วจะเป็นสินค้าปกติ 
Copyright © 2004 South-Western/Thomson Learning 
Ey 
d  
 
 
500 2 
2 
500 
1,000 
2 
4  
2 
1,500 1,000 
    
 
100 
1 
 
 
 
 
 
Y 
Ey 
d
ตัวอย่างการคานวณความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ แบบช่วง 
• สมมตินายดา รงค์มรีายได้ 10,000 บาท จะมีปริมาณการเสนอซื้อ = 40 
หน่วย หากนายดา รงค์มรีายได้สูงขึ้นเป็น 15,000 บาท จะมีปริมาณ 
การเสนอซื้อ = 50 หน่วย จงหาความยืดหย่นุของอุปสงค์ต่อรายได้ 
แบบช่วง 
Copyright © 2004 South-Western/Thomson Learning
Copyright © 2004 South-Western/Thomson Learning 
การตีความ 
• หมายความว่า โดยเฉลี่ยแล้ว เมื่อรายได้เปลี่ยนแปลงไป 1 
เปอร์เซ็นต์ ปริมาณการเสนอซื้อจะ เปลี่ยนแปลงไป 0.56 เปอร์เซ็นต์ 
ในทิศทางเดียวกัน 
• ค่า E 
y 
dจะเป็น Inelastic 
• ค่าความยืดหย่นุมีค่าเป็นบวก แสดงว่า สินค้าดังกล่าวเป็นสินค้าปกติ 
ซึ่งอาจจะเป็นสินค้าจา เป็นต่อการครองชีพ
ผู้บริโภคมีรายได้ ( y1 ) เดือนละ 5000 บาท เขาจะซื้อนม เดือนละ 3 
ขวด ( Q1 ) ต่อมารายได้เขาเป็นเดือนละ 6000 บาท ( y2 ) เขาจะซื้อ 
นมเพมิ่ขึ้นเป็นเดือนละ 4 ขวด ( Q2 ) จงหาความยืดหย่นุของอปุสงค์ 
ต่อรายได้ แบบช่วง พร้อมทัง้อธิบายค่าความยืดหย่นุที่ได้ 
Copyright © 2004 South-Western/Thomson Learning
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาสินค้าชนิดอื่น 
( Cross Elasticity of Demand )
ความยืดหยุ่นไขว้( Cross Elasticity of Demand ) 
อัตราส่วนระหว่าง เปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของปริมาณความ 
ต้องการสินค้า ต่อเปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้าอื่นที่ 
เกี่ยวข้อง ( เป็นสินค้าคนละชนิด ) 
Copyright © 2004 South-Western/Thomson Learning 
X 
Y 
%  
Q 
XY % P 
E 
 

ความยืดหยุ่นไขว้( Cross Elasticity of Demand ) 
Copyright © 2004 South-Western/Thomson Learning 
ความยืดหยุ่นไขว้แบบช่วง 
P  
P 
y y 
1 2 
Q  
Q 
xy P P 
y y 
1 2 
x x 
1 2 
Q Q 
x x 
1 2 
ความยืดหยุ่นไขว้แบบจุด 
E 
 
 
 
 
y 
1 
1 
Q  
Q 
x x 
2 1 
E  
xy Q 
2 1 
x 
y y 
p 
p  
p 

ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาสินค้าชนิดอื่น 
(Cross elasticity of demand) 
20/09/57 56 
Copyright © 2004 South-Western/Thomson Learning 
• เครื่องหมาย 
• ความยืดหย่นุมีเครื่องหมายเป็นบวก 
แสดงว่าสินค้าทัง้สองชนิดใช้แทนกันได้ 
• ความยืดหยุ่นมีเครื่องหมายเป็นลบ 
แสดงว่าสินค้าทัง้สองชนิดเป็นสินค้าที่ใช้ประกอบกัน
ตัวอย่างการคา นวณความยืดหยนุ่ของอุปสงค์ต่อราคาสินค้าชนิดอื่น 
• ในตลาด เนื้อวัวราคากิโลกรัมละ 60 บาท ปริมาณความต้องการซื้อ 
เนื้อหมูเท่ากับ 200 กิโลกรัม ต่อมาราคาเนื้อวัวสูงขึ้นเป็น 70 บาทต่อ 
กิโลกรัม ความต้องการเนื้อหมูเพมิ่เป็น 250 กิโลกรัม 
• จงหาความยืดหย่นุของอุปสงค์เนื้อหมูต่อราคาเนื้อวัว ( ) 
Copyright © 2004 South-Western/Thomson Learning 
ในช่วงราคากิโลกรัมละ 60 ถึง 70 บาท 
ให้ หมู = x วัว =y 
xy E
Copyright © 2004 South-Western/Thomson Learning 
การตีความ 
• ค่าความยืดหยนุ่ของอุปสงค์เนื้อหมูต่อราคาเนื้อวัวมีค่าเท่ากับ 
1.44 แสดงว่า ปริมาณความต้องการซื้อเนื้อหมูจะเพมิ่ขึ้นเมื่อ 
ราคาเนื้อวัวสูงขึ้น (เป็นสินค้าที่ใช้ทดแทนกัน ) 
• ค่า 1.44 หมายความว่าถ้าราคาเนื้อวัวสูงขึ้น 1% จะทา ให้ 
ปริมาณความต้องการเนื้อหมูสูงขึ้น 1.44%
ความยืดหยุ่นของอุปทาน 
(Elasticity of supply)
ความยืดหยุ่นของอุปทาน 
• ค่าที่บอกให้รู้ถึงความมากน้อยของการเปลี่ยนแปลงของปริมาณเสนอ 
ขาย เมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้า 
• การเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้า และการเปลี่ยนแปลงของปริมาณเสนอ 
ขาย จะเป็นไปในทิศทางเดียวกัน 
• ดังนั้น ค่าความยืดหย่นุจะมีเครื่องหมายเป็นบวก 
20/09/57 60 
Copyright © 2004 South-Western/Thomson Learning
เปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของปริมาณเสนอขาย 
เปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้า 
20/09/57 61 
Copyright © 2004 South-Western/Thomson Learning 
ความยืดหยุ่นของอุปทาน 
(Elasticity of supply) 
εs = 
= % ΔQ 
% ΔP
สินค้าใดมีความยืดหยุ่นของอุปทานต่อราคามากกว่ากัน 
คา ถาม: เมื่อราคาสินค้าเพมิ่ขึ้นในอัตราที่เท่ากัน ผู้ผลิตจะเพมิ่การ 
ผลิตเสื้อผ้า หรือ น้ามัน มากกว่ากัน 
•เสื้อผ้าสา เร็จรูป เมื่อราคาเพมิ่ขึ้น ผู้ผลิตสามารถผลิตออกมาขายได้เพมิ่ขึ้น 
ผู้ผลิตสามารถหาวัตถุดิบได้ง่ายกว่า การผลิตน้ามัน เพราะอาจต้องมีการ 
สัมปทาน และต้นทุนการขุดเจาะที่สูง 
•ดังนั้น น้ามันมีความยืดหยุ่นของอุปทานต่อราคาน้อย Inelastic 
Copyright © 2004 South-Western/Thomson Learning
ปัจจัยที่กา หนดความยืดหยุ่นของอุปทานต่อราคา 
• 1. ต้นทุนการผลิต ต้นทุนสูง ความยืดหยุ่นของอุปทานมีค่าน้อย 
• 2. ระยะเวลา 
อุปทานในระยะยาวมีความยืดหยนุ่มากกว่าในระยะสัน้ เน่อืงจากผู้ผลิต 
สามารถเปลี่ยนแปลงจา นวนการผลิตได้เต็มที่ตามการเปลี่ยนแปลงของ 
ราคา 
• 3. ความคงทนของสินค้า 
สินค้าที่เก็บไว้ไม่ได้นาน เช่น ผักผลไม้ อุปทานจะมีความยืดหยนุ่น้อย 
มาก ยกตัวอย่าง ช่วงค่า ๆ แม่ค้าจะรีบเลหลังขายผลไม้ โดยลดราคาลง 
มาก ปริมาณขายจะไม่ลดลง เพราะแม่ค้ากลัวผลไม้เน่าเสียก่อน สู้เอามา 
ลดราคายังได้ทุนคืนบ้าง 
Copyright © 2004 South-Western/Thomson Learning
64 การคา นวณค่าความยืดหยุ่นของอุปาานต่อราคา 
1. การคา นวณค่าความยืดหยุ่นแบบช่วง (Arc Elasticity) : 
P P 
1 2 
 
E s  
1 2 
Q Q 
1 2 
1 2 
P P 
Q Q 
 
 
 
 
2. การคา นวณค่าความยืดหยุ่นแบบจุด (Point Elasticity): 
100 
100 
Q Q 
2 1 
Q 
1 
Y Y 
2 1 
1 
 
 
 
 
 
Y 
Es
65 
1. อุปาานไม่มีความยืดหยุ่น หรือค่าความยืดหยุ่นเา่ากับศูนย์(=0) 
S ราคา 
P 
P2 
Q 
P1 
Q 
% 0 
  
P 
ปริมาณผลผลิต 
เส้นอุปาานมีความยืดหยุ่น 
เา่ากับศูนย์ (Perfectly Inelasticity 
Supply) แสดงว่าจานวนขายสินค้าจะไม่ 
เปลี่ยนแปลงไม่ว่าราคาจะเพิ่มขึ้นหรือ 
ลดลง เส้นอุปาานจะมีลักษณะต้งัฉาก 
กับแกน X 
เช่น ชาวนาาี่ต้องขายข้าวในฤดูเก็บเกี่ยว 
O 
ประเภาของความยืดหยุ่นของอุปาานต่อราคา ( ต่อ ) 
  
%
66 
ประเภาของความยืดหยุ่นของอุปาานต่อราคา ( ต่อ ) 
2. อุปาานมีความยืดหยุ่นน้อยกว่าหนึ่ง (<1) 
S ราคา 
P2 
Q2 
P1 
ปริมาณ 
A 
B 
Q1 
O C 
%Q  %P 
เช่น การขายสินค้าาี่เน่าเสียได้ง่าย
67 
ประเภาของความยืดหยุ่นของอุปาานต่อราคา ( ต่อ ) 
3. อุปาานมีความยืดหยุ่นเา่ากับหนึ่ง (=1) 
P2 
Q2 
P1 
S 
ราคา 
ปริมาณ 
เส้นอุปาานมีลักษณะเป็น 
เส้นตรงเริ่มจากจุดกาเนิด 
A 
B 
Q1 
O 
%Q = %P
68 
ประเภาของความยืดหยุ่นของอุปาานต่อราคา ( ต่อ ) 
4. อุปาานมีความยืดหยุ่นมากกว่าหนึ่ง (>1) 
P1 
Q1 
P2 
S 
ราคา 
ปริมาณ 
A 
B 
Q2 C O 
%Q  %P 
เช่น การขายเสื้อผ้า หรือสินค้าตามแฟชั่น
69 
5. อุปาานมีความยืดหยุ่นสมบูรณ์หรือเป็นอินฟินิตี้(  ) 
S 
ราคา 
ปริมาณ 
สินค้าาี่มีความยืดหยุ่นสมบูรณ์ 
หรือเป็นอินฟินิตี้(=) หมายถึง ราคาไม่ 
เปลี่ยนแปลงแม้ปริมาณขายสินค้าจะ 
เปลี่ยนแปลงไป 
หรือถ้าราคาสินค้าอยู่ ณ ระดับ 
ราคาเดิมปริมาณขายจะมีไม่จากัด แต่ถ้า 
ราคาลดลงแม้เพียงนิดเดียว สินค้าจะไม่มี 
ขายเลยในตลาด 
P 
O 
ประเภาของความยืดหยุ่นของอุปาานต่อราคา ( ต่อ )
มังคุดราคากิโลกรัมละ 30 บาท ผู้ขายต้องการที่จะนาออกขาย 200 
กิโลกรัม ต่อมาราคามังคุดแพงขึ้นเป็นกิโลกรัมละ 35 บาท ผู้ขาย 
ต้องการนามังคุดออกขาย 300 กิโลกรัม จงหาค่า Es แบบช่วง พร้อม 
ทัง้อธิบายค่าความยืดหย่นุของอุปทานต่อราคาที่ได้ 
Copyright © 2004 South-Western/Thomson Learning 
P P 
1 2 
 
E s  
1 2 
Q Q 
1 2 
1 2 
P P 
Q Q 
 
 
 

71 
มาตรการการแารกแซงราคาของรัฐ 
การประกันราคาขั้นตา่โดยรับซื้ออุปาานส่วนเกิน 
อุปทานส่วนเกิน รัฐบาลประกาศใช้ 
รับซื้ออุปาานส่วนเกิน 
= ABQ1Q2 
ราคา (P) 
S 
ราคาควบคุม 
ขั้นต่า 
Pf 
A 
O 
Q1 
ปริมาณ (Q) B 
Q2 
กฎหมายบังคับให้ผู้ซื้อาุก 
รายซื้อสินค้าในราคา 
ประกัน (Pf > Pe) 
Pe 
Qe 
D 
E
Copyright © 2004 South-Western/Thomson Learning 
72 
การประยุกต์ความยืดหยุ่น 
เพื่อการวิเคราะห์ปัญหาาางเศรษฐกิจ
การกา หนดค่าจ้างขั้นต่า (Minimum Wage) 
Copyright © 2004 South-Western/Thomson Learning 
73 
ค่าจ้าง 
W1 = 300 
ปริมาณ (Q) 
S 
D 
E 
Qe 
w0 
O 
Q1 Q2 
อุปาานส่วนเกิน 
คือการกาหนดให้ค่าจ้าง 
สูงขึ้นเพื่อให้คนมีรายได้ 
สูงขึ้น ผลาี่เกิดตามมาคือ 
การว่างงาน
74 การประกันราคาขั้นสูง (Price Ceiling) 
ราคา 
(P) 
Pe 
ปริมาณ (Q) 
S 
D 
E 
Qe 
O 
ราคาควบคุมขั้นต่า 
Pf 
มักเกิดในช่วงสงคราม 
รัฐช่วยผู้บริโภคเพราะ 
สินค้าแพงมาก 
เกิดตลาดมือ (Black 
market) คนลักลอบขาย 
นอกตลาดเพราะจะขายได้ 
ราคาแพงขึ้น 
Q1 Q2 
รัฐบาลประกาศใช้ 
กฎหมายบังคับให้ผู้ขาย 
าุกรายขายสินค้าใน 
ราคาประกัน (Pc< Pe) 
อุปสงค์ส่วนเกิน
SUMMARY 
 Price elasticity of demand measures how 
much the quantity demanded responds to 
changes in the price. 
 Price elasticity of demand is calculated as the 
percentage change in quantity demanded 
divided by the percentage change in price. 
 If a demand curve is elastic, total revenue 
falls when the price rises. 
 If it is inelastic, total revenue rises as the 
price rises.
SUMMARY 
 The income elasticity of demand measures 
how much the quantity demanded responds 
to changes in consumers’ income. 
 The cross-price elasticity of demand 
measures how much the quantity demanded 
of one good responds to the price of another 
good. 
 The price elasticity of supply measures how 
much the quantity supplied responds to 
changes in the price. .
SUMMARY 
 In most markets, supply is more elastic in the 
long run than in the short run. 
 The price elasticity of supply is calculated as 
the percentage change in quantity supplied 
divided by the percentage change in price. 
 The tools of supply and demand can be 
applied in many different types of markets.

More Related Content

What's hot

Demand and supply
Demand and supplyDemand and supply
Demand and supply
bnongluk
 
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาดบทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
Ornkapat Bualom
 
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
Phattarawan Wai
 
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์
Orawonya Wbac
 
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคบทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
Ornkapat Bualom
 
Physicเรื่องของไหล
Physicเรื่องของไหล Physicเรื่องของไหล
Physicเรื่องของไหล
Icxise RevenClaw
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 แบบทดสอบก่อนและหลังเรียนแผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน
jirupi
 
Econ Presentation 6
Econ Presentation 6Econ Presentation 6
Econ Presentation 6
wowwilawanph
 

What's hot (20)

Chapter4 พฤติกรรมผู้บริโภค
Chapter4 พฤติกรรมผู้บริโภคChapter4 พฤติกรรมผู้บริโภค
Chapter4 พฤติกรรมผู้บริโภค
 
Demand and supply
Demand and supplyDemand and supply
Demand and supply
 
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตบทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
 
การกำหนดราคาโดยอุปสงค์และอุปทาน
การกำหนดราคาโดยอุปสงค์และอุปทานการกำหนดราคาโดยอุปสงค์และอุปทาน
การกำหนดราคาโดยอุปสงค์และอุปทาน
 
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพบทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
 
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาดบทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
 
Chapter5 ทฤษฎีการผลิต
Chapter5 ทฤษฎีการผลิตChapter5 ทฤษฎีการผลิต
Chapter5 ทฤษฎีการผลิต
 
สอนการใช้สมุนไพรสำหรับนักเรียน
สอนการใช้สมุนไพรสำหรับนักเรียนสอนการใช้สมุนไพรสำหรับนักเรียน
สอนการใช้สมุนไพรสำหรับนักเรียน
 
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
 
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์
 
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคบทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
 
Chapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทานChapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทาน
 
ความตึงผิว
ความตึงผิวความตึงผิว
ความตึงผิว
 
ความตึงผิวและความหนืด
ความตึงผิวและความหนืดความตึงผิวและความหนืด
ความตึงผิวและความหนืด
 
Econ100 04 sec015
Econ100 04 sec015Econ100 04 sec015
Econ100 04 sec015
 
Physicเรื่องของไหล
Physicเรื่องของไหล Physicเรื่องของไหล
Physicเรื่องของไหล
 
Macro Economics c5 นโยบายการเงิน
Macro Economics c5 นโยบายการเงินMacro Economics c5 นโยบายการเงิน
Macro Economics c5 นโยบายการเงิน
 
คำวิเศษณ์
คำวิเศษณ์คำวิเศษณ์
คำวิเศษณ์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 แบบทดสอบก่อนและหลังเรียนแผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน
 
Econ Presentation 6
Econ Presentation 6Econ Presentation 6
Econ Presentation 6
 

Unit3 elasticity

  • 1. 3 Elasticity of Demand and Supply ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปาาน Copyright © 2004 South-Western
  • 2. ความยืดหยุ่นของอุปสงค์(Elasticity of Demand)  ค่าที่ใช้วัดเปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของปริมาณเสนอซื้อ ต่อเปอร์เซ็นต์ การเปลี่ยนแปลงของตัวแปรอื่นๆ ที่เป็นตัวกา หนดปริมาณเสนอซื้อ ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา ( Price Elasticity of Demand ) ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ ( Income Elasticity of Demand ) ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาสินค้าชนิดอื่น ( Cross Elasticity of Demand ) 20/09/57 2 1 2 3
  • 4. 1. ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา ( Price Elasticity of Demand) • 1.1 ความหมาย • 1.2 วิธีการคานวณหาค่าความยืดหยุ่น • 1.3 ค่าความยืดหยนุ่กับลักษณะของเส้นอุปสงค์ • 1.4 ปัจ จัยที่มีส่วนกา หนดค่าความยืดหยุ่น Copyright © 2004 South-Western/Thomson Learning
  • 5. ความยืดหยุ่นของอุปสงค์(Price Elasticity of Demand) • ทา ไมเมื่อราคาสินค้าปรับเพมิ่ในสัดส่วนที่เท่ากัน แต่เรากลับลดการ ซื้อสินค้าบางอย่างมาก ในขณะที่สินค้าบางอย่างเราลดปริมาณการ ซื้อเพียงนิดเดียว หากราคาน้าอัดลม และยาแก้ไอ เพิ่มขึ้น 50% จะทา ให้ความต้องการซื้อสินค้า Copyright © 2004 South-Western/Thomson Learning ชนิดใดลดลงมากกว่ากัน ความต้องการของคนเรามีความอ่อนไหวต่อราคาที่เปลี่ยนแปลงไปของสินค้า แต่ละอย่างไม่เท่ากัน
  • 6. 1.1 ความหมาย ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา • เป็นค่าที่ใช้วัดเปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของปริมาณเสนอซื้อ ต่อเปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้าชนิดนั้นๆ เปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของปริมาณเสนอซื้อ เปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้า Copyright © 2004 South-Western/Thomson Learning εP = εP = % ΔQ % ΔP
  • 7. ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา (ต่อ)  การเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้า และการเปลี่ยนแปลงของ ปริมาณเสนอซื้อ จะเป็นไปในทิศทางตรงข้ามกัน  ความยืดหย่นุของอุปสงค์ต่อราคามีเครื่องหมายลบ  โดยทัว่ไป เราจะพูดถึงค่าสัมบูรณ์ของความยืดหยุ่น 20/09/57 7
  • 8. ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา (ต่อ) P P P1 εP = % ΔQ % ΔP จากกราฟ ให้ คา ถาม คือ จากเส้นDemand ของสินค้าทัง้ สอง สินค้าชนิดใดมีความยืดหยุ่นมากกว่ากัน DIphone Q Dข้าว A Q1 Q2 Q Iphone มีความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา มากกว่าข้าว 20/09/57 8
  • 9. 1.2 การคานวณหาค่าความยืดหยุ่น • ความยืดหยุ่นของอุปสงค์แบบจุด (Point elasticity of demand) • ความยืดหยุ่นของอุปสงค์แบบช่วง (Arc Elasticity) Copyright © 2004 South-Western/Thomson Learning
  • 10. ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ตรงจุด (Point elasticity of demand) εP = จา นวนการเปลี่ยนแปลงของปริมาณเสนอซื้อ ปริมาณเสนอซื้อแต่เริ่มแรก X 100 จา นวนการเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้า ราคาสินค้าแต่เริ่มแรก X 100 Growth ของ Q หารด้วย Growth ของ P 20/09/57 10
  • 11. ความยืดหยุ่นของอุปสงค์แบบจุด (Point elasticity of demand) εP = % ΔQ % ΔP Q2 – Q1 = Q1 P2 – P1 P1 X 100 X 100  Q1 ปริมาณเสนอซื้อเดิม  Q2 ปริมาณเสนอซื้อใหม่  P1 ราคาสินค้าเดิม  P2 ราคาสินค้าใหม่ 20/09/57 11
  • 12. ตัวอย่าง 1 ส้มโอราคา 20 บาท มีคนซื้อ 10 ลูก แต่ราคาลดลงเป็น 18 บาท คนจะซื้อเพมิ่เป็น 15 ลูก ค่าความยืดหย่นุของอุปสงค์ต่อ ราคาแบบจุด คือเท่าใด = Q2 – Q1 Q1 P2 – P1 P1 X 100 X 100 εP จากโจทย์ : P1 = 20 P2 = 18 Q1 = 10 Q2 = 15 นาตัวเลขไปแานค่าตามสูตร
  • 13. ค่าความยืดหย่นุ = -5 หมายถึงว่า ถ้าราคาเปลี่ยนไป 1% ปริมาณซื้อ จะเปลี่ยนไป 5% ส่วนเครื่องหมายเป็นลบเนื่องจากความสัมพันธ์ ระหว่างราคาและปริมาณความต้องการซื้อมีทิศทางตรงกันข้าม ค่า ความยืดหย่นุจะพิจารณาเฉพาะตัวเลขเท่านั้น εP ที่มีค่ามากว่า 1 (ไม่ดูเครื่องหมาย) แสดงว่าการเปลี่ยนแปลงปริมาณ ความต้องการซื้อมากกว่าการเปลี่ยนแปลงของราคา แสดงว่าสินค้านี้มี ความยืดหยุ่นมาก Elastic
  • 14. ตัวอย่างที่ 2 การคา นวณความยืดหยุ่นของอุปสงค์แบบจุด If the price of an ice cream cone increases from $2.00 to $2.20 and the amount you buy falls from 10 to 8 cones, then your elasticity of demand would be calculated as? Copyright © 2004 South-Western/Thomson Learning
  • 15.  : P1 = $ 2 P2 = $2.20 Q1 = 10 Q2 = 8 Q2 – Q1 Q1 P2 – P1 P1 ( ) 10 8 10 X 100 X 100 100   ( 2 . 20  2 . 00 ) 2 . 00 100 20% 10% ความหมายของค่า ความยืดหยุ่นที่ได้ 2    εP = εP = จงอธิบาย 20/09/57 15
  • 16. ถ้าราคายาแก้ปวด ลดลงจากแผงละ ละ 12 บาท เป็น 10 บาท จะทา ให้ปริมาณความต้องการยาแก้ปวดเพมิ่ขึ้น จากที่เคยซื้อ 9 แผง เพมิ่ขึ้นเป็น 10 แผง ดังนั้น ค่าความยืดหย่นุของอุปสงค์ต่อราคาของยา แก้ปวดเป็นเท่าใด จงหาคานวณโดยใช้สูตรการหาความ ยืดหย่นุแบบจุด พร้อมทัง้อธิบายค่าความ ยืดหย่นุที่ได้
  • 17. การคา นวณค่าความยืดหยุ่นแบบช่วง (Arc Elasticity) การคานวณค่าความยืดหยุ่นแบบช่วง (Arc Elasticity) : คือ การ คา นวณค่าความยืดหย่นุ ณ ช่วงใดช่วงหนึ่ง บนเส้นอุปสงค์เส้นเดียวกัน มีสูตรเป็นดังนี้ข้อดีคือ ไม่ว่าจะคา นวณจากจุด A มา B หรือ B มา A จะได้ค่าความยืดหย่นุที่เท่ากัน Copyright © 2004 South-Western/Thomson Learning P P 1 2  E d  1 2 Q Q 1 2 1 2 P P Q Q     โดยาี่Ed = ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา Q1= ปริมาณซื้อเดิมก่อนราคาเปลยี่นแปลง Q2= ปริมาณซื้อใหม่หลังราคาเปลี่ยนแปลง P1 = ราคาเดิม P2 = ราคาใหม่
  • 18. จงคานวณหาค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาแบบช่วงจากจุด A ไปจุด B บน เส้นอุปสงค์จากรูปด้านล่าง 12  10 12 10 120  160 120 160     d E 22 2 40 280    11  7 D Q Q  1 2  E d Q  Q  1 2 A P P 1 2 P P 1 2 B ราคา 12 10 O  120 160 ปริมาณผลผลิต   1.57
  • 19. การคานวณค่าความยืดหยุ่นแบบช่วง (Arc Elasticity) • ค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา = 1.57 • หมายความว่าในช่วงราคา 12 บาท ถึง 10 บาท โดยเฉลี่ยการ เปลี่ยนแปลงของราคาสินค้า X 1% จะมีผลทาให้อุปสงค์ต่อสินค้า X เปลี่ยนแปลงไปในทิศทางตรงกันข้ามเท่ากับ 1.57 % • สินค้านี้มีความยืดหย่นุมาก (Elastic) เนื่องจาก  Ed  > 1 Copyright © 2004 South-Western/Thomson Learning
  • 20. สมมติให้ราคาสินค้า X ลดลงจาก 10 บาท เป็น 6 บาท ปริมาณ ซื้อที่ผู้บริโภคมีต่อสินค้า X เพมิ่ขึ้นจาก 1,400 หน่วย เป็น 1,800 หน่วย จงหาคานวณโดยใช้สูตรการหาความยืดหยุ่น ของอุปสงค์ต่อราคาแบบช่วง พร้อมทัง้อธิบายค่า ความยืดหย่นุที่ได้
  • 21. 1.3 ค่าความยืดหยุ่นกับลักษณะของเส้นอุปสงค์ Copyright © 2004 South-Western/Thomson Learning Ed = % Q % P ถ้า % Q > % P   Ed  > 1 ความยืดหยุ่นสูง (elastic) ถ้า % Q < % P   Ed  < 1 ความยืดหยุ่นต่า (Inelastic) ถ้า % Q = % P   Ed  = 1 ความยืดหยุ่นคงที่ ถ้า % Q = 0   Ed  = 0 Perfectly inelastic ถ้า % P = 0   Ed  =  Perfectly elastic
  • 23. ค่าความยืดหยุ่นกับลักษณะของเส้นอุปสงค์(ต่อ)  ความยืดหยุ่นของอุปสงค์จะเป็นการกล่าวถึงความยืดหยุ่น ณ ระดับราคาใดราคาหนึ่งเสมอ เนื่องจากแต่ละจุดบนเส้นอุปสงค์ที่ เป็นเส้นตรงจะมีค่าความยืดหยุ่นไม่เท่ากัน (ซึ่งแตกต่างจากความ ชัน)  การเปรียบเทียบค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์สองเส้นจะทาได้ก็ ต่อเมื่อเป็นการเปรียบเทียบ ณ ระดับราคาเดียวกัน 20/09/57 23
  • 24. 1. อุปสงค์ไม่มีความยืดหยุ่น หรือค่าความยืดหยุ่นเา่ากับศูนย์ เส้นอุปสงค์มีความยืดหยุ่นเท่ากับศูนย์ตลอด ทั้งเส้น ปริมาณซื้อจะไม่เปลี่ยนแปลงเมื่อราคา เปลี่ยนแปลง เสน้ D จะตั้งฉากแกน X สินค้าที่มีความยืดหยุ่นเท่ากับศูนย์ได้แก่ สินค้าาี่มีความจาเป็นมากาี่สุด ไม่ว่าราคาจะสูงขึ้น หรือลดลงก็ตามปริมาณความต้องการซื้อจะไม่ เปลี่ยนแปลง เช่น โลงศพ ยารักษาโรค Copyright © 2004 South-Western/Thomson Learning
  • 25. Figure 1 The Price Elasticity of Demand (a) Perfectly Inelastic Demand: Elasticity Equals 0 20/09/57 25 Copyright©2003 Southwestern/Thomson Learning $5 4 Quantity Demand 0 100 1. An increase in price . . . 2. . . . leaves the quantity demanded unchanged. Price
  • 26. อุปสงค์มีค่าความยืดหยุ่นน้อยกว่าหนึ่ง • ร้อยละการเปลี่ยนแปลงของปริมาณซื้อน้อยกว่าร้อยละการเปลี่ยนแปลง ของราคา • สินค้าที่สินค้าที่มีความจา เป็นต่อการดา รงชีวิตของมนุษย์ทัว่ไป เช่น อาหาร เสื้อผ้า Copyright © 2004 South-Western/Thomson Learning
  • 27. Figure 1 The Price Elasticity of Demand (b) Inelastic Demand: Elasticity Is Less Than 1 Price 4 1. A 22% Demand increase in price . . . 0 Quantity $5 90 100 2. . . . leads to an 11% decrease in quantity demanded. 20/09/57 27
  • 28. อุปสงค์มีค่าความยืดหยุ่นเา่ากับหนึ่ง • ร้อยละการเปลี่ยนแปลงปริมาณซื้อเท่ากับร้อยละการเปลี่ยนแปลงราคา • อุปสงค์เป็นเส้นโค้งแบบ Rectangular Hyperbolar • พื้นที่รูปสี่เหลี่ยมใต้โค้งมีค่าเท่ากันตลอด Copyright © 2004 South-Western/Thomson Learning
  • 29. Figure 1 The Price Elasticity of Demand (c) Unit Elastic Demand: Elasticity Equals 1 Quantity 2. . . . leads to a 22% decrease in quantity demanded. 20/09/57 29 Copyright©2003 Southwestern/Thomson Learning 4 0 100 Price $5 80 1. A 22% increase in price . . . Demand
  • 30. อุปสงค์มีค่าความยืดหยุ่นมากกว่าหนึ่ง • ความยืดหยุ่นมีค่ามากกว่าหนึ่ง แต่น้อยกว่า ∞ • ร้อยละของการเปลี่ยนแปลงปริมาณซื้อมากกว่าร้อยละการเปลี่ยนแปลง ปริมาณราคา • สินค้าประเภทฟุ่มเฟือย เช่น ของ Brand names เครื่องประดับ เครื่องสา อาง Copyright © 2004 South-Western/Thomson Learning
  • 31. Figure 1 The Price Elasticity of Demand (d) Elastic Demand: Elasticity Is Greater Than 1 Demand Quantity Price $5 4 0 50 100 1. A 22% increase in price . . . 2. . . . leads to a 67% decrease in quantity demanded. 20/09/57 31
  • 32. อุปสงค์มีค่าความยืดหยุ่นเา่ากับ ∞ • สินค้าที่ ราคาไม่เปลี่ยนแปลงแม้ปริมาณซื้อสินค้าจะเปลี่ยนแปลงไป อย่างไรก็ตาม ได้แก่ สินค้าที่มีการแข่งขันอย่างสมบูรณ์เช่น สินค้า เกษตร เป็นต้น กล่าวคือเป็นสินค้าที่ถ้าผู้ขายรายใดขึ้นราคาสูงกว่า OP จะไม่มีใครซื้อสินค้าเลย • ปริมาณซื้ออาจลดลงหรือเพมิ่ขึ้นไม่จา กัด ตราบเท่าที่ผู้ผลิตยังคงราคา เดิมหรือลดราคาลง ถ้าแม้ว่าผู้ผลิตขึ้นราคาแม้แต่เล็กน้อย ปริมาณซื้อ จะลดลงเหลือศูนย์หรือใกล้ศูนย์ Copyright © 2004 South-Western/Thomson Learning
  • 33. Figure 1 The Price Elasticity of Demand (e) Perfectly Elastic Demand: Elasticity Equals Infinity Price 1. At any price above $4, quantity demanded is zero. $4=p Demand 2. At exactly $4, consumers will buy any quantity. 0 Quantity 3. At a price below $4, quantity demanded is infinite. 20/09/57 33
  • 34. ประโยชน์ของความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา การที่เราทราบว่าสินค้านั้นมีความยืดหย่นุของ อุปสงค์ต่อราคามากหรือน้อย มีประโยชน์อย่างไร? ถ้าเราขายของที่มีความยืดหย่นุน้อยเราควร ขึ้น หรือ ลด ราคา เพื่อเพมิ่รายรับรวม (Total Revenue) Copyright © 2004 South-Western/Thomson Learning
  • 35. ค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์และความสัมพันธ์กับรายรับรวม • รายรับ = ปริมาณขาย x ราคาสินค้า TR (Total Revenue) = P x Q • การเปลี่ยนแปลงของ P จะก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของ Q ส่งผลกระทบต่อ TR • พิจารณาใน 2 กรณี • กรณี P ลดลง • กรณี P เพมิ่ขึ้น Copyright © 2004 South-Western/Thomson Learning
  • 36. Figure 2 Total Revenue Demand Quantity 20/09/57 36 Copyright©2003 Southwestern/Thomson Learning Q Price P 0 P × Q = $400 (revenue) $4 100
  • 37. เพมิ่ราคาสินค้าที่มีความยืดหย่นุน้อย  การเพมิ่ราคาจะทา ให้ ปริมาณการบริโภคสินค้าลดลงน้อย กว่า ดังนั้น ทา ให้รายรับรวมเพมิ่ขึ้น 20/09/57 37
  • 38. Figure 3 How Total Revenue Changes When Price Changes: Inelastic Demand Revenue = $100 Price Revenue = $240 Demand 20/09/57 38 Copyright©2003 Southwestern/Thomson Learning Demand Price 0 Quantity 0 Quantity $1 100 $3 80 An Increase in price from $1 to $3 … … leads to an Increase in total revenue from $100 to $240
  • 39. เพมิ่ราคาสินค้าที่มีความยืดหย่นุมาก  การเพมิ่ราคาจะทา ให้ ปริมาณการบริโภคสินค้าลดลง มากกว่า ดังนั้น ทา ให้รายรับรวมลดลง 20/09/57 39
  • 40. Figure 4 How Total Revenue Changes When Price Changes: Elastic Demand Revenue = $200 Price Revenue = $100 $5 20/09/57 40 Copyright©2003 Southwestern/Thomson Learning Demand Price $4 0 50 Quantity Demand 0 20 Quantity An Increase in price from $4 to $5 … … leads to an decrease in total revenue from $200 to $100
  • 42. การคา นวณค่าความยืดหยุ่น ณ จุดต่างๆ ปริมาณ ราคา Ed=Infinity 7.6 40 60 Ed=0 Ed>1 Ed<1 Ed=1 20 30 50 6.2 3.8 2.3 A B C D 80
  • 43. ปัจจัยที่มีส่วนกา หนดค่าความยืดหยุ่น Necessities versus Luxuries  สินค้าจาเป็นมีแนวโน้มที่จะมีความยืดหยุ่นน้อยกว่าสินค้าฟุ่มเฟือย เช่น กรณีของการรักษาพยาบาล กับการล่องเรือใบ  Availability of Close Substitutes  สินค้าที่หาแทนกันได้ง่าย ความยืดหยุ่นมีแนวโน้มสูง (เช่น เนย กับ มาการีน) สินค้าที่หาทดอันอื่นทดแทนได้ยากก็จะมีความยืดหยุ่นน้อย 20/09/57 43
  • 44. ปัจจัยที่มีส่วนกา หนดค่าความยืดหยุ่น (ต่อ)  นิสัยหรือความเคยชินของผู้บริโภค  สินค้าที่ผู้บริโภคมีความเคยชิน เช่น บุหรี่ สุรา มีความยืดหยุ่นต่า เมื่อเทียบกับ สินค้าอื่น  ระยะเวลาในการปรับตัวของผู้บริโภค  ถ้าผู้บริโภคมีเวลามากพอที่จะปรับตัวตามการเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้า ปริมาณเสนอซื้อก็อาจเปลี่ยนแปลงไปได้มากขึ้น เนื่องจากมีเวลาหาสินค้าอื่นมา ทดแทน เช่น การใช้ไบโอดีเซล แทนน้ามันดีเซล  ในระยะสัน้การปรับตัวของ Q d ที่มีต่อ P จะน้อย => E d < 1 (Inelastic)  ในระยะยาวการปรับตัวของ Q d ที่มีต่อ P จะดีขึ้น => E d > 1 (Elastic) 20/09/57 44
  • 46. ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ (Income elasticity of demand) • เป็นค่าที่ใช้วัดเปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของปริมาณเสนอซื้อ ณ ขณะใด ขณะหนึ่ง ต่อเปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของรายได้ เมื่อกา หนดให้สิ่ง อื่นๆคงที่ • เปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของปริมาณเสนอซื้อ เปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของรายได้ 20/09/57 46 Copyright © 2004 South-Western/Thomson Learning = = % ΔQ % ΔY y d E
  • 47. การคา นณค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ 1. การคา นวณค่าความยืดหยุ่นแบบช่วง (Arc Elasticity) : 2. การคา นวณค่าความยืดหยุ่นแบบจุด (Point Elasticity): Copyright © 2004 South-Western/Thomson Learning Y  Y 1 2 1 2 Q  Q 1 2 1 2 Y Y Q Q Ey  d    100  100 Q  Q 2 1 Q 1 Y  Y 2 1 Y 1   Ey d โดยาี่= ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ Y คือ รายได้ y d E
  • 48. (Income elasticity of demand) • เครื่องหมาย • ความยืดหย่นุมีเครื่องหมายเป็นบวก แสดงว่าเป็นสินค้าปกติ • ความยืดหย่นุมีเครื่องหมายเป็นลบ แสดงว่าเป็นสินค้าด้อย • ค่าความยืดหยุ่น • ค่าความยืดหย่นุของอุปสงค์ต่อรายได้สูง (มากกว่า 1) : สินค้าฟุ่มเฟือย • ค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ตา่(น้อยกว่า 1) : สินค้าจา เป็น 48 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ Copyright © 2004 South-Western/Thomson Learning
  • 49. ตัวอย่างการคา นวณความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ แบบจุด ให้หา y ที่จุด A d E 100 Y 1 Q 1 Q Q 2 1 Q 1 Y Y 2 1 Q  Q 2 1 Y Y 2 1  y d E หมายความว่า เมื่อรายได้เปลี่ยนแปลงไป 1 เปอร์เซ็นต์ ปริมาณการเสนอซื้อจะ เปลี่ยนแปลงไป 2 เปอร์เซ็นต์ในทิศทางเดียวกัน สินค้าดังกลา่วจะเป็นสินค้าปกติ Copyright © 2004 South-Western/Thomson Learning Ey d    500 2 2 500 1,000 2 4  2 1,500 1,000      100 1      Y Ey d
  • 50. ตัวอย่างการคานวณความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ แบบช่วง • สมมตินายดา รงค์มรีายได้ 10,000 บาท จะมีปริมาณการเสนอซื้อ = 40 หน่วย หากนายดา รงค์มรีายได้สูงขึ้นเป็น 15,000 บาท จะมีปริมาณ การเสนอซื้อ = 50 หน่วย จงหาความยืดหย่นุของอุปสงค์ต่อรายได้ แบบช่วง Copyright © 2004 South-Western/Thomson Learning
  • 51. Copyright © 2004 South-Western/Thomson Learning การตีความ • หมายความว่า โดยเฉลี่ยแล้ว เมื่อรายได้เปลี่ยนแปลงไป 1 เปอร์เซ็นต์ ปริมาณการเสนอซื้อจะ เปลี่ยนแปลงไป 0.56 เปอร์เซ็นต์ ในทิศทางเดียวกัน • ค่า E y dจะเป็น Inelastic • ค่าความยืดหย่นุมีค่าเป็นบวก แสดงว่า สินค้าดังกล่าวเป็นสินค้าปกติ ซึ่งอาจจะเป็นสินค้าจา เป็นต่อการครองชีพ
  • 52. ผู้บริโภคมีรายได้ ( y1 ) เดือนละ 5000 บาท เขาจะซื้อนม เดือนละ 3 ขวด ( Q1 ) ต่อมารายได้เขาเป็นเดือนละ 6000 บาท ( y2 ) เขาจะซื้อ นมเพมิ่ขึ้นเป็นเดือนละ 4 ขวด ( Q2 ) จงหาความยืดหย่นุของอปุสงค์ ต่อรายได้ แบบช่วง พร้อมทัง้อธิบายค่าความยืดหย่นุที่ได้ Copyright © 2004 South-Western/Thomson Learning
  • 54. ความยืดหยุ่นไขว้( Cross Elasticity of Demand ) อัตราส่วนระหว่าง เปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของปริมาณความ ต้องการสินค้า ต่อเปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้าอื่นที่ เกี่ยวข้อง ( เป็นสินค้าคนละชนิด ) Copyright © 2004 South-Western/Thomson Learning X Y %  Q XY % P E  
  • 55. ความยืดหยุ่นไขว้( Cross Elasticity of Demand ) Copyright © 2004 South-Western/Thomson Learning ความยืดหยุ่นไขว้แบบช่วง P  P y y 1 2 Q  Q xy P P y y 1 2 x x 1 2 Q Q x x 1 2 ความยืดหยุ่นไขว้แบบจุด E     y 1 1 Q  Q x x 2 1 E  xy Q 2 1 x y y p p  p 
  • 56. ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาสินค้าชนิดอื่น (Cross elasticity of demand) 20/09/57 56 Copyright © 2004 South-Western/Thomson Learning • เครื่องหมาย • ความยืดหย่นุมีเครื่องหมายเป็นบวก แสดงว่าสินค้าทัง้สองชนิดใช้แทนกันได้ • ความยืดหยุ่นมีเครื่องหมายเป็นลบ แสดงว่าสินค้าทัง้สองชนิดเป็นสินค้าที่ใช้ประกอบกัน
  • 57. ตัวอย่างการคา นวณความยืดหยนุ่ของอุปสงค์ต่อราคาสินค้าชนิดอื่น • ในตลาด เนื้อวัวราคากิโลกรัมละ 60 บาท ปริมาณความต้องการซื้อ เนื้อหมูเท่ากับ 200 กิโลกรัม ต่อมาราคาเนื้อวัวสูงขึ้นเป็น 70 บาทต่อ กิโลกรัม ความต้องการเนื้อหมูเพมิ่เป็น 250 กิโลกรัม • จงหาความยืดหย่นุของอุปสงค์เนื้อหมูต่อราคาเนื้อวัว ( ) Copyright © 2004 South-Western/Thomson Learning ในช่วงราคากิโลกรัมละ 60 ถึง 70 บาท ให้ หมู = x วัว =y xy E
  • 58. Copyright © 2004 South-Western/Thomson Learning การตีความ • ค่าความยืดหยนุ่ของอุปสงค์เนื้อหมูต่อราคาเนื้อวัวมีค่าเท่ากับ 1.44 แสดงว่า ปริมาณความต้องการซื้อเนื้อหมูจะเพมิ่ขึ้นเมื่อ ราคาเนื้อวัวสูงขึ้น (เป็นสินค้าที่ใช้ทดแทนกัน ) • ค่า 1.44 หมายความว่าถ้าราคาเนื้อวัวสูงขึ้น 1% จะทา ให้ ปริมาณความต้องการเนื้อหมูสูงขึ้น 1.44%
  • 60. ความยืดหยุ่นของอุปทาน • ค่าที่บอกให้รู้ถึงความมากน้อยของการเปลี่ยนแปลงของปริมาณเสนอ ขาย เมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้า • การเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้า และการเปลี่ยนแปลงของปริมาณเสนอ ขาย จะเป็นไปในทิศทางเดียวกัน • ดังนั้น ค่าความยืดหย่นุจะมีเครื่องหมายเป็นบวก 20/09/57 60 Copyright © 2004 South-Western/Thomson Learning
  • 62. สินค้าใดมีความยืดหยุ่นของอุปทานต่อราคามากกว่ากัน คา ถาม: เมื่อราคาสินค้าเพมิ่ขึ้นในอัตราที่เท่ากัน ผู้ผลิตจะเพมิ่การ ผลิตเสื้อผ้า หรือ น้ามัน มากกว่ากัน •เสื้อผ้าสา เร็จรูป เมื่อราคาเพมิ่ขึ้น ผู้ผลิตสามารถผลิตออกมาขายได้เพมิ่ขึ้น ผู้ผลิตสามารถหาวัตถุดิบได้ง่ายกว่า การผลิตน้ามัน เพราะอาจต้องมีการ สัมปทาน และต้นทุนการขุดเจาะที่สูง •ดังนั้น น้ามันมีความยืดหยุ่นของอุปทานต่อราคาน้อย Inelastic Copyright © 2004 South-Western/Thomson Learning
  • 63. ปัจจัยที่กา หนดความยืดหยุ่นของอุปทานต่อราคา • 1. ต้นทุนการผลิต ต้นทุนสูง ความยืดหยุ่นของอุปทานมีค่าน้อย • 2. ระยะเวลา อุปทานในระยะยาวมีความยืดหยนุ่มากกว่าในระยะสัน้ เน่อืงจากผู้ผลิต สามารถเปลี่ยนแปลงจา นวนการผลิตได้เต็มที่ตามการเปลี่ยนแปลงของ ราคา • 3. ความคงทนของสินค้า สินค้าที่เก็บไว้ไม่ได้นาน เช่น ผักผลไม้ อุปทานจะมีความยืดหยนุ่น้อย มาก ยกตัวอย่าง ช่วงค่า ๆ แม่ค้าจะรีบเลหลังขายผลไม้ โดยลดราคาลง มาก ปริมาณขายจะไม่ลดลง เพราะแม่ค้ากลัวผลไม้เน่าเสียก่อน สู้เอามา ลดราคายังได้ทุนคืนบ้าง Copyright © 2004 South-Western/Thomson Learning
  • 64. 64 การคา นวณค่าความยืดหยุ่นของอุปาานต่อราคา 1. การคา นวณค่าความยืดหยุ่นแบบช่วง (Arc Elasticity) : P P 1 2  E s  1 2 Q Q 1 2 1 2 P P Q Q     2. การคา นวณค่าความยืดหยุ่นแบบจุด (Point Elasticity): 100 100 Q Q 2 1 Q 1 Y Y 2 1 1      Y Es
  • 65. 65 1. อุปาานไม่มีความยืดหยุ่น หรือค่าความยืดหยุ่นเา่ากับศูนย์(=0) S ราคา P P2 Q P1 Q % 0   P ปริมาณผลผลิต เส้นอุปาานมีความยืดหยุ่น เา่ากับศูนย์ (Perfectly Inelasticity Supply) แสดงว่าจานวนขายสินค้าจะไม่ เปลี่ยนแปลงไม่ว่าราคาจะเพิ่มขึ้นหรือ ลดลง เส้นอุปาานจะมีลักษณะต้งัฉาก กับแกน X เช่น ชาวนาาี่ต้องขายข้าวในฤดูเก็บเกี่ยว O ประเภาของความยืดหยุ่นของอุปาานต่อราคา ( ต่อ )   %
  • 66. 66 ประเภาของความยืดหยุ่นของอุปาานต่อราคา ( ต่อ ) 2. อุปาานมีความยืดหยุ่นน้อยกว่าหนึ่ง (<1) S ราคา P2 Q2 P1 ปริมาณ A B Q1 O C %Q  %P เช่น การขายสินค้าาี่เน่าเสียได้ง่าย
  • 67. 67 ประเภาของความยืดหยุ่นของอุปาานต่อราคา ( ต่อ ) 3. อุปาานมีความยืดหยุ่นเา่ากับหนึ่ง (=1) P2 Q2 P1 S ราคา ปริมาณ เส้นอุปาานมีลักษณะเป็น เส้นตรงเริ่มจากจุดกาเนิด A B Q1 O %Q = %P
  • 68. 68 ประเภาของความยืดหยุ่นของอุปาานต่อราคา ( ต่อ ) 4. อุปาานมีความยืดหยุ่นมากกว่าหนึ่ง (>1) P1 Q1 P2 S ราคา ปริมาณ A B Q2 C O %Q  %P เช่น การขายเสื้อผ้า หรือสินค้าตามแฟชั่น
  • 69. 69 5. อุปาานมีความยืดหยุ่นสมบูรณ์หรือเป็นอินฟินิตี้(  ) S ราคา ปริมาณ สินค้าาี่มีความยืดหยุ่นสมบูรณ์ หรือเป็นอินฟินิตี้(=) หมายถึง ราคาไม่ เปลี่ยนแปลงแม้ปริมาณขายสินค้าจะ เปลี่ยนแปลงไป หรือถ้าราคาสินค้าอยู่ ณ ระดับ ราคาเดิมปริมาณขายจะมีไม่จากัด แต่ถ้า ราคาลดลงแม้เพียงนิดเดียว สินค้าจะไม่มี ขายเลยในตลาด P O ประเภาของความยืดหยุ่นของอุปาานต่อราคา ( ต่อ )
  • 70. มังคุดราคากิโลกรัมละ 30 บาท ผู้ขายต้องการที่จะนาออกขาย 200 กิโลกรัม ต่อมาราคามังคุดแพงขึ้นเป็นกิโลกรัมละ 35 บาท ผู้ขาย ต้องการนามังคุดออกขาย 300 กิโลกรัม จงหาค่า Es แบบช่วง พร้อม ทัง้อธิบายค่าความยืดหย่นุของอุปทานต่อราคาที่ได้ Copyright © 2004 South-Western/Thomson Learning P P 1 2  E s  1 2 Q Q 1 2 1 2 P P Q Q    
  • 71. 71 มาตรการการแารกแซงราคาของรัฐ การประกันราคาขั้นตา่โดยรับซื้ออุปาานส่วนเกิน อุปทานส่วนเกิน รัฐบาลประกาศใช้ รับซื้ออุปาานส่วนเกิน = ABQ1Q2 ราคา (P) S ราคาควบคุม ขั้นต่า Pf A O Q1 ปริมาณ (Q) B Q2 กฎหมายบังคับให้ผู้ซื้อาุก รายซื้อสินค้าในราคา ประกัน (Pf > Pe) Pe Qe D E
  • 72. Copyright © 2004 South-Western/Thomson Learning 72 การประยุกต์ความยืดหยุ่น เพื่อการวิเคราะห์ปัญหาาางเศรษฐกิจ
  • 73. การกา หนดค่าจ้างขั้นต่า (Minimum Wage) Copyright © 2004 South-Western/Thomson Learning 73 ค่าจ้าง W1 = 300 ปริมาณ (Q) S D E Qe w0 O Q1 Q2 อุปาานส่วนเกิน คือการกาหนดให้ค่าจ้าง สูงขึ้นเพื่อให้คนมีรายได้ สูงขึ้น ผลาี่เกิดตามมาคือ การว่างงาน
  • 74. 74 การประกันราคาขั้นสูง (Price Ceiling) ราคา (P) Pe ปริมาณ (Q) S D E Qe O ราคาควบคุมขั้นต่า Pf มักเกิดในช่วงสงคราม รัฐช่วยผู้บริโภคเพราะ สินค้าแพงมาก เกิดตลาดมือ (Black market) คนลักลอบขาย นอกตลาดเพราะจะขายได้ ราคาแพงขึ้น Q1 Q2 รัฐบาลประกาศใช้ กฎหมายบังคับให้ผู้ขาย าุกรายขายสินค้าใน ราคาประกัน (Pc< Pe) อุปสงค์ส่วนเกิน
  • 75. SUMMARY  Price elasticity of demand measures how much the quantity demanded responds to changes in the price.  Price elasticity of demand is calculated as the percentage change in quantity demanded divided by the percentage change in price.  If a demand curve is elastic, total revenue falls when the price rises.  If it is inelastic, total revenue rises as the price rises.
  • 76. SUMMARY  The income elasticity of demand measures how much the quantity demanded responds to changes in consumers’ income.  The cross-price elasticity of demand measures how much the quantity demanded of one good responds to the price of another good.  The price elasticity of supply measures how much the quantity supplied responds to changes in the price. .
  • 77. SUMMARY  In most markets, supply is more elastic in the long run than in the short run.  The price elasticity of supply is calculated as the percentage change in quantity supplied divided by the percentage change in price.  The tools of supply and demand can be applied in many different types of markets.