O slideshow foi denunciado.
Seu SlideShare está sendo baixado. ×

ฐานข้อมูลนะสอน

Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio

Confira estes a seguir

1 de 18 Anúncio

Mais Conteúdo rRelacionado

Diapositivos para si (18)

Quem viu também gostou (20)

Anúncio

Semelhante a ฐานข้อมูลนะสอน (20)

Anúncio

Mais recentes (20)

ฐานข้อมูลนะสอน

  1. 1. ฐานข้อมูลเบื้องต้น โดย อาจารย์เยาวดี จันทรวงษ์
  2. 2. เนื้อหา <ul><li>ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล </li></ul><ul><li>ระบบแฟ้มข้อมูล </li></ul><ul><li>ปัญหาของระบบแฟ้มข้อมูล </li></ul><ul><li>องค์ประกอบของระบบฐานข้อมูล </li></ul><ul><li>ระบบฐานข้อมูล </li></ul><ul><li>ตัวอย่างซอฟต์แวร์ระบบฐานข้อมูล </li></ul>
  3. 3. ความหมายของฐานข้อมูล <ul><li>ฐานข้อมูล ประกอบด้วย รายละเอียดของข้อมูลที่เกี่ยวข้องกัน ซึ่งถูกนำมาใช้ในงานด้านต่าง ๆ ข้อมูลเหล่านี้จะถูกจัดเก็บไว้อย่างมีระบบ เพื่อประโยชน์ในการจัดการและเรียกใช้ข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ </li></ul>
  4. 4. ความหมายของระบบฐานข้อมูล <ul><li>การจัดเก็บข้อมูลที่จำเป็น ต้องมีไว้ใช้งานและมีความสัมพันธ์กันนำมาจัดเก็บไว้ด้วยกัน มีลักษณะคล้ายกับการนำแฟ้มข้อมูลหลายๆแฟ้มมาจัดเก็บอยู่ที่เดียวกัน </li></ul>
  5. 5. ความหมายของระบบฐานข้อมูล ฐานข้อมูล ผู้ใช้ DBMS
  6. 6. หน่วยในการจัดเก็บข้อมูล <ul><li>บิต Bit คือ หน่วยของข้อมูลที่เล็กที่สุด </li></ul><ul><li>ไบต์ Byte คือ หน่วยของข้อมูลซึ่งเกิดจากนำ Bit มารวมกัน </li></ul><ul><li>เขตข้อมูล Field คือ หน่วยของข้อมูลหลายๆไบต์มารวมกัน </li></ul><ul><li>ระเบียน Record คือ หน่วยของข้อมูลจากหลายๆ Field มารวมกัน </li></ul><ul><li>แฟ้มข้อมูล File คือ หน่วยของข้อมูลหลายๆ Record มารวมกัน </li></ul>
  7. 7. หน่วยในการจัดเก็บข้อมูล แฟ้มข้อมูล ( File ) ระเบียน ( Record ) เขตข้อมูล ( Field ) ไบต์ ( Byte ) บิต ( Bit )
  8. 8. ระบบแฟ้มข้อมูล แฟ้มข้อมูล ( File) หมายถึงหน่วยของข้อมูลที่เกิดจากการนำข้อมูลหลาย ๆ ระเบียนที่ เป็นเรื่องเดียวกันมารวมกัน เช่น แฟ้มข้อมูลนักศึกษา แฟ้มข้อมูลลูกค้า แฟ้มข้อมูลพนักงาน
  9. 9. ประโยชน์ของระบบฐานข้อมูล <ul><li>ลดความซ้ำซ้อนของข้อมูล </li></ul><ul><li>แก้ปัญหาความขัดแย้งกันของข้อมูล </li></ul><ul><li>การบริหารจัดการฐานข้อมูลทำได้ง่าย </li></ul><ul><li>กำหนดมาตรฐานของข้อมูลได้ </li></ul><ul><li>สามารถใช้งานฐานข้อมูลร่วมกันได้ </li></ul><ul><li>เกิดความเป็นอิสระระหว่างข้อมูลกับโปรแกรม </li></ul><ul><li>กำหนดระบบรักษาความปลอดภัยให้กับข้อมูลได้ </li></ul>
  10. 10. ตัวอย่างซอฟต์แวร์ระบบฐานข้อมูล <ul><li>Microsoft Access </li></ul><ul><li>Microsoft SQL </li></ul><ul><li>Microsoft visual Foxpro </li></ul><ul><li>Oracle </li></ul><ul><li>เป็นต้น </li></ul>
  11. 11. การจัดเก็บข้อมูลแบบแฟ้มข้อมูล แฟ้มข้อมูล อาจารย์ ระบบเงินเดือน รายงาน แฟ้มข้อมูล วิชาที่เปิดสอน ระบบตารางสอน รายงาน แฟ้มข้อมูล เกรดนักศึกษา ระบบเกรด รายงาน
  12. 12. การจัดเก็บข้อมูลแบบฐานข้อมูล ระบบ เงินเดือน รายงาน ระบบ ตารางสอน รายงาน ระบบ เกรด รายงาน ระบบจัดการ ฐานข้อมูล DBMS คำอธิบาย รายละเอียด ข้อมูล ข้อมูล อาจารย์ ข้อมูล ตารางสอน ข้อมูลเกรด นักศึกษา
  13. 13. นิยามและคำศัพท์พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล บิท ( Bit) หมายถึง หน่วยของข้อมูลที่มีขนาดเล็กที่สุด ไบท์ ( Byte) หมายถึง หน่วยของข้อมูลที่เกิดจากการนำ บิทมารวมกันเป็นตัวอักขระ ( Character) เขตข้อมูล ( Field) หมายถึง หน่วยของข้อมูลที่ประกอบขึ้น จากตัวอักขระตั้งแต่หนึ่งตัวขึ้นไปมารวมกันแล้วได้ความหมายของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น ชื่อ ที่อยู่ เป็นต้น  
  14. 14. นิยามและคำศัพท์พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล ระเบียน ( Record) หมายถึง หน่วยของข้อมูลที่เกิดจากการเอาเขตข้อมูลหลาย ๆ เขตข้อมูลมารวมกัน เพื่อเกิดเป็นข้อมูลเรื่องใดเรื่องหนึ่ง เช่น ข้อมูลของนักศึกษา 1 ระเบียน (1 คน ) จะประกอบด้วย รหัสประจำตัวนักศึกษา 1 เขตข้อมูล ชื่อนักศึกษา 1 เขตข้อมูล ที่อยู่ 1 เขตข้อมูล
  15. 15. ส่วนในระบบฐานข้อมูล มีคำศัพท์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องดังนี้ เอนทิตี้ (Entity) หมายถึง ชื่อของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ได้แก่ คน สถานที่ สิ่งของ การกระทำ ซึ่งต้องการจัดเก็บข้อมูลไว้ เช่น เอนทิตี้ลูกค้า เอนทิตี้พนักงาน เอนทิตี้ใบสั่งซื้อ ลูกค้า พนักงาน ใบสั่งซื้อ แอททริบิวต์ (Attribute) หมายถึง รายละเอียดข้อมูลที่แสดงลักษณะและคุณสมบัติของเอนทิตี้หนึ่งๆ เช่น เอนทิตี้ลูกค้า ประกอบด้วย ลูกค้า - แอทริบิวต์รหัสลูกค้า รหัสลูกค้า - แอททริบิวต์ชื่อลูกค้า ชื่อลูกค้า - แอททริบิวต์ที่ลูกค้า ที่อยู่
  16. 16. ความสัมพันธ์ ( Relationships) ความสัมพันธ์ระหว่าง เอนทิตี้ เช่น ความสัมพันธ์ระหว่าง เอนทิตี้นักศึกษา และ เอนทิตี้คณะวิชา เป็นลักษณะว่า นักศึกษาแต่ละคนเรียนอยู่คณะวิชาใดคณะวิชาหนึ่ง ในการแสดงความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ เราจะใช้ หัวลูกศร เพื่อแสดงความสัมพันธ์
  17. 17. ความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ แบ่งออกเป็น 3 ประเภท 1. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง ( One-to-one Relationships) : ความสัมพันธ์ของข้อมูลในเอนทิตี้หนึ่งที่มีความสัมพันธ์กับข้อมูลในอีกเอนทิตี้หนึ่ง (1 : 1) 2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม ( One-to-many Relationships) : ความสัมพันธ์ของข้อมูลในเอนทิตี้หนึ่งที่มีความสัมพันธ์กับข้อมูลหลายๆข้อมูลในอีกเอนทิตี้หนึ่ง (1: m) 3. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม ( Many-to-many Relationships) : ความสัมพันธ์ของข้อมูลสองเอนทิตี้ในลักษณะกลุ่มต่อกลุ่ม ( m:n)
  18. 18. รูปแบบของระบบฐานข้อมูล ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database) เป็นการเก็บข้อมูลในรูปแบบที่เป็นตาราง (Table) หรือเรียกว่า รีเลชั่น (Relation) มีลักษณะเป็น 2 มิติ คือเป็นแถว (row) และเป็นคอลัมน์ (column) การเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างตาราง จะเชื่อมโยงโดยใช้แอททริบิวต์ (attribute) หรือคอลัมน์ที่เหมือนกันทั้งสองตารางเป็นตัวเชื่อมโยงข้อมูล ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์นี้จะเป็นรูปแบบของฐานข้อมูลที่นิยมใช้ในปัจจุบัน ดังตัวอย่าง พนักงาน Field Record รหัสพนักงาน ชื่อพนักงาน ที่อยู่ เงินเดือน รหัสแผนก 12501535 12534568 12503452 12356892 15689730 นายสมพงศ์ นายมนตรี นายเอก นายบรรทัด นายราชัน กรุงเทพ นครปฐม กรุงเทพ นนทบุรี สมุทรปราการ 12000 12500 13500 11500 12000 VO VN VO VD VA

×