SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 53
Baixar para ler offline
บรรษั ทอเมริกนในฐานะสถาบัน:
             ั
 ประวัตศาสตร์ฉบับย่อ(มาก)
        ิ
         สฤณี อาชวานันทกุล
        Fringer | คนชายขอบ
      http://www.fringer.org/
          14 ธันวาคม 2552
                               ิ
      งานนีเผยแพร่ภายใต ้ลิขสทธิ Creative Commons แบบ Attribution Non-commercial
      Share Alike (by-nc-sa) โดยผู ้สร ้างอนุญาตให ้ทําซํา แจกจ่าย แสดง และสร ้างงาน
                     ่      ่
      ดัดแปลงจากสวนใดสวนหนึงของงานนีได ้โดยเสรี แต่เฉพาะในกรณีทให ้เครดิตผู ้สร ้าง ไม่
                                                                       ี
      นํ าไปใช ้ในทางการค ้า และเผยแพร่งานดัดแปลงภายใต ้ลิขสทธิเดียวกันนีเท่านั น
                                                                ิ
Gangs of America โดย Ted Nace
                     • “Nothing is illegal if 100
                       businessmen decide to
                       do it.” – Andrew Young
                                      ั
                     • Nace ตังข ้อสงเกตว่าคําพูด
                       นีค่อนข ้างจริงในอเมริกา
        ิ
• แต่ “สทธิ” ของบรรษั ทมาจากไหน?
• ทําไมกฎหมายจึงมักจะตอบสนองความต ้องการ
                                          ิ
  ของธุรกิจ แม ้แต่ใน(บาง)กรณีทละเมิดสทธิคนอืน?
                                  ี
           ้
• ใครขีดเสนแบ่งระหว่าง “สาธารณะ” & “สวน     ่
  บุคคล”? “อาชญากรรม” & “ธรรมเนียมธุรกิจ”?
รุงอรุณของทุนนิยมในอังกฤษ: 1267-1773
  ่
                     ี
• Guilds: “สมาคมอาชพ” – มิตธรกิจ สงคม
                               ิ ุ    ั
  การเมือง และศาสนา (แต่ละ guild มี patron
                                   ี ี ิ
  saint ของตัวเอง) ปนเปกันอยูในวิถชวต
                             ่
   ื
• ซอใบอนุญาต (charter) จากกษั ตริยให ้ทํากิจการ
                                  ์
                               ั
• เป็ นทังสมาคม เครือข่ายสงคม และผู ้กํากับดูแล
  (self-regulation) – กําหนดมาตรฐานการค ้า,
                             ิ
  ตรวจสอบคุณภาพของสนค ้า, กําหนดค่าจ ้าง,
           ิ
  ควบคุมสนค ้านํ าเข ้า, ฝึ กอบรมลูกมือ
กําเนิดอํานาจผูกขาด: แหล่งทุนของกษั ตริย ์
 • รายได ้จากการขายทีดิน (แหล่งระดมทุนหลักของ
   สถาบันกษั ตริย) ร่อยหรอลงเรือยๆ Elizabeth I
                 ์
   กับ James I จึงหารายได ้จากการเก็บค่าต่อ
   ใบอนุญาต (charter) ของ guild ต่างๆ
 • เริมขาย “อํานาจผูกขาด”: อํานาจในการกําหนด
                  ิ
   คุณภาพของสนค ้าทีอนุญาตให ้พ่อค ้าขาย เชน ่
                ั
   เบียร์, หนังสตว์ มักจะขายให ้กับขุนนางคนสนิท
 • ถูก guild ต่อต ้าน สภาออกกฎหมายควบคุมในปี
                                ่
   1623 ในทีสุดก็รอยหรอจนหมดชองทํารายได ้เพิม
                    ่
การค ้า+เทคโนโลยีเดินเรือ=กําเนิดบรรษั ท
The East India Company
• บริษัททีทรงอิทธิพลทีสุดในโลก
• Elizabeth I ออก charter ให ้
           ิ
  “ค ้าขายสนค ้าทุกชนิดทุกแห่งทาง
  ตะวันออกของแหลมกูดโฮป”
                   ๊
• มีศาล คุก และกองทัพเป็ นของ
  ตัวเอง: ทหาร 250,000 คน = 2
  เท่าของกองทัพอังกฤษ
      ิ
• สมาชกสภาอังกฤษ 1/3 เป็ นผู ้ถือ
  หุ ้น กษั ตริยเป็ นลูกหนีบริษัท จ่าย
                ์
  ภาษี ชาคิดเป็ น 10% ของรายได ้รัฐ
The East India Company (ต่อ)




• บริษัทเก็บภาษี , ห ้ามประเทศพืนเมืองทําการค ้า
            ิ
  หรือผลิตสนค ้าทีบริษัทขาย – ทําลายภาคการ
  ผลิตของอินเดียระหว่างปี 1750-1880
• สภาอังกฤษยกเลิก charter ของบริษัทในปี 1860
  แปลงอินเดียเป็ นอาณานิคมอย่างเป็ นทางการ
The East India Company (ต่อ)
• ความขัดแย ้งระหว่างบริษัทกับรัฐบาลจีน
  สงครามฝิ น                     ่
                อังกฤษยึดเกาะฮองกง
• กฎหมายอังกฤษกําหนดให ้อาณานิคมอเมริกาเป็ น
                               ื ิ
  แค่แหล่งป้ อนวัตถุดบ+ตลาดรับซอสนค ้าอังกฤษ
                     ิ
• Boston Tea Party ชนวนของสงครามปลดแอก
                        ่
  อเมริกา ปี 1776 ไม่ใชการต่อต ้านกษั ตริยองกฤษ
                                            ์ ั
                  ้
  แต่เป็ นการต่อสูทางธุรกิจ: พ่อค ้าอิสระอเมริกนนํ า
                                                ั
  โดย John Hancock โยนชาทิงนํ าเพือคัดค ้าน
  แผนของบริษัททีจะผูกขาดธุรกิจชาในอเมริกา
บรรษั ทในรัฐธรรมนูญยุคแรกของอเมริกา
• ในยุคนันบรรษั ท (“corporation” = มี charter +
                     ่ ู
  ผู ้ถือหุ ้น) ไม่ใชรปแบบปกติของการทําธุรกิจใน
                         ่                     ่
  อเมริกา นักธุรกิจสวนใหญ่เป็ นพ่อค ้า & หุ ้นสวน
• รัฐธรรมนูญของอเมริกาฉบับ Constitutional
  Convention ปี 1787 ไม่พดถึงบรรษั ทเลย
                         ู
• อํานาจในการออก charter อยูทสภานิตบญญัต ิ
                                  ่ ี       ิ ั
  ระดับมลรัฐ ก่อนปี 1850 สภาออก charter น ้อย
           ่
  มาก & สวนใหญ่มข ้อจํากัดเรืองธุรกิจทีอนุญาตให ้
                    ี
  ทํา, อายุ (20-50 ปี ), ห ้ามถือหุ ้นในบริษัทอืน
ลักษณะของบรรษั ทอเมริกนยุคแรก
                      ั
• การจํากัดความรับผิดของผู ้ถือหุ ้น (limited
                     ่
  liability) ยังไม่ใชเรืองปกติจนกระทังประมาณปี
                                ่
  1855 ก่อนหน ้านันสภาในรัฐสวนใหญ่ของอเมริกา
  กําหนด “double liability” – ผู ้ถือหุ ้นต ้องรับผิด
  เป็ นสองเท่าของมูลค่าเงินทีลงทุนในบรรษั ท
• ในปี 1800 อเมริกามีบรรษั ท 335 แห่ง ร ้อยละ 76
  ดําเนินธุรกิจสร ้างสะพาน ขุดคลอง ท่าเรือ บริการ
  สาธารณะอืนๆ, ร ้อยละ 20 ทําธุรกิจธนาคารหรือ
  ประกัน (charter ธนาคารกําหนดอายุ 3-10 ปี )
Tim Scott: ผู ้สร ้างบริษัทสมัยใหม่
• ล็อบบียิสต์ของ Pennsylvania Railroad ในสภารัฐ
      ิ
  เพนซลวาเนีย
                                               ่
• โด่งดังและมีอทธิพลทางการเมืองสูงมากหลังจากทีชวยอับรา
               ิ
   ั                                       ้
  ฮม ลินคอล์น ให ้ชนะ Civil War ด ้วยการใชเครือข่ายรางรถไฟ
  ในภาคเหนือสร ้างความได ้เปรียบในสมรภูมเหนือกองทัพฝ่ ายใต ้
                                        ิ
• อยากสร ้างระบบรางรถไฟระดับชาติตงแต่นวยอร์กไปถึง
                                 ั    ิ
  แคลิฟอร์เนีย
Tim Scott: ผู ้สร ้างบริษัทสมัยใหม่ (ต่อ)
• ใช ้ Pennsylvania Railroad ซอบรรษั ทรถไฟ
                                 ื
  ทางใต ้อย่างเปิ ดเผยไม่ได ้ เพราะคนจะต่อต ้าน
• เกลียกล่อมสภา Pennsylvania ให ้ยกเลิกข ้อ
  ห ้ามไม่ให ้บรรษั ทถือหุ ้นในบรรษั ทอืนและ
  ข ้อกําหนดทีว่าต ้องระบุธรกิจ
                              ุ      ในปี 1871
  Scott ก่อตัง Overland Contract Company
  เป็ น “general purpose company” ทีมีอํานาจ
           ื
  เปลียนชอและ charter ของตัวเองได ้
Tim Scott: ผู ้สร ้างบริษัทสมัยใหม่ (ต่อ)
          ื
• เปลียนชอ Overland เป็ น Southern Railway
                         ้
  Security Company ใชเป็ น holding company
            ื
  ค่อยๆ ไล่ซอหุ ้นในบริษัทรถไฟทางใต ้
• หลังจากทีบริษัทรถไฟคูแข่งในภาคใต ้ค ้นพบ
                       ่
  ความจริงและพยายามเปิ ดโปงต่อสาธารณชน
          ้ ี ื     ื                   ั
  Scott ใชวิธซอหนังสอพิมพ์ท ้องถินและสงให ้
                         ี
  บรรณาธิการเขียนข่าวเชยร์
                                      ิ
• เสนอตําแหน่งกรรมการบริษัทให ้กับสมาชก Ku
  Klux Klan หลังจากคนงานผิวดําถูก KKK ทําร ้าย
ระบบที Scott สร ้าง คือทางหลบอํานาจรัฐ
• สมมุตถ ้าบริษัททีจดทะเบียนในรัฐนิวยอร์กไม่
          ิ
  ชอบข ้อจํากัดใน charter ทีสภารัฐนิวยอร์กออก
  ให ้ ก็แค่บอกให ้ทนายไปตังอีกบริษัทหนึงในรัฐที
  สภาเอือประโยชน์กว่า เชน นิวเจอร์ซ ี เสร็จแล ้วก็
                           ่
  ขายหุ ้นของตัวเองให ้กับบริษัทใหม่ในนิวเจอร์ซ ี
      ่
• ในชวงเวลาเดียวกัน นักอุตสาหกรรม
                            ่
  (industrialists) คนอืน เชน John D.
                          ้
  Rockefeller พยายามใชกลไกทรัสต์ทําแบบ
  Scott แต่ไม่คอยประสบความสําเร็จ
                ่
กลไกทรัสต์และปั ญหา
• ทรัสต์ (trust) เป็ นโครงสร ้างทีให ้ผู ้ถือหุ ้นของ
  บริษัทต่างๆ เอาหุ ้นมาแลกเป็ น “ใบทรัสต์” ที
  ควบคุมโดยคณะกรรมการกลางทรัสต์ วิธนชวย           ี ี ่
  ให ้กลุมบริษัทในอุตสาหกรรมเดียวกันสามารถ
         ่
  ร่วมมือกันควบคุมผลผลิตและตังราคา โดยไม่
  ละเมิด charter ทีห ้ามถือหุ ้นในบริษัทอืน
• ไม่คอยสําเร็จเพราะนายทุนไม่คอยไว ้ใจกัน และ
      ่                       ่
    ี
  เสยงทีจะถูกสภานิตบญญัตไล่เพิกถอน charter
                    ิ ั   ิ
                        ิ
  ของบริษัททีเป็ นสมาชกทรัสต์
สภารัฐต่างๆ แก ้กฎหมายเพือดึงดูดบริษัท
ผลลัพธ์ของการยกเลิกข ้อบังคับเฉพาะธุรกิจ
• การแก ้กฎหมายให ้บริษัทสามารถก่อตังเพือ
  จุดประสงค์อะไรก็ได ้ (ตราบใดทีไม่ผดกฎหมาย –
                                     ิ
  “for any lawful purpose”) แทนทีจะทําธุรกิจ
  เฉพาะทีระบุใน charter เหมือนสมัยก่อน
  ก่อให ้เกิดบริษัทผูกขาดรูปแบบใหม่ 2 รูปแบบ:
• Conglomerate (holding company ทีถือหุ ้นใน
  บริษัทหลายบริษัท) และ
• Vertically integrated company (ควบคุมตลอด
                 ิ
  lifespan ของสนค ้า ตังแต่ผลิตถึงจัดจําหน่าย)
่ ั
“การดํารงอยูชวนิรันดร์” ของบริษัท
• ทําให ้บริษัทไม่ต ้องรับโทษจากการกระทําทีเคยถูก
  กฎหมายในอดีตแต่ตอนนีผิดแล ้ว ไม่เหมือนกับคน
              ี ้             ่
• บริษัทใหญ่ทใชแรงงานทาสในชวง 1930s & 1940s:
  IBM, Siemens, Daimler-Chrysler, Deutsche Bank,
  Ford, BMW, Bayer, BASF, Volkswagen, General
  Motors, Mitsubishi, Mitsui
              ี ้
• บริษัทใหญ่ทใชแรงงานทาสก่อนปี 1865: American
  International Group (AIG), Lehman Brothers,
  Union Pacific, Morgan Chase, Fleetboston
                           ่    ี ่
• เทคโนโลยีข ้อมูลของ IBM ชวยนาซฆาล ้างเผ่าพันธุยว
                                                ์ ิ
ผลพวงของการจํากัดความรับผิด
                                                ่
• รูปแบบจํากัดความรับผิด (limited liability) สงผลให ้
  บริษัทสมัยใหม่เป็ นรูปแบบการทําธุรกิจทีได ้รับความนิยม
  สูงมาก และสร ้างแรงจูงใจให ้คนเริมธุรกิจใหม่ๆ
• ในขณะเดียวกัน การจํากัดความรับผิดก็ทําให ้การลงโทษ
  ทางอาญาทําได ้ยาก - บริษัทไม่ม ี “จิตสํานึก” เหมือน
                                    จิ
                          ิ
  ปั จเจก สร ้างแรงจูงใจเชงลบด ้วยการจําคุกไม่ได ้
                                             ี
• นอกจากนัน ยังเป็ นการโยกย ้ายต ้นทุนความเสยหายจาก
                          ั            ่   ั
  บริษัทไปให ้ปั จเจกหรือสงคมแบกรับ เชน สงคมรับความ
     ี                                   ี
  เสยหายจากมลพิษ, พนั กงานรับความเสยหายจาก
  อุบตเหตุในทีทํางาน (เพราะ “เลือก” ทีจะทํางานนั นเอง)
       ั ิ
กระแสการควบรวมกิจการ 1897-1903
     ่
• ในชวงเวลาเพียง 6 ปี บริษัท 2,650 แห่งใน
             ื
  อเมริกาถูกซอหรือควบรวมไปเป็ นบริษัทใหญ่ขน
                                          ึ
              ่
• ในปี 1890 สวนของผู ้ถือหุ ้นในบริษัทมหาชนทัง
  ประเทศเท่ากับ $33 ล ้าน      ในปี 1903 พุงเลย
                                           ่
  $7,000 ล ้าน และมีบริษัทขนาดใหญ่ 250 แห่ง
    ่
  เชน International Paper (1898), U.S. Steel
  (1901) และ International Harvester (1902)
                ่
• U.S. Steel มีสวนแบ่งตลาด 62%, Harvester มี
  85%, American Can Company มี 90%
Fourteenth Amendment
                     ิ
• เขียนเพือคุ ้มครองสทธิของอดีตทาสเป็ นหลัก:
All persons born or naturalized in the United States and
subject to the jurisdiction thereof, are citizens of the United
States and of the State wherein they reside. No State shall
make or enforce any law which shall abridge the privileges
or immunities of citizens of the United States; nor shall any
State deprive any person of life, liberty, or property, without
due process of law; nor deny to any person within its
jurisdiction the equal protection of the laws.
Santa Clara County v. Southern Pacific Railroad
        ี  ่
• คดีทขึนสูศาลฎีกาในปี 1886 เป็ นคดีประวัตศาสตร์ท ี
                                           ิ
      ิ
  ตัดสนว่า บรรษั ทเป็ น “บุคคล” (person) และดังนั น
  กฎหมายจึงต ้องคุ ้มครองเสมือนปั จเจกชน
• แต่เหตุผลของศาลไม่ปรากฏในคําพิพากษา
• ใน Statement of Facts: “Before argument Mr.
  Chief Justice Waite said: The court does not
  wish to hear argument on the question whether
  the provision in the Fourteenth Amendment to
  the Constitution... applies to these corporations.
  We are all of opinion that it does.”
อิทธิพล laissez-faire ต่อศาล 1880-1930
• Herbert Spencer: นักคิดผู ้ทรงอิทธิผลสูงสุดใน
  สมัยนัน ขาย Social Statics และหนังสอเล่มอืนๆ
                                       ื
  ได ้กว่า 350,000 เล่มในอเมริกา
• สมมุตฐานหลักของ laissez faire คือ มนุษย์ทก
        ิ                                  ุ
  คนเป็ นเจ ้าของชะตาชวตของตัวเอง การใช ้
                      ี ิ
                          ่      ั
  เสรีภาพของปั จเจกไม่ใชเรืองของสงคมหรือรัฐ
        ่
• การชวยคนทีเกิดมาอ่อนแอหรือพิการก็ไม่ควรทํา
  เพราะมันขัดแย ้งกับธรรมชาติมนุษย์ (“survival of
  the fittest”; Social Darwinism agenda)
แต่ในความเป็ นจริง คนยังไม่คอยมีเสรีภาพ
                            ่
• กฎหมาย Jim Crow (แบ่งแยกผิว): ชาวแอฟริ
                  ี ิ             ่      ั
  กัน-อเมริกนสูญเสยสทธิทเคยได ้ในชวงเวลาสนๆ
            ั           ี
  หลังการประกาศเลิกทาส
               ิ
• ผู ้หญิงไร ้สทธิทางการเมือง ถูกเอาเปรียบทังในที
  ทํางานและทีบ ้าน (วัฒนธรรม ค่านิยม ฯลฯ)
           ั
• ความสมพันธ์ระหว่างนายจ ้าง-ลูกจ ้างถือเป็ น
                    ่
  ความสมพันธ์ สวนบุคคล และดังนั นรัฐธรรมนูญจึง
             ั
                            ิ
  ไม่คุ ้มครอง; ก่อนศาลตัดสนปี 1843 นายจ ้างทํา
  ร ้ายลูกจ ้างอย่างถูกกฎหมายได ้
แม ้แต่คนอเมริกนผิวขาวก็ไม่มเสรีภาพ...
               ั            ี
                          ่
• หลายอุตสาหกรรม เชน เหมืองแร่และโรงงานทอ
  ผ ้า “แบล็กลิสต์” ลูกจ ้างทีพยายามออกจากบริษัท
• บริษัทหลายแห่งบังคับให ้ลูกจ ้างซอเครืองใช ้
                                   ื
  อุปโภคบริโภคทีร ้านค ้าของบริษัทในราคาแพง
                 ่
  กว่าราคาตลาด สงผลให ้ลูกจ ้างต ้องเป็ นหนีไม่
    ิ                                     ํ
  สนสุด ถ ้าออกอาจถูกจําคุกเพราะผิดนัดชาระหนี
• “crimes of status” : ในทุกมลรัฐ การไม่หางาน
               ่
  ทํา ถ ้าไม่ใชคนพิการและมีแหล่งรายได ้อืน ถือ
  เป็ นอาชญากรรมทีมีโทษปรับหรือจําคุก
สหภาพแรงงานเริมมีบทบาท
• Paris Commune ปี 1871: คนงานและทหาร
  หลายพันคนยึดกรุงปารีส จัดตังรัฐบาลของตัวเอง
  เปิ ดโรงงานทีถูกปิ ดเป็ นสหกรณ์ คนงานในอเมริกา
  จัดงานระดมทุนให ้ หลังเกิดเหตุการณ์นี คําว่า
  “communist” กลายเป็ นคําด่าเหมารวม
• เป้ าหมายของสหภาพแรงงานอเมริกายุคแรกคือ
                   ั
  เรียกร ้องให ้ลดชวโมงทํางานตามกฎหมายเป็ น 8
  ชวโมงต่อวัน แต่ถงแม ้จะแก ้กฎหมายสําเร็จ ก็
    ั                ึ
            ้
  บังคับใชลําบาก ถูกตํารวจ+นายจ ้างกดขีต่อไป
Lochner v. New York
• สภาพการทํางานในร ้านเบเกอรีแย่มาก ลูกจ ้าง
                              ั        ั
  หลายคนทํางานเกิน 110-120 ชวโมงต่อสปดาห์
• ในคดีประวัตศาสตร์ปี 1905 ศาลฎีกาพิพากษาว่า
              ิ
  กฎหมายรัฐนิวยอร์กทีกําหนดเพดานชวโมง ั
                                 ั       ั
  ทํางานในร ้านเบเกอรีไว ้ที 60 ชวโมงต่อสปดาห์
  นัน ละเมิดหลัก “due process” และ “freedom
  of contract” ใน Fourteenth Amendment
• “substantive due process” : ศาลฎีกามีอํานาจ
      ิ
  ตัดสนความชอบของการออกกฎหมายของสภารัฐ
กําเนิดกฎหมายต ้านการผูกขาด
• Sherman Antitrust Act (1890) & Clayton Antitrust
  Act (1914): หลักการ “restraint of trade or
  commerce” กว ้าง       อุดมการณ์ทางการเมืองครอบง่าย
• ประเมินว่ากิจกรรม 4 เรืองลดขีดการแข่งขันอย่างมี
  นั ยสําคัญหรือมีแนวโน ้มจะสร ้างผู ้ผูกขาดหรือไม่: price
  discrimination, exclusive dealings/tying, mergers &
  acquisition, competing firms share director
• ปธน. Teddy Roosevelt เจ ้าของสมญา “trust buster”
  ทลายทรัสต์ 44 แห่ง, ปธน. Taft ทลาย 90 แห่ง
คดียบ Standard Oil ปี 1911
    ุ
• ทรัสต์ท ี John D. Rockefeller จัดตัง แปลงเป็ น holding
           ื
  company ชอ Standard Oil Company of New Jersey
                                ั
  ถือหุ ้นในบริษัท 41 แห่งเป็ นชนๆ
     ่
• มีสวนแบ่งตลาดนํ ามัน 91% ของปริมาณการผลิต และ
  85% ของยอดขาย
• รัฐบาลฟ้ องศาลว่าเป็ น “unreasonable monopoly” ด ้วย
  หลักฐานอาทิ ขายในราคาลับให ้กับบริษัทรถไฟ, โก่ง
                                    ่
  ราคาในตลาด, เอาเปรียบมาตรฐานการขนสง ฯลฯ
• หลังบริษัทถูกยุบ Rockefeller กลายเป็ นเศรษฐี #1
ยุคทองของนักอุตสาหกรรม
อเมริกน 22 ใน 30 คนทีรวยทีสุดอยูในยุค 1850-1930
      ั                         ่




                           ทีมา: http://www.nytimes.com/ref/business/20070715_GILDED_GRAPHIC.html
ธุรกิจยุคแรกสนับสนุนให ้มีองค์กรกํากับดูแล
• 1886: Interstate Commerce Commission
• 1906: Pure Food and Drug Act, Meat Inspection Act
• 1911, National Association of Manufacturers ร่าง
  กฎหมายต ้นแบบเรืองการตอบแทนลูกจ ้าง มลรัฐ 25 แห่ง
          ้
  นํ าไปใชบังคับจริงภายใน 3 ปี ตอมา
                                ่
• 1913: The Federal Reserve System
• 1914: Federal Trade Commission
• 1930s: Securities and Exchange Commission,
  National Labor Relations Board, Federal
  Communications Commission, ฯลฯ
จุดจบของ Social Darwinism: 1930s
                           ั
• Great Depression + ชยชนะของ FDR (หาเสยง ี
                               ่
  ด ้วยนโยบายประชานิยม) สงผลให ้รัฐบาลกลาง
  และศาลสูงเลิก ‘เข ้าข ้าง’ ธุรกิจ
• สภาคองเกรสออกกฎหมาย Norris-LaGuardia
                     ั
  ในปี 1932 ห ้ามศาลสงระงับการผละงานของ
  คนงาน (injunction)
• ศาลฎีกาเลิกใช ้ “substantive due process”: คดี
  West Coast Hotel Company v. Parrish ปี
                                          ิ
  1937 รับรองกฎหมายค่าแรงขันตําในรัฐวอชงตัน
“Second Bill of Rights” ของ FDR
       ิ                      ิ
ประกันสทธิของปั จเจกตามหลัก “สทธิมนุษยชน”
   ิ
• สทธิของลูกจ ้างทีจะได ้รับค่าแรงทีเป็ นธรรม
   ิ
• สทธิของเกษตรกรทีจะได ้รับผลตอบแทนทีเป็ นธรรม
    ิ
• สทธิของผู ้ประกอบการรายย่อยทีจะได ้รับการคุ ้มครองจาก
  อํานาจผูกขาดและการแข่งขันทีไม่เป็ นธรรม
   ิ                              ั
• สทธิของทุกครัวเรือนทีจะมีทอยูอาศย
                            ี ่
   ิ                                ึ
• สทธิของประชาชนทุกคนทีจะได ้รับการศกษาและการ
  ประกันสุขภาพ
    ิ
• สทธิของผู ้อาวุโส ผู ้พิการ และคนว่างงานทีจะได ้รับความ
  มันคงทางเศรษฐกิจ
คลืนลมสงบในโลกธุรกิจ: 1930s-1970
• ตังแต่ยค FDR จนถึงทศวรรษ 1970 อเมริกาผ่าน
         ุ
  เหตุการณ์ใหญ่ๆ หลายครัง (สงครามโลกครังที 2,
  McCarthyism, สงครามเกาหลี, Civil Rights
  Movement, สงครามเวียดนาม) แต่การต่อสู ้
                ่       ี
  ระหว่างผู ้มีสวนได ้เสยในโลกธุรกิจค่อนข ้างสงบ
• “Private economic power is held in check by
  the countervailing power of those who are
  subject to it” – John Kenneth Galbraith
• ทศวรรษต่อมาจะพิสจน์ให ้เห็นว่า Galbraith คิดผิด
                  ู
ิ
ขบวนการผู ้บริโภคและสงแวดล ้อม: 1970s
                                 ิ
• เอ็นจีโอคุ ้มครองผู ้บริโภคและสงแวดล ้อมหลายแห่งใน
  อเมริกาถือกําเนิดในปี 1969 และ 1970: Friends of the
  Earth, the Natural Resources Defense Council,
  Public Citizen, Common Cause, Environmental
  Action, the Center for Law and Social Policy,
  Consumer Federation of America
• ผลักดันกฎหมายทีขยายอํานาจของรัฐบาลกลางจนสําเร็จ
          ่
  นํ าไปสูการตัง Environmental Protection Agency,
  Occupational Safety and Health Administration,
  Consumer Product Safety Commission
Big Business เริมผนึกกําลังกันล็อบบี...
• Lewis Powell เขียน “Attack on American Free
  Enterprise System” ให ้กับสภาหอการค ้าอเมริกน –
                                              ั
• “Strength lies in organization, in careful long-range
  planning and implementation, in consistency of
  action over an indefinite period of years, in the
  scale of financing available only through joint
  effort, and in the political power available through
  united action and national organizations.”
• สองเดือนต่อมา ปธน. Nixon แต่งตังให ้ Powell เป็ นผู ้
  พิพากษาศาลสูง
...และก่อตังแนวร่วม/สถาบันเพือต ้านกระแส
 • Center for Tobacco Research – Wall Street Journal
   อธิบายว่าเป็ น “the longest running misinformation
   campaign in U.S. business history”
 • Cooler Heads มีจดประสงค์ “dispel the myths about
                   ุ
   global warming”
 • Competitive Enterprise Institute รณรงค์ตอต ้าน
                                           ่
                                  ิ
   กฏเกณฑ์ด ้านความปลอดภัยและสงแวดล ้อม
 • Environmental Education Working Group พยายาม
                          ิ
   เปลียนหลักสูตรเกียวกับสงแวดล ้อมในโรงเรียน
กลยุทธ์ astroturf & ฟ้ องหมินประมาท
• astroturf = ม็อบจัดตังทีสนั บสนุนภาคธุรกิจ ระดมคนได ้
                                             ี
  ทันทีในประเด็นอะไรก็ได ้ บริษัทหลายแห่งเชยวชาญมาก
                  ้
• หลายบริษัทเริมใชการฟ้ องหมินประมาทเป็ นกลยุทธ์ในการ
  ปิ ดปากหรือข่มขูผู ้ไม่เห็นด ้วย: SLAPP = “strategic
                  ่
  lawsuit against public participation” (Pring & Canan)
• อุตสาหกรรมอาหารล็อบบีสภาหลายรัฐให ้ออกกฎหมาย
  ห ้ามวิจารณ์ผลิตภัณฑ์เกษตร (“agricultural product
  disparagement laws”) คดีทโด่งดังทีสุดคือ Cactus
                           ี
  Cattle Corporation ฟ้ อง Oprah Winfrey กับ Howard
  Lyman ในปี 1996 หลังจัดรายการเกียวกับโรค mad cow
ั
money = speech, ตีกรอบ “คอร์รัปชน”
• ศาลฎีกาตีความว่าการให ้เงินอุดหนุนพรรคการเมืองของ
  บริษัทใหญ่สมควรได ้รับการคุ ้มครองโดยกฏหมายในระดับ
  เท่าเทียมกับการแสดงออกของประชาชน: money =
  speech …แปลว่าใครไม่มเงินก็ไม่ม ี speech หรือเปล่า?
                       ี
                              ั
• นอกจากนียังตีกรอบ “คอร์รัปชน” (กฎหมายลงโทษได ้) ให ้
                            ั
  แคบลง หมายถึงแค่คอร์รัปชนแบบ “quid pro quo” คือ
                            ้
  เฉพาะในกรณีทศาลสามารถโยงเสนทางเงินเข ้ากับการ
              ี
  กระทําทีเฉพาะเจาะจงของนั กการเมืองได ้โดยตรงเท่านั น
     ิ
• สทธิ “free speech” ของบริษัทเริมได ้รับการคุ ้มครองเหนือ
   ิ                  ่
  สทธิของประชาชน (เชน โฆษณาบิดเบือนได ้)
ทฤษฎีทพยายามอธิบาย บริษัท = บุคคล
      ี
                                ิ                ิ
• Transparent Veil Theory: สทธิของบริษัท = สทธิของผู ้
                                                      ่
  ถือหุ ้นบริษัท ...แต่อธิบายแบบนีไม่ถก เพราะบริษัทมีชอง
                                      ู
                                  ่
  โหว่ความรับผิด ไม่เหมือนกับคน เชน ถ ้าหมากัดเพือนบ ้าน
  เจ ้าของหมาต ้องรับโทษ แต่ถ ้าชาวบ ้านป่ วยจากมลพิษที
  บริษัทปล่อย ชาวบ ้านฟ้ องผู ้ถือหุ ้นโดยตรงไม่ได ้
                                                    ั
• Natural Entity Theory: บริษัทเป็ น “พลเมือง” ของสงคม
                         ิ
  เหมือนกัน ดังนั นจึงมีสทธิพลเมือง ...แนวคิดนีเผยแพร่โดย
  นั กกฎหมายเยอรมันนาม Otto Gierke (1841-1921) แต่ไม่
  เคยได ้รับความนิยมในอเมริกา เพราะผู ้ร่างรัฐธรรมนูญ
  ต ้องการ จํากัด อํานาจของบรรษั ท ไม่ใชคุ ้มครอง
                                          ่
ยุครุงเรืองของ CEO : 1970-2002
     ่
• ค่านิยมทศวรรษ 1950: CEO = team player ผู ้กุม
                                          ี
  บังเหียนให ้บริษัทเติบโตอย่างมันคง ไม่เสยงมาก
• ค่านิยมตังแต่ทศวรรษ 1980: CEO = celebrity,
  swashbuckler, super-salesman, public advocate
• stock option กลายเป็ นมาตรฐานใน package
  ค่าตอบแทนผู ้บริหาร         เพิมแรงจูงใจให ้ผู ้บริหารทํา
  (ยังไงก็ได ้)ให ้ราคาหุ ้นขึน
        ่
• อัตราสวนค่าตอบแทนผู ้บริหารต่อพนั กงานเฉลีย: 42 เท่า
  ในปี 1980   411 เท่าในปี 2001
• ปี 1993 คองเกรสกดดัน Financial Accounting
  Standards Board ไม่ให ้นั บ option เป็ น expense
ิ
สามยุคในการสร ้างสทธิของบรรษั ท
ิ
สามยุคในการสร ้างสทธิของบรรษั ท (ต่อ)
ิ
สามยุคในการสร ้างสทธิของบรรษั ท (ต่อ)
ิ
สามยุคในการสร ้างสทธิของบรรษั ท (ต่อ)
่           ่       ี
จากโมเดลผู ้ถือหุ ้น สูโมเดลผู ้มีสวนได ้เสย
โอกาสในวิกฤต?




ทีมา: Triple Bottom Line Reporting: A Strategic Introduction to Economic, Environmental and Social Performance
Measurement, David Crawford, Certified Management Accountants Canada, www.cma-canada.org

Mais conteúdo relacionado

Mais de Sarinee Achavanuntakul

How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?Sarinee Achavanuntakul
 
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion ProjectPPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion ProjectSarinee Achavanuntakul
 
Future of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in ThailandFuture of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in ThailandSarinee Achavanuntakul
 
Introduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable BusinessIntroduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable BusinessSarinee Achavanuntakul
 
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the TalkESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the TalkSarinee Achavanuntakul
 
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้Sarinee Achavanuntakul
 
Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to DialogueThailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to DialogueSarinee Achavanuntakul
 
Pursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibilityPursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibilitySarinee Achavanuntakul
 
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016Sarinee Achavanuntakul
 
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทยจาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทยSarinee Achavanuntakul
 
The Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital AgeThe Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital AgeSarinee Achavanuntakul
 
Museum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum LoverMuseum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum LoverSarinee Achavanuntakul
 
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trendsIntroducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trendsSarinee Achavanuntakul
 
Thai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sectorThai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sectorSarinee Achavanuntakul
 

Mais de Sarinee Achavanuntakul (20)

How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?
 
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion ProjectPPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
 
2021 Coal Situation & Investor View
2021 Coal Situation & Investor View2021 Coal Situation & Investor View
2021 Coal Situation & Investor View
 
Thai Household Debt & COVID-19
Thai Household Debt & COVID-19Thai Household Debt & COVID-19
Thai Household Debt & COVID-19
 
Future of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in ThailandFuture of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in Thailand
 
Introduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable BusinessIntroduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable Business
 
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the TalkESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
 
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
 
Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to DialogueThailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
 
Pursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibilityPursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibility
 
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
 
Game & Social Problems
Game & Social ProblemsGame & Social Problems
Game & Social Problems
 
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
 
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทยจาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
 
The Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital AgeThe Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital Age
 
Museum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum LoverMuseum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
 
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trendsIntroducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
 
Thai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sectorThai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sector
 
Sustainable Consumption
Sustainable ConsumptionSustainable Consumption
Sustainable Consumption
 
Who (Should) Regulate Internet?
Who (Should) Regulate Internet?Who (Should) Regulate Internet?
Who (Should) Regulate Internet?
 

A Very Short History of American Corporation

  • 1. บรรษั ทอเมริกนในฐานะสถาบัน: ั ประวัตศาสตร์ฉบับย่อ(มาก) ิ สฤณี อาชวานันทกุล Fringer | คนชายขอบ http://www.fringer.org/ 14 ธันวาคม 2552 ิ งานนีเผยแพร่ภายใต ้ลิขสทธิ Creative Commons แบบ Attribution Non-commercial Share Alike (by-nc-sa) โดยผู ้สร ้างอนุญาตให ้ทําซํา แจกจ่าย แสดง และสร ้างงาน ่ ่ ดัดแปลงจากสวนใดสวนหนึงของงานนีได ้โดยเสรี แต่เฉพาะในกรณีทให ้เครดิตผู ้สร ้าง ไม่ ี นํ าไปใช ้ในทางการค ้า และเผยแพร่งานดัดแปลงภายใต ้ลิขสทธิเดียวกันนีเท่านั น ิ
  • 2. Gangs of America โดย Ted Nace • “Nothing is illegal if 100 businessmen decide to do it.” – Andrew Young ั • Nace ตังข ้อสงเกตว่าคําพูด นีค่อนข ้างจริงในอเมริกา ิ • แต่ “สทธิ” ของบรรษั ทมาจากไหน? • ทําไมกฎหมายจึงมักจะตอบสนองความต ้องการ ิ ของธุรกิจ แม ้แต่ใน(บาง)กรณีทละเมิดสทธิคนอืน? ี ้ • ใครขีดเสนแบ่งระหว่าง “สาธารณะ” & “สวน ่ บุคคล”? “อาชญากรรม” & “ธรรมเนียมธุรกิจ”?
  • 3. รุงอรุณของทุนนิยมในอังกฤษ: 1267-1773 ่ ี • Guilds: “สมาคมอาชพ” – มิตธรกิจ สงคม ิ ุ ั การเมือง และศาสนา (แต่ละ guild มี patron ี ี ิ saint ของตัวเอง) ปนเปกันอยูในวิถชวต ่ ื • ซอใบอนุญาต (charter) จากกษั ตริยให ้ทํากิจการ ์ ั • เป็ นทังสมาคม เครือข่ายสงคม และผู ้กํากับดูแล (self-regulation) – กําหนดมาตรฐานการค ้า, ิ ตรวจสอบคุณภาพของสนค ้า, กําหนดค่าจ ้าง, ิ ควบคุมสนค ้านํ าเข ้า, ฝึ กอบรมลูกมือ
  • 4. กําเนิดอํานาจผูกขาด: แหล่งทุนของกษั ตริย ์ • รายได ้จากการขายทีดิน (แหล่งระดมทุนหลักของ สถาบันกษั ตริย) ร่อยหรอลงเรือยๆ Elizabeth I ์ กับ James I จึงหารายได ้จากการเก็บค่าต่อ ใบอนุญาต (charter) ของ guild ต่างๆ • เริมขาย “อํานาจผูกขาด”: อํานาจในการกําหนด ิ คุณภาพของสนค ้าทีอนุญาตให ้พ่อค ้าขาย เชน ่ ั เบียร์, หนังสตว์ มักจะขายให ้กับขุนนางคนสนิท • ถูก guild ต่อต ้าน สภาออกกฎหมายควบคุมในปี ่ 1623 ในทีสุดก็รอยหรอจนหมดชองทํารายได ้เพิม ่
  • 6. The East India Company • บริษัททีทรงอิทธิพลทีสุดในโลก • Elizabeth I ออก charter ให ้ ิ “ค ้าขายสนค ้าทุกชนิดทุกแห่งทาง ตะวันออกของแหลมกูดโฮป” ๊ • มีศาล คุก และกองทัพเป็ นของ ตัวเอง: ทหาร 250,000 คน = 2 เท่าของกองทัพอังกฤษ ิ • สมาชกสภาอังกฤษ 1/3 เป็ นผู ้ถือ หุ ้น กษั ตริยเป็ นลูกหนีบริษัท จ่าย ์ ภาษี ชาคิดเป็ น 10% ของรายได ้รัฐ
  • 7. The East India Company (ต่อ) • บริษัทเก็บภาษี , ห ้ามประเทศพืนเมืองทําการค ้า ิ หรือผลิตสนค ้าทีบริษัทขาย – ทําลายภาคการ ผลิตของอินเดียระหว่างปี 1750-1880 • สภาอังกฤษยกเลิก charter ของบริษัทในปี 1860 แปลงอินเดียเป็ นอาณานิคมอย่างเป็ นทางการ
  • 8. The East India Company (ต่อ) • ความขัดแย ้งระหว่างบริษัทกับรัฐบาลจีน สงครามฝิ น ่ อังกฤษยึดเกาะฮองกง • กฎหมายอังกฤษกําหนดให ้อาณานิคมอเมริกาเป็ น ื ิ แค่แหล่งป้ อนวัตถุดบ+ตลาดรับซอสนค ้าอังกฤษ ิ • Boston Tea Party ชนวนของสงครามปลดแอก ่ อเมริกา ปี 1776 ไม่ใชการต่อต ้านกษั ตริยองกฤษ ์ ั ้ แต่เป็ นการต่อสูทางธุรกิจ: พ่อค ้าอิสระอเมริกนนํ า ั โดย John Hancock โยนชาทิงนํ าเพือคัดค ้าน แผนของบริษัททีจะผูกขาดธุรกิจชาในอเมริกา
  • 9. บรรษั ทในรัฐธรรมนูญยุคแรกของอเมริกา • ในยุคนันบรรษั ท (“corporation” = มี charter + ่ ู ผู ้ถือหุ ้น) ไม่ใชรปแบบปกติของการทําธุรกิจใน ่ ่ อเมริกา นักธุรกิจสวนใหญ่เป็ นพ่อค ้า & หุ ้นสวน • รัฐธรรมนูญของอเมริกาฉบับ Constitutional Convention ปี 1787 ไม่พดถึงบรรษั ทเลย ู • อํานาจในการออก charter อยูทสภานิตบญญัต ิ ่ ี ิ ั ระดับมลรัฐ ก่อนปี 1850 สภาออก charter น ้อย ่ มาก & สวนใหญ่มข ้อจํากัดเรืองธุรกิจทีอนุญาตให ้ ี ทํา, อายุ (20-50 ปี ), ห ้ามถือหุ ้นในบริษัทอืน
  • 10. ลักษณะของบรรษั ทอเมริกนยุคแรก ั • การจํากัดความรับผิดของผู ้ถือหุ ้น (limited ่ liability) ยังไม่ใชเรืองปกติจนกระทังประมาณปี ่ 1855 ก่อนหน ้านันสภาในรัฐสวนใหญ่ของอเมริกา กําหนด “double liability” – ผู ้ถือหุ ้นต ้องรับผิด เป็ นสองเท่าของมูลค่าเงินทีลงทุนในบรรษั ท • ในปี 1800 อเมริกามีบรรษั ท 335 แห่ง ร ้อยละ 76 ดําเนินธุรกิจสร ้างสะพาน ขุดคลอง ท่าเรือ บริการ สาธารณะอืนๆ, ร ้อยละ 20 ทําธุรกิจธนาคารหรือ ประกัน (charter ธนาคารกําหนดอายุ 3-10 ปี )
  • 11. Tim Scott: ผู ้สร ้างบริษัทสมัยใหม่ • ล็อบบียิสต์ของ Pennsylvania Railroad ในสภารัฐ ิ เพนซลวาเนีย ่ • โด่งดังและมีอทธิพลทางการเมืองสูงมากหลังจากทีชวยอับรา ิ ั ้ ฮม ลินคอล์น ให ้ชนะ Civil War ด ้วยการใชเครือข่ายรางรถไฟ ในภาคเหนือสร ้างความได ้เปรียบในสมรภูมเหนือกองทัพฝ่ ายใต ้ ิ • อยากสร ้างระบบรางรถไฟระดับชาติตงแต่นวยอร์กไปถึง ั ิ แคลิฟอร์เนีย
  • 12. Tim Scott: ผู ้สร ้างบริษัทสมัยใหม่ (ต่อ) • ใช ้ Pennsylvania Railroad ซอบรรษั ทรถไฟ ื ทางใต ้อย่างเปิ ดเผยไม่ได ้ เพราะคนจะต่อต ้าน • เกลียกล่อมสภา Pennsylvania ให ้ยกเลิกข ้อ ห ้ามไม่ให ้บรรษั ทถือหุ ้นในบรรษั ทอืนและ ข ้อกําหนดทีว่าต ้องระบุธรกิจ ุ ในปี 1871 Scott ก่อตัง Overland Contract Company เป็ น “general purpose company” ทีมีอํานาจ ื เปลียนชอและ charter ของตัวเองได ้
  • 13. Tim Scott: ผู ้สร ้างบริษัทสมัยใหม่ (ต่อ) ื • เปลียนชอ Overland เป็ น Southern Railway ้ Security Company ใชเป็ น holding company ื ค่อยๆ ไล่ซอหุ ้นในบริษัทรถไฟทางใต ้ • หลังจากทีบริษัทรถไฟคูแข่งในภาคใต ้ค ้นพบ ่ ความจริงและพยายามเปิ ดโปงต่อสาธารณชน ้ ี ื ื ั Scott ใชวิธซอหนังสอพิมพ์ท ้องถินและสงให ้ ี บรรณาธิการเขียนข่าวเชยร์ ิ • เสนอตําแหน่งกรรมการบริษัทให ้กับสมาชก Ku Klux Klan หลังจากคนงานผิวดําถูก KKK ทําร ้าย
  • 14. ระบบที Scott สร ้าง คือทางหลบอํานาจรัฐ • สมมุตถ ้าบริษัททีจดทะเบียนในรัฐนิวยอร์กไม่ ิ ชอบข ้อจํากัดใน charter ทีสภารัฐนิวยอร์กออก ให ้ ก็แค่บอกให ้ทนายไปตังอีกบริษัทหนึงในรัฐที สภาเอือประโยชน์กว่า เชน นิวเจอร์ซ ี เสร็จแล ้วก็ ่ ขายหุ ้นของตัวเองให ้กับบริษัทใหม่ในนิวเจอร์ซ ี ่ • ในชวงเวลาเดียวกัน นักอุตสาหกรรม ่ (industrialists) คนอืน เชน John D. ้ Rockefeller พยายามใชกลไกทรัสต์ทําแบบ Scott แต่ไม่คอยประสบความสําเร็จ ่
  • 15. กลไกทรัสต์และปั ญหา • ทรัสต์ (trust) เป็ นโครงสร ้างทีให ้ผู ้ถือหุ ้นของ บริษัทต่างๆ เอาหุ ้นมาแลกเป็ น “ใบทรัสต์” ที ควบคุมโดยคณะกรรมการกลางทรัสต์ วิธนชวย ี ี ่ ให ้กลุมบริษัทในอุตสาหกรรมเดียวกันสามารถ ่ ร่วมมือกันควบคุมผลผลิตและตังราคา โดยไม่ ละเมิด charter ทีห ้ามถือหุ ้นในบริษัทอืน • ไม่คอยสําเร็จเพราะนายทุนไม่คอยไว ้ใจกัน และ ่ ่ ี เสยงทีจะถูกสภานิตบญญัตไล่เพิกถอน charter ิ ั ิ ิ ของบริษัททีเป็ นสมาชกทรัสต์
  • 17. ผลลัพธ์ของการยกเลิกข ้อบังคับเฉพาะธุรกิจ • การแก ้กฎหมายให ้บริษัทสามารถก่อตังเพือ จุดประสงค์อะไรก็ได ้ (ตราบใดทีไม่ผดกฎหมาย – ิ “for any lawful purpose”) แทนทีจะทําธุรกิจ เฉพาะทีระบุใน charter เหมือนสมัยก่อน ก่อให ้เกิดบริษัทผูกขาดรูปแบบใหม่ 2 รูปแบบ: • Conglomerate (holding company ทีถือหุ ้นใน บริษัทหลายบริษัท) และ • Vertically integrated company (ควบคุมตลอด ิ lifespan ของสนค ้า ตังแต่ผลิตถึงจัดจําหน่าย)
  • 18. ่ ั “การดํารงอยูชวนิรันดร์” ของบริษัท • ทําให ้บริษัทไม่ต ้องรับโทษจากการกระทําทีเคยถูก กฎหมายในอดีตแต่ตอนนีผิดแล ้ว ไม่เหมือนกับคน ี ้ ่ • บริษัทใหญ่ทใชแรงงานทาสในชวง 1930s & 1940s: IBM, Siemens, Daimler-Chrysler, Deutsche Bank, Ford, BMW, Bayer, BASF, Volkswagen, General Motors, Mitsubishi, Mitsui ี ้ • บริษัทใหญ่ทใชแรงงานทาสก่อนปี 1865: American International Group (AIG), Lehman Brothers, Union Pacific, Morgan Chase, Fleetboston ่ ี ่ • เทคโนโลยีข ้อมูลของ IBM ชวยนาซฆาล ้างเผ่าพันธุยว ์ ิ
  • 19. ผลพวงของการจํากัดความรับผิด ่ • รูปแบบจํากัดความรับผิด (limited liability) สงผลให ้ บริษัทสมัยใหม่เป็ นรูปแบบการทําธุรกิจทีได ้รับความนิยม สูงมาก และสร ้างแรงจูงใจให ้คนเริมธุรกิจใหม่ๆ • ในขณะเดียวกัน การจํากัดความรับผิดก็ทําให ้การลงโทษ ทางอาญาทําได ้ยาก - บริษัทไม่ม ี “จิตสํานึก” เหมือน จิ ิ ปั จเจก สร ้างแรงจูงใจเชงลบด ้วยการจําคุกไม่ได ้ ี • นอกจากนัน ยังเป็ นการโยกย ้ายต ้นทุนความเสยหายจาก ั ่ ั บริษัทไปให ้ปั จเจกหรือสงคมแบกรับ เชน สงคมรับความ ี ี เสยหายจากมลพิษ, พนั กงานรับความเสยหายจาก อุบตเหตุในทีทํางาน (เพราะ “เลือก” ทีจะทํางานนั นเอง) ั ิ
  • 20.
  • 21.
  • 22. กระแสการควบรวมกิจการ 1897-1903 ่ • ในชวงเวลาเพียง 6 ปี บริษัท 2,650 แห่งใน ื อเมริกาถูกซอหรือควบรวมไปเป็ นบริษัทใหญ่ขน ึ ่ • ในปี 1890 สวนของผู ้ถือหุ ้นในบริษัทมหาชนทัง ประเทศเท่ากับ $33 ล ้าน ในปี 1903 พุงเลย ่ $7,000 ล ้าน และมีบริษัทขนาดใหญ่ 250 แห่ง ่ เชน International Paper (1898), U.S. Steel (1901) และ International Harvester (1902) ่ • U.S. Steel มีสวนแบ่งตลาด 62%, Harvester มี 85%, American Can Company มี 90%
  • 23. Fourteenth Amendment ิ • เขียนเพือคุ ้มครองสทธิของอดีตทาสเป็ นหลัก: All persons born or naturalized in the United States and subject to the jurisdiction thereof, are citizens of the United States and of the State wherein they reside. No State shall make or enforce any law which shall abridge the privileges or immunities of citizens of the United States; nor shall any State deprive any person of life, liberty, or property, without due process of law; nor deny to any person within its jurisdiction the equal protection of the laws.
  • 24. Santa Clara County v. Southern Pacific Railroad ี ่ • คดีทขึนสูศาลฎีกาในปี 1886 เป็ นคดีประวัตศาสตร์ท ี ิ ิ ตัดสนว่า บรรษั ทเป็ น “บุคคล” (person) และดังนั น กฎหมายจึงต ้องคุ ้มครองเสมือนปั จเจกชน • แต่เหตุผลของศาลไม่ปรากฏในคําพิพากษา • ใน Statement of Facts: “Before argument Mr. Chief Justice Waite said: The court does not wish to hear argument on the question whether the provision in the Fourteenth Amendment to the Constitution... applies to these corporations. We are all of opinion that it does.”
  • 25. อิทธิพล laissez-faire ต่อศาล 1880-1930 • Herbert Spencer: นักคิดผู ้ทรงอิทธิผลสูงสุดใน สมัยนัน ขาย Social Statics และหนังสอเล่มอืนๆ ื ได ้กว่า 350,000 เล่มในอเมริกา • สมมุตฐานหลักของ laissez faire คือ มนุษย์ทก ิ ุ คนเป็ นเจ ้าของชะตาชวตของตัวเอง การใช ้ ี ิ ่ ั เสรีภาพของปั จเจกไม่ใชเรืองของสงคมหรือรัฐ ่ • การชวยคนทีเกิดมาอ่อนแอหรือพิการก็ไม่ควรทํา เพราะมันขัดแย ้งกับธรรมชาติมนุษย์ (“survival of the fittest”; Social Darwinism agenda)
  • 26. แต่ในความเป็ นจริง คนยังไม่คอยมีเสรีภาพ ่ • กฎหมาย Jim Crow (แบ่งแยกผิว): ชาวแอฟริ ี ิ ่ ั กัน-อเมริกนสูญเสยสทธิทเคยได ้ในชวงเวลาสนๆ ั ี หลังการประกาศเลิกทาส ิ • ผู ้หญิงไร ้สทธิทางการเมือง ถูกเอาเปรียบทังในที ทํางานและทีบ ้าน (วัฒนธรรม ค่านิยม ฯลฯ) ั • ความสมพันธ์ระหว่างนายจ ้าง-ลูกจ ้างถือเป็ น ่ ความสมพันธ์ สวนบุคคล และดังนั นรัฐธรรมนูญจึง ั ิ ไม่คุ ้มครอง; ก่อนศาลตัดสนปี 1843 นายจ ้างทํา ร ้ายลูกจ ้างอย่างถูกกฎหมายได ้
  • 27. แม ้แต่คนอเมริกนผิวขาวก็ไม่มเสรีภาพ... ั ี ่ • หลายอุตสาหกรรม เชน เหมืองแร่และโรงงานทอ ผ ้า “แบล็กลิสต์” ลูกจ ้างทีพยายามออกจากบริษัท • บริษัทหลายแห่งบังคับให ้ลูกจ ้างซอเครืองใช ้ ื อุปโภคบริโภคทีร ้านค ้าของบริษัทในราคาแพง ่ กว่าราคาตลาด สงผลให ้ลูกจ ้างต ้องเป็ นหนีไม่ ิ ํ สนสุด ถ ้าออกอาจถูกจําคุกเพราะผิดนัดชาระหนี • “crimes of status” : ในทุกมลรัฐ การไม่หางาน ่ ทํา ถ ้าไม่ใชคนพิการและมีแหล่งรายได ้อืน ถือ เป็ นอาชญากรรมทีมีโทษปรับหรือจําคุก
  • 28. สหภาพแรงงานเริมมีบทบาท • Paris Commune ปี 1871: คนงานและทหาร หลายพันคนยึดกรุงปารีส จัดตังรัฐบาลของตัวเอง เปิ ดโรงงานทีถูกปิ ดเป็ นสหกรณ์ คนงานในอเมริกา จัดงานระดมทุนให ้ หลังเกิดเหตุการณ์นี คําว่า “communist” กลายเป็ นคําด่าเหมารวม • เป้ าหมายของสหภาพแรงงานอเมริกายุคแรกคือ ั เรียกร ้องให ้ลดชวโมงทํางานตามกฎหมายเป็ น 8 ชวโมงต่อวัน แต่ถงแม ้จะแก ้กฎหมายสําเร็จ ก็ ั ึ ้ บังคับใชลําบาก ถูกตํารวจ+นายจ ้างกดขีต่อไป
  • 29. Lochner v. New York • สภาพการทํางานในร ้านเบเกอรีแย่มาก ลูกจ ้าง ั ั หลายคนทํางานเกิน 110-120 ชวโมงต่อสปดาห์ • ในคดีประวัตศาสตร์ปี 1905 ศาลฎีกาพิพากษาว่า ิ กฎหมายรัฐนิวยอร์กทีกําหนดเพดานชวโมง ั ั ั ทํางานในร ้านเบเกอรีไว ้ที 60 ชวโมงต่อสปดาห์ นัน ละเมิดหลัก “due process” และ “freedom of contract” ใน Fourteenth Amendment • “substantive due process” : ศาลฎีกามีอํานาจ ิ ตัดสนความชอบของการออกกฎหมายของสภารัฐ
  • 30. กําเนิดกฎหมายต ้านการผูกขาด • Sherman Antitrust Act (1890) & Clayton Antitrust Act (1914): หลักการ “restraint of trade or commerce” กว ้าง อุดมการณ์ทางการเมืองครอบง่าย • ประเมินว่ากิจกรรม 4 เรืองลดขีดการแข่งขันอย่างมี นั ยสําคัญหรือมีแนวโน ้มจะสร ้างผู ้ผูกขาดหรือไม่: price discrimination, exclusive dealings/tying, mergers & acquisition, competing firms share director • ปธน. Teddy Roosevelt เจ ้าของสมญา “trust buster” ทลายทรัสต์ 44 แห่ง, ปธน. Taft ทลาย 90 แห่ง
  • 31. คดียบ Standard Oil ปี 1911 ุ • ทรัสต์ท ี John D. Rockefeller จัดตัง แปลงเป็ น holding ื company ชอ Standard Oil Company of New Jersey ั ถือหุ ้นในบริษัท 41 แห่งเป็ นชนๆ ่ • มีสวนแบ่งตลาดนํ ามัน 91% ของปริมาณการผลิต และ 85% ของยอดขาย • รัฐบาลฟ้ องศาลว่าเป็ น “unreasonable monopoly” ด ้วย หลักฐานอาทิ ขายในราคาลับให ้กับบริษัทรถไฟ, โก่ง ่ ราคาในตลาด, เอาเปรียบมาตรฐานการขนสง ฯลฯ • หลังบริษัทถูกยุบ Rockefeller กลายเป็ นเศรษฐี #1
  • 33. อเมริกน 22 ใน 30 คนทีรวยทีสุดอยูในยุค 1850-1930 ั ่ ทีมา: http://www.nytimes.com/ref/business/20070715_GILDED_GRAPHIC.html
  • 34. ธุรกิจยุคแรกสนับสนุนให ้มีองค์กรกํากับดูแล • 1886: Interstate Commerce Commission • 1906: Pure Food and Drug Act, Meat Inspection Act • 1911, National Association of Manufacturers ร่าง กฎหมายต ้นแบบเรืองการตอบแทนลูกจ ้าง มลรัฐ 25 แห่ง ้ นํ าไปใชบังคับจริงภายใน 3 ปี ตอมา ่ • 1913: The Federal Reserve System • 1914: Federal Trade Commission • 1930s: Securities and Exchange Commission, National Labor Relations Board, Federal Communications Commission, ฯลฯ
  • 35. จุดจบของ Social Darwinism: 1930s ั • Great Depression + ชยชนะของ FDR (หาเสยง ี ่ ด ้วยนโยบายประชานิยม) สงผลให ้รัฐบาลกลาง และศาลสูงเลิก ‘เข ้าข ้าง’ ธุรกิจ • สภาคองเกรสออกกฎหมาย Norris-LaGuardia ั ในปี 1932 ห ้ามศาลสงระงับการผละงานของ คนงาน (injunction) • ศาลฎีกาเลิกใช ้ “substantive due process”: คดี West Coast Hotel Company v. Parrish ปี ิ 1937 รับรองกฎหมายค่าแรงขันตําในรัฐวอชงตัน
  • 36. “Second Bill of Rights” ของ FDR ิ ิ ประกันสทธิของปั จเจกตามหลัก “สทธิมนุษยชน” ิ • สทธิของลูกจ ้างทีจะได ้รับค่าแรงทีเป็ นธรรม ิ • สทธิของเกษตรกรทีจะได ้รับผลตอบแทนทีเป็ นธรรม ิ • สทธิของผู ้ประกอบการรายย่อยทีจะได ้รับการคุ ้มครองจาก อํานาจผูกขาดและการแข่งขันทีไม่เป็ นธรรม ิ ั • สทธิของทุกครัวเรือนทีจะมีทอยูอาศย ี ่ ิ ึ • สทธิของประชาชนทุกคนทีจะได ้รับการศกษาและการ ประกันสุขภาพ ิ • สทธิของผู ้อาวุโส ผู ้พิการ และคนว่างงานทีจะได ้รับความ มันคงทางเศรษฐกิจ
  • 37. คลืนลมสงบในโลกธุรกิจ: 1930s-1970 • ตังแต่ยค FDR จนถึงทศวรรษ 1970 อเมริกาผ่าน ุ เหตุการณ์ใหญ่ๆ หลายครัง (สงครามโลกครังที 2, McCarthyism, สงครามเกาหลี, Civil Rights Movement, สงครามเวียดนาม) แต่การต่อสู ้ ่ ี ระหว่างผู ้มีสวนได ้เสยในโลกธุรกิจค่อนข ้างสงบ • “Private economic power is held in check by the countervailing power of those who are subject to it” – John Kenneth Galbraith • ทศวรรษต่อมาจะพิสจน์ให ้เห็นว่า Galbraith คิดผิด ู
  • 38. ิ ขบวนการผู ้บริโภคและสงแวดล ้อม: 1970s ิ • เอ็นจีโอคุ ้มครองผู ้บริโภคและสงแวดล ้อมหลายแห่งใน อเมริกาถือกําเนิดในปี 1969 และ 1970: Friends of the Earth, the Natural Resources Defense Council, Public Citizen, Common Cause, Environmental Action, the Center for Law and Social Policy, Consumer Federation of America • ผลักดันกฎหมายทีขยายอํานาจของรัฐบาลกลางจนสําเร็จ ่ นํ าไปสูการตัง Environmental Protection Agency, Occupational Safety and Health Administration, Consumer Product Safety Commission
  • 39. Big Business เริมผนึกกําลังกันล็อบบี... • Lewis Powell เขียน “Attack on American Free Enterprise System” ให ้กับสภาหอการค ้าอเมริกน – ั • “Strength lies in organization, in careful long-range planning and implementation, in consistency of action over an indefinite period of years, in the scale of financing available only through joint effort, and in the political power available through united action and national organizations.” • สองเดือนต่อมา ปธน. Nixon แต่งตังให ้ Powell เป็ นผู ้ พิพากษาศาลสูง
  • 40. ...และก่อตังแนวร่วม/สถาบันเพือต ้านกระแส • Center for Tobacco Research – Wall Street Journal อธิบายว่าเป็ น “the longest running misinformation campaign in U.S. business history” • Cooler Heads มีจดประสงค์ “dispel the myths about ุ global warming” • Competitive Enterprise Institute รณรงค์ตอต ้าน ่ ิ กฏเกณฑ์ด ้านความปลอดภัยและสงแวดล ้อม • Environmental Education Working Group พยายาม ิ เปลียนหลักสูตรเกียวกับสงแวดล ้อมในโรงเรียน
  • 41. กลยุทธ์ astroturf & ฟ้ องหมินประมาท • astroturf = ม็อบจัดตังทีสนั บสนุนภาคธุรกิจ ระดมคนได ้ ี ทันทีในประเด็นอะไรก็ได ้ บริษัทหลายแห่งเชยวชาญมาก ้ • หลายบริษัทเริมใชการฟ้ องหมินประมาทเป็ นกลยุทธ์ในการ ปิ ดปากหรือข่มขูผู ้ไม่เห็นด ้วย: SLAPP = “strategic ่ lawsuit against public participation” (Pring & Canan) • อุตสาหกรรมอาหารล็อบบีสภาหลายรัฐให ้ออกกฎหมาย ห ้ามวิจารณ์ผลิตภัณฑ์เกษตร (“agricultural product disparagement laws”) คดีทโด่งดังทีสุดคือ Cactus ี Cattle Corporation ฟ้ อง Oprah Winfrey กับ Howard Lyman ในปี 1996 หลังจัดรายการเกียวกับโรค mad cow
  • 42. ั money = speech, ตีกรอบ “คอร์รัปชน” • ศาลฎีกาตีความว่าการให ้เงินอุดหนุนพรรคการเมืองของ บริษัทใหญ่สมควรได ้รับการคุ ้มครองโดยกฏหมายในระดับ เท่าเทียมกับการแสดงออกของประชาชน: money = speech …แปลว่าใครไม่มเงินก็ไม่ม ี speech หรือเปล่า? ี ั • นอกจากนียังตีกรอบ “คอร์รัปชน” (กฎหมายลงโทษได ้) ให ้ ั แคบลง หมายถึงแค่คอร์รัปชนแบบ “quid pro quo” คือ ้ เฉพาะในกรณีทศาลสามารถโยงเสนทางเงินเข ้ากับการ ี กระทําทีเฉพาะเจาะจงของนั กการเมืองได ้โดยตรงเท่านั น ิ • สทธิ “free speech” ของบริษัทเริมได ้รับการคุ ้มครองเหนือ ิ ่ สทธิของประชาชน (เชน โฆษณาบิดเบือนได ้)
  • 43. ทฤษฎีทพยายามอธิบาย บริษัท = บุคคล ี ิ ิ • Transparent Veil Theory: สทธิของบริษัท = สทธิของผู ้ ่ ถือหุ ้นบริษัท ...แต่อธิบายแบบนีไม่ถก เพราะบริษัทมีชอง ู ่ โหว่ความรับผิด ไม่เหมือนกับคน เชน ถ ้าหมากัดเพือนบ ้าน เจ ้าของหมาต ้องรับโทษ แต่ถ ้าชาวบ ้านป่ วยจากมลพิษที บริษัทปล่อย ชาวบ ้านฟ้ องผู ้ถือหุ ้นโดยตรงไม่ได ้ ั • Natural Entity Theory: บริษัทเป็ น “พลเมือง” ของสงคม ิ เหมือนกัน ดังนั นจึงมีสทธิพลเมือง ...แนวคิดนีเผยแพร่โดย นั กกฎหมายเยอรมันนาม Otto Gierke (1841-1921) แต่ไม่ เคยได ้รับความนิยมในอเมริกา เพราะผู ้ร่างรัฐธรรมนูญ ต ้องการ จํากัด อํานาจของบรรษั ท ไม่ใชคุ ้มครอง ่
  • 44. ยุครุงเรืองของ CEO : 1970-2002 ่ • ค่านิยมทศวรรษ 1950: CEO = team player ผู ้กุม ี บังเหียนให ้บริษัทเติบโตอย่างมันคง ไม่เสยงมาก • ค่านิยมตังแต่ทศวรรษ 1980: CEO = celebrity, swashbuckler, super-salesman, public advocate • stock option กลายเป็ นมาตรฐานใน package ค่าตอบแทนผู ้บริหาร เพิมแรงจูงใจให ้ผู ้บริหารทํา (ยังไงก็ได ้)ให ้ราคาหุ ้นขึน ่ • อัตราสวนค่าตอบแทนผู ้บริหารต่อพนั กงานเฉลีย: 42 เท่า ในปี 1980 411 เท่าในปี 2001 • ปี 1993 คองเกรสกดดัน Financial Accounting Standards Board ไม่ให ้นั บ option เป็ น expense
  • 45.
  • 46.
  • 47.
  • 52. ่ ี จากโมเดลผู ้ถือหุ ้น สูโมเดลผู ้มีสวนได ้เสย
  • 53. โอกาสในวิกฤต? ทีมา: Triple Bottom Line Reporting: A Strategic Introduction to Economic, Environmental and Social Performance Measurement, David Crawford, Certified Management Accountants Canada, www.cma-canada.org