SlideShare a Scribd company logo
1 of 56
Download to read offline
ทุนนิยมทีมหวใจ :
               ่ ี ั
  ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา
               สฤณี อาชวานันทกุล
              Fringer | คนชายขอบ
            http://www.fringer.org/
                               ิ
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสต, 3 ธันวาคม 2550
                                  ิ
           งานนีเผยแพร่ภายใต ้ลิขสทธิ์ Creative Commons แบบ Attribution Non-commercial
                ้
           Share Alike (by-nc-sa) โดยผู ้สร ้างอนุญาตให ้ทาซ้า แจกจ่าย แสดง และสร ้างงาน
                        ่      ่
           ดัดแปลงจากสวนใดสวนหนึงของงานนีได ้โดยเสรี แต่เฉพาะในกรณีทให ้เครดิตผู ้สร ้าง ไม่
                                    ่            ้                         ี่
                   ้                                                ิ ์
           นาไปใชในทางการค ้า และเผยแพร่งานดัดแปลงภายใต ้ลิขสทธิเดียวกันนีเท่านั น
                                                                              ้     ้
หัวข ้อบรรยาย

1. ความเข ้าใจผิดบางประการเกียวกับทุนนิยม มายาคติ
                             ่
   ของแนวคิดกระแสหลัก และข ้อเท็จจริง
2. “ทุนนิยมทีมหวใจ”
              ่ ี ั
3. แนวคิดใหม่ๆ ทีประกอบสร ้างเป็ นกระบวนทัศน์ใหม่
                    ่
       ่              ่ ้
4. เครืองมือใหม่ๆ ทีใชในภาคปฏิบต ิ
                                 ั
                 ิ
5. โครงสร ้างเชงสถาบันในกระบวนทัศน์ใหม่
1. ความเข ้าใจผิดบางประการ และมายา
      คติของแนวคิดกระแสหลัก
ความเข ้าใจผิดบางประการเกียวกับทุนนิยม
                          ่
• “Sample Bias”/ ปั ญหา Black Swan (Nassim Taleb)
                           ี่
  – ทาให ้มองไม่เห็นความเสยงของการทาธุรกิจ และไม่เห็นว่า „ผู ้เล่น
    ทั่วไป‟ ในระบบตลาดคือผู ้ประกอบการรายย่อยและลูกจ ้าง ไม่ใช ่
    นายทุนเจ ้าของบริษัทยักษ์ ใหญ่
                                 ิ
• ระบบตลาดเป็ นระบบทีนาไปสู่ ประสทธิภาพ สูงสุด
                     ่
                                   ิ
  – ระบบตลาดสามารถสร ้างประสทธิภาพสูงสุดในการจัดสรรทรัพยากร
    เพราะเป็ นระบบแบบ self-emerging & chaordic
                                     ิ
  – optimal result เกิดจากการตัดสนใจของผู ้เล่นหลายคนทีคดแต่  ่ ิ
    ผลประโยชน์ของตัวเองเป็ นหลัก („มือทีมองไม่เห็น‟ ของอดัม สมิธ)
                                          ่
    แต่ทงนี้ การแข่งขันต ้องเป็ นธรรม แปลว่าผู ้เล่นต ้องมีคณธรรมด ้วย
        ั้                                                  ุ
                                          ิ
• ความล ้มเหลวของตลาดเกิดจาก „โครงสร ้างเชงสถาบัน‟
  – ความล ้มเหลวของตลาดมักไม่ได ้เกิดจากตัวตลาดเอง หากเกิดจาก
                               ิ           ่
    ความล ้มเหลวของโครงสร ้างเชงสภาบัน (เชน กฎเกณฑ์ของรัฐ)
  – การแข่งขันเสรีดารงอยูยาก หากผู ้ครองตลาดมีอานาจสูง
                         ่
ลักษณะของระบบเศรษฐกิจทียั่งยืน
                       ่
        ิ
• มีประสทธิภาพในการจัดสรรทรัพยากรอย่าง „เป็ นธรรม‟
                                     ้ื      ี ิ  ี ี
  – มิฉะนันผู ้ยากไร ้ทีปราศจากกาลังซอและไม่มสทธิมเสยงใน
          ้             ่
    ระบอบการเมือง จะยิงเดือดร ้อนขึนเรือยๆ
                           ่        ้ ่
                                                 ่
• มองทรัพยากรทีมวันหมด และ „externalities‟ เชน ทุน
                 ่ ี
                     ั่
  ธรรมชาติ คอร์รัปชน ฯลฯ ว่าเป็ น „ต ้นทุน‟ ราคาแพง
          ้        ั        ื่
  – มิฉะนัน „สมดุลสงคม‟ จะเสอมลงเรือยๆ และในทีสดโลกก็จะ
                                   ่          ่ ุ
    รองรับความต ้องการของมนุษย์ไม่ได ้
• รองรับความหลากหลายของวัฒนธรรม ค่านิยม และวิถ ี
   ี ิ
  ชวตของคนในแต่ละท ้องถินได ้
                        ่
                                 ่
  – มิฉะนันความตึงเครียดอาจนาไปสูความขัดแย ้งและความ
          ้
    รุนแรง

          ่
     ไม่ใชระบบทุนนิยมกระแสหล ักในปัจจุบ ัน
วิวฒนาการ (?) ของระบบเศรษฐกิจ
        ั
                          ทุนนิยมเสรีมเพียงบาง
                                      ี
                          ธุรกิจในบางประเทศ ใน                          “ทุนนิยมธรรมชาติ”
ระดับเสรีภาพทางเศรษฐกิจ




                          ระดับโลกยังเป็ นทุนนิยม      ทุนนิยมเสรี       “ทุนนิยมก ้าวหน ้า”
                          สามานย์อยู่                    (แนวคิด
                                                       กระแสหลัก)
      ของประชาชน




                              ทุนนิยมผูกขาด/        ทุนนิยมในไทยยังเป็ น “ทุนนิยมสามานย์”
                              ทุนนิยมสามานย์/       อยู่ สาเหตุหลักๆ อาจเป็ นเพราะ:
                              ทุนนิยมพวกพ ้อง        • ธนกิจการเมืองยังเฟื่ องฟู
                                                                      ั
                                                     • โครงสร ้างศกดินา/อานาจนิยมยังอยู่
                                                     • กฎหมายป้ องกันการผูกขาดไม่มผล ี
                          เศรษฐกิจผูกขาด                                          ั
                                                     • กฎหมายคุ ้มครองผู ้บริโภค สงคม ฯลฯ
                              โดยรัฐ                          ้
                                                         ยังใชไม่ได ้จริง


                                   ระดับความยังยืนของระบบเศรษฐกิจ
                                              ่
ั
ปั ญหาของสงคม: „มายาคติ‟ ทีไม่เป็ นจริง (1)
                           ่
          มายาคติ                           ข้อเท็จจริง
        ื้
• เงินซอได ้ทุกอย่าง                       ื้
                                    • เงินซอความสุข, ความ
                       ั
• GDP วัด „สุขภาพสงคม‟ ได ้           ปลอดภัย, ฯลฯ ไม่ได ้ ถ ้า
• ประโยชน์จากทุนนิยมเสรี จะ           กลไกต่างๆ ไม่ทางาน
                  ่
  „ไหล‟ ลงมาสูคนทุกระดับชน     ั้   • Human Development
  เอง โดยทีรัฐไม่ต ้อง
                ่                     Index (Amartya Sen) วัด
  แทรกแซงตลาด – “The                  ระดับ „ความสุข‟ ของ
  rising tide lifts all boats”        ประชาชนได ้ดีกว่า GDP
                    ่
• รัฐไม่ควรแตะ “สวนเกิน”            • ความมังคังของคนจานวน
                                              ่ ่
  ของคนรวย เพราะสวนเกิน  ่            มากมาจากมรดกหรือการเก็ง
  เหล่านันมาจากการทางาน
              ้                                   ่
                                      กาไร ไม่ใชการทางานหนัก
           ึ่
  หนักซงก่อให ้เกิดผลผลิตที่        • “In the long run, we‟re all
  เป็ นประโยชน์                       dead” (John M. Keynes)
Genuine Progress Indicator (GPI)
แม ้แต่ Simon Kuznets ผู ้คิดวิธวด GDP ก็ไม่เห็นด ้วย
                                ี ั                     • Genuine Progress Indicator เป็ น
กับการใช ้ GDP เป็ นเครืองวัด “สุขภาพ” สงคม เขา
                        ่               ั                                          ั
                                                           ตัววัด “สุขภาพสงคม” ทีดกว่า     ่ ี
กล่าวในปี 1962 ว่า                                         GDP เพราะคานวณผลกระทบต่างๆ
“The welfare of a nation can scarcely be inferred          เป็ น „ต ้นทุน‟ ไม่ใช ่ „รายได ้‟ ของ
from a measurement of national income... Goals             ประเทศ เชน       ่
for “more” growth should specify of what and                          ้
                                                        1. หักค่าใชจ่ายทืเกิดจาก ่
for what.”
                                                           อาชญากรรมและการหย่าร ้าง
                                                                          ี
                                                        2. หักความเสยหายจากความเสอม              ื่
                                                                              ิ่
                                                           โทรมของสงแวดล ้อม และมลภาวะ
                                                        3. หักมูลค่าของเวลาพักผ่อนของ
                                                           ประชากร (ถ ้ามีน ้อยลง)
                                                                        ้
                                                        4. หักค่าใชจ่ายทางทหาร สนค ้า       ิ
                                                           อุปโภคขนาดใหญ่ (ทีมการสก    ่ ี     ึ
                                                           หรอ) และสาธารณูปโภค
                                                        5. หักมูลค่าของเงินกู ้จากต่างประเทศ
                                                             ่ ้
                                                           ทีใชในการบริโภค
                                                        • นอกจากนี้ GPI ยังบวกมูลค่าขอ
                                                           งานทีทาโดยแรงงานนอกระบบ
                                                                  ่
                                                               ่
                                                           เชน งานบ ้าน งานอาสาสมัคร และ
ทีมา: http://www.redefiningprogress.org/projects/gpi/
  ่                                                        สะท ้อนความเหลือมล้าทางรายได ้
                                                                                     ่
ั
ปั ญหาของสงคม: „มายาคติ‟ ทีไม่เป็ นจริง (2)
                           ่
        มายาคติ                          ข้อเท็จจริง
             ่
• ทุกภาคสวนควรมุงเน ้นการ
                   ่                   ิ
                              • ประสทธิภาพอย่างเดียวอาจไม่ทา
               ิ
  สร ้างประสทธิภาพสูงสุด        ให ้เกิดความเป็ นธรรมในสงคม   ั
                                                      ั
                                (หรืออย่างน ้อยก็สงคมทีม ี  ่
  อย่างเดียว                    มนุษยธรรม) : สถานการณ์ทม ี      ี่
• เนืองจากระบบตลาดเป็ น
     ่                          เศรษฐีไม่กคนในขณะทีคนหลาย
                                             ี่         ่
  ระบบทีดทสดในการสร ้าง
          ่ ี ี่ ุ              ล ้านคนต ้องอดอาหารตายอาจ “มี
        ิ                                ิ
                                ประสทธิภาพสูงสุด” (Pareto
  ประสทธิภาพ รัฐจึงควรปล่อย
                                optimal) แล ้ว หากไม่มทางทีจะ
                                                          ี        ่
  ให ้ระบบตลาดทางานด ้วยตัว       ่               ี ิ
                                ชวยให ้ใครรอดชวตโดยไม่ทาให ้
  ของมันเอง                                ี
                                เศรษฐีเสยประโยชน์
                              • มีแนวโน ้มสูงทีจะเกิด “ทุนนิยม
                                                ่
                                สามานย์” หากรัฐไม่ควบคุมตลาด
                                อย่างแข็งขันและเป็ นอิสระอย่าง
                                แท ้จริงจากภาคธุรกิจ
ระดับความเหลือมล้าทางรายได ้ทีไม่เท่ากันในโลก สะท ้อน
             ่                ่
ความหลากหลายของรูปแบบเศรษฐกิจการเมือง




           ทีมา: http://en.wikipedia.org/wiki/Image:World_Map_Gini_coefficient.png
             ่
ทีมา: http://en.wikipedia.org/wiki/Image:Gini_since_WWII.gif
  ่
ั
ปั ญหาของสงคม: „มายาคติ‟ ทีไม่เป็ นจริง (3)
                           ่
        มายาคติ                       ข้อเท็จจริง
                ี ั
• สมองมนุษย์มศกยภาพ                      ิ่
                              • ปั ญหาสงแวดล ้อมหลาย
  พอทีจะเข ้าใจการทางานของ
           ่                                ่
                                ประการ เชน โลกร ้อน กาลัง
  ธรรมชาติอย่างสมบูรณ์          บ่อนทาลายโลก และชดเจน   ั
• ธรรมชาติเปรียบเสมือนเป็ น     ว่าเกิดจากน้ ามือมนุษย์
  „เครืองจักร‟ ทีเดินอย่าง
       ่         ่            • กฎวิทยาศาสตร์ใหม่ๆ เชน    ่
  เทียงตรงตามกฎเกณฑ์
     ่                          Relativity, Uncertainty,
  แน่นอนตายตัว                  Incompleteness พิสจน์ู
• ดังนัน มนุษย์จงสามารถ
         ้         ึ               ั
                                ชดเจนว่า ความไม่แน่นอน
  เอาชนะและควบคุมธรรมชาติ                      ั
                                และความไม่สมบูรณ์เป็ นสจ    ั
  ได ้                          ธรรมของโลก และพรมแดน
                                ความรู ้ของมนุษย์แปลว่าไม่ม ี
                                วัน „เอาชนะ‟ ธรรมชาติได ้
โลกร ้อนมาเยือนไทย และเห็นได ้ด ้วยตาเปล่า




ทีมา: http://www.sarakadee.com/web/modules.php?name=Sections&op=viewarticle&artid=686
  ่
ั
ปั ญหาของสงคม: „มายาคติ‟ ทีไม่เป็ นจริง (4)
                           ่
          มายาคติ                           ข้อเท็จจริง
• ทุกบริษัทควรตังเป้ าหมายที่
                      ้          • ปั ญหาข ้อมูลไม่เท่าเทียมกัน
  “ผลตอบแทนสูงสุดต่อผู ้ถือ        (asymmetric information)
                                   ระหว่างผู ้บริหารบริษัทกับผู ้ถือหุ ้น
  หุ ้น” เพราะผู ้ถือหุ ้นย่อม     และระหว่างบริษัทกับผู ้บริโภค/
  คานึงถึงประโยชน์ของ                 ั
                                   สงคม ทาให ้เกิดการหลอกลวงและ
    ่
  สวนรวมอยูแล ้ว่                  ฉ ้อฉลง่ายและปกปิ ดง่ายด ้วย
• ดังนัน บริษัททีมงเน ้น
        ้            ่ ุ่        • ทุกฝ่ ายมีผลประโยชน์ทับซอน         ้
                        ่
  เป้ าหมายนีจะชวยให ้เกิด
              ้                  • แนวโน ้มทีจะได ้กาไรสูงกว่าจาก
                                                   ่
                           ่                                ั้
                                   การเก็งกาไรระยะสนในตลาดหุ ้น
  ประโยชน์สงสุดต่อสวนรวม
                  ู
                                   เทียบกับเงินปั นผลในระยะยาวทา
  โดยอัตโนมัต ิ                    ให ้ผู ้ถือหุ ้น „มักง่าย‟ กว่าทีควร
                                                                    ่
                                 • ผู ้ถือหุ ้นในตลาดหลักทรัพย์
                                   สมัยใหม่ไม่กระจุกตัวเหมือนใน
                                   อดีต – „ความเป็ นเจ ้าของ‟ ลดลง
ทีมา: http://wallstreetfollies.com/diagrams.htm
  ่
ั
ปั ญหาของสงคม: „มายาคติ‟ ทีไม่เป็ นจริง (5)
                           ่
            มายาคติ                                     ข้อเท็จจริง
• ทุกคนควรทาแต่ในสงที่              ิ่   • นอกเหนือจากเงิน ภาคสงคมยัง             ั
               ี่
  ตัวเองเชยวชาญทีสด ภาค     ่ ุ            ต ้องการระบบ & องค์ความรู ้ในการ
                                           บริหารจัดการ ซงภาคธุรกิจมี ึ่
  ธุรกิจก็ควรทาธุรกิจ ภาค                  ความรู ้ความเชยวชาญดีทสดี่                ี่ ุ
    ั
  สงคมก็ทางานด ้านสงคม            ั      • ระบบราชการของรัฐยังไร ้
  ภาครัฐก็นาเงินภาษี ไปสร ้าง                          ิ
                                           ประสทธิภาพ คอร์รัปชน และไม่       ั่
  ระบบสวัสดิการสงคม     ั                  เหลียวแลผู ้ด ้อยโอกาสทีสด ซงไม่         ่ ุ        ึ่
                          ่                          ิ   ี ี
                                           มีสทธิมเสยงในระบอบการเมือง
• นักธุรกิจทีอยากชวยเหลือ
                  ่
        ั
  ภาคสงคมนอกเหนือจากเงิน                 • „สงคมสงเคราะห์‟ ไม่สามารถใช ้
                                                ั
                                                                 ิ
                                           แก ้ปั ญหาเชงโครงสร ้าง เชน ความ             ่
  ภาษี ทจายรัฐ ก็ทาได ้โดย
          ี่ ่                                    ี่       ี ิ
                                           เสยงในชวตและทรัพย์สน ไม่ม ี          ิ
  ผ่านกิจกรรม „สงคม   ั                    ทีดนทากิน ไร ้การศกษา ฯลฯ
                                               ่ ิ                         ึ
  สงเคราะห์‟ ต่างๆ เชน การ      ่        • ผู ้ทาหน ้าทีบริหารเงินได ้ดีทสดคือ
                                                               ่                          ี่ ุ
  บริจาค เท่านันก็พอแล ้ว
                    ้                      นักการเงิน ไม่ใชนักพัฒนาสงคม  ่                  ั
ั
ปั ญหาของสงคม: „มายาคติ‟ ทีไม่เป็ นจริง (6)
                           ่
          มายาคติ                               ข้อเท็จจริง
          ิ ์ ่
• กรรมสทธิสวนบุคคลเป็ น             • คนจานวนมากไม่ได ้สร ้างสรรค์เพือ         ่
  ปั จจัยสาคัญในการผลักดัน            เงิน แต่เพือแบ่งปั นให ้กับผู ้อืน
                                                  ่                    ่
  ความเจริญทางเศรษฐกิจ              • พืนทีสาธารณะมากมายมีสมาชกใน
                                           ้ ่                               ิ
                                      ชุมชนเป็ นผู ้ร่วมกันดูแลอย่างดีโดย
  เพราะคนทีสามารถอ ้าง
              ่                       ไม่เคยต ้องมีเอกสารสทธิ  ิ
  „ความเป็ นเจ ้าของ‟ เท่านัน ที่
                               ้                    ิ ์ ี่
                                    • ระบบลิขสทธิทเข ้มงวดคุ ้มครอง
  จะมีแรงจูงใจในการผลิตงาน            ผู ้สร ้างมากเกินไป และนาไปสูการ     ่
• „พืนทีสาธารณะ‟ ทีปราศจาก
      ้ ่              ่              ผูกขาดความรู ้ ต่อยอดไม่ได ้
  เจ ้าของจะไร ้คนดูแล              • ในหลายกรณี ความเห็นแก่ตวของ        ั
                                      นักธุรกิจหน ้าเลือดและความไร ้
• ดังนัน รัฐจึงต ้องตีกรอบและ
        ้                                      ิ
                                      ประสทธิภาพของรัฐ คือสาเหตุท ี่
                ิ ์ ่
  มอบกรรมสทธิสวนบุคคล                 พืนทีสาธารณะทรุดโทรม
                                          ้ ่
  และคุ ้มครองกรรมสทธินันิ ์ ้                             ิ
                                    • ระบบยอมออกสทธิบตรแม ้กระทั่ง
                                                             ั
  อย่างเคร่งครัด                                      ่
                                      ธรรมชาติ เชน DNA, พันธุพช   ์ ื
ความเคร่งครัดและพรมแดนกว ้างขวางของกฎหมาย
    ิ ์
ลิขสทธิปัจจุบนเป็ นอุปสรรคต่อการสร ้างสรรค์
             ั
             อดีต                                ปัจจุบ ัน




                            ่
• ในอดีต งานสร ้างสรรค์สวนใหญ่ไม่ถกควบคุมโดยกฎหมาย แต่ในปั จจุบน งาน
                                      ู                             ั
    ่                             ิ
  สวนใหญ่อยูภายใต ้กฎหมายลิขสทธิ์ โดยเฉพาะหลังเกิดอินเทอร์เน็ ต (ซงถือ
                  ่                                                   ึ่
  เป็ น „ก็อปปี้ ‟ ของงานทุกชนิด)
                          ิ ์ ื
• อายุของกฎหมายลิขสทธิยดยาวขึนเรือยๆ เกินระยะเวลาเหมาะสมทีผู ้สร ้างจะ
                                    ้ ่                           ่
  ได ้กาไรจากงานนันไปแล ้ว ทาให ้เป็ นอุปสรรคต่อการสร ้างสรรค์งานใหม่ๆ
                       ้
ิ ์ ่
พันธุพชและยีนก็เป็ นกรรมสทธิสวนบุคคลได ้?!
     ์ ื
                ทีมา: http://www.etcgroup.org/upload/media_element/26/01/badpats.jpg
                  ่
2. “ทุนนิยมทีมหัวใจ”
             ่ ี
จากทุนนิยมเสรีเทียม สู่ “ทุนนิยมสร ้างสรรค์”
เราสามารถทาให้พล ังของตลาดทางานในทางที่
      ่                      ้
ชวยเหลือผูยากไร้มากขึน หากเราสามารถพ ัฒนาทุน
                  ้
นิยมทีสร้างสรรค์กว่าเดิม หากเราสามารถขยับขยาย
          ่
พรมแดนของระบบตลาด ให ้คนจานวนมากกว่าเดิม
สามารถทากาไรได ้ หรืออย่างน ้อยก็เอาตัวรอดได ้ ในทาง
    ่       ้
ทีรับใชผู ้ยากไร ้ทีกาลังเดือดร ้อนจากความไม่เท่าเทียมอัน
                      ่
ร ้ายกาจทีสด นอกจากนัน เราก็ยังสามารถกดดันรัฐบาลทั่ว
              ่ ุ         ้
               ้
โลกให ้ใชเงินภาษี ไปในทางทีสะท ้อนคุณค่าต่าง ๆ ทีผู ้
                                 ่                   ่
        ี
เสยภาษี เหล่านั นให ้ความสาคัญ อย่างดีขนกว่าเดิม
                    ้                    ้ึ
                                   ์
                         - บิล เกตส, 7 มิถนายน 2550
                                          ุ
คาถามใหญ่
• เป็ นไปได ้ไหมทีจะทาให ้ทุนนิยมมีความอ่อนโยน
                    ่
                         ิ่
  มากขึน เป็ นมิตรต่อสงแวดล ้อม ชุมชน และ
            ้
    ั
  สงคมมากขึน โดยไม่ต ้องโยนทิงทังระบบ?
               ้                 ้ ้
• เป็ นไปได ้ไหมทีจะรังสรรค์ „ความเป็ นธรรมใน
                  ่
      ั
  สงคม‟ หรืออย่างน ้อยก็ลดทอนความไม่เท่า
                       ี          ิ
  เทียม โดยไม่ต ้องเสยสละ „ประสทธิภาพ‟ ของ
  ระบบตลาด?
        ิ่ ่ ี
• “สงทีกดขวางความเปลียนแปลงไม่ใชความ
                            ่           ่
         ่ ี                  ั ้
 ห่วงใยทีมไม่พอ หากเป็ นความซบซอนทีมมาก
                                    ่ ี
                   ์
 เกินไป” – บิล เกตส, 7 มิถนายน 2550
                          ุ
ั
การแก ้ปั ญหาทางสงคมให ้เกิดผลจริง ต ้องประสาน
จุดแข็งของทุกฝ่ ายเข ้าด ้วยกัน

                • อานาจรัฐ (กฎหมาย ฯลฯ)
     ร ัฐ                                 ี่
                • ความสามารถในการรับความเสยงทางธุรกิจ

                • „องค์ความรู ้‟ ด ้านการบริหารจัดการ
    ธุรกิจ      • การจัดหาและบริหารเงินทุน, นวัตกรรมใหม่ๆ

                                                   ิ
           • ความรู ้ความเข ้าใจในปั ญหา, ข ้อมูลเชงลึก
ชุมชน, NGO • ภูมปัญญาท ้องถิน
                ิ             ่

                • “เจ ้าของปั ญหา”, จิตสาธารณะ
 ประชาชน        • “กองทัพมด”
กระบวนทัศน์ใหม่ ใน „ภาษา‟ ของธุรกิจ
งบกาไรขาดทุน               • ไม่หลอกลวงลูกค ้า เอาเปรียบคูค ้า
                                                           ่
                             ฉ ้อโกงคูแข่ง หรือตกแต่งตัวเลข
                                      ่
  รายได ้
                                        ้
                                  • ใชกระบวนการผลิตทีเป็ นมิตรต่อ
                                                     ่
- ต ้นทุนขาย                         ิ่
                                    สงแวดล ้อมและชุมชน
       ้
- ค่าใชจ่ายพนักงาน
                                     • ไม่เอาเปรียบแรงงาน/ลูกจ ้าง
        ้      ้
- ดอกเบีย ค่าใชจ่ายอืนๆ
                     ่
                                                    • ไม่โกงภาษี รัฐ
- ภาษี
= กาไรสุทธิ                                 งบดุล
• ไม่สร ้างมูลค่าเทียม                          ิ
                                               สนทรัพย์ =
• เจ ้าหนีปล่อยกู ้ตามหลักธรรมาธิบาล
          ้                                    เงินกู ้ +
                                                ่
                                               สวนของผู ้ถือหุ ้น
• ผู ้ถือหุ ้นผลักดันบริษัทให ้รับผิดชอบ
จะไปถึงกระบวนทัศน์ใหม่ได ้อย่างไร?

          แนวคิดใหม่ๆ ทีสร ้างแรงจูงใจ
                        ่

                      +
         เครืองมือใหม่ๆ ทีทาให ้แรงจูงใจ
             ่             ่
                   เป็ นจริงได ้

                      +
         โครงสร ้างเชงสถาบันใหม่ๆ ทีใช ้
                     ิ              ่
           แนวคิดและเครืองมืออย่างมี
                         ่
                       ิ
                  ประสทธิภาพ
3. แนวคิดใหม่ๆ ทีประกอบสร ้างเป็ น
                 ่
        กระบวนทัศน์ใหม่
้
ผู ้ใชอินเทอร์เน็ ต 1.1 พันล ้านคน : มหาอานาจใหม่?
มหาอานาจใหม่เป็ น „ระบบอุบตเอง‟
                          ั ิ




    ทีมา: http://gc.sfc.keio.ac.jp/class/2004_14949/slides/05/17.html
      ่
มหาอานาจใหม่ไม่มผู ้นา แต่จัดการกันเอง
                ี




ทีมา: http://gc.sfc.keio.ac.jp/class/2004_14949/slides/05/17.html
  ่
ประชาธิปไตยทางตรง




                          ้
• เป็ นไปไม่ได ้ทีจะใชประชาธิปไตย
                  ่
  ทางตรงแทนทีประชาธิปไตยตัวแทน
                     ่
  100% เพราะอาจนาไปสู่ „เผด็จการ
      ี
  เสยงข ้างมาก‟
                    ่ ้
• แต่เป็ นกลไกทีใชได ้ดีในประเด็นระดับ
         ่     ่
  ท ้องถิน (เชน การตังโรงเรียน การเก็บ
                        ้
  ภาษีท ้องถิน)
             ่
• กฎ 5% popular veto, 5% popular
  vote, หรือ double majority
• E-Democracy ผ่านอินเทอร์เน็ ต
                                         ทีมา: http://home.swipnet.se/~w-38823/jiri4.htm
                                           ่
„หลากหลายนิยม‟ (Cosmopolitanism)
              •   นั กหลากหลายนิยม เป็ นทังพลเมืองของโลก
                                             ้
                  (world citizen) และพลเมืองของชุมชนตัวเอง
                  (community member) ในเวลาเดียวกัน
              •   ไม่มวัฒนธรรมใดในโลกทีปราศจากการปนเปื้ อน
                        ี                  ่
                  หรืออิทธิพลจากวัฒนธรรมอืนๆ      ่
              •   นั กหลากหลายนิยมต ้องการสร ้างบทสนทนา ไม่ใช ่
                  มองว่าทุกคนต ้องเห็นด ้วยกับแนวคิดของตัวเอง
                  (conversation, not agreement)
              •   ยอมรับความแตกต่างและความหลากหลายของคน
                                               ี         ิ้
                  อืน แต่ไม่ยอมรับความไร ้ศลธรรมอย่างสนเชง
                     ่                                        ิ
                                                    ื่
                  (moral relativism) เพราะเชอว่ามนุษย์ทกคนควร
                                                            ุ
                                ้ ี ิ            ั ์
                  ได ้มีโอกาสใชชวตอย่างมีศกดิศรี ดังนั น คุณค่าบาง
                                                       ้
                  ประการจึงต ้อง „เป็ นสากล‟ (ประชาคมโลกเห็นพ ้อง
                  ต ้องกัน)
              •   ตัวอย่างของคุณค่าทีควรเป็ นสากล (ต่อรองไม่ได ้)
                                     ่
                              ิ
                  ได ้แก่ สทธิมนุษยชนขันพืนฐาน เสรีภาพในการ
                                       ้ ้
                          ี ิ
                  ดารงชวต (คล ้ายกับแนวคิดของ Amartya Sen)
„ทุนนิยมธรรมชาติ‟ : แนวคิดด ้าน „การพัฒนาอัน
            ่ ี   ั
 ยั่งยืน‟ ทีมความชดเจนเรืองแนวทางปฏิบตทสด
                         ่              ั ิ ี่ ุ




ทีมา: http://en.wikipedia.org/wiki/Image:Sustainable_development.svg
  ่
      http://www.housing.gov.za/Content/Housing%20Atlas%2005/document/doc.htm
„นิเวศอุตสาหกรรม‟ (Industrial Ecosystem)




    ทีมา: http://newcity.ca/Pages/industrial_ecology.html
      ่
„Biomimicry‟ :
มิตใหม่ของการออกแบบ
   ิ




ทีมา:http://www.alphachimp.com/poptech/
  ่
    pages/17_Jeanine-Benyus.htm
    http://biomimicry.net/
ั
ความรับผิดชอบของธุรกิจต่อสงคม (CSR)
“Corporate Social Responsibility is not a cosmetic; it must be rooted in
our values. It must make a difference to the way we do our business.”
                                 Company X Group Managing Director


                             ความสามารถ
                             ในการแข่งข ัน



              ธรรมาภิบาล
                                                 CSR
                บริษ ัท



                              พฤติกรรม/              ภาวะผูนา
                                                            ้
                              คุณธรรมใน                   ั
                                                    และวิสยท ัศน์
                              การดาเนิน
                                 ธุรกิจ
ประชาชนเรียกร ้องให ้บริษัทมี CSR มากขึน
                                       ้
                                       ั
    คุณคิดว่าบทบาทของบริษ ัทขนาดใหญ่ในสงคมคืออะไร? – The Millennium Poll




 ทีมา: http://www.environment.gov.au/settlements/industry/finance/publications/respon-
   ่
     investment.html
ั
CSR มีหลายมิต ิ และตัววัดบางตัวก็เป็ นอัตตวิสย




ทีมา: http://www.globescan.com/csrm_research_findings.htm
  ่
่            ่ ้
4. เครืองมือใหม่ๆ ทีใชในภาคปฏิบต ิ
                               ั
โค ้ดเสรี (open source)




ทีมา: http://ocw.mit.edu/NR/rdonlyres/Sloan-School-of-
  ่
     Management/15-352Spring-2005/308C4BBD-FFBF-45F4-
     87B8-92C1075F8078/0/karimlakhani_ope.pdf
โค ้ดเสรี (open source)




ทีมา: http://ocw.mit.edu/NR/rdonlyres/Sloan-School-of-Management/15-352Spring-2005/308C4BBD-FFBF-45F4-
  ่
     87B8-92C1075F8078/0/karimlakhani_ope.pdf
กระบวนการทางานของ open source




ทีมา: http://ocw.mit.edu/NR/rdonlyres/Sloan-School-of-Management/15-352Spring-2005/308C4BBD-FFBF-45F4-
  ่
     87B8-92C1075F8078/0/karimlakhani_ope.pdf
โปรแกรมเมอร์และผู ้สนใจทั่วโลก พัฒนา Linux ผ่าน
               ื่
อินเทอร์เน็ ต สอสารกันเดือนละ 85,000 ข ้อความ




ทีมา: http://ocw.mit.edu/NR/rdonlyres/Sloan-School-of-Management/15-352Spring-2005/308C4BBD-FFBF-45F4-
  ่
     87B8-92C1075F8078/0/karimlakhani_ope.pdf
open source เป็ นปรากฏการณ์ของ “Generation X”
: ผู ้ร่วมพัฒนา Linux กว่า 60% เป็ นอาสาสมัคร



                                                                 •          ้
                                                                      ใชเวลาทางานให ้โครงการ
                                                                                          ั่
                                                                      Linux เฉลีย 7.5 ชวโมงต่อ
                                                                                  ่
                                                                        ั
                                                                      สปดาห์
                                                                 •    ผู ้ร่วมพัฒนาร ้อยละ 45.4 มี
                                                                              ี
                                                                      อาชพโปรแกรมเมอร์ในชวตจริงี ิ
                                                                 •    มีประสบการณ์เขียนโปรแกรม
                                                                      11 ปี โดยเฉลีย  ่




                                                                                               Age
 ทีมา: http://ocw.mit.edu/NR/rdonlyres/Sloan-School-of-Management/15-352Spring-2005/308C4BBD-FFBF-45F4-
   ่
      87B8-92C1075F8078/0/karimlakhani_ope.pdf
ิ ์ ื
ลิขสทธิยดหยุนแบบ Creative Commons
            ่




  ทีมา: http://creativecommons.org/about/licenses/comics1/
    ่
ิ ์ ื
ลิขสทธิยดหยุนแบบ Creative Commons (ต่อ)
            ่




   ทีมา: http://creativecommons.org/about/licenses/comics2/
     ่
open source ได ้รับความนิยมขึนเรือยๆ
                             ้ ่
ิ
open source  ความรู ้และศลปะไร ้ขอบเขต
„เทคโนโลยีเหมาะสม‟ / „เทคโนโลยีปานกลาง‟
• E. F. Schumacher: „เทคโนโลยีปานกลาง‟ หมายถึง เทคโนโลยีใดๆ
  ก็ตามทีแพงกว่าเทคโนโลยีปัจจุบันในประเทศกาลังพัฒนา 10 เท่า แต่
           ่
  ในขณะเดียวกันก็ถกกว่าเทคโนโลยีในประเทศพัฒนาแล ้ว เทคโนโลยี
                         ู
                             ้ื                ้
  ปานกลางสามารถซอหาได ้สะดวกและใชง่ายสาหรับคนจน สามารถ
                                                      ี   ั
  เพิมผลิตภาพ (productivity) ได ้โดยก่อความเสยหายทางสงคมน ้อย
      ่
  ทีสด (ถ ้าจะให ้ดี ชาวบ ้านควรสร ้างได ้เองด ้วย)
    ่ ุ
                           ้
• มีราคาถูกและค่าใชจ่ายในการดูแลรักษาตา          ่
                       ่                     ้
• ชาวบ ้านสามารถซอมแซมเองได ้ โดยใชวัตถุดบในท ้องถินิ   ่
• ไม่จาเป็ นต ้องเป็ นเทคโนโลยี “ขันตา”
                                    ้ ่
            ้                      ่                        ่
   – อาจใชผลงานวิจัยล่าสุดได ้ เชน ผ ้ากรองน้ าทีทาจากผ ้าสาหรีเก่าๆ ในบังคลาเทศ
                                                 ่
                                          ื้
     มาจากงานวิจัยเรืองการเดินทางของเชออหิวาตกโรคในน้ า
                     ่
                                                          ้
   – ไดโอดเปล่งแสง (light-emitting diode หรือ LED) ใชไฟฟ้ าน ้อยกว่าหลอด
                                                     ั่
     ไฟฟ้ าธรรมดา 4-5 เท่า แต่อยูได ้นานถึง 50,000 ชวโมง
                                 ่
      ิ้         ื้            ้
• ไม่สนเปลืองเชอเพลิง และใชทรัพยากรทีหาได ้ในท ้องถิน แปลว่ามี
                                       ่            ่
  ความยั่งยืน (sustainable) กว่าเทคโนโลยีชนิดอืน
                                               ่
ตัวอย่างของ „เทคโนโลยีเหมาะสม‟
แนวคิด „Triple Bottom Line‟ และกรอบกฎหมาย/
     ั
สนธิสญญาระหว่างประเทศ
            (People)             (Planet)          (Profit)
            Social               Environment            Economics
                                 Johannesburg
                                 Action Plan
                                                             ภาษี
                                 Rio Declaration             กฎหมายป้ องกันการ
             The International                               ผูกขาด
             Bill of Human       The UN                      UN Anti-Corruption
             Rights              Biodiversity                Convention
                                 Convention                               ี
                                                             มาตรฐานบัญชและ
                                            ่  ่
                                 มาตรฐานอืนๆ เชน             ตรวจสอบบัญช ี
                                 ISO 14000 /                 นานาชาติ


 • ยังมีปัญหาและข ้อถกเถียงกันมาก โดยเฉพาะคาถามว่าจะ
                                                         ่
   คานวณ „ผลลัพธ์สทธิ‟ ของ CSR แต่ละบริษัทได ้อย่างไร (เชน
                     ุ
                                 ื
   บริษัท x จัดโครงการสอนหนังสอเด็กกาพร ้า 1,000 คนทุกปี แต่
     ั้
   „ฮว‟ กับบริษัทคูแข่งล็อกราคาในตลาด)
                   ่
่ ั
การเติบโตของการลงทุนเพือสงคม (SRI) : เม็ด
เงินลงทุนกว่า US$3 ล ้านล ้านทั่วโลก
องค์ประกอบหลักของกองทุนแบบ Socially Responsible Investing (SRI)
• Screening
• Shareholder Advocacy
• Community Investment
ผลตอบแทนของกองทุน SRI ทัดเทียมตลาด




ทีมา: http://www.socialfunds.com/news/article.cgi/article1849.html
  ่                                                                  ทีมา: http://online.wsj.com/public/resources/images/MI-
                                                                       ่
                                                                          AI704C_track_20060831210529.gif
ิ
5. โครงสร ้างเชงสถาบัน
  ในกระบวนทัศน์ใหม่
สถาบันใหม่ๆ ทีผลักดันกระบวนทัศน์ใหม่
              ่
            ่ ั
• มีธรกิจเพือสงคมและเอ็นจีโอเกิดใหม่จานวนมาก เน ้นความรับ
      ุ
  ผิด ความโปร่งใส และดัชนีวดความสาเร็จทีวดได ้
                           ั            ่ ั
    ่
• ชวยโดย „สถาบันเกือหนุนการเปลียนแปลง‟ (change enablers)
                   ้             ่
้          ้              ่ ั
ระบบการเงินดังเดิมไม่เอือต่อการลงทุนเพือสงคม..




       ทีมา: http://www.benetech.org/about/downloads/NothingVenturedFINAL.pdf
         ่
...แต่กาลังมีการสร ้างผลิตภัณฑ์ทางการเงินใหม่ๆ ขึน
                                                 ้
เพือสนับสนุนการลงทุนทางสงคม
   ่                         ั




 ทีมา: http://www.benetech.org/about/downloads/NothingVenturedFINAL.pdf
   ่

More Related Content

Similar to Humane Capitalism

Se(การคลัง 7 55)
Se(การคลัง 7 55)Se(การคลัง 7 55)
Se(การคลัง 7 55)Taraya Srivilas
 
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงSuriyakan Yunin
 
สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53
สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53
สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53Link Standalone
 
ศก พพ กระทรวงการคลัง
ศก พพ กระทรวงการคลังศก พพ กระทรวงการคลัง
ศก พพ กระทรวงการคลังTaraya Srivilas
 
Basic Economics For High School.
Basic Economics For High School.Basic Economics For High School.
Basic Economics For High School.MR.Praphit Faakham
 
New politcs01[3]
New politcs01[3]New politcs01[3]
New politcs01[3]sawinee
 
New politcs01[1]
New politcs01[1]New politcs01[1]
New politcs01[1]sawinee
 
ใต้สู่สันติสุขที่ยั่งยืน
ใต้สู่สันติสุขที่ยั่งยืนใต้สู่สันติสุขที่ยั่งยืน
ใต้สู่สันติสุขที่ยั่งยืนTeeranan
 
Social Enterprise: Introduction and SROI
Social Enterprise: Introduction and SROISocial Enterprise: Introduction and SROI
Social Enterprise: Introduction and SROISarinee Achavanuntakul
 
การขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง
การขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง
การขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงTaraya Srivilas
 
การขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง
การขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง
การขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงTaraya Srivilas
 
เครือข่ายพลังบวก ปลุกพลังบวก เปลี่ยนประเทศไทย
เครือข่ายพลังบวก ปลุกพลังบวก เปลี่ยนประเทศไทยเครือข่ายพลังบวก ปลุกพลังบวก เปลี่ยนประเทศไทย
เครือข่ายพลังบวก ปลุกพลังบวก เปลี่ยนประเทศไทยPoramate Minsiri
 
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์Ornkapat Bualom
 

Similar to Humane Capitalism (20)

Is Capitalism Hostile to the Poor?
Is Capitalism Hostile to the Poor?Is Capitalism Hostile to the Poor?
Is Capitalism Hostile to the Poor?
 
Se(การคลัง 7 55)
Se(การคลัง 7 55)Se(การคลัง 7 55)
Se(การคลัง 7 55)
 
H&f august 10
H&f august 10H&f august 10
H&f august 10
 
Social Enterprise: World & Thailand
Social Enterprise: World & ThailandSocial Enterprise: World & Thailand
Social Enterprise: World & Thailand
 
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53
สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53
สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53
 
ศก พพ กระทรวงการคลัง
ศก พพ กระทรวงการคลังศก พพ กระทรวงการคลัง
ศก พพ กระทรวงการคลัง
 
Basic Economics For High School.
Basic Economics For High School.Basic Economics For High School.
Basic Economics For High School.
 
New politcs01[3]
New politcs01[3]New politcs01[3]
New politcs01[3]
 
New politcs01[1]
New politcs01[1]New politcs01[1]
New politcs01[1]
 
ใต้สู่สันติสุขที่ยั่งยืน
ใต้สู่สันติสุขที่ยั่งยืนใต้สู่สันติสุขที่ยั่งยืน
ใต้สู่สันติสุขที่ยั่งยืน
 
Social Enterprise: Introduction and SROI
Social Enterprise: Introduction and SROISocial Enterprise: Introduction and SROI
Social Enterprise: Introduction and SROI
 
Dsw alther media present 2011
Dsw alther media present 2011Dsw alther media present 2011
Dsw alther media present 2011
 
Citizen Media
Citizen MediaCitizen Media
Citizen Media
 
การขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง
การขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง
การขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง
 
การขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง
การขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง
การขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง
 
88
8888
88
 
เครือข่ายพลังบวก ปลุกพลังบวก เปลี่ยนประเทศไทย
เครือข่ายพลังบวก ปลุกพลังบวก เปลี่ยนประเทศไทยเครือข่ายพลังบวก ปลุกพลังบวก เปลี่ยนประเทศไทย
เครือข่ายพลังบวก ปลุกพลังบวก เปลี่ยนประเทศไทย
 
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 

More from Sarinee Achavanuntakul

Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing? Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing? Sarinee Achavanuntakul
 
How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?Sarinee Achavanuntakul
 
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion ProjectPPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion ProjectSarinee Achavanuntakul
 
Future of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in ThailandFuture of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in ThailandSarinee Achavanuntakul
 
Introduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable BusinessIntroduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable BusinessSarinee Achavanuntakul
 
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the TalkESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the TalkSarinee Achavanuntakul
 
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้Sarinee Achavanuntakul
 
Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to DialogueThailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to DialogueSarinee Achavanuntakul
 
Pursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibilityPursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibilitySarinee Achavanuntakul
 
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์Sarinee Achavanuntakul
 
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016Sarinee Achavanuntakul
 
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทยจาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทยSarinee Achavanuntakul
 
The Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital AgeThe Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital AgeSarinee Achavanuntakul
 
Museum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum LoverMuseum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum LoverSarinee Achavanuntakul
 
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trendsIntroducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trendsSarinee Achavanuntakul
 
Thai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sectorThai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sectorSarinee Achavanuntakul
 

More from Sarinee Achavanuntakul (20)

Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing? Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
 
How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?
 
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion ProjectPPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
 
2021 Coal Situation & Investor View
2021 Coal Situation & Investor View2021 Coal Situation & Investor View
2021 Coal Situation & Investor View
 
Thai Household Debt & COVID-19
Thai Household Debt & COVID-19Thai Household Debt & COVID-19
Thai Household Debt & COVID-19
 
Future of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in ThailandFuture of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in Thailand
 
Introduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable BusinessIntroduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable Business
 
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the TalkESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
 
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
 
Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to DialogueThailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
 
Pursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibilityPursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibility
 
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
 
Game & Social Problems
Game & Social ProblemsGame & Social Problems
Game & Social Problems
 
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
 
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
 
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทยจาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
 
The Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital AgeThe Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital Age
 
Museum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum LoverMuseum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
 
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trendsIntroducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
 
Thai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sectorThai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sector
 

Humane Capitalism

  • 1. ทุนนิยมทีมหวใจ : ่ ี ั ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา สฤณี อาชวานันทกุล Fringer | คนชายขอบ http://www.fringer.org/ ิ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสต, 3 ธันวาคม 2550 ิ งานนีเผยแพร่ภายใต ้ลิขสทธิ์ Creative Commons แบบ Attribution Non-commercial ้ Share Alike (by-nc-sa) โดยผู ้สร ้างอนุญาตให ้ทาซ้า แจกจ่าย แสดง และสร ้างงาน ่ ่ ดัดแปลงจากสวนใดสวนหนึงของงานนีได ้โดยเสรี แต่เฉพาะในกรณีทให ้เครดิตผู ้สร ้าง ไม่ ่ ้ ี่ ้ ิ ์ นาไปใชในทางการค ้า และเผยแพร่งานดัดแปลงภายใต ้ลิขสทธิเดียวกันนีเท่านั น ้ ้
  • 2. หัวข ้อบรรยาย 1. ความเข ้าใจผิดบางประการเกียวกับทุนนิยม มายาคติ ่ ของแนวคิดกระแสหลัก และข ้อเท็จจริง 2. “ทุนนิยมทีมหวใจ” ่ ี ั 3. แนวคิดใหม่ๆ ทีประกอบสร ้างเป็ นกระบวนทัศน์ใหม่ ่ ่ ่ ้ 4. เครืองมือใหม่ๆ ทีใชในภาคปฏิบต ิ ั ิ 5. โครงสร ้างเชงสถาบันในกระบวนทัศน์ใหม่
  • 3. 1. ความเข ้าใจผิดบางประการ และมายา คติของแนวคิดกระแสหลัก
  • 4. ความเข ้าใจผิดบางประการเกียวกับทุนนิยม ่ • “Sample Bias”/ ปั ญหา Black Swan (Nassim Taleb) ี่ – ทาให ้มองไม่เห็นความเสยงของการทาธุรกิจ และไม่เห็นว่า „ผู ้เล่น ทั่วไป‟ ในระบบตลาดคือผู ้ประกอบการรายย่อยและลูกจ ้าง ไม่ใช ่ นายทุนเจ ้าของบริษัทยักษ์ ใหญ่ ิ • ระบบตลาดเป็ นระบบทีนาไปสู่ ประสทธิภาพ สูงสุด ่ ิ – ระบบตลาดสามารถสร ้างประสทธิภาพสูงสุดในการจัดสรรทรัพยากร เพราะเป็ นระบบแบบ self-emerging & chaordic ิ – optimal result เกิดจากการตัดสนใจของผู ้เล่นหลายคนทีคดแต่ ่ ิ ผลประโยชน์ของตัวเองเป็ นหลัก („มือทีมองไม่เห็น‟ ของอดัม สมิธ) ่ แต่ทงนี้ การแข่งขันต ้องเป็ นธรรม แปลว่าผู ้เล่นต ้องมีคณธรรมด ้วย ั้ ุ ิ • ความล ้มเหลวของตลาดเกิดจาก „โครงสร ้างเชงสถาบัน‟ – ความล ้มเหลวของตลาดมักไม่ได ้เกิดจากตัวตลาดเอง หากเกิดจาก ิ ่ ความล ้มเหลวของโครงสร ้างเชงสภาบัน (เชน กฎเกณฑ์ของรัฐ) – การแข่งขันเสรีดารงอยูยาก หากผู ้ครองตลาดมีอานาจสูง ่
  • 5. ลักษณะของระบบเศรษฐกิจทียั่งยืน ่ ิ • มีประสทธิภาพในการจัดสรรทรัพยากรอย่าง „เป็ นธรรม‟ ้ื ี ิ ี ี – มิฉะนันผู ้ยากไร ้ทีปราศจากกาลังซอและไม่มสทธิมเสยงใน ้ ่ ระบอบการเมือง จะยิงเดือดร ้อนขึนเรือยๆ ่ ้ ่ ่ • มองทรัพยากรทีมวันหมด และ „externalities‟ เชน ทุน ่ ี ั่ ธรรมชาติ คอร์รัปชน ฯลฯ ว่าเป็ น „ต ้นทุน‟ ราคาแพง ้ ั ื่ – มิฉะนัน „สมดุลสงคม‟ จะเสอมลงเรือยๆ และในทีสดโลกก็จะ ่ ่ ุ รองรับความต ้องการของมนุษย์ไม่ได ้ • รองรับความหลากหลายของวัฒนธรรม ค่านิยม และวิถ ี ี ิ ชวตของคนในแต่ละท ้องถินได ้ ่ ่ – มิฉะนันความตึงเครียดอาจนาไปสูความขัดแย ้งและความ ้ รุนแรง ่ ไม่ใชระบบทุนนิยมกระแสหล ักในปัจจุบ ัน
  • 6. วิวฒนาการ (?) ของระบบเศรษฐกิจ ั ทุนนิยมเสรีมเพียงบาง ี ธุรกิจในบางประเทศ ใน “ทุนนิยมธรรมชาติ” ระดับเสรีภาพทางเศรษฐกิจ ระดับโลกยังเป็ นทุนนิยม ทุนนิยมเสรี “ทุนนิยมก ้าวหน ้า” สามานย์อยู่ (แนวคิด กระแสหลัก) ของประชาชน ทุนนิยมผูกขาด/ ทุนนิยมในไทยยังเป็ น “ทุนนิยมสามานย์” ทุนนิยมสามานย์/ อยู่ สาเหตุหลักๆ อาจเป็ นเพราะ: ทุนนิยมพวกพ ้อง • ธนกิจการเมืองยังเฟื่ องฟู ั • โครงสร ้างศกดินา/อานาจนิยมยังอยู่ • กฎหมายป้ องกันการผูกขาดไม่มผล ี เศรษฐกิจผูกขาด ั • กฎหมายคุ ้มครองผู ้บริโภค สงคม ฯลฯ โดยรัฐ ้ ยังใชไม่ได ้จริง ระดับความยังยืนของระบบเศรษฐกิจ ่
  • 7. ั ปั ญหาของสงคม: „มายาคติ‟ ทีไม่เป็ นจริง (1) ่ มายาคติ ข้อเท็จจริง ื้ • เงินซอได ้ทุกอย่าง ื้ • เงินซอความสุข, ความ ั • GDP วัด „สุขภาพสงคม‟ ได ้ ปลอดภัย, ฯลฯ ไม่ได ้ ถ ้า • ประโยชน์จากทุนนิยมเสรี จะ กลไกต่างๆ ไม่ทางาน ่ „ไหล‟ ลงมาสูคนทุกระดับชน ั้ • Human Development เอง โดยทีรัฐไม่ต ้อง ่ Index (Amartya Sen) วัด แทรกแซงตลาด – “The ระดับ „ความสุข‟ ของ rising tide lifts all boats” ประชาชนได ้ดีกว่า GDP ่ • รัฐไม่ควรแตะ “สวนเกิน” • ความมังคังของคนจานวน ่ ่ ของคนรวย เพราะสวนเกิน ่ มากมาจากมรดกหรือการเก็ง เหล่านันมาจากการทางาน ้ ่ กาไร ไม่ใชการทางานหนัก ึ่ หนักซงก่อให ้เกิดผลผลิตที่ • “In the long run, we‟re all เป็ นประโยชน์ dead” (John M. Keynes)
  • 8. Genuine Progress Indicator (GPI) แม ้แต่ Simon Kuznets ผู ้คิดวิธวด GDP ก็ไม่เห็นด ้วย ี ั • Genuine Progress Indicator เป็ น กับการใช ้ GDP เป็ นเครืองวัด “สุขภาพ” สงคม เขา ่ ั ั ตัววัด “สุขภาพสงคม” ทีดกว่า ่ ี กล่าวในปี 1962 ว่า GDP เพราะคานวณผลกระทบต่างๆ “The welfare of a nation can scarcely be inferred เป็ น „ต ้นทุน‟ ไม่ใช ่ „รายได ้‟ ของ from a measurement of national income... Goals ประเทศ เชน ่ for “more” growth should specify of what and ้ 1. หักค่าใชจ่ายทืเกิดจาก ่ for what.” อาชญากรรมและการหย่าร ้าง ี 2. หักความเสยหายจากความเสอม ื่ ิ่ โทรมของสงแวดล ้อม และมลภาวะ 3. หักมูลค่าของเวลาพักผ่อนของ ประชากร (ถ ้ามีน ้อยลง) ้ 4. หักค่าใชจ่ายทางทหาร สนค ้า ิ อุปโภคขนาดใหญ่ (ทีมการสก ่ ี ึ หรอ) และสาธารณูปโภค 5. หักมูลค่าของเงินกู ้จากต่างประเทศ ่ ้ ทีใชในการบริโภค • นอกจากนี้ GPI ยังบวกมูลค่าขอ งานทีทาโดยแรงงานนอกระบบ ่ ่ เชน งานบ ้าน งานอาสาสมัคร และ ทีมา: http://www.redefiningprogress.org/projects/gpi/ ่ สะท ้อนความเหลือมล้าทางรายได ้ ่
  • 9. ั ปั ญหาของสงคม: „มายาคติ‟ ทีไม่เป็ นจริง (2) ่ มายาคติ ข้อเท็จจริง ่ • ทุกภาคสวนควรมุงเน ้นการ ่ ิ • ประสทธิภาพอย่างเดียวอาจไม่ทา ิ สร ้างประสทธิภาพสูงสุด ให ้เกิดความเป็ นธรรมในสงคม ั ั (หรืออย่างน ้อยก็สงคมทีม ี ่ อย่างเดียว มนุษยธรรม) : สถานการณ์ทม ี ี่ • เนืองจากระบบตลาดเป็ น ่ เศรษฐีไม่กคนในขณะทีคนหลาย ี่ ่ ระบบทีดทสดในการสร ้าง ่ ี ี่ ุ ล ้านคนต ้องอดอาหารตายอาจ “มี ิ ิ ประสทธิภาพสูงสุด” (Pareto ประสทธิภาพ รัฐจึงควรปล่อย optimal) แล ้ว หากไม่มทางทีจะ ี ่ ให ้ระบบตลาดทางานด ้วยตัว ่ ี ิ ชวยให ้ใครรอดชวตโดยไม่ทาให ้ ของมันเอง ี เศรษฐีเสยประโยชน์ • มีแนวโน ้มสูงทีจะเกิด “ทุนนิยม ่ สามานย์” หากรัฐไม่ควบคุมตลาด อย่างแข็งขันและเป็ นอิสระอย่าง แท ้จริงจากภาคธุรกิจ
  • 10. ระดับความเหลือมล้าทางรายได ้ทีไม่เท่ากันในโลก สะท ้อน ่ ่ ความหลากหลายของรูปแบบเศรษฐกิจการเมือง ทีมา: http://en.wikipedia.org/wiki/Image:World_Map_Gini_coefficient.png ่
  • 12. ั ปั ญหาของสงคม: „มายาคติ‟ ทีไม่เป็ นจริง (3) ่ มายาคติ ข้อเท็จจริง ี ั • สมองมนุษย์มศกยภาพ ิ่ • ปั ญหาสงแวดล ้อมหลาย พอทีจะเข ้าใจการทางานของ ่ ่ ประการ เชน โลกร ้อน กาลัง ธรรมชาติอย่างสมบูรณ์ บ่อนทาลายโลก และชดเจน ั • ธรรมชาติเปรียบเสมือนเป็ น ว่าเกิดจากน้ ามือมนุษย์ „เครืองจักร‟ ทีเดินอย่าง ่ ่ • กฎวิทยาศาสตร์ใหม่ๆ เชน ่ เทียงตรงตามกฎเกณฑ์ ่ Relativity, Uncertainty, แน่นอนตายตัว Incompleteness พิสจน์ู • ดังนัน มนุษย์จงสามารถ ้ ึ ั ชดเจนว่า ความไม่แน่นอน เอาชนะและควบคุมธรรมชาติ ั และความไม่สมบูรณ์เป็ นสจ ั ได ้ ธรรมของโลก และพรมแดน ความรู ้ของมนุษย์แปลว่าไม่ม ี วัน „เอาชนะ‟ ธรรมชาติได ้
  • 13. โลกร ้อนมาเยือนไทย และเห็นได ้ด ้วยตาเปล่า ทีมา: http://www.sarakadee.com/web/modules.php?name=Sections&op=viewarticle&artid=686 ่
  • 14. ั ปั ญหาของสงคม: „มายาคติ‟ ทีไม่เป็ นจริง (4) ่ มายาคติ ข้อเท็จจริง • ทุกบริษัทควรตังเป้ าหมายที่ ้ • ปั ญหาข ้อมูลไม่เท่าเทียมกัน “ผลตอบแทนสูงสุดต่อผู ้ถือ (asymmetric information) ระหว่างผู ้บริหารบริษัทกับผู ้ถือหุ ้น หุ ้น” เพราะผู ้ถือหุ ้นย่อม และระหว่างบริษัทกับผู ้บริโภค/ คานึงถึงประโยชน์ของ ั สงคม ทาให ้เกิดการหลอกลวงและ ่ สวนรวมอยูแล ้ว่ ฉ ้อฉลง่ายและปกปิ ดง่ายด ้วย • ดังนัน บริษัททีมงเน ้น ้ ่ ุ่ • ทุกฝ่ ายมีผลประโยชน์ทับซอน ้ ่ เป้ าหมายนีจะชวยให ้เกิด ้ • แนวโน ้มทีจะได ้กาไรสูงกว่าจาก ่ ่ ั้ การเก็งกาไรระยะสนในตลาดหุ ้น ประโยชน์สงสุดต่อสวนรวม ู เทียบกับเงินปั นผลในระยะยาวทา โดยอัตโนมัต ิ ให ้ผู ้ถือหุ ้น „มักง่าย‟ กว่าทีควร ่ • ผู ้ถือหุ ้นในตลาดหลักทรัพย์ สมัยใหม่ไม่กระจุกตัวเหมือนใน อดีต – „ความเป็ นเจ ้าของ‟ ลดลง
  • 16. ั ปั ญหาของสงคม: „มายาคติ‟ ทีไม่เป็ นจริง (5) ่ มายาคติ ข้อเท็จจริง • ทุกคนควรทาแต่ในสงที่ ิ่ • นอกเหนือจากเงิน ภาคสงคมยัง ั ี่ ตัวเองเชยวชาญทีสด ภาค ่ ุ ต ้องการระบบ & องค์ความรู ้ในการ บริหารจัดการ ซงภาคธุรกิจมี ึ่ ธุรกิจก็ควรทาธุรกิจ ภาค ความรู ้ความเชยวชาญดีทสดี่ ี่ ุ ั สงคมก็ทางานด ้านสงคม ั • ระบบราชการของรัฐยังไร ้ ภาครัฐก็นาเงินภาษี ไปสร ้าง ิ ประสทธิภาพ คอร์รัปชน และไม่ ั่ ระบบสวัสดิการสงคม ั เหลียวแลผู ้ด ้อยโอกาสทีสด ซงไม่ ่ ุ ึ่ ่ ิ ี ี มีสทธิมเสยงในระบอบการเมือง • นักธุรกิจทีอยากชวยเหลือ ่ ั ภาคสงคมนอกเหนือจากเงิน • „สงคมสงเคราะห์‟ ไม่สามารถใช ้ ั ิ แก ้ปั ญหาเชงโครงสร ้าง เชน ความ ่ ภาษี ทจายรัฐ ก็ทาได ้โดย ี่ ่ ี่ ี ิ เสยงในชวตและทรัพย์สน ไม่ม ี ิ ผ่านกิจกรรม „สงคม ั ทีดนทากิน ไร ้การศกษา ฯลฯ ่ ิ ึ สงเคราะห์‟ ต่างๆ เชน การ ่ • ผู ้ทาหน ้าทีบริหารเงินได ้ดีทสดคือ ่ ี่ ุ บริจาค เท่านันก็พอแล ้ว ้ นักการเงิน ไม่ใชนักพัฒนาสงคม ่ ั
  • 17. ั ปั ญหาของสงคม: „มายาคติ‟ ทีไม่เป็ นจริง (6) ่ มายาคติ ข้อเท็จจริง ิ ์ ่ • กรรมสทธิสวนบุคคลเป็ น • คนจานวนมากไม่ได ้สร ้างสรรค์เพือ ่ ปั จจัยสาคัญในการผลักดัน เงิน แต่เพือแบ่งปั นให ้กับผู ้อืน ่ ่ ความเจริญทางเศรษฐกิจ • พืนทีสาธารณะมากมายมีสมาชกใน ้ ่ ิ ชุมชนเป็ นผู ้ร่วมกันดูแลอย่างดีโดย เพราะคนทีสามารถอ ้าง ่ ไม่เคยต ้องมีเอกสารสทธิ ิ „ความเป็ นเจ ้าของ‟ เท่านัน ที่ ้ ิ ์ ี่ • ระบบลิขสทธิทเข ้มงวดคุ ้มครอง จะมีแรงจูงใจในการผลิตงาน ผู ้สร ้างมากเกินไป และนาไปสูการ ่ • „พืนทีสาธารณะ‟ ทีปราศจาก ้ ่ ่ ผูกขาดความรู ้ ต่อยอดไม่ได ้ เจ ้าของจะไร ้คนดูแล • ในหลายกรณี ความเห็นแก่ตวของ ั นักธุรกิจหน ้าเลือดและความไร ้ • ดังนัน รัฐจึงต ้องตีกรอบและ ้ ิ ประสทธิภาพของรัฐ คือสาเหตุท ี่ ิ ์ ่ มอบกรรมสทธิสวนบุคคล พืนทีสาธารณะทรุดโทรม ้ ่ และคุ ้มครองกรรมสทธินันิ ์ ้ ิ • ระบบยอมออกสทธิบตรแม ้กระทั่ง ั อย่างเคร่งครัด ่ ธรรมชาติ เชน DNA, พันธุพช ์ ื
  • 18. ความเคร่งครัดและพรมแดนกว ้างขวางของกฎหมาย ิ ์ ลิขสทธิปัจจุบนเป็ นอุปสรรคต่อการสร ้างสรรค์ ั อดีต ปัจจุบ ัน ่ • ในอดีต งานสร ้างสรรค์สวนใหญ่ไม่ถกควบคุมโดยกฎหมาย แต่ในปั จจุบน งาน ู ั ่ ิ สวนใหญ่อยูภายใต ้กฎหมายลิขสทธิ์ โดยเฉพาะหลังเกิดอินเทอร์เน็ ต (ซงถือ ่ ึ่ เป็ น „ก็อปปี้ ‟ ของงานทุกชนิด) ิ ์ ื • อายุของกฎหมายลิขสทธิยดยาวขึนเรือยๆ เกินระยะเวลาเหมาะสมทีผู ้สร ้างจะ ้ ่ ่ ได ้กาไรจากงานนันไปแล ้ว ทาให ้เป็ นอุปสรรคต่อการสร ้างสรรค์งานใหม่ๆ ้
  • 19. ิ ์ ่ พันธุพชและยีนก็เป็ นกรรมสทธิสวนบุคคลได ้?! ์ ื ทีมา: http://www.etcgroup.org/upload/media_element/26/01/badpats.jpg ่
  • 21. จากทุนนิยมเสรีเทียม สู่ “ทุนนิยมสร ้างสรรค์” เราสามารถทาให้พล ังของตลาดทางานในทางที่ ่ ้ ชวยเหลือผูยากไร้มากขึน หากเราสามารถพ ัฒนาทุน ้ นิยมทีสร้างสรรค์กว่าเดิม หากเราสามารถขยับขยาย ่ พรมแดนของระบบตลาด ให ้คนจานวนมากกว่าเดิม สามารถทากาไรได ้ หรืออย่างน ้อยก็เอาตัวรอดได ้ ในทาง ่ ้ ทีรับใชผู ้ยากไร ้ทีกาลังเดือดร ้อนจากความไม่เท่าเทียมอัน ่ ร ้ายกาจทีสด นอกจากนัน เราก็ยังสามารถกดดันรัฐบาลทั่ว ่ ุ ้ ้ โลกให ้ใชเงินภาษี ไปในทางทีสะท ้อนคุณค่าต่าง ๆ ทีผู ้ ่ ่ ี เสยภาษี เหล่านั นให ้ความสาคัญ อย่างดีขนกว่าเดิม ้ ้ึ ์ - บิล เกตส, 7 มิถนายน 2550 ุ
  • 22. คาถามใหญ่ • เป็ นไปได ้ไหมทีจะทาให ้ทุนนิยมมีความอ่อนโยน ่ ิ่ มากขึน เป็ นมิตรต่อสงแวดล ้อม ชุมชน และ ้ ั สงคมมากขึน โดยไม่ต ้องโยนทิงทังระบบ? ้ ้ ้ • เป็ นไปได ้ไหมทีจะรังสรรค์ „ความเป็ นธรรมใน ่ ั สงคม‟ หรืออย่างน ้อยก็ลดทอนความไม่เท่า ี ิ เทียม โดยไม่ต ้องเสยสละ „ประสทธิภาพ‟ ของ ระบบตลาด? ิ่ ่ ี • “สงทีกดขวางความเปลียนแปลงไม่ใชความ ่ ่ ่ ี ั ้ ห่วงใยทีมไม่พอ หากเป็ นความซบซอนทีมมาก ่ ี ์ เกินไป” – บิล เกตส, 7 มิถนายน 2550 ุ
  • 23. ั การแก ้ปั ญหาทางสงคมให ้เกิดผลจริง ต ้องประสาน จุดแข็งของทุกฝ่ ายเข ้าด ้วยกัน • อานาจรัฐ (กฎหมาย ฯลฯ) ร ัฐ ี่ • ความสามารถในการรับความเสยงทางธุรกิจ • „องค์ความรู ้‟ ด ้านการบริหารจัดการ ธุรกิจ • การจัดหาและบริหารเงินทุน, นวัตกรรมใหม่ๆ ิ • ความรู ้ความเข ้าใจในปั ญหา, ข ้อมูลเชงลึก ชุมชน, NGO • ภูมปัญญาท ้องถิน ิ ่ • “เจ ้าของปั ญหา”, จิตสาธารณะ ประชาชน • “กองทัพมด”
  • 24. กระบวนทัศน์ใหม่ ใน „ภาษา‟ ของธุรกิจ งบกาไรขาดทุน • ไม่หลอกลวงลูกค ้า เอาเปรียบคูค ้า ่ ฉ ้อโกงคูแข่ง หรือตกแต่งตัวเลข ่ รายได ้ ้ • ใชกระบวนการผลิตทีเป็ นมิตรต่อ ่ - ต ้นทุนขาย ิ่ สงแวดล ้อมและชุมชน ้ - ค่าใชจ่ายพนักงาน • ไม่เอาเปรียบแรงงาน/ลูกจ ้าง ้ ้ - ดอกเบีย ค่าใชจ่ายอืนๆ ่ • ไม่โกงภาษี รัฐ - ภาษี = กาไรสุทธิ งบดุล • ไม่สร ้างมูลค่าเทียม ิ สนทรัพย์ = • เจ ้าหนีปล่อยกู ้ตามหลักธรรมาธิบาล ้ เงินกู ้ + ่ สวนของผู ้ถือหุ ้น • ผู ้ถือหุ ้นผลักดันบริษัทให ้รับผิดชอบ
  • 25. จะไปถึงกระบวนทัศน์ใหม่ได ้อย่างไร? แนวคิดใหม่ๆ ทีสร ้างแรงจูงใจ ่ + เครืองมือใหม่ๆ ทีทาให ้แรงจูงใจ ่ ่ เป็ นจริงได ้ + โครงสร ้างเชงสถาบันใหม่ๆ ทีใช ้ ิ ่ แนวคิดและเครืองมืออย่างมี ่ ิ ประสทธิภาพ
  • 26. 3. แนวคิดใหม่ๆ ทีประกอบสร ้างเป็ น ่ กระบวนทัศน์ใหม่
  • 27. ้ ผู ้ใชอินเทอร์เน็ ต 1.1 พันล ้านคน : มหาอานาจใหม่?
  • 28. มหาอานาจใหม่เป็ น „ระบบอุบตเอง‟ ั ิ ทีมา: http://gc.sfc.keio.ac.jp/class/2004_14949/slides/05/17.html ่
  • 29. มหาอานาจใหม่ไม่มผู ้นา แต่จัดการกันเอง ี ทีมา: http://gc.sfc.keio.ac.jp/class/2004_14949/slides/05/17.html ่
  • 30. ประชาธิปไตยทางตรง ้ • เป็ นไปไม่ได ้ทีจะใชประชาธิปไตย ่ ทางตรงแทนทีประชาธิปไตยตัวแทน ่ 100% เพราะอาจนาไปสู่ „เผด็จการ ี เสยงข ้างมาก‟ ่ ้ • แต่เป็ นกลไกทีใชได ้ดีในประเด็นระดับ ่ ่ ท ้องถิน (เชน การตังโรงเรียน การเก็บ ้ ภาษีท ้องถิน) ่ • กฎ 5% popular veto, 5% popular vote, หรือ double majority • E-Democracy ผ่านอินเทอร์เน็ ต ทีมา: http://home.swipnet.se/~w-38823/jiri4.htm ่
  • 31. „หลากหลายนิยม‟ (Cosmopolitanism) • นั กหลากหลายนิยม เป็ นทังพลเมืองของโลก ้ (world citizen) และพลเมืองของชุมชนตัวเอง (community member) ในเวลาเดียวกัน • ไม่มวัฒนธรรมใดในโลกทีปราศจากการปนเปื้ อน ี ่ หรืออิทธิพลจากวัฒนธรรมอืนๆ ่ • นั กหลากหลายนิยมต ้องการสร ้างบทสนทนา ไม่ใช ่ มองว่าทุกคนต ้องเห็นด ้วยกับแนวคิดของตัวเอง (conversation, not agreement) • ยอมรับความแตกต่างและความหลากหลายของคน ี ิ้ อืน แต่ไม่ยอมรับความไร ้ศลธรรมอย่างสนเชง ่ ิ ื่ (moral relativism) เพราะเชอว่ามนุษย์ทกคนควร ุ ้ ี ิ ั ์ ได ้มีโอกาสใชชวตอย่างมีศกดิศรี ดังนั น คุณค่าบาง ้ ประการจึงต ้อง „เป็ นสากล‟ (ประชาคมโลกเห็นพ ้อง ต ้องกัน) • ตัวอย่างของคุณค่าทีควรเป็ นสากล (ต่อรองไม่ได ้) ่ ิ ได ้แก่ สทธิมนุษยชนขันพืนฐาน เสรีภาพในการ ้ ้ ี ิ ดารงชวต (คล ้ายกับแนวคิดของ Amartya Sen)
  • 32. „ทุนนิยมธรรมชาติ‟ : แนวคิดด ้าน „การพัฒนาอัน ่ ี ั ยั่งยืน‟ ทีมความชดเจนเรืองแนวทางปฏิบตทสด ่ ั ิ ี่ ุ ทีมา: http://en.wikipedia.org/wiki/Image:Sustainable_development.svg ่ http://www.housing.gov.za/Content/Housing%20Atlas%2005/document/doc.htm
  • 33. „นิเวศอุตสาหกรรม‟ (Industrial Ecosystem) ทีมา: http://newcity.ca/Pages/industrial_ecology.html ่
  • 34. „Biomimicry‟ : มิตใหม่ของการออกแบบ ิ ทีมา:http://www.alphachimp.com/poptech/ ่ pages/17_Jeanine-Benyus.htm http://biomimicry.net/
  • 35. ั ความรับผิดชอบของธุรกิจต่อสงคม (CSR) “Corporate Social Responsibility is not a cosmetic; it must be rooted in our values. It must make a difference to the way we do our business.” Company X Group Managing Director ความสามารถ ในการแข่งข ัน ธรรมาภิบาล CSR บริษ ัท พฤติกรรม/ ภาวะผูนา ้ คุณธรรมใน ั และวิสยท ัศน์ การดาเนิน ธุรกิจ
  • 36. ประชาชนเรียกร ้องให ้บริษัทมี CSR มากขึน ้ ั คุณคิดว่าบทบาทของบริษ ัทขนาดใหญ่ในสงคมคืออะไร? – The Millennium Poll ทีมา: http://www.environment.gov.au/settlements/industry/finance/publications/respon- ่ investment.html
  • 37. ั CSR มีหลายมิต ิ และตัววัดบางตัวก็เป็ นอัตตวิสย ทีมา: http://www.globescan.com/csrm_research_findings.htm ่
  • 38. ่ ้ 4. เครืองมือใหม่ๆ ทีใชในภาคปฏิบต ิ ั
  • 39. โค ้ดเสรี (open source) ทีมา: http://ocw.mit.edu/NR/rdonlyres/Sloan-School-of- ่ Management/15-352Spring-2005/308C4BBD-FFBF-45F4- 87B8-92C1075F8078/0/karimlakhani_ope.pdf
  • 40. โค ้ดเสรี (open source) ทีมา: http://ocw.mit.edu/NR/rdonlyres/Sloan-School-of-Management/15-352Spring-2005/308C4BBD-FFBF-45F4- ่ 87B8-92C1075F8078/0/karimlakhani_ope.pdf
  • 41. กระบวนการทางานของ open source ทีมา: http://ocw.mit.edu/NR/rdonlyres/Sloan-School-of-Management/15-352Spring-2005/308C4BBD-FFBF-45F4- ่ 87B8-92C1075F8078/0/karimlakhani_ope.pdf
  • 42. โปรแกรมเมอร์และผู ้สนใจทั่วโลก พัฒนา Linux ผ่าน ื่ อินเทอร์เน็ ต สอสารกันเดือนละ 85,000 ข ้อความ ทีมา: http://ocw.mit.edu/NR/rdonlyres/Sloan-School-of-Management/15-352Spring-2005/308C4BBD-FFBF-45F4- ่ 87B8-92C1075F8078/0/karimlakhani_ope.pdf
  • 43. open source เป็ นปรากฏการณ์ของ “Generation X” : ผู ้ร่วมพัฒนา Linux กว่า 60% เป็ นอาสาสมัคร • ้ ใชเวลาทางานให ้โครงการ ั่ Linux เฉลีย 7.5 ชวโมงต่อ ่ ั สปดาห์ • ผู ้ร่วมพัฒนาร ้อยละ 45.4 มี ี อาชพโปรแกรมเมอร์ในชวตจริงี ิ • มีประสบการณ์เขียนโปรแกรม 11 ปี โดยเฉลีย ่ Age ทีมา: http://ocw.mit.edu/NR/rdonlyres/Sloan-School-of-Management/15-352Spring-2005/308C4BBD-FFBF-45F4- ่ 87B8-92C1075F8078/0/karimlakhani_ope.pdf
  • 44. ิ ์ ื ลิขสทธิยดหยุนแบบ Creative Commons ่ ทีมา: http://creativecommons.org/about/licenses/comics1/ ่
  • 45. ิ ์ ื ลิขสทธิยดหยุนแบบ Creative Commons (ต่อ) ่ ทีมา: http://creativecommons.org/about/licenses/comics2/ ่
  • 46. open source ได ้รับความนิยมขึนเรือยๆ ้ ่
  • 47. ิ open source  ความรู ้และศลปะไร ้ขอบเขต
  • 48. „เทคโนโลยีเหมาะสม‟ / „เทคโนโลยีปานกลาง‟ • E. F. Schumacher: „เทคโนโลยีปานกลาง‟ หมายถึง เทคโนโลยีใดๆ ก็ตามทีแพงกว่าเทคโนโลยีปัจจุบันในประเทศกาลังพัฒนา 10 เท่า แต่ ่ ในขณะเดียวกันก็ถกกว่าเทคโนโลยีในประเทศพัฒนาแล ้ว เทคโนโลยี ู ้ื ้ ปานกลางสามารถซอหาได ้สะดวกและใชง่ายสาหรับคนจน สามารถ ี ั เพิมผลิตภาพ (productivity) ได ้โดยก่อความเสยหายทางสงคมน ้อย ่ ทีสด (ถ ้าจะให ้ดี ชาวบ ้านควรสร ้างได ้เองด ้วย) ่ ุ ้ • มีราคาถูกและค่าใชจ่ายในการดูแลรักษาตา ่ ่ ้ • ชาวบ ้านสามารถซอมแซมเองได ้ โดยใชวัตถุดบในท ้องถินิ ่ • ไม่จาเป็ นต ้องเป็ นเทคโนโลยี “ขันตา” ้ ่ ้ ่ ่ – อาจใชผลงานวิจัยล่าสุดได ้ เชน ผ ้ากรองน้ าทีทาจากผ ้าสาหรีเก่าๆ ในบังคลาเทศ ่ ื้ มาจากงานวิจัยเรืองการเดินทางของเชออหิวาตกโรคในน้ า ่ ้ – ไดโอดเปล่งแสง (light-emitting diode หรือ LED) ใชไฟฟ้ าน ้อยกว่าหลอด ั่ ไฟฟ้ าธรรมดา 4-5 เท่า แต่อยูได ้นานถึง 50,000 ชวโมง ่ ิ้ ื้ ้ • ไม่สนเปลืองเชอเพลิง และใชทรัพยากรทีหาได ้ในท ้องถิน แปลว่ามี ่ ่ ความยั่งยืน (sustainable) กว่าเทคโนโลยีชนิดอืน ่
  • 50. แนวคิด „Triple Bottom Line‟ และกรอบกฎหมาย/ ั สนธิสญญาระหว่างประเทศ (People) (Planet) (Profit) Social Environment Economics Johannesburg Action Plan ภาษี Rio Declaration กฎหมายป้ องกันการ The International ผูกขาด Bill of Human The UN UN Anti-Corruption Rights Biodiversity Convention Convention ี มาตรฐานบัญชและ ่ ่ มาตรฐานอืนๆ เชน ตรวจสอบบัญช ี ISO 14000 / นานาชาติ • ยังมีปัญหาและข ้อถกเถียงกันมาก โดยเฉพาะคาถามว่าจะ ่ คานวณ „ผลลัพธ์สทธิ‟ ของ CSR แต่ละบริษัทได ้อย่างไร (เชน ุ ื บริษัท x จัดโครงการสอนหนังสอเด็กกาพร ้า 1,000 คนทุกปี แต่ ั้ „ฮว‟ กับบริษัทคูแข่งล็อกราคาในตลาด) ่
  • 51. ่ ั การเติบโตของการลงทุนเพือสงคม (SRI) : เม็ด เงินลงทุนกว่า US$3 ล ้านล ้านทั่วโลก องค์ประกอบหลักของกองทุนแบบ Socially Responsible Investing (SRI) • Screening • Shareholder Advocacy • Community Investment
  • 52. ผลตอบแทนของกองทุน SRI ทัดเทียมตลาด ทีมา: http://www.socialfunds.com/news/article.cgi/article1849.html ่ ทีมา: http://online.wsj.com/public/resources/images/MI- ่ AI704C_track_20060831210529.gif
  • 53. ิ 5. โครงสร ้างเชงสถาบัน ในกระบวนทัศน์ใหม่
  • 54. สถาบันใหม่ๆ ทีผลักดันกระบวนทัศน์ใหม่ ่ ่ ั • มีธรกิจเพือสงคมและเอ็นจีโอเกิดใหม่จานวนมาก เน ้นความรับ ุ ผิด ความโปร่งใส และดัชนีวดความสาเร็จทีวดได ้ ั ่ ั ่ • ชวยโดย „สถาบันเกือหนุนการเปลียนแปลง‟ (change enablers) ้ ่
  • 55. ้ ่ ั ระบบการเงินดังเดิมไม่เอือต่อการลงทุนเพือสงคม.. ทีมา: http://www.benetech.org/about/downloads/NothingVenturedFINAL.pdf ่
  • 56. ...แต่กาลังมีการสร ้างผลิตภัณฑ์ทางการเงินใหม่ๆ ขึน ้ เพือสนับสนุนการลงทุนทางสงคม ่ ั ทีมา: http://www.benetech.org/about/downloads/NothingVenturedFINAL.pdf ่