Anúncio

Mais conteúdo relacionado

Apresentações para você(20)

Similar a งานส่ง(20)

Anúncio

งานส่ง

  1. รายชื่อกลุม BRAND VALUE ่ นาย ฐิศิวัฒน์ ด่ านประเสริฐ รหัสนักศึกษา 54010911172 นาย ศราวุฒิ ปิ ตะฝ่ าย รหัสนักศึกษา 54010911139 นาย พงศ์ พิสทธิ์ แสนธรรมพล รหัสนักศึกษา ุ 54010911124 นาย พีนิธิ พฤทธิ์พรชนัน รหัสนักศึกษา 54010911041 นาย ธงไท โพธิยนต์ ั รหัสนักศึกษา 54010911027
  2. BRAND VALUE ตราสินค้ า ( BRAND VALUE ) หมายถึง ชื่อ เครื่ องหมายทางการค้า สัญลักษณ์หรื อการออกแบบต่าง ๆ ที่เป็ นการระบุถึงสิ นค้าหรื อบริ การของผูขาย และเพื่อทาให้สินค้าของ ้ ตนเองแตกต่างจากคู่แข่งขัน ในขณะที่ให้ความหมายของตราสิ นค้า ว่าเป็ น เครื่ องหมายทางการค้าที่ตองมีการจัดการผ่านความชานาญในการส่งเสริ ม ้ ่ การตลาด และทาให้เข้าไปอยูในใจของลูกค้าเพื่อให้เกิดการยอมรับใน คุณค่าและคุณสมบัติที่กาหนดไว้ท้ งสิ่ งที่สมผัสได้และสัมผัสไม่ได้ ั ั
  3. มุมมองเกี่ยวกับตราสินค้ าไว้ 3 มุมมอง 1. ตราสินค้ ากับประโยชน์ ในการ ป้ องกันด้ านกฎหมายตราสินค้ า 2. ตราสินค้ ากับประโยชน์ ในการสร้ าง ความสัมพันธ์ 3. ตราสินค้ ากับประโยชน์ ทางด้ าน การเงิน
  4. 1. ตราสิ นค้ ากับประโยชน์ ในการปองกันด้ านกฎหมายตราสิ นค้ า ้ ซึ่งอาจจะเป็ นชื่อ คาอธิบาย สัญลักษณ์ หรื อตราสัญลักษณ์ ของบริ ษทหี บห่ อหรื อบรรจุภณฑ์หรื อแม้กระทัง การโฆษณาที่ ั ั ่ เกี่ยวข้องกับตราสิ นค้าสามารถป้ องกันได้ในด้านของกฎหมาย การจดทะเบียน ยินยอมเป็ นเจ้าของซึ่งสามารถใช้เป็ นข้อบังคับ ด้านกฎหมาย การจดทะเบียนทาให้ตราสิ นค้า นาไปสู่ ความ แตกต่างในตัวผลิตภัณฑ์และความเป็ นเจ้าของและที่สาคัญคือการ สร้างตราสิ นค้าที่มีลกษณะผูกขาดโดยใช้กฎหมายมาช่วย ั
  5.  2. ตราสิ นค้ ากับประโยชน์ ในการสร้ างความสั มพันธ์ การสร้างความสัมพันธ์กบลูกค้าหรื อกลุ่มเป้ าหมายสามารถ ั กระทาได้โดยผ่านกิจกรรมทางการตลาดที่หลากหลายซึ่ งสามารถ ป้ องกันการโจมตีจากคู่แข่งขันได้ แต่ไม่ได้ทาให้ลกษณะของ ั สิ นค้าหรื อบริ การ มีความแตกต่างกันออกไป หากแต่สามารถ สร้างความสัมพันธ์ทางด้านอารมณ์และบทบาท หน้าที่ได้
  6. 3. ตราสิ นค้ ากับประโยชน์ ทางด้ านการเงิน การทาความเข้าใจในเรื่ องตราสิ นค้า นอกจากเป็ นมุมมอง ั ทางด้านกฎหมายและการสร้างความสัมพันธ์กบลูกค้าแล้วยังต้อง พิจารณาถึงประโยชน์ทางด้านการเงินอีกด้วย
  7. 1.ปัจจัยทีส่งผลต่ อการเปลียนแปลงและการเกิดขึนของแนวโน้ ม ่ ่ ้  ่ “Brand” คือ มูลค่าสิ นทรัพย์และคุณค่าของแบรนด์ที่อยูในใจของ ลูกค้าหรื อผูบริ โภค จนทาให้แบรนด์หรื อตราสิ นค้านั้นๆสามารถสร้าง ้ มูลค่าเพิ่มสูงๆให้กบเจ้าของได้ หรื อจะกล่าวถึงประโยชน์ก็คือ แบรนด์หรื อ ั ่ ตราสิ นค้า ที่ไปติดอยูบนตัวสิ นค้าใดสิ นค้าหนึ่ง แล้วสามารถขายในราคาที่ สูงมากกว่าสิ นค้นอื่นๆที่เป็ นสิ นค้าแบบเดียวกันแต่ไม่มี Brand ได้ ตัวอย่าง ั Brand ที่มีมูลค่าสูง คือ brand “Intel” ที่สามารถสร้างมูลค่าให้กบ ผลิตภัณฑ์คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (PC) ได้อย่างมหาศาล แม้วา Intel จะ่ ไม่ใช่ผผลิต PC เลยก็ตาม ู้
  8. External Influences, Internal Influencesปัจจัยภายนอกและปัจจัยภายใน Internal Influences ปัจจัยภายใน การรับรู้ Brand เกิดจากการรับสื่ อผ่านทางโฆษณา หรื อ จากคนรอบข้าง ่่ ครอบครัว เพื่อน ซึ้งใช้brand นั้นอยูวามีประโยชน์อย่างไรทาไมถึงเลือก brand ที่ใช่อยู่ อาจเกิดจากครอบครัวที่ใช้brandนั้ นมานานแล้ว จึงติดbrand นั้นและอาจจะพิจราณา brand นั้นเป็ นอันดับแรก
  9. ความจาเป็ น สิ่ งสาคัญ brand อาทิ แชมพู สบู่ ยาสีฟัน ผงซักฟอก กระเป๋ าถือ เรื่ อยไปจนถึงเครื่ องสาอางต่างๆ แต่เรามักจะเรี ยกที่ “แบรนด์” หรื อ ตรา สิ นค้านั้นๆ โดยตรง เช่น จะไปซื้อ โดฟ ลักส์ คอลเกต บรี ส โค้ช หลุยส์ วิตตอง คลีนิค ลาแมร์ ฯลฯ เทรนด์น้ ีเกิดขึ้นเมื่อไหร่ ยากที่จะบอก รู ้แค่เพียง มันเกิดขึ้นแล้ว และโอกาสที่จะกลับไปในโลกลักษณะเดิมที่จะเรี ยกสิ นค้า ตามประเภทคงจะไม่มี ในฐานะที่เป็ นนักการตลาดหรื อเจ้าของสิ นค้าควร จะจับตามองปรากฏการณ์น้ ี และให้ความสาคัญกับการปรับตัวให้เข้าไปอยู่ ในโลกของผูบริ โภคปั จจุบนให้ได้ ว่าทาอย่างไรตราสิ นค้าเราจึงจะเป็ นที่ ้ ั หนึ่งในใจของผูบริ โภคได้ ้
  10. แรงจูงใจ แรงจูงใจ เกิดจากแรงผลักดันของคนรอบข้าง ที่ใช้แบรนด์ใดแบรนด์ หนึ่งอย่างต่อเนื่องแล้วมีผคนอีกหลายคนยอมรับแบรนด์ดงกล่าวว่าดี จึง ู้ ั เกิดแรงจูงใจให้บุคคลนั้นเลือกที่จะใช้แบรนด์ดงกล่าวด้วย เช่น เราเห็น ั โฆษณาสิ นค้าแบรนด์หนึ่งแล้วมีผบริ โภคมีการบริ โภคอย่างแพร่ หลายจึง ู้ เกิดแรงจูงใจที่จะใช้แบรนด์น้ นแม้จะไม่รู้วาแบรนด์น้ นดีหรื อไม่ดีก็ตาม ั ่ ั
  11. ทัศนคติ ความสัมพันธต่อตรา (Brand Relationship)ที่ดีต่อลูกค้า ทาให้เกิด ความเชื่อถือในแบรนด์ เมื่อออกสิ นค้าใหม่ ๆ ลูกค้าก็ตดสิ นใจซื้อแบรนด์ ั นั้นไม่ยาก เนื่องมาจาก ประวัติตรา ภาพพจน์ และสังคมตรา(Brand Association)
  12. External Influences ปั จจัยภายนอก ชนชั้นทางสังคม คนบางคนซื้อ brand ที่มีราคาสูงเพื่อบ่งบอกชนชั้นทางสังคม หรื อ การซื้อbrand เข้าสังคม เพราะbrand บางอย่างสามารถบอกได้ถึงชนชั้นทาง สังคม
  13. สถานภาคทางสังคม จากการสารวจผูบริ โภคคนไทย พบว่ากลุ่มใหญ่สุด คือกลุ่มมองหาสภา ้ นภาพของตนเอง เป็ นกลุ่มที่ห่วงภาพลักษณ์ตนเอง และต้องการมีสถานภาพที่ดี ทางสังคม โดยผูบริ โภคชาวไทยติดอันดับ 1 ในผลสารวจประเด็นใช้แบรนด์เพื่อ ้ เสริ มภาพลักษณ์และสถานภาพให้ดูดี ไฮโซในสังคม ในสัดส่วนถึง 92% จาก ่ ค่าเฉลี่ยเอเชียอยูที่ 74% ทั้งนี้ แนวโน้มของผูบริ โภคคนไทยที่ใช้แบรนด์เนม เสริ ม ้ ภาพลักษณ์ไฮโซ และสถานภาพทางสังคม มีแนวโน้มสูงกว่าค่าเฉลี่ยของเอเชีย ตั้งแต่ปี 2550-2554 และเชื่อว่าปี นี้ค่าเฉลี่ยยังอยูในอันดับต้นๆ แม้วาภาพรวม ่ ่ เศรษฐกิจจะอยูในภาวะถดถอย แต่กลุ่มผูบริ โภคที่มีฐานะยังคงให้ความสาคัญกับ ่ ้ การใช้แบรนด์เนมและการจับจ่าย “การห่วงภาพลักษณ์และสถานภาพทางสังคมของคนไทย รวมทั้งการ เลือกใช้แบรนด์เนมเพื่อเสริ มภาพลักษณ์ให้ดูดี
  14. วัฒนธรรม  สินค้ าที่กลุมคนกลุมคนหนึงใช้ แล้ วรู้สกประทับใจและใช้ แบรนด์ ่ ่ ่ ึ นันมาเป็ นเวลายาวนาน จึงเกิดวัฒนธรรมในการใช้ แบรนด์ใดแบ ้ รนด์หนึงอย่างต่อเนื่องโดยการบอกกันโดยปากต่อ ่
  15. Company background
  16. บริษัท TOYOTA  เริ่ มต้นขึ้นในปี 2499 ภายใต้การดาเนินงานของบริ ษท โตโยต้า มอเตอร์ เซลส์ จากัด ั ้ นับเป็ นโตโยต้าสาขาแรกที่กาวออกมาเติบโตนอกตลาดประเทศญี่ปุ่น โดยดาเนิ น กิจการนาเข้ารถยนต์สาเร็ จรู ปทั้งรถยนต์นง และรถบรรทุกซึ่งรถยนต์ในยุคแรกๆ ที่โต ั่ โยต้านาเข้ามาทาตลาดในเมืองไทย อาทิ TOYO-ACE, STOUT,MS 40, DA, LAND CRUISER ตลอดระยะเวลานับตั้งแต่โตโยต้ารุ กเข้าสู่ ตลาดเมืองไทย ความทุ่มเทของโตโยต้า คือ ความพยายามที่จะตอบสนองความต้องการสูงสุดของลูกค้า ทั้งในกระบวนการผลิต ระดับมาตรฐานโลก เทคโนโลยีล้ าสมัย รวมถึงการสานึกต่อสิ่ งแวดล้อม คุณภาพการ บริ การ การมุ่งพัฒนาบุคลากร และการขยายกิจการ ปัจจุบน TOYOTA กลายเป็ นหนึ่ งในบริ ษทรถยนต์ช้ นนาของประเทศไทย ที่มี ั ั ั ทุนจดทะเบียน 7,520 ล้านบาท ด้วยกาลังการผลิต 100,000 คันต่อปี มีพนักงานบริ ษท ั กว่า 5,000 คน มีเครื อข่ายผูแทนจาหน่าย 89 แห่ง 241 โชว์รูมมีเครื อข่ายสนับสนุนจาก ้ บริ ษทผูผลิตชิ้นส่ วน 151 ราย ั ้
  17. Business Analysis มูลค่ าของตลาดทั้งหมด Market Size ส่ วนแบ่งตลาดรถยนต์(คัน) ตลาดรวม 555,515 366,332 +52% บริ ษท ั (มกราคม-กันยายน 53) (มกราคม-กันยายน52) เติบโต  โตโยต้า 225,557 153,880 +47%  อีซูซุ 105,659 75,158 +41%  ฮอนด้า 82,063 62,999 +30%  นิสสัน 38,043 19,768 +92%  มิตซูบิชิ 26,614 12,229 +118%  มาสด้า 25,763 7,535 +242%  เชฟโรเลต 13,706 10,456 +31%  ฟอร์ด 7,084 5,235 +35%  ซูซูกิ 3 ,932 1,696 +132%
  18. ส่ วนแบ่ งตลาดส่ งออกรถยนต์ สาเร็จรู ป Market Chare ยีห้อ ่ 03 (ม.ค.-ต.ค.) 02 (ม.ค.-ต.ค.) ส่วนแบ่งตลาด โตโยต้า 150,176 103,712 36.3 % อีซูซุ 106,093 72,846 24.9 % ฮอนด้า 55,426 42,978 13 % นิสสัน 34,668 36,084 8.1 % มิตซูบิชิ 27,261 25,752 6.4 %
  19. คู่แข่ งขันบริษัทโตโยต้ า บริษท ฮอนด้ า ั จุดแข็ง (Strengths)  1. แบรนด์แข็งแกร่ ง  2. ราคาขายต่อดี  3. เป็ นรถครอบครัว ใช้ ได้ หลายโอกาส  4. ภาพพจน์ที่ดหรู หราระดับหนึ่ง ู จุดอ่อน (Weaknesses)  1. อัตราการบริ โภคน ้ามันที่สง น ้าหนักรถเยอะเมือเทียบกับเครื่องยนต์ ู ่  2. ไม่ได้ เป็ นรถที่สามารถลุยได้ ทกถนน ุ  3. ราคาอะไหล่ยงสูงอยู่ ั  4. ต้ องใช้ ช่างที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะ
  20. คู่แข่ งขันบริษัทโตโยต้ า บริษท นิสสัน ั จุดแข็ง (Strengths)  รถยนต์ Nissan March ซึงเป็ นรถ eco car ได้ เปรียบทางด้ านการ ่ ประหยัดน ้ามันในพวกรถยนต์ขนาดเล็กเมือเทียบกับ Toyota Yaris ซึง ่ ่ ตอนนี ้ได้ รับความเป็ นที่นิยมเป็ นอย่างมากในตลาดและสภาวะเศรษฐกิจ แบบนี ้ผู้บริโภคจึงมองว่าเป็ นความคุ้มค่า และรถยนต์ Nissan Teana ก็ กาลังได้ รับความนิยมเพราะจุดเด่นอยู่ที่ความสะดวกสบายในตัวรถ ความ กว้ างของตัวรถยนต์ซงนังสบายกว่า Toyota Camry และด้ วย ึ่ ่ รูปลักษณ์ที่ดแปลกไปจากเดิมจึงทาให้ กาลังได้ รับความนิยม ู จุดอ่อน (Weaknesses)  จะเสียเปรียบ Toyota เรื่องระบบ Hybrid และรถรุ่นกลางอย่าง Nissan Tida ยังไม่ได้ รับความนิยมสักเท่าไรเพราะมีค่แข่งอย่าง ู Toyota altis หรือไม่ว่าจะเป็ น Honda Civic เป็ นตัวครองตลาด รถขนาดกลางอยู่มานานแล้ ว
  21. คู่แข่ งขันบริษัทโตโยต้ า บริษัท ฟอร์ ดประเทศไทย จุดแข็ง (Strengths)  บริ ษัท ฟอร์ ด ประเทศไทย มีการนาบุคคลากรด้ านการบริ หาร จากต่างประเทศ ที่มีประสบการณ์สง และมีความสามารถมา ู บริหารงานในประเทศไทย ทาให้ เกิดศักยภาพสูง จุดอ่อน (Weaknesses)  อาจเกิดการซื ้อตัวบุคคลากรที่มีศกยภาพ โดยบริ ษัทคูแข่ง ที่มี ั ่ ส่วยแบ่งในตลาดสูงกว่า
  22. 6W 1 H  ่ What ซื้อความสะดวก สบาย รู ปลักษณ์ สมรรถนะของรถยนต์วา ตรงต่อความต้องการของ ลูกค้าในแบบใด เช่น Toyota Prius เน้นในเรื่ อง การประหยัดน้ ามันและรู ปลักษณ์ที่ทนสมัย ั และ Toyota Vigo เน้นเรื่ องบรรทุกสิ่ งของข้างหลังเพราะเป็ นรถปิ คอัพ  Who กลุ่มลูกค้าที่มาซื้อรถยนต์ Toyota เจาะจงกลุ่มบุคคลที่มีฐานะและรายปานกลาง ส่วนหนึ่ง มีอาชีพรับราชการ ลูกค้าส่วนใหญ่อยูในเขตกรุ งเทพมหานครและต่างจังหวัด กลุ่มประเภท ่ generation X และ generation Y  When จะขายรถได้เมื่อลูกค้ามีความต้องการและกาลังการซื้อ เช่น เทศกาลปี ใหม่ที่ลูกค้าส่วน ่ ใหญ่ได้โบนัสหรื อของขวัญที่พอแม่ซ้ือให้ลูกเมื่อศึกษาจบปริ ญญา ตรี เป็ นต้น  Why เป็ นความต้องของลูกค้าที่ซ้ือผลิตภัณฑ์เป็ นเพราะ ชอบใน แบรนด์ ของรถยนต์หรื อชอบ ั ในรู ปลักษณ์ ภายนอกหรื อสมรรถนะก็ได้หรื อมีทศนคติที่ดีกบ Toyota ั
  23. Where โชว์รูม Toyota ที่ให้บริ การตามจังหวัดต่างๆที่ใกล้และสะดวกกับผูที่สนใจหรื อศูนย์ที่ ้ อยูตามอาเภอที่อาศัยอยู่ ่  Whom นักธุ รกิจ ข้าราชการ หรื อ พ่อแม่ที่ตองการซื้อรถไว้ใช้งาน ้  How เมื่อมีโปรโมชันหรื อลูกค้าได้เข้าไปดูรถตาม Boot Toyota ที่ทางศูนย์ได้จดไว้โดยอาจจะมี ่ ั โปรโมชันควบคู่ไปด้วย ่
  24. Segmentation การแบ่ งส่ วนตลาด -เกณฑ์ประชากรศาสตร์  เราจะเน้ นกลุมบุคคลที่มีฐานะและรายปานกลาง ส่วนหนึงมีอาชีพรับ ่ ่ ราชการ กลุมประเภท generation X และ generation Y ่ -เกณฑ์ทางภูมิศาสตร์  มีโชว์รูมคลอบคลุมทัวประเทศแบ่งแยกออกไปตามจังหวัดหรื ออาเภอ ่ ต่างๆ -พฤติกรรม  ผู้ที่ต้องการแสดงฐานะตนเอง  ผู้ที่ต้องการความสะดวกสบาย  นักเดินทาง
  25. Targeting ตลาดเปาหมาย ้ -ตลาดมุงเฉพาะส่วน ่  เป็ นการเลือกส่วนตลาดเพียงส่วนเดียวโดยให้ ตรงต่อความ ต้ องการของผู้บริโภคและสร้ างความพึงพอใจให้ ผ้ บริ โภคได้ ตรง ู ส่วน  ข้ อดี คือ สามารถเจาะเข้ าถึงกลุมผู้บริ โภคได้ ตรงกลุมเปาหมาย ่ ่ ้
  26. Positioning การวางตาแหน่ งผลิตภัณฑ์ -แนวคิดในการบริการที่ "พร้ อมจะมอบความพอใจสูงสุด ให้ กบลูกค้ า โดยประกันการสร้ างคุณภาพในทุกกระบวนการ" ั ผสานกับความมุงมันของเหล่าพนักงานโตโยต้ า คือเบื ้องหลัง ่ ่ ความสาเร็จของโตโยต้ า ที่ผลักดันให้ บริ ษัทฯ ครองความเป็ น อันดับหนึงของผู้ผลิตรถยนต์ในประเทศไทยมาอย่างต่อเนื่อง ่
  27. STP
  28. การตลาดToyota หรื อ 4P's Product - ตัวสิ นค้าคือรถยนต์ยห้อ TOYOTA เป็ นรถยนต์ที่ ี่ มีราคาไม่สูงมากนัก เพียบพร้อมทั้งการออกแบบที่สวยงามกว่า รุ่ นก่อนๆที่เคยได้ผลิตออกมา และด้วยตราสิ นค้าที่มีมานานแล้ว จะทาให้ความน่าเชื่ อถือของสิ นค้ามีมากตามไปด้วย การออกแบบ ที่เป็ นเอกลักษณ์ของตัวสิ นค้าสร้างการจดจาได้ง่ายขึ้น
  29. Price- ทางด้านราคามีราคาที่ไม่สูงมากซึ่ งถ้าเปรี ยบเทียบกับ คู่แข่งแล้วจะมีราคาที่ต่ากว่า ซึ่ งจะช่วยทาให้กลุ่มเป้ าหมายนั้นมี การตัดสิ นใจที่ง่ายขึ้นด้วย เนื่ องจากกลุ่มเป้ าหมายนั้นให้ ความสาคัญกับราคาด้วย และด้วยราคาของสิ นค้าในขณะนี้ น้ น ั เหมาะสมกับ Product Life Cycle ในขณะนี้
  30. Place - การจัดจาหน่ายสิ นค้านั้นก็จะมีจาหน่ายทัวไปตาม ่ โชว์รูมของ TOYOTA ซึ่ งในปั จจุบนนี้ก็ได้มีโชว์รูมเกิดขึ้นมา ั มากมายเพื่อทาให้ลูกค้าเกิดความสะดวกสบายมากที่สุดในการที่ จะไปติดต่อสอบถามหรื อบริ โภคสิ นค้า มีการใช้กลยุทธ์เพื่อดึงดูด ลูกค้าให้เข้ามาติดต่อหาข้อมูลที่โชว์รูมโดยใช้โฆษณาเป็ นสื่ อใน การส่ งข่าวสาร
  31. Promotion - สื่ อที่ใช้ในการโฆษณาเป็ นสื่ อหลักคือโทรทัศน์ เพราะว่าสามารถเข้าถึงผูบริ โภคได้ง่าย และสามารถกระตุนความ ้ ้ สนใจและความต้องการได้ดวยการใช้ภาพและเสี ยง และสื่ อเสริ ม ้ จะเป็ นพวกนิตยสารต่าง ซึ่ งภายในนิตนสารนั้นจะให้รายละเอียด ต่างๆไว้มากกว่าในโทรทัศน์เพื่อที่จะให้กลุ่มเป้ าหมายได้รับรู ้ ข่าวสารอย่างเพียงพอแก่ความต้องการ
  32. สรุป การจะสร้างตราสิ นค้าให้ประสบความสาเร็ จในยุคนี้ไม่ใช่เริ่ มต้นด้วย การจ้างบริ ษทรับสร้าง brand มาเป็ นที่ปรึ กษาหรื อเริ่ มด้วยการจ้างบริ ษท ั ั agency โฆษณาดังๆ มาทาโฆษณาให้ แต่ในทางกลับกันควรที่จะเริ่ มต้น ว่าบริ ษทควรหาคนที่มีความเข้าใจทั้งในธุรกิจและขั้นตอนการสร้างตรา ั สิ นค้าของคุณว่าเราจะเริ่ มขั้นตอนไปในทางที่ถูกต้องหรื อไม่ ต้องเริ่ ม จากตรงไหน คือ ขั้นตอนแรกของการสร้างตราสิ นค้า ซึ่งต้องมีความ สอดคล้องกับการวางตาแหน่งคุณค่าของตราสิ นค้าบ่งบอกถึงประโยชน์ ของสิ นค้า บ่งบอกถึงประเภทของสิ นค้าหรื อบริ การ บ่งบอกถึงคุณภาพ ของสิ นค้า ออกเสี ยงได้ง่าย เป็ นที่รู้จกและจดจาได้ง่าย เป็ นชื่อสั้นๆ ั ต้องมีความโดดเด่น ต้องระมัดระวังไม่ให้มีความหมายที่ไม่ดีเมื่อใช้ แล้วค่อยไปถึงเรื่ องความเกี่ยวพันธ์ทางบวกต้องสามารถสื่ อถึง ความหมายของตราสิ นค้าได้
  33. ข้ อเสนอแนะ อย่าปล่อยให้คนที่ไม่เข้าใจในธุ รกิจของคุณอย่างถ่องแท้มา ั กาหนดชะตาชีวิตให้กบธุ รกิจของคุณโดยพยายามที่จะสร้าง brand ของคุณโดยวิธี copy โดยเด็จขาด มิฉะนั้นจะเสี ยเงินฟรี หรื อ โดนเลียนแบบตราสิ นค้าได้
Anúncio