SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 31
Baixar para ler offline
นาย ฐิศิวัฒน์ ด่ านประเสริ ฐ รหัสนักศึกษา   54010911172
นาย ศราวุฒิ ปิ ตะฝ่ าย       รหัสนักศึกษา   54010911139
นาย พงศ์ พสุทธิ์ แสนธรรมพล รหัสนักศึกษา
           ิ                                54010911124
นาย พีนิธิ พฤทธิ์พรชนัน      รหัสนักศึกษา   54010911041
นาย ธงไท โพธิยันต์           รหัสนักศึกษา   54010911027
BRAND VALUE
ตราสินค้ า ( BRAND VALUE )
        หมายถึง ชื่อ เครื่ องหมายทางการค้า สัญลักษณ์หรื อการออกแบบต่าง
ๆ ที่เป็ นการระบุถึงสิ นค้าหรื อบริ การของผูขาย และเพื่อทาให้สินค้าของ
                                             ้
ตนเองแตกต่างจากคู่แข่งขัน ในขณะที่ให้ความหมายของตราสิ นค้า ว่าเป็ น
เครื่ องหมายทางการค้าที่ตองมีการจัดการผ่านความชานาญในการส่งเสริ ม
                              ้
                                ่
การตลาด และทาให้เข้าไปอยูในใจของลูกค้าเพื่อให้เกิดการยอมรับใน
คุณค่าและคุณสมบัติที่กาหนดไว้ท้ งสิ่ งที่สมผัสได้และสัมผัสไม่ได้
                                     ั     ั
มุมมองเกี่ยวกับตราสินค้ าไว้ 3 มุมมอง

    1. ตราสินค้ ากับประโยชน์ ในการ
    ป้ องกันด้ านกฎหมายตราสินค้ า

        2. ตราสินค้ ากับประโยชน์ ในการสร้ าง
        ความสัมพันธ์

             3. ตราสินค้ ากับประโยชน์ ทางด้ าน
             การเงิน
   1. ตราสิ นค้ ากับประโยชน์ ในการปองกันด้ านกฎหมายตราสิ นค้ า
                                      ้
          ซึ่งอาจจะเป็ นชื่อ คาอธิบาย สัญลักษณ์ หรื อตราสัญลักษณ์
    ของบริ ษทหี บห่ อหรื อบรรจุภณฑ์หรื อแม้กระทัง การโฆษณาที่
               ั                  ั               ่
    เกี่ยวข้องกับตราสิ นค้าสามารถป้ องกันได้ในด้านของกฎหมาย
    การจดทะเบียน ยินยอมเป็ นเจ้าของซึ่งสามารถใช้เป็ นข้อบังคับ
    ด้านกฎหมาย การจดทะเบียนทาให้ตราสิ นค้า นาไปสู่ ความ
    แตกต่างในตัวผลิตภัณฑ์และความเป็ นเจ้าของและที่สาคัญคือการ
    สร้างตราสิ นค้าที่มีลกษณะผูกขาดโดยใช้กฎหมายมาช่วย
                         ั
 2. ตราสิ นค้ ากับประโยชน์ ในการสร้ างความสั มพันธ์
        การสร้างความสัมพันธ์กบลูกค้าหรื อกลุ่มเป้ าหมายสามารถ
                               ั
  กระทาได้โดยผ่านกิจกรรมทางการตลาดที่หลากหลายซึ่ งสามารถ
  ป้ องกันการโจมตีจากคู่แข่งขันได้ แต่ไม่ได้ทาให้ลกษณะของ
                                                   ั
  สิ นค้าหรื อบริ การ มีความแตกต่างกันออกไป หากแต่สามารถ
  สร้างความสัมพันธ์ทางด้านอารมณ์และบทบาท หน้าที่ได้
   3. ตราสิ นค้ ากับประโยชน์ ทางด้ านการเงิน
         การทาความเข้าใจในเรื่ องตราสิ นค้า นอกจากเป็ นมุมมอง
                                               ั
    ทางด้านกฎหมายและการสร้างความสัมพันธ์กบลูกค้าแล้วยังต้อง
    พิจารณาถึงประโยชน์ทางด้านการเงินอีกด้วย
1.ปัจจัยทีส่งผลต่ อการเปลียนแปลงและการเกิดขึนของแนวโน้ ม
          ่               ่                 ้
                                                                 ่
          “Brand” คือ มูลค่าสิ นทรัพย์และคุณค่าของแบรนด์ที่อยูในใจของ
    ลูกค้าหรื อผูบริ โภค จนทาให้แบรนด์หรื อตราสิ นค้านั้นๆสามารถสร้าง
                 ้
    มูลค่าเพิ่มสูงๆให้กบเจ้าของได้ หรื อจะกล่าวถึงประโยชน์ก็คือ แบรนด์หรื อ
                        ั
                           ่
    ตราสิ นค้า ที่ไปติดอยูบนตัวสิ นค้าใดสิ นค้าหนึ่ง แล้วสามารถขายในราคาที่
    สูงมากกว่าสิ นค้นอื่นๆที่เป็ นสิ นค้าแบบเดียวกันแต่ไม่มี Brand ได้
    ตัวอย่าง
                                                                         ั
          Brand ที่มีมูลค่าสูง คือ brand “Intel” ที่สามารถสร้างมูลค่าให้กบ
    ผลิตภัณฑ์คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (PC) ได้อย่างมหาศาล แม้วา Intel จะ่
    ไม่ใช่ผผลิต PC เลยก็ตาม
           ู้
External Influences, Internal Influencesปัจจัยภายนอกและปัจจัยภายใน
 Internal Influences ปัจจัยภายใน
 การรับรู้
          Brand เกิดจากการรับสื่ อผ่านทางโฆษณา หรื อ จากคนรอบข้าง
                                        ่่
    ครอบครัว เพื่อน ซึ้งใช้brand นั้นอยูวามีประโยชน์อย่างไรทาไมถึงเลือก
    brand ที่ใช่อยู่ อาจเกิดจากครอบครัวที่ใช้brandนั้ นมานานแล้ว จึงติดbrand
    นั้นและอาจจะพิจราณา brand นั้นเป็ นอันดับแรก
ความจาเป็ น
          สิ่ งสาคัญ brand อาทิ แชมพู สบู่ ยาสีฟัน ผงซักฟอก กระเป๋ าถือ
  เรื่ อยไปจนถึงเครื่ องสาอางต่างๆ แต่เรามักจะเรี ยกที่ “แบรนด์” หรื อ ตรา
  สิ นค้านั้นๆ โดยตรง เช่น จะไปซื้อ โดฟ ลักส์ คอลเกต บรี ส โค้ช หลุยส์
  วิตตอง คลีนิค ลาแมร์ ฯลฯ เทรนด์น้ ีเกิดขึ้นเมื่อไหร่ ยากที่จะบอก รู ้แค่เพียง
  มันเกิดขึ้นแล้ว และโอกาสที่จะกลับไปในโลกลักษณะเดิมที่จะเรี ยกสิ นค้า
  ตามประเภทคงจะไม่มี ในฐานะที่เป็ นนักการตลาดหรื อเจ้าของสิ นค้าควร
  จะจับตามองปรากฏการณ์น้ ี และให้ความสาคัญกับการปรับตัวให้เข้าไปอยู่
  ในโลกของผูบริ โภคปั จจุบนให้ได้ ว่าทาอย่างไรตราสิ นค้าเราจึงจะเป็ นที่
                   ้          ั
  หนึ่งในใจของผูบริ โภคได้
                     ้
แรงจูงใจ
        แรงจูงใจ เกิดจากแรงผลักดันของคนรอบข้าง ที่ใช้แบรนด์ใดแบรนด์
  หนึ่งอย่างต่อเนื่องแล้วมีผคนอีกหลายคนยอมรับแบรนด์ดงกล่าวว่าดี จึง
                            ู้                            ั
  เกิดแรงจูงใจให้บุคคลนั้นเลือกที่จะใช้แบรนด์ดงกล่าวด้วย เช่น เราเห็น
                                               ั
  โฆษณาสิ นค้าแบรนด์หนึ่งแล้วมีผบริ โภคมีการบริ โภคอย่างแพร่ หลายจึง
                                   ู้
  เกิดแรงจูงใจที่จะใช้แบรนด์น้ นแม้จะไม่รู้วาแบรนด์น้ นดีหรื อไม่ดีก็ตาม
                               ั            ่         ั
ทัศนคติ
        ความสัมพันธต่อตรา (Brand Relationship)ที่ดีต่อลูกค้า ทาให้เกิด
  ความเชื่อถือในแบรนด์ เมื่อออกสิ นค้าใหม่ ๆ ลูกค้าก็ตดสิ นใจซื้อแบรนด์
                                                      ั
  นั้นไม่ยาก เนื่องมาจาก ประวัติตรา ภาพพจน์ และสังคมตรา(Brand
  Association)
External Influences ปั จจัยภายนอก
ชนชั้นทางสังคม
        คนบางคนซื้อ brand ที่มีราคาสูงเพื่อบ่งบอกชนชั้นทางสังคม หรื อ
  การซื้อbrand เข้าสังคม เพราะbrand บางอย่างสามารถบอกได้ถึงชนชั้นทาง
  สังคม
สถานภาคทางสังคม
       จากการสารวจผูบริ โภคคนไทย พบว่ากลุ่มใหญ่สุด คือกลุ่มมองหาสภา
                         ้
นภาพของตนเอง เป็ นกลุ่มที่ห่วงภาพลักษณ์ตนเอง และต้องการมีสถานภาพที่ดี
ทางสังคม โดยผูบริ โภคชาวไทยติดอันดับ 1 ในผลสารวจประเด็นใช้แบรนด์เพื่อ
                    ้
เสริ มภาพลักษณ์และสถานภาพให้ดูดี ไฮโซในสังคม ในสัดส่วนถึง 92% จาก
                  ่
ค่าเฉลี่ยเอเชียอยูที่ 74% ทั้งนี้ แนวโน้มของผูบริ โภคคนไทยที่ใช้แบรนด์เนม เสริ ม
                                                 ้
ภาพลักษณ์ไฮโซ และสถานภาพทางสังคม มีแนวโน้มสูงกว่าค่าเฉลี่ยของเอเชีย
ตั้งแต่ปี 2550-2554 และเชื่อว่าปี นี้ค่าเฉลี่ยยังอยูในอันดับต้นๆ แม้วาภาพรวม
                                                    ่                ่
เศรษฐกิจจะอยูในภาวะถดถอย แต่กลุ่มผูบริ โภคที่มีฐานะยังคงให้ความสาคัญกับ
                ่                            ้
การใช้แบรนด์เนมและการจับจ่าย
       “การห่วงภาพลักษณ์และสถานภาพทางสังคมของคนไทย รวมทั้งการ
เลือกใช้แบรนด์เนมเพื่อเสริ มภาพลักษณ์ให้ดูดี
วัฒนธรรม

     สินค้ าที่กลุมคนกลุมคนหนึงใช้ แล้ วรู้สกประทับใจและใช้ แบรนด์
                   ่     ่     ่             ึ
      นันมาเป็ นเวลายาวนาน จึงเกิดวัฒนธรรมในการใช้ แบรนด์ใดแบ
        ้
      รนด์หนึงอย่างต่อเนื่องโดยการบอกกันโดยปากต่อ
              ่
Company background
บริษัท TOYOTA
   เริ่ มต้นขึ้นในปี 2499 ภายใต้การดาเนินงานของบริ ษท โตโยต้า มอเตอร์ เซลส์ จากัด
                                                         ั
                                  ้
    นับเป็ นโตโยต้าสาขาแรกที่กาวออกมาเติบโตนอกตลาดประเทศญี่ปุ่น โดยดาเนิ น
    กิจการนาเข้ารถยนต์สาเร็ จรู ปทั้งรถยนต์นง และรถบรรทุกซึ่งรถยนต์ในยุคแรกๆ ที่โต
                                             ั่
    โยต้านาเข้ามาทาตลาดในเมืองไทย อาทิ TOYO-ACE, STOUT,MS 40, DA, LAND
    CRUISER
             ตลอดระยะเวลานับตั้งแต่โตโยต้ารุ กเข้าสู่ ตลาดเมืองไทย ความทุ่มเทของโตโยต้า
    คือ ความพยายามที่จะตอบสนองความต้องการสูงสุดของลูกค้า ทั้งในกระบวนการผลิต
    ระดับมาตรฐานโลก เทคโนโลยีล้ าสมัย รวมถึงการสานึกต่อสิ่ งแวดล้อม คุณภาพการ
    บริ การ การมุ่งพัฒนาบุคลากร และการขยายกิจการ
             ปัจจุบน TOYOTA กลายเป็ นหนึ่ งในบริ ษทรถยนต์ช้ นนาของประเทศไทย ที่มี
                   ั                                  ั        ั
    ทุนจดทะเบียน 7,520 ล้านบาท ด้วยกาลังการผลิต 100,000 คันต่อปี มีพนักงานบริ ษท   ั
    กว่า 5,000 คน มีเครื อข่ายผูแทนจาหน่าย 89 แห่ง 241 โชว์รูมมีเครื อข่ายสนับสนุนจาก
                                ้
    บริ ษทผูผลิตชิ้นส่ วน 151 ราย
           ั ้
Business Analysis
มูลค่ าของตลาดทั้งหมด
Market Size
ส่ วนแบ่งตลาดรถยนต์(คัน)
    ตลาดรวม                555,515        366,332            +52%
    บริ ษท
         ั        (มกราคม-กันยายน 53)   (มกราคม-กันยายน52)   เติบโต
   โตโยต้า                  225,557    153,880               +47%
    อีซูซุ                 105,659       75,158              +41%
   ฮอนด้า                  82,063        62,999              +30%
   นิสสัน                  38,043        19,768              +92%
   มิตซูบิชิ               26,614        12,229              +118%
   มาสด้า                  25,763        7,535               +242%
   เชฟโรเลต                13,706        10,456              +31%
   ฟอร์ด                    7,084         5,235              +35%
   ซูซูกิ                  3 ,932         1,696              +132%
ส่ วนแบ่ งตลาดส่ งออกรถยนต์ สาเร็จรู ป
Market Chare
ยีห้อ
  ่         03 (ม.ค.-ต.ค.)   02 (ม.ค.-ต.ค.)   ส่วนแบ่งตลาด
โตโยต้า         150,176          103,712          36.3 %
อีซูซุ          106,093          72,846           24.9 %
ฮอนด้า           55,426          42,978            13 %
นิสสัน           34,668          36,084           8.1 %
มิตซูบิชิ       27,261           25,752            6.4 %
คู่แข่ งขันบริษัทโตโยต้ า
จุดแข็ง (Strengths)
            เป็ นจุดเด่นของรถยนต์ TOYOTA SOLUNA ซึ่ งวิเคราะห์จาก
   สิ่ งแวดล้อมภายในของบริ ษท โดยมีรายละเอียดดังนี้
                                 ั
 1. เป็ นรถยนต์ที่มีเครื่ องยนต์ขนาด 1500 cc แต่มีราคาถูกกว่ารถยนต์ที่มีขนาด
   เครื่ องยนต์เท่ากัน
       2. มีการสร้างความน่าเชื่อถือในคุณภาพ
       3. เป็ นยีหอรถยนต์ ที่มีคนรู ้จกและเชื่อมันในคุณภาพ
                  ่ ้                  ั          ่
                                        ั                        ่
        4. เป็ นรถยนต์ที่มีรูปแบบที่ทนสมัย มีการพัฒนารู ปลักษณ์อยูตลอดเวลา
                           ่
        5. มีศูนย์บริ การอยูครอบคลุมทัวทุกพื้นที่
                                           ่
                                                           ่
        6. วัสดุ อุปกรณ์ทุกชิ้นของ TOYOTA SOLUNA ได้ผานการเลือกสรร
   พร้อมทั้งผ่าน
6W 1 H
                                                                  ่
    What ซื้อความสะดวก สบาย รู ปลักษณ์ สมรรถนะของรถยนต์วา ตรงต่อความต้องการของ
    ลูกค้าในแบบใด เช่น Toyota Prius เน้นในเรื่ อง การประหยัดน้ ามันและรู ปลักษณ์ที่ทนสมัย
                                                                                    ั
    และ Toyota Vigo เน้นเรื่ องบรรทุกสิ่ งของข้างหลังเพราะเป็ นรถปิ คอัพ

   Who กลุ่มลูกค้าที่มาซื้อรถยนต์ Toyota เจาะจงกลุ่มบุคคลที่มีฐานะและรายปานกลาง ส่วนหนึ่ง
    มีอาชีพรับราชการ ลูกค้าส่วนใหญ่อยูในเขตกรุ งเทพมหานครและต่างจังหวัด กลุ่มประเภท
                                       ่
    generation X และ generation Y

   When จะขายรถได้เมื่อลูกค้ามีความต้องการและกาลังการซื้อ เช่น เทศกาลปี ใหม่ที่ลูกค้าส่วน
                                 ่
    ใหญ่ได้โบนัสหรื อของขวัญที่พอแม่ซ้ือให้ลูกเมื่อศึกษาจบปริ ญญา ตรี เป็ นต้น

   Why เป็ นความต้องของลูกค้าที่ซ้ือผลิตภัณฑ์เป็ นเพราะ ชอบใน แบรนด์ ของรถยนต์หรื อชอบ
                                                            ั
    ในรู ปลักษณ์ ภายนอกหรื อสมรรถนะก็ได้หรื อมีทศนคติที่ดีกบ Toyota
                                                    ั
   Where โชว์รูม Toyota ที่ให้บริ การตามจังหวัดต่างๆที่ใกล้และสะดวกกับผูที่สนใจหรื อศูนย์ที่
                                                                         ้
    อยูตามอาเภอที่อาศัยอยู่
       ่

   Whom นักธุ รกิจ ข้าราชการ หรื อ พ่อแม่ที่ตองการซื้อรถไว้ใช้งาน
                                              ้

   How เมื่อมีโปรโมชันหรื อลูกค้าได้เข้าไปดูรถตาม Boot Toyota ที่ทางศูนย์ได้จดไว้โดยอาจจะมี
                      ่                                                       ั
    โปรโมชันควบคู่ไปด้วย
             ่
Segmentation การแบ่ งส่ วนตลาด

 1.เกณฑ์ประชากรศาสตร์
 -เราจะเน้ นกลุมบุคคลที่มีฐานะและรายปานกลาง ส่วนหนึงมีอาชีพ
                  ่                                 ่
  รับราชการ กลุมประเภท generation X และ generation
                    ่
  Y
 2.เกณฑ์ทางภูมิศาสตร์
 -มีโชว์รูมคลอบคลุมทัวประเทศแบ่งแยกออกไปตามจังหวัดหรื อ
                        ่
  อาเภอต่างๆ
 3.พฤติกรรม
 -ผู้ ที่ต้องการแสดงฐานะตนเอง
 -ผู้ ที่ต้องการความสะดวกสบาย
 -นักเดินทาง
Targeting ตลาดเปาหมาย
                ้
 -ตลาดมุงเฉพาะส่วน
             ่
 เป็ นการเลือกส่วนตลาดเพียงส่วนเดียวโดยให้ ตรงต่อความ
  ต้ องการของผู้บริโภคและสร้ างความพึงพอใจให้ ผ้ บริ โภคได้ ตรง
                                                    ู
  ส่วน
       ข้ อดี คือ สามารถเจาะเข้ าถึงกลุมผู้บริโภคได้ ตรง
                                        ่
  กลุมเปาหมาย
      ่ ้
Positioning การวางตาแหน่ งผลิตภัณฑ์
   -แนวคิดในการบริการที่ "พร้ อมจะมอบความพอใจสูงสุดให้ กบ     ั
    ลูกค้ า โดยประกันการสร้ างคุณภาพในทุกกระบวนการ" ผสาน
    กับความมุงมันของเหล่าพนักงานโตโยต้ า คือเบื ้องหลัง
                ่ ่
    ความสาเร็จของโตโยต้ า ที่ผลักดันให้ บริ ษัทฯ ครองความเป็ น
    อันดับหนึงของผู้ผลิตรถยนต์ในประเทศไทยมาอย่างต่อเนื่อง
              ่
STP
การตลาดToyota หรื อ 4P's
          Product - ตัวสิ นค้าคือรถยนต์ยห้อ TOYOTA เป็ นรถยนต์ที่
                                        ี่
  มีราคาไม่สูงมากนัก เพียบพร้อมทั้งการออกแบบที่สวยงามกว่า
  รุ่ นก่อนๆที่เคยได้ผลิตออกมา และด้วยตราสิ นค้าที่มีมานานแล้ว
  จะทาให้ความน่าเชื่ อถือของสิ นค้ามีมากตามไปด้วย การออกแบบ
  ที่เป็ นเอกลักษณ์ของตัวสิ นค้าสร้างการจดจาได้ง่ายขึ้น
Price- ทางด้านราคามีราคาที่ไม่สูงมากซึ่ งถ้าเปรี ยบเทียบกับ
คู่แข่งแล้วจะมีราคาที่ต่ากว่า ซึ่ งจะช่วยทาให้กลุ่มเป้ าหมายนั้นมี
การตัดสิ นใจที่ง่ายขึ้นด้วย เนื่ องจากกลุ่มเป้ าหมายนั้นให้
ความสาคัญกับราคาด้วย และด้วยราคาของสิ นค้าในขณะนี้ น้ น        ั
เหมาะสมกับ Product Life Cycle ในขณะนี้
Place - การจัดจาหน่ายสิ นค้านั้นก็จะมีจาหน่ายทัวไปตาม
                                                     ่
โชว์รูมของ TOYOTA ซึ่ งในปั จจุบนนี้ก็ได้มีโชว์รูมเกิดขึ้นมา
                                   ั
มากมายเพื่อทาให้ลูกค้าเกิดความสะดวกสบายมากที่สุดในการที่
จะไปติดต่อสอบถามหรื อบริ โภคสิ นค้า มีการใช้กลยุทธ์เพื่อดึงดูด
ลูกค้าให้เข้ามาติดต่อหาข้อมูลที่โชว์รูมโดยใช้โฆษณาเป็ นสื่ อใน
การส่ งข่าวสาร
Promotion - สื่ อที่ใช้ในการโฆษณาเป็ นสื่ อหลักคือโทรทัศน์
เพราะว่าสามารถเข้าถึงผูบริ โภคได้ง่าย และสามารถกระตุนความ
                           ้                             ้
สนใจและความต้องการได้ดวยการใช้ภาพและเสี ยง และสื่ อเสริ ม
                               ้
จะเป็ นพวกนิตยสารต่าง ซึ่ งภายในนิตนสารนั้นจะให้รายละเอียด
ต่างๆไว้มากกว่าในโทรทัศน์เพื่อที่จะให้กลุ่มเป้ าหมายได้รับรู ้
ข่าวสารอย่างเพียงพอแก่ความต้องการ
สรุป
           การจะสร้างตราสิ นค้าให้ประสบความสาเร็ จในยุคนี้ไม่ใช่เริ่ มต้นด้วย
       การจ้างบริ ษทรับสร้าง brand มาเป็ นที่ปรึ กษาหรื อเริ่ มด้วยการจ้างบริ ษท
                   ั                                                           ั
       agency โฆษณาดังๆ มาทาโฆษณาให้ แต่ในทางกลับกันควรที่จะเริ่ มต้น
       ว่าบริ ษทควรหาคนที่มีความเข้าใจทั้งในธุรกิจและขั้นตอนการสร้างตรา
               ั
       สิ นค้าของคุณว่าเราจะเริ่ มขั้นตอนไปในทางที่ถูกต้องหรื อไม่ ต้องเริ่ ม
       จากตรงไหน คือ ขั้นตอนแรกของการสร้างตราสิ นค้า ซึ่งต้องมีความ
       สอดคล้องกับการวางตาแหน่งคุณค่าของตราสิ นค้าบ่งบอกถึงประโยชน์
       ของสิ นค้า บ่งบอกถึงประเภทของสิ นค้าหรื อบริ การ บ่งบอกถึงคุณภาพ
       ของสิ นค้า ออกเสี ยงได้ง่าย เป็ นที่รู้จกและจดจาได้ง่าย เป็ นชื่อสั้นๆ
                                               ั
       ต้องมีความโดดเด่น ต้องระมัดระวังไม่ให้มีความหมายที่ไม่ดีเมื่อใช้
       แล้วค่อยไปถึงเรื่ องความเกี่ยวพันธ์ทางบวกต้องสามารถสื่ อถึง
       ความหมายของตราสิ นค้าได้
ข้ อเสนอแนะ

        อย่าปล่อยให้คนที่ไม่เข้าใจในธุ รกิจของคุณอย่างถ่องแท้มา
                       ั
  กาหนดชะตาชีวิตให้กบธุ รกิจของคุณโดยพยายามที่จะสร้าง
  brand ของคุณโดยวิธี copy โดยเด็จขาด มิฉะนั้นจะเสี ยเงินฟรี
  หรื อ โดนเลียนแบบตราสิ นค้าได้

Mais conteúdo relacionado

Destaque

งานนำเสนอกลุ่ม6 higher market
งานนำเสนอกลุ่ม6 higher marketงานนำเสนอกลุ่ม6 higher market
งานนำเสนอกลุ่ม6 higher marketSujinda Kultangwattana
 
รายงานการศึกษา ปรัชญา ความเชื่อโตโยต้า
รายงานการศึกษา ปรัชญา ความเชื่อโตโยต้า รายงานการศึกษา ปรัชญา ความเชื่อโตโยต้า
รายงานการศึกษา ปรัชญา ความเชื่อโตโยต้า DrDanai Thienphut
 
Toyota marketing services
Toyota marketing servicesToyota marketing services
Toyota marketing serviceskbrel
 
แนวข้อสอบวิชาการตลาด
แนวข้อสอบวิชาการตลาดแนวข้อสอบวิชาการตลาด
แนวข้อสอบวิชาการตลาดNooni Punnipa
 
Linux kursu-samsun
Linux kursu-samsunLinux kursu-samsun
Linux kursu-samsunsersld67
 
โรคอ้วน
โรคอ้วนโรคอ้วน
โรคอ้วนsumethinee
 
Tutorial per pintar_les_ungles_amb_l_estelada
Tutorial per pintar_les_ungles_amb_l_esteladaTutorial per pintar_les_ungles_amb_l_estelada
Tutorial per pintar_les_ungles_amb_l_esteladamgonellgomez
 
White Paper: Hadoop on EMC Isilon Scale-out NAS
White Paper: Hadoop on EMC Isilon Scale-out NAS   White Paper: Hadoop on EMC Isilon Scale-out NAS
White Paper: Hadoop on EMC Isilon Scale-out NAS EMC
 
Federated Approach for Interoperating AEC/FM Ontologies
Federated Approach for Interoperating AEC/FM OntologiesFederated Approach for Interoperating AEC/FM Ontologies
Federated Approach for Interoperating AEC/FM OntologiesAna Roxin
 
Linux kursu-silivri
Linux kursu-silivriLinux kursu-silivri
Linux kursu-silivrisersld67
 
API.Design.for.CPlusPlus.Ch5
API.Design.for.CPlusPlus.Ch5API.Design.for.CPlusPlus.Ch5
API.Design.for.CPlusPlus.Ch5박 민규
 
The EMC Isilon Scale-Out Data Lake
The EMC Isilon Scale-Out Data LakeThe EMC Isilon Scale-Out Data Lake
The EMC Isilon Scale-Out Data LakeEMC
 
ECM as a Service in Government
ECM as a Service in GovernmentECM as a Service in Government
ECM as a Service in GovernmentEMC
 
FIRM: Capability-based Inline Mediation of Flash Behaviors
FIRM: Capability-based Inline Mediation of Flash BehaviorsFIRM: Capability-based Inline Mediation of Flash Behaviors
FIRM: Capability-based Inline Mediation of Flash BehaviorsEMC
 
Managing Data Center Connectivity TechBook
Managing Data Center Connectivity TechBook Managing Data Center Connectivity TechBook
Managing Data Center Connectivity TechBook EMC
 
แนะนำแบบบ้านราคาประหยัด
แนะนำแบบบ้านราคาประหยัดแนะนำแบบบ้านราคาประหยัด
แนะนำแบบบ้านราคาประหยัดKamthon Sarawan
 

Destaque (20)

งานนำเสนอกลุ่ม6 higher market
งานนำเสนอกลุ่ม6 higher marketงานนำเสนอกลุ่ม6 higher market
งานนำเสนอกลุ่ม6 higher market
 
รายงานการศึกษา ปรัชญา ความเชื่อโตโยต้า
รายงานการศึกษา ปรัชญา ความเชื่อโตโยต้า รายงานการศึกษา ปรัชญา ความเชื่อโตโยต้า
รายงานการศึกษา ปรัชญา ความเชื่อโตโยต้า
 
Brand value
Brand valueBrand value
Brand value
 
Toyota marketing services
Toyota marketing servicesToyota marketing services
Toyota marketing services
 
แนวข้อสอบวิชาการตลาด
แนวข้อสอบวิชาการตลาดแนวข้อสอบวิชาการตลาด
แนวข้อสอบวิชาการตลาด
 
Linux kursu-samsun
Linux kursu-samsunLinux kursu-samsun
Linux kursu-samsun
 
12 reasons to love sql server 2012
12 reasons to love sql server 201212 reasons to love sql server 2012
12 reasons to love sql server 2012
 
โรคอ้วน
โรคอ้วนโรคอ้วน
โรคอ้วน
 
Tutorial per pintar_les_ungles_amb_l_estelada
Tutorial per pintar_les_ungles_amb_l_esteladaTutorial per pintar_les_ungles_amb_l_estelada
Tutorial per pintar_les_ungles_amb_l_estelada
 
White Paper: Hadoop on EMC Isilon Scale-out NAS
White Paper: Hadoop on EMC Isilon Scale-out NAS   White Paper: Hadoop on EMC Isilon Scale-out NAS
White Paper: Hadoop on EMC Isilon Scale-out NAS
 
Federated Approach for Interoperating AEC/FM Ontologies
Federated Approach for Interoperating AEC/FM OntologiesFederated Approach for Interoperating AEC/FM Ontologies
Federated Approach for Interoperating AEC/FM Ontologies
 
Linux kursu-silivri
Linux kursu-silivriLinux kursu-silivri
Linux kursu-silivri
 
API.Design.for.CPlusPlus.Ch5
API.Design.for.CPlusPlus.Ch5API.Design.for.CPlusPlus.Ch5
API.Design.for.CPlusPlus.Ch5
 
The EMC Isilon Scale-Out Data Lake
The EMC Isilon Scale-Out Data LakeThe EMC Isilon Scale-Out Data Lake
The EMC Isilon Scale-Out Data Lake
 
ECM as a Service in Government
ECM as a Service in GovernmentECM as a Service in Government
ECM as a Service in Government
 
FIRM: Capability-based Inline Mediation of Flash Behaviors
FIRM: Capability-based Inline Mediation of Flash BehaviorsFIRM: Capability-based Inline Mediation of Flash Behaviors
FIRM: Capability-based Inline Mediation of Flash Behaviors
 
Managing Data Center Connectivity TechBook
Managing Data Center Connectivity TechBook Managing Data Center Connectivity TechBook
Managing Data Center Connectivity TechBook
 
Part 4
Part 4Part 4
Part 4
 
แนะนำแบบบ้านราคาประหยัด
แนะนำแบบบ้านราคาประหยัดแนะนำแบบบ้านราคาประหยัด
แนะนำแบบบ้านราคาประหยัด
 
Sixth element
Sixth elementSixth element
Sixth element
 

Semelhante a งานส่ง

Connectivity customer relationship community society
Connectivity  customer  relationship  community societyConnectivity  customer  relationship  community society
Connectivity customer relationship community societySirirat Yimthanom
 
Connectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community societyConnectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community societySirirat Yimthanom
 
Connectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community societyConnectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community societySirirat Yimthanom
 
Connectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community societyConnectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community societySirirat Yimthanom
 
Low cost marketing
Low cost marketingLow cost marketing
Low cost marketingChao Onlamai
 
Business Model Canvas Handbook - Food Business
Business Model Canvas Handbook - Food BusinessBusiness Model Canvas Handbook - Food Business
Business Model Canvas Handbook - Food Businessdewberry
 
Brand value, brand equity
Brand value, brand equity Brand value, brand equity
Brand value, brand equity PümPüy Ża
 
Moji Maesawing.Powerpoint
Moji Maesawing.PowerpointMoji Maesawing.Powerpoint
Moji Maesawing.Powerpointmaesawing
 
Moji Maesawing.Powerpoint
Moji Maesawing.PowerpointMoji Maesawing.Powerpoint
Moji Maesawing.Powerpointmaesawing
 
Presentattion slide1
Presentattion slide1Presentattion slide1
Presentattion slide1suthaising
 
สรรสร้าง แบรนด์ สร้างสรรค์
สรรสร้าง แบรนด์ สร้างสรรค์สรรสร้าง แบรนด์ สร้างสรรค์
สรรสร้าง แบรนด์ สร้างสรรค์Utai Sukviwatsirikul
 
ทัศนภาพธุรกิจ3
ทัศนภาพธุรกิจ3ทัศนภาพธุรกิจ3
ทัศนภาพธุรกิจ3DrDanai Thienphut
 

Semelhante a งานส่ง (20)

Power point
Power pointPower point
Power point
 
งานส่ง
งานส่งงานส่ง
งานส่ง
 
Connectivity customer relationship community society
Connectivity  customer  relationship  community societyConnectivity  customer  relationship  community society
Connectivity customer relationship community society
 
Connectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community societyConnectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community society
 
Connectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community societyConnectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community society
 
Connectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community societyConnectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community society
 
Low cost marketing
Low cost marketingLow cost marketing
Low cost marketing
 
Business Model Canvas Handbook - Food Business
Business Model Canvas Handbook - Food BusinessBusiness Model Canvas Handbook - Food Business
Business Model Canvas Handbook - Food Business
 
Brand equity 2
Brand equity 2Brand equity 2
Brand equity 2
 
Mil chapter 1_5
Mil chapter 1_5Mil chapter 1_5
Mil chapter 1_5
 
Brand value, brand equity
Brand value, brand equity Brand value, brand equity
Brand value, brand equity
 
E commerce1
E commerce1E commerce1
E commerce1
 
โฆษณา
โฆษณาโฆษณา
โฆษณา
 
Moji Maesawing.Powerpoint
Moji Maesawing.PowerpointMoji Maesawing.Powerpoint
Moji Maesawing.Powerpoint
 
Moji Maesawing.Powerpoint
Moji Maesawing.PowerpointMoji Maesawing.Powerpoint
Moji Maesawing.Powerpoint
 
Presentattion slide1
Presentattion slide1Presentattion slide1
Presentattion slide1
 
สรรสร้าง แบรนด์ สร้างสรรค์
สรรสร้าง แบรนด์ สร้างสรรค์สรรสร้าง แบรนด์ สร้างสรรค์
สรรสร้าง แบรนด์ สร้างสรรค์
 
Branding&Positioning (Ch 4) for IMC student Class
Branding&Positioning  (Ch 4) for IMC student ClassBranding&Positioning  (Ch 4) for IMC student Class
Branding&Positioning (Ch 4) for IMC student Class
 
ทัศนภาพธุรกิจ3
ทัศนภาพธุรกิจ3ทัศนภาพธุรกิจ3
ทัศนภาพธุรกิจ3
 
7 eleven
7 eleven7 eleven
7 eleven
 

งานส่ง

  • 1. นาย ฐิศิวัฒน์ ด่ านประเสริ ฐ รหัสนักศึกษา 54010911172 นาย ศราวุฒิ ปิ ตะฝ่ าย รหัสนักศึกษา 54010911139 นาย พงศ์ พสุทธิ์ แสนธรรมพล รหัสนักศึกษา ิ 54010911124 นาย พีนิธิ พฤทธิ์พรชนัน รหัสนักศึกษา 54010911041 นาย ธงไท โพธิยันต์ รหัสนักศึกษา 54010911027
  • 2. BRAND VALUE ตราสินค้ า ( BRAND VALUE ) หมายถึง ชื่อ เครื่ องหมายทางการค้า สัญลักษณ์หรื อการออกแบบต่าง ๆ ที่เป็ นการระบุถึงสิ นค้าหรื อบริ การของผูขาย และเพื่อทาให้สินค้าของ ้ ตนเองแตกต่างจากคู่แข่งขัน ในขณะที่ให้ความหมายของตราสิ นค้า ว่าเป็ น เครื่ องหมายทางการค้าที่ตองมีการจัดการผ่านความชานาญในการส่งเสริ ม ้ ่ การตลาด และทาให้เข้าไปอยูในใจของลูกค้าเพื่อให้เกิดการยอมรับใน คุณค่าและคุณสมบัติที่กาหนดไว้ท้ งสิ่ งที่สมผัสได้และสัมผัสไม่ได้ ั ั
  • 3. มุมมองเกี่ยวกับตราสินค้ าไว้ 3 มุมมอง 1. ตราสินค้ ากับประโยชน์ ในการ ป้ องกันด้ านกฎหมายตราสินค้ า 2. ตราสินค้ ากับประโยชน์ ในการสร้ าง ความสัมพันธ์ 3. ตราสินค้ ากับประโยชน์ ทางด้ าน การเงิน
  • 4. 1. ตราสิ นค้ ากับประโยชน์ ในการปองกันด้ านกฎหมายตราสิ นค้ า ้ ซึ่งอาจจะเป็ นชื่อ คาอธิบาย สัญลักษณ์ หรื อตราสัญลักษณ์ ของบริ ษทหี บห่ อหรื อบรรจุภณฑ์หรื อแม้กระทัง การโฆษณาที่ ั ั ่ เกี่ยวข้องกับตราสิ นค้าสามารถป้ องกันได้ในด้านของกฎหมาย การจดทะเบียน ยินยอมเป็ นเจ้าของซึ่งสามารถใช้เป็ นข้อบังคับ ด้านกฎหมาย การจดทะเบียนทาให้ตราสิ นค้า นาไปสู่ ความ แตกต่างในตัวผลิตภัณฑ์และความเป็ นเจ้าของและที่สาคัญคือการ สร้างตราสิ นค้าที่มีลกษณะผูกขาดโดยใช้กฎหมายมาช่วย ั
  • 5.  2. ตราสิ นค้ ากับประโยชน์ ในการสร้ างความสั มพันธ์ การสร้างความสัมพันธ์กบลูกค้าหรื อกลุ่มเป้ าหมายสามารถ ั กระทาได้โดยผ่านกิจกรรมทางการตลาดที่หลากหลายซึ่ งสามารถ ป้ องกันการโจมตีจากคู่แข่งขันได้ แต่ไม่ได้ทาให้ลกษณะของ ั สิ นค้าหรื อบริ การ มีความแตกต่างกันออกไป หากแต่สามารถ สร้างความสัมพันธ์ทางด้านอารมณ์และบทบาท หน้าที่ได้
  • 6. 3. ตราสิ นค้ ากับประโยชน์ ทางด้ านการเงิน การทาความเข้าใจในเรื่ องตราสิ นค้า นอกจากเป็ นมุมมอง ั ทางด้านกฎหมายและการสร้างความสัมพันธ์กบลูกค้าแล้วยังต้อง พิจารณาถึงประโยชน์ทางด้านการเงินอีกด้วย
  • 7. 1.ปัจจัยทีส่งผลต่ อการเปลียนแปลงและการเกิดขึนของแนวโน้ ม ่ ่ ้  ่ “Brand” คือ มูลค่าสิ นทรัพย์และคุณค่าของแบรนด์ที่อยูในใจของ ลูกค้าหรื อผูบริ โภค จนทาให้แบรนด์หรื อตราสิ นค้านั้นๆสามารถสร้าง ้ มูลค่าเพิ่มสูงๆให้กบเจ้าของได้ หรื อจะกล่าวถึงประโยชน์ก็คือ แบรนด์หรื อ ั ่ ตราสิ นค้า ที่ไปติดอยูบนตัวสิ นค้าใดสิ นค้าหนึ่ง แล้วสามารถขายในราคาที่ สูงมากกว่าสิ นค้นอื่นๆที่เป็ นสิ นค้าแบบเดียวกันแต่ไม่มี Brand ได้ ตัวอย่าง ั Brand ที่มีมูลค่าสูง คือ brand “Intel” ที่สามารถสร้างมูลค่าให้กบ ผลิตภัณฑ์คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (PC) ได้อย่างมหาศาล แม้วา Intel จะ่ ไม่ใช่ผผลิต PC เลยก็ตาม ู้
  • 8. External Influences, Internal Influencesปัจจัยภายนอกและปัจจัยภายใน Internal Influences ปัจจัยภายใน การรับรู้ Brand เกิดจากการรับสื่ อผ่านทางโฆษณา หรื อ จากคนรอบข้าง ่่ ครอบครัว เพื่อน ซึ้งใช้brand นั้นอยูวามีประโยชน์อย่างไรทาไมถึงเลือก brand ที่ใช่อยู่ อาจเกิดจากครอบครัวที่ใช้brandนั้ นมานานแล้ว จึงติดbrand นั้นและอาจจะพิจราณา brand นั้นเป็ นอันดับแรก
  • 9. ความจาเป็ น สิ่ งสาคัญ brand อาทิ แชมพู สบู่ ยาสีฟัน ผงซักฟอก กระเป๋ าถือ เรื่ อยไปจนถึงเครื่ องสาอางต่างๆ แต่เรามักจะเรี ยกที่ “แบรนด์” หรื อ ตรา สิ นค้านั้นๆ โดยตรง เช่น จะไปซื้อ โดฟ ลักส์ คอลเกต บรี ส โค้ช หลุยส์ วิตตอง คลีนิค ลาแมร์ ฯลฯ เทรนด์น้ ีเกิดขึ้นเมื่อไหร่ ยากที่จะบอก รู ้แค่เพียง มันเกิดขึ้นแล้ว และโอกาสที่จะกลับไปในโลกลักษณะเดิมที่จะเรี ยกสิ นค้า ตามประเภทคงจะไม่มี ในฐานะที่เป็ นนักการตลาดหรื อเจ้าของสิ นค้าควร จะจับตามองปรากฏการณ์น้ ี และให้ความสาคัญกับการปรับตัวให้เข้าไปอยู่ ในโลกของผูบริ โภคปั จจุบนให้ได้ ว่าทาอย่างไรตราสิ นค้าเราจึงจะเป็ นที่ ้ ั หนึ่งในใจของผูบริ โภคได้ ้
  • 10. แรงจูงใจ แรงจูงใจ เกิดจากแรงผลักดันของคนรอบข้าง ที่ใช้แบรนด์ใดแบรนด์ หนึ่งอย่างต่อเนื่องแล้วมีผคนอีกหลายคนยอมรับแบรนด์ดงกล่าวว่าดี จึง ู้ ั เกิดแรงจูงใจให้บุคคลนั้นเลือกที่จะใช้แบรนด์ดงกล่าวด้วย เช่น เราเห็น ั โฆษณาสิ นค้าแบรนด์หนึ่งแล้วมีผบริ โภคมีการบริ โภคอย่างแพร่ หลายจึง ู้ เกิดแรงจูงใจที่จะใช้แบรนด์น้ นแม้จะไม่รู้วาแบรนด์น้ นดีหรื อไม่ดีก็ตาม ั ่ ั
  • 11. ทัศนคติ ความสัมพันธต่อตรา (Brand Relationship)ที่ดีต่อลูกค้า ทาให้เกิด ความเชื่อถือในแบรนด์ เมื่อออกสิ นค้าใหม่ ๆ ลูกค้าก็ตดสิ นใจซื้อแบรนด์ ั นั้นไม่ยาก เนื่องมาจาก ประวัติตรา ภาพพจน์ และสังคมตรา(Brand Association)
  • 12. External Influences ปั จจัยภายนอก ชนชั้นทางสังคม คนบางคนซื้อ brand ที่มีราคาสูงเพื่อบ่งบอกชนชั้นทางสังคม หรื อ การซื้อbrand เข้าสังคม เพราะbrand บางอย่างสามารถบอกได้ถึงชนชั้นทาง สังคม
  • 13. สถานภาคทางสังคม จากการสารวจผูบริ โภคคนไทย พบว่ากลุ่มใหญ่สุด คือกลุ่มมองหาสภา ้ นภาพของตนเอง เป็ นกลุ่มที่ห่วงภาพลักษณ์ตนเอง และต้องการมีสถานภาพที่ดี ทางสังคม โดยผูบริ โภคชาวไทยติดอันดับ 1 ในผลสารวจประเด็นใช้แบรนด์เพื่อ ้ เสริ มภาพลักษณ์และสถานภาพให้ดูดี ไฮโซในสังคม ในสัดส่วนถึง 92% จาก ่ ค่าเฉลี่ยเอเชียอยูที่ 74% ทั้งนี้ แนวโน้มของผูบริ โภคคนไทยที่ใช้แบรนด์เนม เสริ ม ้ ภาพลักษณ์ไฮโซ และสถานภาพทางสังคม มีแนวโน้มสูงกว่าค่าเฉลี่ยของเอเชีย ตั้งแต่ปี 2550-2554 และเชื่อว่าปี นี้ค่าเฉลี่ยยังอยูในอันดับต้นๆ แม้วาภาพรวม ่ ่ เศรษฐกิจจะอยูในภาวะถดถอย แต่กลุ่มผูบริ โภคที่มีฐานะยังคงให้ความสาคัญกับ ่ ้ การใช้แบรนด์เนมและการจับจ่าย “การห่วงภาพลักษณ์และสถานภาพทางสังคมของคนไทย รวมทั้งการ เลือกใช้แบรนด์เนมเพื่อเสริ มภาพลักษณ์ให้ดูดี
  • 14. วัฒนธรรม  สินค้ าที่กลุมคนกลุมคนหนึงใช้ แล้ วรู้สกประทับใจและใช้ แบรนด์ ่ ่ ่ ึ นันมาเป็ นเวลายาวนาน จึงเกิดวัฒนธรรมในการใช้ แบรนด์ใดแบ ้ รนด์หนึงอย่างต่อเนื่องโดยการบอกกันโดยปากต่อ ่
  • 16. บริษัท TOYOTA  เริ่ มต้นขึ้นในปี 2499 ภายใต้การดาเนินงานของบริ ษท โตโยต้า มอเตอร์ เซลส์ จากัด ั ้ นับเป็ นโตโยต้าสาขาแรกที่กาวออกมาเติบโตนอกตลาดประเทศญี่ปุ่น โดยดาเนิ น กิจการนาเข้ารถยนต์สาเร็ จรู ปทั้งรถยนต์นง และรถบรรทุกซึ่งรถยนต์ในยุคแรกๆ ที่โต ั่ โยต้านาเข้ามาทาตลาดในเมืองไทย อาทิ TOYO-ACE, STOUT,MS 40, DA, LAND CRUISER ตลอดระยะเวลานับตั้งแต่โตโยต้ารุ กเข้าสู่ ตลาดเมืองไทย ความทุ่มเทของโตโยต้า คือ ความพยายามที่จะตอบสนองความต้องการสูงสุดของลูกค้า ทั้งในกระบวนการผลิต ระดับมาตรฐานโลก เทคโนโลยีล้ าสมัย รวมถึงการสานึกต่อสิ่ งแวดล้อม คุณภาพการ บริ การ การมุ่งพัฒนาบุคลากร และการขยายกิจการ ปัจจุบน TOYOTA กลายเป็ นหนึ่ งในบริ ษทรถยนต์ช้ นนาของประเทศไทย ที่มี ั ั ั ทุนจดทะเบียน 7,520 ล้านบาท ด้วยกาลังการผลิต 100,000 คันต่อปี มีพนักงานบริ ษท ั กว่า 5,000 คน มีเครื อข่ายผูแทนจาหน่าย 89 แห่ง 241 โชว์รูมมีเครื อข่ายสนับสนุนจาก ้ บริ ษทผูผลิตชิ้นส่ วน 151 ราย ั ้
  • 17. Business Analysis มูลค่ าของตลาดทั้งหมด Market Size ส่ วนแบ่งตลาดรถยนต์(คัน) ตลาดรวม 555,515 366,332 +52% บริ ษท ั (มกราคม-กันยายน 53) (มกราคม-กันยายน52) เติบโต  โตโยต้า 225,557 153,880 +47%  อีซูซุ 105,659 75,158 +41%  ฮอนด้า 82,063 62,999 +30%  นิสสัน 38,043 19,768 +92%  มิตซูบิชิ 26,614 12,229 +118%  มาสด้า 25,763 7,535 +242%  เชฟโรเลต 13,706 10,456 +31%  ฟอร์ด 7,084 5,235 +35%  ซูซูกิ 3 ,932 1,696 +132%
  • 18. ส่ วนแบ่ งตลาดส่ งออกรถยนต์ สาเร็จรู ป Market Chare ยีห้อ ่ 03 (ม.ค.-ต.ค.) 02 (ม.ค.-ต.ค.) ส่วนแบ่งตลาด โตโยต้า 150,176 103,712 36.3 % อีซูซุ 106,093 72,846 24.9 % ฮอนด้า 55,426 42,978 13 % นิสสัน 34,668 36,084 8.1 % มิตซูบิชิ 27,261 25,752 6.4 %
  • 19. คู่แข่ งขันบริษัทโตโยต้ า จุดแข็ง (Strengths) เป็ นจุดเด่นของรถยนต์ TOYOTA SOLUNA ซึ่ งวิเคราะห์จาก สิ่ งแวดล้อมภายในของบริ ษท โดยมีรายละเอียดดังนี้ ั  1. เป็ นรถยนต์ที่มีเครื่ องยนต์ขนาด 1500 cc แต่มีราคาถูกกว่ารถยนต์ที่มีขนาด เครื่ องยนต์เท่ากัน  2. มีการสร้างความน่าเชื่อถือในคุณภาพ  3. เป็ นยีหอรถยนต์ ที่มีคนรู ้จกและเชื่อมันในคุณภาพ ่ ้ ั ่  ั ่ 4. เป็ นรถยนต์ที่มีรูปแบบที่ทนสมัย มีการพัฒนารู ปลักษณ์อยูตลอดเวลา  ่ 5. มีศูนย์บริ การอยูครอบคลุมทัวทุกพื้นที่ ่  ่ 6. วัสดุ อุปกรณ์ทุกชิ้นของ TOYOTA SOLUNA ได้ผานการเลือกสรร พร้อมทั้งผ่าน
  • 20. 6W 1 H  ่ What ซื้อความสะดวก สบาย รู ปลักษณ์ สมรรถนะของรถยนต์วา ตรงต่อความต้องการของ ลูกค้าในแบบใด เช่น Toyota Prius เน้นในเรื่ อง การประหยัดน้ ามันและรู ปลักษณ์ที่ทนสมัย ั และ Toyota Vigo เน้นเรื่ องบรรทุกสิ่ งของข้างหลังเพราะเป็ นรถปิ คอัพ  Who กลุ่มลูกค้าที่มาซื้อรถยนต์ Toyota เจาะจงกลุ่มบุคคลที่มีฐานะและรายปานกลาง ส่วนหนึ่ง มีอาชีพรับราชการ ลูกค้าส่วนใหญ่อยูในเขตกรุ งเทพมหานครและต่างจังหวัด กลุ่มประเภท ่ generation X และ generation Y  When จะขายรถได้เมื่อลูกค้ามีความต้องการและกาลังการซื้อ เช่น เทศกาลปี ใหม่ที่ลูกค้าส่วน ่ ใหญ่ได้โบนัสหรื อของขวัญที่พอแม่ซ้ือให้ลูกเมื่อศึกษาจบปริ ญญา ตรี เป็ นต้น  Why เป็ นความต้องของลูกค้าที่ซ้ือผลิตภัณฑ์เป็ นเพราะ ชอบใน แบรนด์ ของรถยนต์หรื อชอบ ั ในรู ปลักษณ์ ภายนอกหรื อสมรรถนะก็ได้หรื อมีทศนคติที่ดีกบ Toyota ั
  • 21. Where โชว์รูม Toyota ที่ให้บริ การตามจังหวัดต่างๆที่ใกล้และสะดวกกับผูที่สนใจหรื อศูนย์ที่ ้ อยูตามอาเภอที่อาศัยอยู่ ่  Whom นักธุ รกิจ ข้าราชการ หรื อ พ่อแม่ที่ตองการซื้อรถไว้ใช้งาน ้  How เมื่อมีโปรโมชันหรื อลูกค้าได้เข้าไปดูรถตาม Boot Toyota ที่ทางศูนย์ได้จดไว้โดยอาจจะมี ่ ั โปรโมชันควบคู่ไปด้วย ่
  • 22. Segmentation การแบ่ งส่ วนตลาด  1.เกณฑ์ประชากรศาสตร์  -เราจะเน้ นกลุมบุคคลที่มีฐานะและรายปานกลาง ส่วนหนึงมีอาชีพ ่ ่ รับราชการ กลุมประเภท generation X และ generation ่ Y  2.เกณฑ์ทางภูมิศาสตร์  -มีโชว์รูมคลอบคลุมทัวประเทศแบ่งแยกออกไปตามจังหวัดหรื อ ่ อาเภอต่างๆ  3.พฤติกรรม  -ผู้ ที่ต้องการแสดงฐานะตนเอง  -ผู้ ที่ต้องการความสะดวกสบาย  -นักเดินทาง
  • 23. Targeting ตลาดเปาหมาย ้  -ตลาดมุงเฉพาะส่วน ่  เป็ นการเลือกส่วนตลาดเพียงส่วนเดียวโดยให้ ตรงต่อความ ต้ องการของผู้บริโภคและสร้ างความพึงพอใจให้ ผ้ บริ โภคได้ ตรง ู ส่วน  ข้ อดี คือ สามารถเจาะเข้ าถึงกลุมผู้บริโภคได้ ตรง ่ กลุมเปาหมาย ่ ้
  • 24. Positioning การวางตาแหน่ งผลิตภัณฑ์  -แนวคิดในการบริการที่ "พร้ อมจะมอบความพอใจสูงสุดให้ กบ ั ลูกค้ า โดยประกันการสร้ างคุณภาพในทุกกระบวนการ" ผสาน กับความมุงมันของเหล่าพนักงานโตโยต้ า คือเบื ้องหลัง ่ ่ ความสาเร็จของโตโยต้ า ที่ผลักดันให้ บริ ษัทฯ ครองความเป็ น อันดับหนึงของผู้ผลิตรถยนต์ในประเทศไทยมาอย่างต่อเนื่อง ่
  • 25. STP
  • 26. การตลาดToyota หรื อ 4P's Product - ตัวสิ นค้าคือรถยนต์ยห้อ TOYOTA เป็ นรถยนต์ที่ ี่ มีราคาไม่สูงมากนัก เพียบพร้อมทั้งการออกแบบที่สวยงามกว่า รุ่ นก่อนๆที่เคยได้ผลิตออกมา และด้วยตราสิ นค้าที่มีมานานแล้ว จะทาให้ความน่าเชื่ อถือของสิ นค้ามีมากตามไปด้วย การออกแบบ ที่เป็ นเอกลักษณ์ของตัวสิ นค้าสร้างการจดจาได้ง่ายขึ้น
  • 27. Price- ทางด้านราคามีราคาที่ไม่สูงมากซึ่ งถ้าเปรี ยบเทียบกับ คู่แข่งแล้วจะมีราคาที่ต่ากว่า ซึ่ งจะช่วยทาให้กลุ่มเป้ าหมายนั้นมี การตัดสิ นใจที่ง่ายขึ้นด้วย เนื่ องจากกลุ่มเป้ าหมายนั้นให้ ความสาคัญกับราคาด้วย และด้วยราคาของสิ นค้าในขณะนี้ น้ น ั เหมาะสมกับ Product Life Cycle ในขณะนี้
  • 28. Place - การจัดจาหน่ายสิ นค้านั้นก็จะมีจาหน่ายทัวไปตาม ่ โชว์รูมของ TOYOTA ซึ่ งในปั จจุบนนี้ก็ได้มีโชว์รูมเกิดขึ้นมา ั มากมายเพื่อทาให้ลูกค้าเกิดความสะดวกสบายมากที่สุดในการที่ จะไปติดต่อสอบถามหรื อบริ โภคสิ นค้า มีการใช้กลยุทธ์เพื่อดึงดูด ลูกค้าให้เข้ามาติดต่อหาข้อมูลที่โชว์รูมโดยใช้โฆษณาเป็ นสื่ อใน การส่ งข่าวสาร
  • 29. Promotion - สื่ อที่ใช้ในการโฆษณาเป็ นสื่ อหลักคือโทรทัศน์ เพราะว่าสามารถเข้าถึงผูบริ โภคได้ง่าย และสามารถกระตุนความ ้ ้ สนใจและความต้องการได้ดวยการใช้ภาพและเสี ยง และสื่ อเสริ ม ้ จะเป็ นพวกนิตยสารต่าง ซึ่ งภายในนิตนสารนั้นจะให้รายละเอียด ต่างๆไว้มากกว่าในโทรทัศน์เพื่อที่จะให้กลุ่มเป้ าหมายได้รับรู ้ ข่าวสารอย่างเพียงพอแก่ความต้องการ
  • 30. สรุป การจะสร้างตราสิ นค้าให้ประสบความสาเร็ จในยุคนี้ไม่ใช่เริ่ มต้นด้วย การจ้างบริ ษทรับสร้าง brand มาเป็ นที่ปรึ กษาหรื อเริ่ มด้วยการจ้างบริ ษท ั ั agency โฆษณาดังๆ มาทาโฆษณาให้ แต่ในทางกลับกันควรที่จะเริ่ มต้น ว่าบริ ษทควรหาคนที่มีความเข้าใจทั้งในธุรกิจและขั้นตอนการสร้างตรา ั สิ นค้าของคุณว่าเราจะเริ่ มขั้นตอนไปในทางที่ถูกต้องหรื อไม่ ต้องเริ่ ม จากตรงไหน คือ ขั้นตอนแรกของการสร้างตราสิ นค้า ซึ่งต้องมีความ สอดคล้องกับการวางตาแหน่งคุณค่าของตราสิ นค้าบ่งบอกถึงประโยชน์ ของสิ นค้า บ่งบอกถึงประเภทของสิ นค้าหรื อบริ การ บ่งบอกถึงคุณภาพ ของสิ นค้า ออกเสี ยงได้ง่าย เป็ นที่รู้จกและจดจาได้ง่าย เป็ นชื่อสั้นๆ ั ต้องมีความโดดเด่น ต้องระมัดระวังไม่ให้มีความหมายที่ไม่ดีเมื่อใช้ แล้วค่อยไปถึงเรื่ องความเกี่ยวพันธ์ทางบวกต้องสามารถสื่ อถึง ความหมายของตราสิ นค้าได้
  • 31. ข้ อเสนอแนะ อย่าปล่อยให้คนที่ไม่เข้าใจในธุ รกิจของคุณอย่างถ่องแท้มา ั กาหนดชะตาชีวิตให้กบธุ รกิจของคุณโดยพยายามที่จะสร้าง brand ของคุณโดยวิธี copy โดยเด็จขาด มิฉะนั้นจะเสี ยเงินฟรี หรื อ โดนเลียนแบบตราสิ นค้าได้