SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
1


                       เค้าโครงวิทยานิ พนธ์

ช่ ือเร่ ือง : สภาพภาวะผู้นำาดูานการจัดทำาหลักส้ตรแกนกลางการศึกษา
ขันพ้ืนฐานพุทธศักราช ٢٥٥١
    ้
                 ของผู้บริหารโรงเรียนตามความคิดเห็นของคร้วิชาการและ
คร้ผู้สอน สังกัดสำานั กงานเขต
                 พ้ืนท่ีการศึกษาบุรรัมย์ เขต 3
                                   ี
ประเภทของการวิจัย : การวิจัยเชิงบรรยาย
สาขาวิชาท่ีทำาการวิจัย : สาขาการบริหารการศึกษา
สถานท่ีทำาการวิจัยหรือเก็บข้อมูล : โรงเรียนในสังกัดสำานั กงานเขต
    พ้ืนท่ีการศึกษาบุรรัมย์ เขต 3
                       ี
ความเป็ นมาและความสำาคัญของปั ญหา
       ปั จจุบันความเจริญกูาวหนู าอย่างรวดเร็วทางดูานเทคโนโลยี
สารสนเทศ และวิทยาการต่าง ๆ ในสังคมส่งผลกระทบต่อสภาพสังคมใหู
มีการแข่งขันกันส้งขึ้น การพัฒนามนุษย์จึงจำาเป็ นตูองมีการปรับตัวใหู
ทันต่อการเปล่ียนแปลงท่ีเกิดขึ้นและเตรียมพรูอมท่ีจะเผชิญกับความ
ทูาทายจากกระแสโลกาภิวัฒน์ ปั จจัยสำาคัญท่ีทำาใหูสามารถเผชิญกับการ
เปล่ียนแปลงและความทูาทายดังกล่าวไดูคือ การพัฒนาคนใหูมีคุณภาพ
โดยการศึกษาเป็ นอีกวิธีการหน่ ึงท่ีจะพัฒนาคุณภาพของคนใหูเป็ นบุคคล
แห่งการเรียนรู้ การพัฒนาหลักส้ตรแกนกลาง พ.ศ. 2551 จึงเป็ น
หัวใจหลักของการจัดการเรียนการสอน ท่ีจะมีผลทำาใหูการจัดการศึกษา
บรรลุผลตามเปู าหมายท่ีตังไวู เพราะหลักส้ตรเป็ นตัวกำาหนดแนวทางใน
                          ้
การจัดการศึกษาว่าเป็ นการศึกษาเพ่ ืออะไร เพ่ ือใคร ในระดับใด ดังนั ้น
ความรู้ความเขูาใจในเร่ ืองการพัฒนาหลักส้ตรจึงเป็ นส่ิงสำาคัญท่ีจะทำาใหู
การจัดการศึกษาดำาเนิ นไปดูวยดี ทังแก่ผู้เรียนและช่วยใหูคร้สามารถ
                                    ้
จัดการเรียนการสอนใหูเป็ นไปอย่างมีทิศทาง นั กวิชาการจึงใหูความ
สนใจในเร่ ืองของหลักส้ตรโดยใหูความหมายของหลักส้ตรไวูแตกต่างกัน
เพราะหลักส้ตรมีความจำาเป็ นต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ใหูมีคุณภาพ
โดยมีการจัดกระบวนการเรียนรู้นำาไปส่้ความเจริญงอกงามของบุคคล
สังคม ประเพณี และวัฒนธรรม โดยการศึกษาทำาใหูเป็ นบุคคลท่ีรู้จักคิด
วิเคราะห์ รูจักการแกูไขปั ญหา รูจักการเรียนรูดูวยตนเองและพัฒนาขีด
             ้                  ้            ้
ความสามารถในการทำางานใหูส้งขึ้น ใหูเกิดมีการปรับตัวใหูทันต่อการ
เปล่ียนแปลงท่ีเกิดขึ้น สามารถดำารงชีวิตอย่้ในสังคมไดูอย่างเป็ นสุขและ
สามารถแข่งขันกับบุคคลอ่ ืนไดูอย่างมีเกียรติมีศักดิศรี
                                                  ์
2


           รัฐธรรมน้ญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2550 มาตรา
49 วรรคแรก กล่าวว่า “ บุคคลย่อมมีสิทธิเสมอกันในการรับการศึกษา
ไม่นูอยกว่าสิบสองปี ท่ีรัฐจะตูองจัดการศึกษาใหูอย่างทัวถึงและมีคุณภาพ
                                                        ่
โดยไม่เก็บค่าใชูจาย...” จะเห็นไดูว่ามีการเปล่ียนแปลงการจัดการศึกษา
                  ่
ของชาติท่ีเรียกว่า การปฏิร้ปการศึกษา โดยจัดการศึกษาภาคบังคับและ
การศึกษาขันพ้ืนฐาน เพ่ ือใหูประชาชนคนไทยไดูรับการศึกษาอย่างเท่า
             ้
เทียมกัน นอกจากนี้พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
และท่ีแกูไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545 มาตรา 6 กล่าวว่า “ การ
จัดการศึกษาตูองเป็ นไปเพ่ ือพัฒนาคนไทยใหูเป็ นมนุษย์ท่ีสมบ้รณ์ทัง       ้
ร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้และคุณธรรม มีจริยธรรมและ
วัฒนธรรม...” ดังนั ้นโรงเรียนจะตูองดำาเนิ นการจัดการศึกษาใหูบรรลุจุด
มุ่งหมาย ตามมาตรฐานของหลักส้ตร และตามเจตนารมณ์ของการ
จัดการศึกษาของชาติ โดยการจัดทำาหลักส้ตรสถานศึกษาใหูสอดคลูอง
กับหลักส้ตรแกนกลาง พ.ศ. 2551 และสนองตอบต่อความตูองการของ
ผู้เรียนและทูองถ่ิน ซ่ ึงในการดำาเนิ นการพัฒนาหลักส้ตรแกนกลาง
พ.ศ. 2551 นั ้นผูบริหารโรงเรียนและคร้ภายในโรงเรียนถือว่าเป็ นหน่ วย
                    ้
งานหลักท่ีจะตูองดำาเนิ นการ เพ่ ือใหูเกิดผลสัมฤทธิและมีประสิทธิภาพ
                                                      ์
ในการจัดทำาหลักส้ตรสถานศึกษาตลอดจนกระบวนการเรียนการสอน
และการวัดการประเมินผลเพ่ ือใหูเป็ นแนวทางในการพัฒนาการศึกษาใหู
มีประสิทธิภาพย่ิงขึ้น
         หลักส้ตรเป็ นหลักและหัวใจของการจัดการเรียนการสอน ท่ีจะมี
ผลทำาใหูการจัดการศึกษาบรรลุผลตามเปู าหมายท่ีตังไวู เพราะหลักส้ตร
                                                    ้
เป็ นตัวกำาหนดแนวทางในการจัดการศึกษาว่าเป็ นการ ศึกษาเพ่ ืออะไร
เพ่ ือใคร ในระดับใด ดังนั ้นความเขูาใจในเร่ ืองหลักส้ตรจึงเป็ นส่ิงสำาคัญท่ี
จะทำาใหูการ
จัดการศึกษาดำาเนิ นไปดูวยดีทังแก่ผู้เรียนและช่วยใหูคร้สามารถจัดการ
                               ้
เรียนการสอนใหูเป็ นไปอย่างมีทิศทาง หลักส้ตรจะกำาหนดความมุ่งหมาย
เน้ือหาสาระ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและการประเมินผลไวูเป็ น
แนวทาง และเป็ นขูอกำาหนดแผนการเรียนการสอน อันเป็ นส่วนรวม
ของประเทศเพ่ ือนำ าไปส่้ความมุ่งหมายตามแผนการศึกษาชาติหลักส้ตร
เป็ นเอกสารของทางราชการ เป็ นบัญญัติของรัฐบาลเพ่ ือใหูบุคคลท่ีทำาการ
เก่ียวขูองกับการศึกษาปฏิบัติตามและเป็ นแผนการดำาเนิ นงานของผู้
บริหารท่ีจะอำานวยความสะดวกและควบคุมด้แล ติดตามผลใหูเป็ นไป
ตามนโยบายการจัดการศึกษาของรัฐบาล เป็ นเกณฑ์มาตรฐานการศึกษา
เพ่ ือควบคุมการเรียนการสอนในสถาบันการศึกษาระดับต่าง ๆ เป็ น
เกณฑ์มาตรฐานอย่างหน่ ึงในการจัดสรรงบประมาณ บุคลากร อาคาร
สถานท่ี วัสดุอุปกรณ์ของการศึกษาของรัฐใหูแก่สถานศึกษาดูวย จะ
3


กำาหนดแนวทางในการส่งเสริมความเจริญงอกงามและพัฒนาการของ
เด็ก
ตามจุดมุ่งหมายของการศึกษา เป็ นตัวกำาหนดลักษณะและร้ปร่างของ
สังคมในอนาคตไดูวาจะเป็ นไปในร้ปแบบใด หลักส้ตรจะกำาหนดแนวทาง
                       ่
ในการใหูความรู้ ทักษะ ความสามารถ ความประพฤติท่ีจะเป็ นประโยชน์
ต่อสังคม อันเป็ นการพัฒนากำาลังซ่ ึงจะนำ าไปส่้การพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมแห่งชาติ
อย่างไดูผล เป็ นส่ิงท่ีบ่งชีถึงความเจริญของประเทศ เพราะการศึกษาเป็ น
                            ้
เคร่ ืองมือในการพัฒนาคน ประเทศใดจัดการศึกษาโดยมีหลักส้ตรท่ี
เหมาะสม ทันสมัย มีประสิทธิภาพ ทันต่อเหตุการณ์และการ
เปล่ียนแปลงย่อมไดูกำาลังคนท่ีมีประสิทธิภาพส้ง หลักส้ตรเป็ นเคร่ ืองชี้
ใหูเห็นถึงความเจริญของประเทศ จึงตูองมีการปรับปรุง พัฒนาอย่้ตลอด
เวลา เพ่ ือใหูทันต่อเหตุการณ์ของสังคมและโลกท่ีเปล่ียนแปลงไปอย่าง
รวดเร็ว ดังนั ้นจึงจำาเป็ นอย่างย่ิงท่ีจะตูองมีการพัฒนาหลักส้ตรใหูเหมาะ
สมกับความตูองการของสังคมและประเทศชาติ และเพ่ ือใหูเกิดความ
เขูาใจเก่ียวกับการพัฒนาหลักส้ตรนั กวิชาการจึงอธิบายความหมายและ
ความสำาคัญของการพัฒนาหลักส้ตรไวูว่า การพัฒนาหลักส้ตร หมายถึง
การสรูางหลักส้ตรขึ้นมาใหม่หรือการปรับปรุงแกูไขหลักส้ตรเก่าใหูดีขึ้น
หรือทังสรูางและพัฒนาปรับปรุงแกูไขไปพรูอม ๆ กันโดยอาศัยการจัดการ
        ้
หลักส้ตรเพ่ ือทำาใหูการนำ าหลักส้ตรไปใชูเป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพมาก
ท่ีสุด การพัฒนาหลักส้ตรมีความสำาคัญ (พรพิมล พงศ์สุวรรณ, ٢٥٥١,
88-90) ทำาใหูหลักส้ตรทันสมัยต่อการเปล่ียนแปลงทางสังคมและความ
กูาวหนู าทางวิทยาการ
ท่ีเปล่ียนแปลงค่อนขูางรวดเร็วตลอดเวลาและยังทำาใหูการศึกษาสามารถ
แกูปัญหาของสังคมไดูมากย่ิงขึ้นและทำาใหูผู้เก่ียวขูองมีความเขูาใจ
หลักส้ตรและขันตอนในการพัฒนาหลักส้ตรมากย่ิงขึ้นเกิดความชำานาญ
                 ้
ในการปฏิบัติงานส่งผลถึงคุณภาพของหลักส้ตรและคุณภาพการเรียน
การสอน ทำาใหูประเทศชาติเจริญรุ่งเรือง ทันต่อเหตุการณ์ของโลกและ
ทำาใหูหลักส้ตรมีคุณภาพ มีมาตรฐานย่ิงขึ้นเท่าเทียมกับประเทศอ่ ืน ๆ
และยังเป็ นการง่ายต่อการปฏิบัติ เช่นการพัฒนาหลักส้ตรในระดับ
หูองเรียน คร้ท่ีสอนตูองศึกษาหลักส้ตรใหูเขูาใจ ศึกษาแผนการสอน
เตรียมการสอน ทำาบันทึกการสอนและใชูส่ือท่ีหาไดูในทูองถ่ิน เกิดความ
สามัคคีในหม่้คณะ เช่น การทำางานของคร้ในโรงเรียนในการร่วมมือ
พัฒนาหลักส้ตรสถานศึกษาในระดับโรงเรียนและทูองถ่ิน การทำางานของ
คณะกรรมการการศึกษาขันพ้ืนฐาน ตลอดจนการจัดทำาปฏิทินการเรียน
                              ้
การสอน การเตรียมการสอน การทำาแผนการจัดการเรียนรู้ ตลอดจนการ
จัดเตรียมวัสดุอปกรณ์ร่วมกัน เป็ นตูน และทำาใหูการดำาเนิ นการสอน
                   ุ
4


เป็ นไปอย่างเป็ นระบบและถ้กทิศทาง กรมวิชาการ แนวทางในการ
พัฒนาหลักส้ตรมีความสำาคัญ ดังนี้ (٢٥٤٥; อูางถึงใน พรพิมล พงศ์
สุวรรณ, 2551, 200-201) การปรับกิจกรรมการเรียนการสอนหรือ
กิจกรรมเสริม ตูองปรับใหูสอดคลูองกับความตูองการของทูองถ่ิน โดยไม่
ทำาใหูจุดประสงค์ เน้ือหา คาบเวลาเรียน ของรายวิชานั ้นเปล่ียนไป การ
ปรับเพ่ิมรายละเอียดของเน้ือหา หมายถึง การปรับเน้ือหาดูวยการลดหรือ
เพ่ิมปรับรายละเอียดของเน้ือหา โดยไม่ทำาใหูจดประสงค์ คาบเวลาเรียน
                                              ุ
เน้ือหาของวิชานั ้นเปล่ียนไป การปรับปรุงส่ ือการเรียนการสอน การจัด
ทำาส่ ือการเรียนการสอนขึ้นมาใหม่ การจัดทำาคำาอธิบายรายวิชาเพ่ิมเติม
ขึ้นใหม่ กระทรวงศึกษาธิการ (٣٨-٣٣ ,٢٥٤٦) ไดูกำาหนดแนวทางปฏิบัติ
ในการพัฒนาหลักส้ตรสถานศึกษา ศึกษาวิเคราะห์เอกสารหลักส้ตรการ
ศึกษาขันพ้ืนฐาน พ.ศ. ٢٥٤٤ สาระแกนกลางของกระทรวงศึกษาธิการ
         ้
ขูอม้ลสารสนเทศเก่ียวกับสภาพปั ญหาและความตูองการของสังคม
ชุมชนและทูองถ่ิน วิเคราะห์สภาพแวดลูอมและประเมินสภาพสถาน
ศึกษาเพ่ ือกำาหนดวิสัยทัศน์ ภารกิจ เปู าหมาย คุณลักษณะท่ีพึงประสงค์
โดยการมีส่วนร่วมของทุกฝ่ ายรวมทังคณะกรรมการสถานศึกษาขันพ้ืน
                                    ้                         ้
ฐานจัดทำาโครงสรูางหลักส้ตรและสาระต่าง ๆ ท่ีกำาหนดใหูมีในหลักส้ตร
สถานศึกษาท่ีสอดคลูองกับวิสัยทัศน์ เปู าหมายคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์
โดยพยายามบ้รณาการเน้ือหาสาระทังในกลุ่มสาระการเรียนรู้เดียวกัน
                                      ้
และระหว่างกลุ่มสาระการเรียนรู้ตามความเหมาะสม การนำ าหลักส้ตรไป
ใชูในการจัดการเรียนการสอน และบริหารจัดการการใชูหลักส้ตรใหู
เหมาะสม นิ เทศการใชูหลักส้ตร ติดตามและประเมินผลการใชูหลักส้ตร
ปรับปรุงและพัฒนาการใชูหลักส้ตรตามความเหมาะสม จากความสำาคัญ
ของหลักส้ตรดังกล่าว สรุปไดูว่า หลักส้ตรเป็ นแนวทางในการจัดการ
ศึกษาเพ่ ือพัฒนาใหูผู้เรียนใหูบรรลุตามจุดมุ่งหมายท่กำาหนดไวูและเป็ น
                                                    ี
ตัวท่ีสะทูอนใหูเห็นลักษณะของสังคมในอนาคตว่าจะเจริญพัฒนาไปใน
ร้ปแบบใด ถึงแมูว่าประเทศไทยจะมีความต่ ืนตัวในเร่ ืองการใหูความ
สำาคัญของการศึกษาและไดูมีการปฏิรปการศึกษาอย่างต่อเน่ ือง แต่
                                        ้
ขูอม้ลของสถาบันนานาชาติเพ่ ือการจัดการ (International Institute
for Management Development : IMD) ปี 2550 ไดูจดอันดับความ
                                                        ั
สามารถในการแข่งขันของประเทศดูวยโครงสรูางพ้ืนฐานดูานการศึกษา
พบว่า ประเทศไทยอย่้ในลำาดับท่ี 46 จากทังหมด 55 ประเทศ อัตราเขูา
                                            ้
เรียนระดับมัธยมศึกษาสุทธิ ไดูอันดับท่ี 46 อัตราเขูาเรียนรูอยละ 72
ผลสัมฤทธิทางการเรียนระดับอุดมศึกษา จำานวนประชากรอายุ 25-34
             ์
ปี ท่ีจบอุดมศึกษาไดูอันดับท่ี 39 อัตราผูสำาเร็จอุดมศึกษารูอยละ 18
                                          ้
การตอบสนองความสามารถในการแข่งขันของระบบการศึกษาไดูอันดับ
ท่ี 38 การตอบสนองความสามารถในการแข่งขันของการศึกษาระดับ
5


อุดมศึกษา มหาวิทยาลัยสนองต่อภาคเศรษฐกิจและการแข่งขันไดูอันดับ
ท่ี 39 ดัชนี ประเมินการศึกษาไทยดูวยวิธีของ             The OECD
Programme for International Student Assessment (PISA) วัด
คุณภาพนั กเรียนโดยจัดใหูคะแนนการอ่านของเด็กไทย คณิ ตศาสตร์
วิทยาศาสตร์ อย่้ลำาดับท่ี 32 และการวัดทักษะการแกูปัญหาไดูลำาดับท่ี ٣
٤ จาก 41 ประเทศ และ เม่ ือปี 2543 อีกทังยังพบเด็กไทยมีจุดอ่อน
                                             ้
หลายประการในการเขียน คือ สะกดผิด ใชูคำาผิด แยกแยะภาษาพ้ดและ
ภาษาเขียนไม่ไดู เรียบเรียงความคิดเป็ นการเขียนไม่ไดู เป็ นตูน (จรวย
พร ธรณิ นทร์, ٢٥٥٠) ผลจากการจัดการศึกษาของไทยท่ีผ่านมา โดยสรุป
ในภาพรวมพบว่า คุณภาพการจัดการศึกษาของไทยมีความจำาเป็ นตูองไดู
รับการปรับปรุงในดูานสติปัญญา ความรู้ ความคิด ทักษะ ความ
สามารถ รวมทังดูานคุณธรรม จริยธรรม เพราะในโลกยุคใหม่การ
                 ้
แข่งขันขึ้นอย่้กับความรู้ ความสามารถและคุณธรรมของคนในชาติ โดย
เฉพาะเศรษฐกิจของประเทศท่ีตูองใชูความรู้เป็ นฐานในการสรูางและ
พัฒนาองค์ความรู้ทางดูานเศรษฐกิจเพ่ ือการพัฒนาประเทศ จึงจำาเป็ น
อย่างย่ิงท่ีตูองมีการปฏิร้ปทางการศึกษา โดยการปฏิร้ปหลักส้ตรแกน
กลาง พ.ศ. 2551 ในดูานทักษะกระบวนการเรียนรู้ และระบบการ
บริหารงาน เพ่ ือเสริมสรูางศักยภาพของเด็กไทยใหูเป็ นคนท่ีมีคุณภาพ
เป็ นคนดี คนเก่ง และสามารถดำารงชีวิตอย่้ในสังคมท่ีเปล่ียนแปลงนี้ไดู
อย่างมีความสุข สามารถพ่ ึงตนเอง พัฒนาตนเองไดู รู้จกคิดเป็ น แกูไข
                                                         ั
ปั ญหาเป็ น วิเคราะห์สถานการณ์เป็ น มีความคิดสรูางสรรค์ และท่ีสำาคัญ
ตูองเป็ นคนท่ีมีคุณธรรม และจริยธรรม (สำานั กงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
บุรรัมย์ เขต ٦-٥ ,٢٥٥٠ ,١ )
    ี
        นอกจากนั ้นการจัดการศึกษาขันพ้ืนฐานของไทยยังมีปัญหาดูาน
                                         ้
การจัดทำาหลักส้ตรแกนกลาง พ.ศ. 2551 โดยพบว่าผู้บริหารโรงเรียนมี
ภาวะในการเป็ นผู้นำาทางในการจัดทำาหลักส้ตรแกนกลาง พ.ศ.2551 อย่้
ในระดับปานกลางถึงนู อยโดยพจนี ย์ ฐานะเสนา (٢٥٣٦ อูางถึงใน
มณฑา วิญญโสภิต, ٣ ,٢٥٤٧) นอกจากนี้ในปี ٢٥٤٤ ธีระ รุญเจริญ (٢
١٦ ,٥٤٦) ไดูทำาการวิจัยเจาะลึกและเชิงสำารวจ พบว่า โรงเรียนมี
ศักยภาพในการรับรู้การกระจายอำานาจการบริหารอย่้ในระดับ “ ค่อนขูาง
มาก” แต่ศักยภาพดูานการจัดทำาหลักส้ตรและการบริหารงานวิชาการของ
ผู้บริหารโรงเรียน อย่้อันดับสุดทูาย และในขณะท่ีศักยภาพดูานการ
บริหารทัวไปอย่้ในอันดับแรก และธีระ รุญเจริญ (١٧ ,٢٥٤٦) ยังชีใหูเห็น
          ่                                                       ้
อีกว่า ผู้บริหารโรงเรียนส่วนใหญ่ใชูเวลาอย่้นอกโรงเรียนเป็ นปกติและ
ขาดความสนใจดูานการจัดการทำาหลักส้ตรแกนกลาง พ.ศ. 2551 นู อย
กว่าดูานอ่ ืน ๆ ทำาใหูคร้ผู้ปฏิบัติงานเกิดความวูาเหว่และขาดกำาลังใจ
6


        ดังนั ้นในการบริหารการศึกษาในยุคโลกาภิวัฒน์ใหูมีคุณภาพ
บรรลุตามเปู าหมายนั ้น จำาเป็ นตูองอาศัยผู้บริหารท่ีมีภาวการณ์เป็ นผู้นำา
ท่ีมีความรู้ความเขูาใจในเร่ ืองของหลักการ แนวคิด แนวปฏิบัติในการจัด
ทำาหลักส้ตรแกนกลาง พ.ศ. 2551 เพ่ ือสามารถใหูคร้ดำาเนิ นการอย่าง
จริงจังมากขึ้น จึงจะทำาใหูคุณภาพการศึกษาของนั กเรียนมีประสิทธิภาพ
ตรงตามจุดมุ่งหมายของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ٢٥٤٢
จะเห็นว่าคุณภาพของคนขึ้นอย่้กับการศึกษาซ่ ึงผู้ท่ีมีบทบาทสำาคัญมาก
คือการมีสภาพภาวะการเป็ นผู้นำาท่ีจะขับเคล่ ือนใหูสถานศึกษาบรรลุเปู า
หมายของการจัดทำาหลักส้ตรแกนกลาง พ.ศ. 2551 ประกอบกับปั ญหา
ดูานผลสัมฤทธิทางการเรียนของนั กเรียนในเขตพ้ืนท่ีการศึกษาบุรีรัมย์
                  ์
ทัง ٤ เขตท่ีกล่าวมาขูางตูน จึงทำาใหูผู้วิจัยมีความสนใจท่ีจะศึกษาสภาพ
   ้
ภาวะการเป็ นผู้นำาในการจัดทำาหลักส้ตรแกนกลาง พ.ศ. 2551 ของผู้
บริหารโรงเรียน เพ่ ือจะไดูทราบความคิดเห็นว่าอย่้ในระดับใด ซ่ ึงจะไดูนำา
ขูอม้ลและผลจากการวิจัยในครังนี้ไปใชูเป็ นแนวทางในการวางแผน
                                 ้
กำาหนดนโยบาย ตลอดจนพัฒนา ปรับปรุง และหาแนวทางในการแกู
ปั ญหาการแกูปัญหาผลสัมฤทธิทางการเรียนของนั กเรียนใหูมี
                                   ์
ประสิทธิภาพ และสอดคลูองกับความตูองการในการพัฒนาโรงเรียน ซ่ ึง
จะส่งผลใหูการพัฒนาการศึกษามีประสิทธิภาพมากย่ิงขึ้น
ความมุ่งหมายของการวิจัย:
      1. เพ่ ือศึกษาสภาพภาวะผู้นำาดูานการจัดทำาหลักส้ตรแกนกลาง
การศึกษาขันพ้ืนฐาน พ.ศ. 2551 ของผู้บริหารโรงเรียนตามความคิด
            ้
เห็นของคร้วิชาการและคร้ผู้สอน สังกัดสำานั กงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
บุรรัมย์ เขต 3
   ี
      2. เพ่ ือเปรียบเทียบสภาพภาวะผู้นำาดูานการจัดทำาหลักส้ตรแกน
กลางการศึกษาขันพ้ืนฐาน พ.ศ. 2551 ของผู้บริหารโรงเรียนตามความ
                 ้
คิดเห็นของคร้วิชาการและคร้ผู้สอน สังกัดสำานั กงาน เขตพ้ืนท่ีการ
ศึกษาบุรีรัมย์ เขต 3
            ٢.١ สถานภาพตำาแหน่ ง
            ٢.٢ ประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน
            ٢.٣ ขนาดของโรงเรียน
ความสำาคัญของการวิจัย:
      1. เพ่ ือทราบสภาพภาวะผู้นำาดูานการจัดทำาหลักส้ตรแกนกลาง
การศึกษาขันพ้ืนฐาน พ.ศ.2551 ของผู้บริหารโรงเรียนตามความคิดเห็น
           ้
ของคร้วิชาการและคร้ผู้สอน สังกัดสำานั กงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาบุรีรัมย์
เขต 3
7


        ٢. เพ่ ือเป็ นขูอม้ลพ้ืนฐานและแนวทางในการวางแผน กำาหนด
นโยบาย ตลอดจนการแกูไขปั ญหาการจัดทำาหลักส้ตรสถานศึกษาและ
การประเมินผลสัมฤทธิทางการเรียนของโรงเรียน สังกัดสำานั กงานเขต
                          ์
พ้ืนท่ีการศึกษาบุรรัมย์ เขต 3 ใหูบรรลุวัตถุประสงค์และมีประสิทธิภาพ
                      ี
มากย่ิงขึ้น
ระเบียบวิธีการวิจัย:
     ١ ขอบเขตของการวิจัย
          การวิจัยครังนี้มุ่งศึกษาสภาพภาวะผู้นำาดูานการจัดทำาหลักส้ตร
                      ้
แกนกลางการศึกษาขันพ้ืนฐาน พ.ศ. 2551 ของผู้บริหารโรงเรียนตาม
                        ้
ความคิดเห็นของคร้วิชาการและคร้ผู้สอน สังกัดสำานั กงานเขตพ้ืนท่ีการ
ศึกษาบุรีรัมย์ เขต 3 ตามกรอบการจัดทำาหลักส้ตรแกนกลาง พ.ศ.
2551             มี 6 ดูานดังนี้
                (١) ดูานการกำาหนดวิสัยทัศน์ของหลักส้ตร
         (2) ดูานการกำาหนดสมรรถนะสำาคัญของผู้เรียน
               (٣) ดูานการจัดทำาตัวชีวัดชันปี
                                     ้    ้
               (٤) ดูานการกำาหนดสาระการเรียนรู้แกนกลาง
         (5) ดูานการปรับโครงสรูางเวลาเรียน
               (6) ดูานการปรับเกณฑ์การวัดประเมินผล
      ١.١ ประชากรและกลุ่มตัวอยุาง
                 ١.١.١ ประชากร ประชากรท่ีใชูในการวิจยครังนี้
                                                    ั   ้
ประกอบดูวย
                  ١.١.١.1 คร้วิชาการในโรงเรียน สังกัดสำานั กงานเขต
พ้ืนท่ีการศึกษาบุรรัมย์ เขต 3 จำานวน………คน
                    ี
                  1.1.1.2 คร้ผู้สอนในโรงเรียน สังกัดสำานั กงานเขต
พ้ืนท่ีการศึกษาบุรรัมย์ เขต 3 จำานวน…….คน
                      ี
                   ١.١.٢ กลุ่มตัวอยุาง กลุ่มตัวอย่างท่ีใชูในการศึกษา
ครังนี้ไดูแก่ คร้วิชาการและคร้ผู้สอนในโรงเรียน สังกัดสำานั กงานเขต
    ้
พ้ืนท่ีการศึกษาบุรรัมย์ เขต 3 โดยไดูจากการกำาหนดขนาดกลุ่ม
                        ี
ตัวอย่างตามตารางของเครซ่ีและมอร์แกน (Krejcie & Morgan ) ต่อ
จากนั ้นจึงทำาการสุ่มกลุ่มตัวอย่างใหูกระจายไปตามอำาเภอและโรงเรียน
ต่าง ๆ โดยแบ่งตามขนาดของโรงเรียน อย่างมีสัดส่วน ไดูคร้วิชาการและ
คร้ผู้สอนในโรงเรียนจำานวน….คน รวม…..คน ( Stratified
Random Sampling ) และทำาการสุ่มอย่างง่าย ( Simple Random
Sampling ) ไดูกลุ่มตัวอย่าง ดังนี้
8


                   1.1.٢.١. คร้วิชาการในโรงเรียน สังกัดสำานั กงานเขต
พ้ืนท่ีการศึกษาบุรรัมย์ เขต 3 กลุ่มละ……คน รวม………คน
                     ี
                    ١.١.2.1. คร้ผู้สอนในโรงเรียน สังกัดสำานั กงานเขต
        พ้ืนท่ีการศึกษาบุรรัมย์ เขต 3
                          ี
กลุ่มละ……คน รวม………คน
        ในการสุ่มกลุ่มตัวอย่างครังนี้ถูาสุ่มไดูโรงเรียนใดเป็ นกลุ่มตัวอย่าง
                                  ้
จะใชูทังคร้คร้วิชาการและผู้สอนในโรงเรียนนั ้น เป็ นผู้ตอบแบบสอบถาม
         ้
แทนกลุ่มตัวอย่างในแต่ละกลุ่ม
       ١.٢ ตัวแปรท่ศึกษา
                   ี
                 ١.٢.١ ตัวแปรอิสระ
                 1.2.1.1 คร้ในโรงเรียน จำาแนกตาม
                      ١.٢.١.١.١ สถานภาพตำาแหน่ ง
                              ١.٢.١.١.١.1 คร้วิชาการ
                                              ١.٢.١.١.١.٢ คร้ผู้
สอน
                             ١.٢.١.١.٢ ขนาดของโรงเรียน
                                 1.2.1.1.2.1 โรงเรียนขนาดเล็ก
                                                   ١.٢.١.١.٢.2
โรงเรียนขนาดกลาง
                                                        ١.٢.١.١.٢.3
โรงเรียนขนาดใหญ่
                        ١.٢.١.١.٣ ประสบการณ์ในการปฏิบัติงานใน
โรงเรียน
                                  ١.٢.١.١.٣.١ ประสบการณ์ตำ่ากว่า ٥ ปี

                                  ١.٢.١.١.٣.2 ประสบการณ์ ٥ ปี ถึง ١
٠ ปี
                                  ١.٢.١.١.٣.3 ประสบการณ์ส้งกว่า ١٠
ปี ขึ้นไป
              ١.٢.٢ ตัวแปรตาม ไดูแก่ ความคิดเห็นของคร้วิชาการ
และคร้ผู้สอนในการจัดทำาหลักส้ตรแกนกลาง พ.ศ. 2551 ของผู้
บริหารโรงเรียน สังกัดสำานั กงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาบุรีรัมย์ เขต 3
ตามกรอบการดำาเนิ นงานโดยยึดหลักการมีส่วนร่วม 6 ดูาน คือ
                    (١) ดูานการกำาหนดวิสัยทัศน์หลักส้ตร
                     (2) ดูานการกำาหนดสมรรถนะสำาคัญของผู้เรียน
9


                          (٣) ดูานการจัดทำาตัวชีวัดชันปี
                                                ้    ้
                           (٤) ดูานการกำาหนดสาระการเรียนรู้แกน
กลาง
                         (5) ดูานการปรับโครงสรูางเวลาเรียน
                          (6) ดูานการปรับเกณฑ์การวัดประเมินผล
                         (สำานั กงานคณะกรรมการการศึกษาขันพ้ืน
                                                          ้
ฐาน, ٢551, ٣-23)



2. เคร่ ืองมือการวิจัย
      2.١ ลักษณะเคร่ ืองมือ
        เคร่ ืองมือท่ีใชูในการเก็บรวบรวมขูอม้ลในการวิจัยครังนี้ เป็ น
                                                            ้
แบบสอบถามเก่ียวกับภายในโรงเรียน สังกัดสำานั กงานเขตพ้ืนท่ีการ
ศึกษาบุรีรัมย์ เขต ٣ ซ่ ึงผู้วิจัยไดูสรูางขึ้นเอง โดยลักษณะของเคร่ ืองมือ
ท่ีใชูการเก็บรวบรวมขูอม้ลเป็ นแบบสอบถาม แบ่งเป็ น ٣ ตอน ดังนี้
                 ตอนท่ี ١ เป็ นขูอคำาถามเก่ียวกับรายละเอียดของผู้ตอบ
แบบสอบถาม โดยลักษณะเป็ นขูอคำาถามแบบตรวจสอบรายการ (Check
lists) จะมีคำาตอบใหูกาเคร่ ืองหมาย ย ลงใน ( )
                 ตัวอย่าง สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม
                       ( ) คร้วิชาการ
                       ( ) คร้ผู้สอน
                 ตอนท่ี ٢ เป็ นแบบสอบถามเก่ียวความคิดเห็นของคร้
วิชาการและคร้ผู้สอน ท่ีมีต่อสภาพภาวะดูานผู้นำาในการจัดทำาหลักส้ตร
แกนกลาง พ.ศ. 2551 ในสังกัดสำานั กงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาบุรีรัมย์
เขต ٣ ลักษณะคำาถามเป็ นแบบมาตราส่วนประมาณค่า ( Rating
Scale) ซ่ ึงคำาถามครอบคลุมเก่ียวกับการดำาเนิ นงานตามกรอบการดำาเนิ น
งานการจัดทำาหลักส้ตรแกนกลาง พ.ศ. 2551 ภายในสถานศึกษาโดย
ยึดหลักการมีส่วนร่วม ٦ ประการ คือ ดูานการกำาหนดวิสัยทัศน์
หลักส้ตร ดูานการกำาหนดสมรรถนะสำาคัญของผู้เรียน ดูานการจัด
ทำาตัวชีวัดชันปี ดูานการกำาหนดสาระการเรียนรู้แกนกลาง ดูานการปรับ
        ้      ้
โครงสรูางเวลาเรียน ดูานการปรับเกณฑ์การวัดประเมินผล และ
แบ่งระดับทัศนะดูานการปฏิบัติงานเป็ น ٥ ระดับ คือ มากท่ีสุด(5)
มาก(4) ปานกลาง(3) นู อย(2) นู อยท่ีสุด(1) แลูวกาเคร่ ืองหมาย
ย ลงในแบบสอบถาม โดยในแต่ละดูานมีจำานวน 6 ขูอ ดังนี้
10


              (١) ดูานการกำาหนดวิสัยทัศน์หลักส้ตร
จำานวน.......... ขูอ
                     (2) ดูานการกำาหนดสมรรถนะสำาคัญของผู้เรียน
จำานวน.......... ขูอ
              (٣) ดูานการจัดทำาตัวชีวัดชันปี
                                    ้    ้
จำานวน.......... ขูอ
              (٤) ดูานการกำาหนดสาระการเรียนรู้แกนกลาง
จำานวน.......... ขูอ
               (5) ดูานการปรับโครงสรูางเวลาเรียน
จำานวน.......... ขูอ
              (6) ดูานการปรับเกณฑ์การวัดประเมินผล
จำานวน.......... ขูอ
             ตอนท่ี ٣ เป็ นคำาถามปลายเปิ ด (Open Form) เพ่ ือใหู
กลุ่มตัวอย่างไดูแสดงความคิดเห็น ขูอเสนอแนะอ่ ืน ๆ ท่ีนอกเหนื อจาก
ท่ีไดูกล่าวมาแลูว เก่ียวกับความคิดเห็นของคร้วิชาการและคร้ผู้สอนต่อ
สภาพภาวะผู้นำาดูานการจัดทำาหลักส้ตรแกนกลาง พ.ศ. 2551 ของผู้
บริหารโรงเรียน สังกัดสำานั กงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาบุรีรัมย์ เขต 3



     2.2   ขันตอนในการสร้างเคร่ ืองมือท่ีใช้ในการวิจัย
             ้
                      การสรูางเคร่ ืองมือท่ีใชูในการรวบรวมขูอม้ลในการ
ศึกษาวิจัยครังนี้ ไดูดำาเนิ นการดังนี้
                ้
               ٤.٢.١ ศึกษาเอกสาร ตำารา บทความและรายงานการวิจัยท่ี
               เก่ียวขูอง
               ٤.٢.٢ นำ าขูอม้ลจากการศึกษา คูนควูามาสรูางแบบสอบถาม
               ٤.٢.٣ นำ าเสนอร่างแบบสอบถามไปใหูผู้เช่ียวชาญ และคณะ
กรรมการควบคุมวิทยานิ พนธ์ทำาการตรวจสอบ เพ่ ือใหูไดูคำาถามท่ี
ครอบคลุม ตรงสภาพ และปั ญหา เป็ นการหาความเท่ียงตรงของ
แบบสอบถามแบบ Face Validity ผู้เช่ียวชาญท่ีทำาการตรวจสอบ มี
ดังนี้
               ٤.٢.٣.١………………………………
               ٤.٢.٣.٢………………………………
               ٤.٢.٣.٣ ……………………………
               4.2.4 นำ าแบบสอบถามท่ีไดูจากการตรวจสอบ แกูไข จาก
ผู้เช่ียวชาญและคณะกรรมการควบคุมวิทยานิ พนธ์ ทำาการตรวจสอบ มา
11


ปรับปรุงแกูไขและเสนอใหูคณะกรรมการควบคุมวิทยานิ พนธ์พิจารณา
อีกครัง แลูวนำ ามาปรับปรุงแกูไขใหูดีย่ิงขึ้น
       ้
             ٤.٢.٥ นำ าแบบสอบถามไปทดลองใชู ( Try Out ) กับคร้
วิชาการและคร้ผู้สอนในโรงเรียน สังกัดสำานั กงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
บุรรัมย์ เขต ٣ ท่ีไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง จำานวน ٣٠ คน โดยหาอำานาจการ
     ี
จำาแนกรายขูอ
             ٤.٢.٦ หาอำานาจการจำาแนก โดยวิเคราะห์แบบสอบถามเป็ น
รายขูอหาค่าคะแนนเฉล่ีย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน ของคะแนนแต่ละขูอ
ทังกลุ่มส้งและกลุ่มตำ่า ทดสอบความแตกตางโดยใชู
   ้                                                   t – test ท่ีระดับ
นั ยสำาคัญ .٠٥ หรือถูาค่า t มีค่า ١.٧٥ ขึ้นไปถือว่ามีอำานาจจำาแนกส้ง
             ٤.٢.٧ นำ าแบบสอบถามท่ีผ่านค่าอำานาจจำาแนกเป็ นรายขูอ
ไปทดลองใชู ( Try Out ) กับคร้วิชาการและคร้ผู้สอน ในโรงเรียน
สังกัดสำานั กงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาบุรีรัมย์ เขต ٣ ท่ีไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง
จำานวน ٣٠ คน เพ่ ือหาค่าความเช่ ือมัน ( Reliability ) โดยใชู
                                      ่
สัมประสิทธิแอลฟา
             ์              ( Alpha Coefficient ) ตามวิธีของ ครอ
นบาค (Cronbach)
       3. การเก็บรวบรวมข้อมูล
           ผู้วจัยไดูดำาเนิ นการเก็บรวบรวมขูอม้ลตามลำาดับขันตอน ดังนี้
               ิ                                           ้
              ١ ผู้วิจัยขอหนั งสือจากบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย
ราชภัฎบุรีรัมย์ ส่งถึงผู้อำานวยการสำานั กงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาบุรรัมย์
                                                                 ี
เขต ٣ เพ่ ือขอความอนุเคราะห์ในการออกหนั งสือขอความร่วมมือไปยังผู้
บริหารโรงเรียนเพ่ ือขอใชูแบบสอบถามคร้วิชาการและคร้ผู้สอนท่ีเป็ นก
ลุ่มตัวอย่างภายในโรงเรียน
              ٢ ผู้วิจัยนำ าแบบสอบถามการวิจยไปยังสำานั กงานเขตพ้ืนท่ี
                                             ั
การศึกษาบุรีรัมย์เขต ٣ เพ่ ือแจกจ่ายไปยังสถานศึกษาท่ีเป็ นกลุ่ม
ตัวอย่าง พรูอมกำาหนดวันรับแบบสอบถามคืนภายใน ٢ สัปดาห์โดยส่ง
แบบสอบถามคืนท่ีสำานั กงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา บุรีรัมย์ เขต ٣
              ٣ ผู้วิจัยไปเก็บรวบรวมแบบสอบถามท่ีสำานั กงานเขตพ้ืนท่ี
การศึกษาบุรีรัมย์เขต ٣ ดูวยตนเอง กรณี ไม่ไดูรับแบบสอบถามคืน
ภายในกำาหนด ผู้วิจัยจะติดตามดูวยตนเองเพ่ ือใหูไดูแบบสอบถามคืน
ทังหมด
   ้
     4. การวิเคราะห์ข้อมูล
          เม่ ือดำาเนิ นการเก็บรวบรวมขูอม้ลเรียบรูอยแลูว ในการจัด
กระทำาขูอม้ลผู้วิจัยไดูดำาเนิ นการดังนี้
            ١ ตรวจสอบความสมบ้รณ์ของแบบสอบถามแต่ละฉบับ
12


            ٢ คัดแยกแบบสอบถามตามสถานภาพของผู้ตอบ
แบบสอบถาม
            ٣ กรอกรหัสแบบสอบถาม
            ٤ กำาหนดตัวเลขแทนค่าขูอม้ลในแบบสอบถามแต่ละขูอ
แลูวบันทึกขูอม้ลท่ีไดูมาลงในกระดาษ ทำาจนครบแบบสอบถามทุกฉบับ
            ٥ ประมวลผลดูวยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ โปรแกรม
สำาเร็จร้ปทางสถิติ
การวิเคราะห์ข้อมูลดำาเนิ นการดังนี้
             ١. การศึกษาสถานภาพของกลุ่มตัวอย่าง วิเคราะห์ดูวย
การแจกแจงความถ่ี หาค่า รูอยละ (Percent) เสนอขูอม้ลเป็ นตาราง
แสดงจำานวนรูอยละ
             ٢. การศึกษาสภาพภาวะผู้นำาดูานการจัดทำาหลักส้ตรแกน
กลางการศึกษาขันพ้ืนฐาน พ.ศ. 2551 ของผู้บริหารโรงเรียนตามความ
                  ้
คิดเห็นของคร้วิชาการและคร้ผู้สอน สังกัดสำานั กงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
บุรรัมย์ เขต 3 วิเคราะห์ดูวยการหาค่าเฉล่ีย ( Mean) และส่วนเบ่ียง
    ี
เบนมาตรฐาน                 ( Standard Deviation) เสนอขูอม้ลเป็ น
ตารางประกอบความเรียง
             ٣. การเปรียบเทียบสภาพภาวะผู้นำาดูานการจัดทำาหลักส้ตร
แกนกลางการศึกษาขันพ้ืนฐาน พ.ศ. 2551 ของผู้บริหารโรงเรียนตาม
                      ้
ความคิดเห็นของคร้วิชาการและคร้ผู้สอน สังกัดสำานั กงานเขตพ้ืนท่ีการ
ศึกษาบุรีรัมย์ เขต 3 จำาแนกตามสถานภาพของตำาแหน่ ง วิเคราะห์ดวย   ู
ค่า t-test Independent กำาหนดค่าสถิติท่ีระดับนั ยสำาคัญ .٠٥
             ٤. การเปรียบเทียบสภาพภาวะผู้นำาดูานการจัดทำาหลักส้ตร
แกนกลางการศึกษาขันพ้ืนฐาน พ.ศ. 2551 ของผู้บริหารโรงเรียนตาม
                        ้
ความคิดเห็นของคร้วิชาการและคร้ผู้สอน สังกัดสำานั กงานเขตพ้ืนท่ีการ
ศึกษาบุรีรัมย์ เขต 3 จำาแนกตามประสบการณ์ โดยการวิเคราะห์ความ
แปรปรวนทางเดียว ( One-way Analysis of Variance) เม่ ือพบความ
แตกต่างของค่าเฉล่ียในแต่ละดูานอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ จะทำาการ
เปรียบเทียบความแตกต่างเป็ นรายค่้ตามวิธีของเชฟเฟ่ ( Scheffe)
กำาหนดค่าสถิติท่ีระดับนั ยสำาคัญ .٠٥
             5. การเปรียบเทียบขนาดของโรงเรียนตามสภาพภาวะผู้นำา
ดูานการจัดทำาหลักส้ตรแกนกลางการศึกษาขันพ้ืนฐาน พ.ศ. 2551 ของ
                                            ้
ผู้บริหารโรงเรียนตามความคิดเห็นของคร้วิชาการและคร้ผู้สอน สังกัด
สำานั กงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาบุรีรัมย์ เขต 3 จำาแนกตามขนาดของ
โรงเรียน โดยการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ( One-way
Analysis of Variance) เม่ ือพบความแตกต่างของค่าเฉล่ียในแต่ละ
13


ดูานอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ จะทำาการเปรียบเทียบความแตกต่างเป็ น
รายค่้ตามวิธีของเชฟเฟ่ ( Scheffe) กำาหนดค่าสถิติท่ีระดับนั ยสำาคัญ .٠
٥
            6. ขูอเสนอแนะท่ีเป็ นคำาถามปลายเปิ ด ใชูการวิเคราะห์เชิง
เน้ือหา (Content Analysis) โดยจัดคำาตอบเขูาประเด็นเดียวกันแลูว
แจกแจงความถ่ีหาค่ารูอยละ เสนอขูอม้ลเป็ นตารางประกอบคำาอธิบาย
            7. เกณฑ์ในการแปลความหมายขูอม้ล การแปลความ
หมายของค่าเฉล่ีย (Mean)        ไดูกำาหนดขอบเขตของค่าเฉล่ียดังนี้ (
บุญชม ศรีสะอาด, ٢٥٤٥, 1 ٦٣)
            ค่าเฉล่ีย ٥.٠٠ – ٤.٥١ หมายถึง มีสภาพการดำาเนิ นงาน/มี
ปั ญหาอย่้ในระดับมากท่ีสุด
            ค่าเฉล่ีย    ٤.٥٠ – ٣.٥١ หมายถึง มีสภาพการดำาเนิ น
งาน/มีปัญหาอย่้ในระดับมาก
            ค่าเฉล่ีย ٣.٥٠ – ٢.٥١ หมายถึง มีสภาพการดำาเนิ นงาน/มี
ปั ญหาอย่้ในระดับปานกลาง
            ค่าเฉล่ีย ٢.٥٠ – ١.٥١ หมายถึง มีสภาพการดำาเนิ นงาน/มี
ปั ญหาอย่้ในระดับนู อย
            ค่าเฉล่ีย ١.٥٠ – ١.٠٠ หมายถึง มีสภาพการดำาเนิ นงาน/มี
ปั ญหาอย่้ในระดับนู อยท่ีสุด
สถิติท่ีใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
             ١. สถิติท่ีใชูในการตรวจสอบคุณภาพของเคร่ ืองมือ
                  ١.١ หาค่าอำานาจจำาแนก
                  ١.٢ ค่าความเช่ ือมันของแบบสอบถาม
                                     ่

           ٢. สถิติพ้ืนฐาน
               ٢.١ ค่ารูอยละ ( Percentage)
               ٢.٢ มัชฉิ มเลขคณิ ตหรือค่าเฉล่ีย (Arithmatic
Mean)
                2.3 ค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน ( Standard
Deviation)
          ٣. สถิติท่ีใชูในการทดสอบสมมติฐาน
              ٣.١ การทดสอบค่าเฉล่ียของกลุ่มตัวอย่างท่ีเป็ นอิสระ
กัน (Independent Sample)
              3.2 การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ( One-
way Analysis of Variance)
14


                ٣.٣ เม่ ือพบความแตกต่างของค่าเฉล่ียในแต่ละดูาน
อย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติท่ีระดับ .٠٥ แลูว จะใชูวิธีการเปรียบเทียบ
ความแตกต่างรายค่้ ตามวิธีการของเชฟเฟ่ ( Scheffe)
ระยะเวลาในการทำาวิจัย:
     ตังแต่ 10 มิถุนายน ٢٥٥2 – 5 สิงหาคม ٢٥٥2
       ้
แผนการดำาเนิ นการวิจัย:

                                                                             หมายเ
วิธีดำาเนิ นงาน                    ระยะเวลาดำาเนิ นการ
                                                                              หตุ
                   มิ. ก.   ส.   ก. ต.   พ. ธ.   ม.      ก.   มี.   เม. พ.
                   ย. ค.    ค.   ย. ค.   ย. ค.   ค.      พ.   ค.    ย. ค.
١. ศึกษา
เอกสารและ-
    งานวิจัย
٢. กำาหนดวิธี
การ-
    ดำาเนิ นงาน
٣. สรูางเคร่ ือง
มือ
٤. ทดลอง
เคร่ ืองมือ
٥. ปรับปรุง
เคร่ ืองมือ
٦. เก็บ
รวบรวม-
      ขูอม้ล
٧. วิเคราะห์
ขูอม้ล
٨. แปลผล
สรุปผล-
  อภิปราย
เสนอแนะ
٩. เขียน
รายงานการ-
    วิจัย
١٠. พิมพ์
15




                       บรรณาน่กรม
กระทรวงศึกษาธิการ. (٢٥٤٥). หลักสูตรการศึกษาขันพ้ืนฐาน
                                                    ้
พุทธศักราช ٢٥٤٤ (พิมพ์ครังท่ี ٢).
                             ้
            กรุงเทพฯ: องค์การรับส่งสินคูาและพัสดุภัณฑ์.
จรวยพร ธรณิ นทร์. (٢٥٥٠). การศึกษาคือปั จจัยอำานาจชีชะตาบ้าน
                                                        ้
เมือง. คูนเม่ ือ ٧ พฤษภาคม
            ٢٥٥١, จาก www.moe.go.th/new_site/doc/d/150
ธีระ รุญเจริญ. (٢٥٤٦). การบริหารโรงเรียนยุคปฏิรูปการศึกษา.
กรุงเทพฯ: ขูาวฟ่ าง.
---------. (2549). ความเป็ นมืออาชีพของผู้บริหารสถานศึกษา:
สภาพปั ญหาและแนวปฏิบัติ. กรุงเทพ:
        ขูาวฟ่ าง.
มณฑา วิญญโสภิต. (٢٥٤٧). การศึกษาพฤติกรรมภาวะผู้นำาทาง
วิชาการของผู้บริหารโรงเรียน
           ระดับประถมศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร ตามการรับรู้
ของครูและผู้บริหาร. วิทยานิ พนธ์
            ค.ม. (การบริหารการศึกษา). กรุงเทพฯ: ครุศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สมคิด พรมจูุย และสุพักตร์ พิบ้ลย์. (٢٥٤٤). การประกันค่ณภาพ
       ภายในสถานศึกษา. นนทบุรี : จตุพรดีไซน์
สำานั กงานคณะกรรมการการศึกษาขันพ้ืนฐาน ( 2551 ) หลักสูตร
                                   ้
       แกนกลางการศึกษาขันพ้ืนฐาน พ.ศ. 2551 กรุงเทพมหานคร:
                           ้
       ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย
สำานั กงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (٢٥٤٤ ). แนวทางการ
ประกันค่ณภาพภายใน
16


           สถานศึกษา :เพ่ ือพร้อมรับการประเมินภายนอก. พิมพ์ครังท่ี
                                                              ้
٣. กรุงเทพฯ : พิมพ์ด. ี
สำานั กวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำานั กงานคณะกรรมการการ
       ศึกษาขันพ้ืนฐาน. (٢٥٤٩). เอกสารแนวทางการดำาเนิ นงาน
               ้
       ปฏิรูปการเรียนการสอน ตามเจตนารมณ กระทรวงศึกษาธิการ٢
                                             ์                  “
       ٥٤٩ ปี แหุงการปฏิรูปการเรียนการสอน” : แนวทางการประกัน
       ค่ณภาพภายในสถานศึกษา. กรุงเทพฯ : สำานั กวิชาการและ
       มาตรฐานการศึกษา.

More Related Content

What's hot

รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 2
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 2รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 2
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 2Yodhathai Reesrikom
 
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...โรงเรียนบ้านเสาเล้าฯ สผศ
 
1ความรอบรู้ok (1)
1ความรอบรู้ok (1)1ความรอบรู้ok (1)
1ความรอบรู้ok (1)Tophit Sampootong
 
แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3
แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3
แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3thanaetch
 
บทความนิเทศ ประกัน
บทความนิเทศ ประกันบทความนิเทศ ประกัน
บทความนิเทศ ประกันNirut Uthatip
 
แผนยุทธศาสตร์ปศพ.
แผนยุทธศาสตร์ปศพ.แผนยุทธศาสตร์ปศพ.
แผนยุทธศาสตร์ปศพ.wasan
 
วารสาร วิจัย 02
วารสาร วิจัย 02วารสาร วิจัย 02
วารสาร วิจัย 02Tam Taam
 
การบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการการบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการTwatchai Tangutairuang
 
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน รร.มัธยมจารพัตวิทยา
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน รร.มัธยมจารพัตวิทยาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน รร.มัธยมจารพัตวิทยา
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน รร.มัธยมจารพัตวิทยาWorrachet Boonyong
 
บทความวิจัยของจีราศรีไทย ม.ราชภัฏสุรินทร์
บทความวิจัยของจีราศรีไทย ม.ราชภัฏสุรินทร์บทความวิจัยของจีราศรีไทย ม.ราชภัฏสุรินทร์
บทความวิจัยของจีราศรีไทย ม.ราชภัฏสุรินทร์JeeraJaree Srithai
 
บทความวิจัย 1
บทความวิจัย 1บทความวิจัย 1
บทความวิจัย 1luanrit
 
แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...Wichai Likitponrak
 
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบ
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบสรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบ
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบtunyapisit
 

What's hot (19)

รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 2
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 2รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 2
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 2
 
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...
 
1ความรอบรู้ok (1)
1ความรอบรู้ok (1)1ความรอบรู้ok (1)
1ความรอบรู้ok (1)
 
บทที่ 2
บทที่ 2 บทที่ 2
บทที่ 2
 
กฏหมาย
กฏหมายกฏหมาย
กฏหมาย
 
แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3
แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3
แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3
 
บทความนิเทศ ประกัน
บทความนิเทศ ประกันบทความนิเทศ ประกัน
บทความนิเทศ ประกัน
 
แผนยุทธศาสตร์ปศพ.
แผนยุทธศาสตร์ปศพ.แผนยุทธศาสตร์ปศพ.
แผนยุทธศาสตร์ปศพ.
 
วารสาร วิจัย 02
วารสาร วิจัย 02วารสาร วิจัย 02
วารสาร วิจัย 02
 
การบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการการบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการ
 
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน รร.มัธยมจารพัตวิทยา
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน รร.มัธยมจารพัตวิทยาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน รร.มัธยมจารพัตวิทยา
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน รร.มัธยมจารพัตวิทยา
 
Ea5103
Ea5103Ea5103
Ea5103
 
บทความวิจัยของจีราศรีไทย ม.ราชภัฏสุรินทร์
บทความวิจัยของจีราศรีไทย ม.ราชภัฏสุรินทร์บทความวิจัยของจีราศรีไทย ม.ราชภัฏสุรินทร์
บทความวิจัยของจีราศรีไทย ม.ราชภัฏสุรินทร์
 
วิจัย
วิจัยวิจัย
วิจัย
 
บทความวิจัย 1
บทความวิจัย 1บทความวิจัย 1
บทความวิจัย 1
 
แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
 
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบ
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบสรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบ
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบ
 
C
CC
C
 
20
2020
20
 

Similar to เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol

รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนNatmol Thedsanabun
 
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนNatmol Thedsanabun
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7kanwan0429
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7kanwan0429
 
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...Kobwit Piriyawat
 
เปรียบเทียบนโยบายของนายอภิสิทธิ์กับยิ่งลักษณ์
เปรียบเทียบนโยบายของนายอภิสิทธิ์กับยิ่งลักษณ์เปรียบเทียบนโยบายของนายอภิสิทธิ์กับยิ่งลักษณ์
เปรียบเทียบนโยบายของนายอภิสิทธิ์กับยิ่งลักษณ์Krusupharat
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7benty2443
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7nattawad147
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524gam030
 

Similar to เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol (20)

หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลาง
 
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการนโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
 
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...
 
W 2
W 2W 2
W 2
 
E book world-class
E book world-classE book world-class
E book world-class
 
เปรียบเทียบนโยบายของนายอภิสิทธิ์กับยิ่งลักษณ์
เปรียบเทียบนโยบายของนายอภิสิทธิ์กับยิ่งลักษณ์เปรียบเทียบนโยบายของนายอภิสิทธิ์กับยิ่งลักษณ์
เปรียบเทียบนโยบายของนายอภิสิทธิ์กับยิ่งลักษณ์
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 

เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol

  • 1. 1 เค้าโครงวิทยานิ พนธ์ ช่ ือเร่ ือง : สภาพภาวะผู้นำาดูานการจัดทำาหลักส้ตรแกนกลางการศึกษา ขันพ้ืนฐานพุทธศักราช ٢٥٥١ ้ ของผู้บริหารโรงเรียนตามความคิดเห็นของคร้วิชาการและ คร้ผู้สอน สังกัดสำานั กงานเขต พ้ืนท่ีการศึกษาบุรรัมย์ เขต 3 ี ประเภทของการวิจัย : การวิจัยเชิงบรรยาย สาขาวิชาท่ีทำาการวิจัย : สาขาการบริหารการศึกษา สถานท่ีทำาการวิจัยหรือเก็บข้อมูล : โรงเรียนในสังกัดสำานั กงานเขต พ้ืนท่ีการศึกษาบุรรัมย์ เขต 3 ี ความเป็ นมาและความสำาคัญของปั ญหา ปั จจุบันความเจริญกูาวหนู าอย่างรวดเร็วทางดูานเทคโนโลยี สารสนเทศ และวิทยาการต่าง ๆ ในสังคมส่งผลกระทบต่อสภาพสังคมใหู มีการแข่งขันกันส้งขึ้น การพัฒนามนุษย์จึงจำาเป็ นตูองมีการปรับตัวใหู ทันต่อการเปล่ียนแปลงท่ีเกิดขึ้นและเตรียมพรูอมท่ีจะเผชิญกับความ ทูาทายจากกระแสโลกาภิวัฒน์ ปั จจัยสำาคัญท่ีทำาใหูสามารถเผชิญกับการ เปล่ียนแปลงและความทูาทายดังกล่าวไดูคือ การพัฒนาคนใหูมีคุณภาพ โดยการศึกษาเป็ นอีกวิธีการหน่ ึงท่ีจะพัฒนาคุณภาพของคนใหูเป็ นบุคคล แห่งการเรียนรู้ การพัฒนาหลักส้ตรแกนกลาง พ.ศ. 2551 จึงเป็ น หัวใจหลักของการจัดการเรียนการสอน ท่ีจะมีผลทำาใหูการจัดการศึกษา บรรลุผลตามเปู าหมายท่ีตังไวู เพราะหลักส้ตรเป็ นตัวกำาหนดแนวทางใน ้ การจัดการศึกษาว่าเป็ นการศึกษาเพ่ ืออะไร เพ่ ือใคร ในระดับใด ดังนั ้น ความรู้ความเขูาใจในเร่ ืองการพัฒนาหลักส้ตรจึงเป็ นส่ิงสำาคัญท่ีจะทำาใหู การจัดการศึกษาดำาเนิ นไปดูวยดี ทังแก่ผู้เรียนและช่วยใหูคร้สามารถ ้ จัดการเรียนการสอนใหูเป็ นไปอย่างมีทิศทาง นั กวิชาการจึงใหูความ สนใจในเร่ ืองของหลักส้ตรโดยใหูความหมายของหลักส้ตรไวูแตกต่างกัน เพราะหลักส้ตรมีความจำาเป็ นต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ใหูมีคุณภาพ โดยมีการจัดกระบวนการเรียนรู้นำาไปส่้ความเจริญงอกงามของบุคคล สังคม ประเพณี และวัฒนธรรม โดยการศึกษาทำาใหูเป็ นบุคคลท่ีรู้จักคิด วิเคราะห์ รูจักการแกูไขปั ญหา รูจักการเรียนรูดูวยตนเองและพัฒนาขีด ้ ้ ้ ความสามารถในการทำางานใหูส้งขึ้น ใหูเกิดมีการปรับตัวใหูทันต่อการ เปล่ียนแปลงท่ีเกิดขึ้น สามารถดำารงชีวิตอย่้ในสังคมไดูอย่างเป็ นสุขและ สามารถแข่งขันกับบุคคลอ่ ืนไดูอย่างมีเกียรติมีศักดิศรี ์
  • 2. 2 รัฐธรรมน้ญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2550 มาตรา 49 วรรคแรก กล่าวว่า “ บุคคลย่อมมีสิทธิเสมอกันในการรับการศึกษา ไม่นูอยกว่าสิบสองปี ท่ีรัฐจะตูองจัดการศึกษาใหูอย่างทัวถึงและมีคุณภาพ ่ โดยไม่เก็บค่าใชูจาย...” จะเห็นไดูว่ามีการเปล่ียนแปลงการจัดการศึกษา ่ ของชาติท่ีเรียกว่า การปฏิร้ปการศึกษา โดยจัดการศึกษาภาคบังคับและ การศึกษาขันพ้ืนฐาน เพ่ ือใหูประชาชนคนไทยไดูรับการศึกษาอย่างเท่า ้ เทียมกัน นอกจากนี้พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และท่ีแกูไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545 มาตรา 6 กล่าวว่า “ การ จัดการศึกษาตูองเป็ นไปเพ่ ือพัฒนาคนไทยใหูเป็ นมนุษย์ท่ีสมบ้รณ์ทัง ้ ร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้และคุณธรรม มีจริยธรรมและ วัฒนธรรม...” ดังนั ้นโรงเรียนจะตูองดำาเนิ นการจัดการศึกษาใหูบรรลุจุด มุ่งหมาย ตามมาตรฐานของหลักส้ตร และตามเจตนารมณ์ของการ จัดการศึกษาของชาติ โดยการจัดทำาหลักส้ตรสถานศึกษาใหูสอดคลูอง กับหลักส้ตรแกนกลาง พ.ศ. 2551 และสนองตอบต่อความตูองการของ ผู้เรียนและทูองถ่ิน ซ่ ึงในการดำาเนิ นการพัฒนาหลักส้ตรแกนกลาง พ.ศ. 2551 นั ้นผูบริหารโรงเรียนและคร้ภายในโรงเรียนถือว่าเป็ นหน่ วย ้ งานหลักท่ีจะตูองดำาเนิ นการ เพ่ ือใหูเกิดผลสัมฤทธิและมีประสิทธิภาพ ์ ในการจัดทำาหลักส้ตรสถานศึกษาตลอดจนกระบวนการเรียนการสอน และการวัดการประเมินผลเพ่ ือใหูเป็ นแนวทางในการพัฒนาการศึกษาใหู มีประสิทธิภาพย่ิงขึ้น หลักส้ตรเป็ นหลักและหัวใจของการจัดการเรียนการสอน ท่ีจะมี ผลทำาใหูการจัดการศึกษาบรรลุผลตามเปู าหมายท่ีตังไวู เพราะหลักส้ตร ้ เป็ นตัวกำาหนดแนวทางในการจัดการศึกษาว่าเป็ นการ ศึกษาเพ่ ืออะไร เพ่ ือใคร ในระดับใด ดังนั ้นความเขูาใจในเร่ ืองหลักส้ตรจึงเป็ นส่ิงสำาคัญท่ี จะทำาใหูการ จัดการศึกษาดำาเนิ นไปดูวยดีทังแก่ผู้เรียนและช่วยใหูคร้สามารถจัดการ ้ เรียนการสอนใหูเป็ นไปอย่างมีทิศทาง หลักส้ตรจะกำาหนดความมุ่งหมาย เน้ือหาสาระ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและการประเมินผลไวูเป็ น แนวทาง และเป็ นขูอกำาหนดแผนการเรียนการสอน อันเป็ นส่วนรวม ของประเทศเพ่ ือนำ าไปส่้ความมุ่งหมายตามแผนการศึกษาชาติหลักส้ตร เป็ นเอกสารของทางราชการ เป็ นบัญญัติของรัฐบาลเพ่ ือใหูบุคคลท่ีทำาการ เก่ียวขูองกับการศึกษาปฏิบัติตามและเป็ นแผนการดำาเนิ นงานของผู้ บริหารท่ีจะอำานวยความสะดวกและควบคุมด้แล ติดตามผลใหูเป็ นไป ตามนโยบายการจัดการศึกษาของรัฐบาล เป็ นเกณฑ์มาตรฐานการศึกษา เพ่ ือควบคุมการเรียนการสอนในสถาบันการศึกษาระดับต่าง ๆ เป็ น เกณฑ์มาตรฐานอย่างหน่ ึงในการจัดสรรงบประมาณ บุคลากร อาคาร สถานท่ี วัสดุอุปกรณ์ของการศึกษาของรัฐใหูแก่สถานศึกษาดูวย จะ
  • 3. 3 กำาหนดแนวทางในการส่งเสริมความเจริญงอกงามและพัฒนาการของ เด็ก ตามจุดมุ่งหมายของการศึกษา เป็ นตัวกำาหนดลักษณะและร้ปร่างของ สังคมในอนาคตไดูวาจะเป็ นไปในร้ปแบบใด หลักส้ตรจะกำาหนดแนวทาง ่ ในการใหูความรู้ ทักษะ ความสามารถ ความประพฤติท่ีจะเป็ นประโยชน์ ต่อสังคม อันเป็ นการพัฒนากำาลังซ่ ึงจะนำ าไปส่้การพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติ อย่างไดูผล เป็ นส่ิงท่ีบ่งชีถึงความเจริญของประเทศ เพราะการศึกษาเป็ น ้ เคร่ ืองมือในการพัฒนาคน ประเทศใดจัดการศึกษาโดยมีหลักส้ตรท่ี เหมาะสม ทันสมัย มีประสิทธิภาพ ทันต่อเหตุการณ์และการ เปล่ียนแปลงย่อมไดูกำาลังคนท่ีมีประสิทธิภาพส้ง หลักส้ตรเป็ นเคร่ ืองชี้ ใหูเห็นถึงความเจริญของประเทศ จึงตูองมีการปรับปรุง พัฒนาอย่้ตลอด เวลา เพ่ ือใหูทันต่อเหตุการณ์ของสังคมและโลกท่ีเปล่ียนแปลงไปอย่าง รวดเร็ว ดังนั ้นจึงจำาเป็ นอย่างย่ิงท่ีจะตูองมีการพัฒนาหลักส้ตรใหูเหมาะ สมกับความตูองการของสังคมและประเทศชาติ และเพ่ ือใหูเกิดความ เขูาใจเก่ียวกับการพัฒนาหลักส้ตรนั กวิชาการจึงอธิบายความหมายและ ความสำาคัญของการพัฒนาหลักส้ตรไวูว่า การพัฒนาหลักส้ตร หมายถึง การสรูางหลักส้ตรขึ้นมาใหม่หรือการปรับปรุงแกูไขหลักส้ตรเก่าใหูดีขึ้น หรือทังสรูางและพัฒนาปรับปรุงแกูไขไปพรูอม ๆ กันโดยอาศัยการจัดการ ้ หลักส้ตรเพ่ ือทำาใหูการนำ าหลักส้ตรไปใชูเป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพมาก ท่ีสุด การพัฒนาหลักส้ตรมีความสำาคัญ (พรพิมล พงศ์สุวรรณ, ٢٥٥١, 88-90) ทำาใหูหลักส้ตรทันสมัยต่อการเปล่ียนแปลงทางสังคมและความ กูาวหนู าทางวิทยาการ ท่ีเปล่ียนแปลงค่อนขูางรวดเร็วตลอดเวลาและยังทำาใหูการศึกษาสามารถ แกูปัญหาของสังคมไดูมากย่ิงขึ้นและทำาใหูผู้เก่ียวขูองมีความเขูาใจ หลักส้ตรและขันตอนในการพัฒนาหลักส้ตรมากย่ิงขึ้นเกิดความชำานาญ ้ ในการปฏิบัติงานส่งผลถึงคุณภาพของหลักส้ตรและคุณภาพการเรียน การสอน ทำาใหูประเทศชาติเจริญรุ่งเรือง ทันต่อเหตุการณ์ของโลกและ ทำาใหูหลักส้ตรมีคุณภาพ มีมาตรฐานย่ิงขึ้นเท่าเทียมกับประเทศอ่ ืน ๆ และยังเป็ นการง่ายต่อการปฏิบัติ เช่นการพัฒนาหลักส้ตรในระดับ หูองเรียน คร้ท่ีสอนตูองศึกษาหลักส้ตรใหูเขูาใจ ศึกษาแผนการสอน เตรียมการสอน ทำาบันทึกการสอนและใชูส่ือท่ีหาไดูในทูองถ่ิน เกิดความ สามัคคีในหม่้คณะ เช่น การทำางานของคร้ในโรงเรียนในการร่วมมือ พัฒนาหลักส้ตรสถานศึกษาในระดับโรงเรียนและทูองถ่ิน การทำางานของ คณะกรรมการการศึกษาขันพ้ืนฐาน ตลอดจนการจัดทำาปฏิทินการเรียน ้ การสอน การเตรียมการสอน การทำาแผนการจัดการเรียนรู้ ตลอดจนการ จัดเตรียมวัสดุอปกรณ์ร่วมกัน เป็ นตูน และทำาใหูการดำาเนิ นการสอน ุ
  • 4. 4 เป็ นไปอย่างเป็ นระบบและถ้กทิศทาง กรมวิชาการ แนวทางในการ พัฒนาหลักส้ตรมีความสำาคัญ ดังนี้ (٢٥٤٥; อูางถึงใน พรพิมล พงศ์ สุวรรณ, 2551, 200-201) การปรับกิจกรรมการเรียนการสอนหรือ กิจกรรมเสริม ตูองปรับใหูสอดคลูองกับความตูองการของทูองถ่ิน โดยไม่ ทำาใหูจุดประสงค์ เน้ือหา คาบเวลาเรียน ของรายวิชานั ้นเปล่ียนไป การ ปรับเพ่ิมรายละเอียดของเน้ือหา หมายถึง การปรับเน้ือหาดูวยการลดหรือ เพ่ิมปรับรายละเอียดของเน้ือหา โดยไม่ทำาใหูจดประสงค์ คาบเวลาเรียน ุ เน้ือหาของวิชานั ้นเปล่ียนไป การปรับปรุงส่ ือการเรียนการสอน การจัด ทำาส่ ือการเรียนการสอนขึ้นมาใหม่ การจัดทำาคำาอธิบายรายวิชาเพ่ิมเติม ขึ้นใหม่ กระทรวงศึกษาธิการ (٣٨-٣٣ ,٢٥٤٦) ไดูกำาหนดแนวทางปฏิบัติ ในการพัฒนาหลักส้ตรสถานศึกษา ศึกษาวิเคราะห์เอกสารหลักส้ตรการ ศึกษาขันพ้ืนฐาน พ.ศ. ٢٥٤٤ สาระแกนกลางของกระทรวงศึกษาธิการ ้ ขูอม้ลสารสนเทศเก่ียวกับสภาพปั ญหาและความตูองการของสังคม ชุมชนและทูองถ่ิน วิเคราะห์สภาพแวดลูอมและประเมินสภาพสถาน ศึกษาเพ่ ือกำาหนดวิสัยทัศน์ ภารกิจ เปู าหมาย คุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ โดยการมีส่วนร่วมของทุกฝ่ ายรวมทังคณะกรรมการสถานศึกษาขันพ้ืน ้ ้ ฐานจัดทำาโครงสรูางหลักส้ตรและสาระต่าง ๆ ท่ีกำาหนดใหูมีในหลักส้ตร สถานศึกษาท่ีสอดคลูองกับวิสัยทัศน์ เปู าหมายคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ โดยพยายามบ้รณาการเน้ือหาสาระทังในกลุ่มสาระการเรียนรู้เดียวกัน ้ และระหว่างกลุ่มสาระการเรียนรู้ตามความเหมาะสม การนำ าหลักส้ตรไป ใชูในการจัดการเรียนการสอน และบริหารจัดการการใชูหลักส้ตรใหู เหมาะสม นิ เทศการใชูหลักส้ตร ติดตามและประเมินผลการใชูหลักส้ตร ปรับปรุงและพัฒนาการใชูหลักส้ตรตามความเหมาะสม จากความสำาคัญ ของหลักส้ตรดังกล่าว สรุปไดูว่า หลักส้ตรเป็ นแนวทางในการจัดการ ศึกษาเพ่ ือพัฒนาใหูผู้เรียนใหูบรรลุตามจุดมุ่งหมายท่กำาหนดไวูและเป็ น ี ตัวท่ีสะทูอนใหูเห็นลักษณะของสังคมในอนาคตว่าจะเจริญพัฒนาไปใน ร้ปแบบใด ถึงแมูว่าประเทศไทยจะมีความต่ ืนตัวในเร่ ืองการใหูความ สำาคัญของการศึกษาและไดูมีการปฏิรปการศึกษาอย่างต่อเน่ ือง แต่ ้ ขูอม้ลของสถาบันนานาชาติเพ่ ือการจัดการ (International Institute for Management Development : IMD) ปี 2550 ไดูจดอันดับความ ั สามารถในการแข่งขันของประเทศดูวยโครงสรูางพ้ืนฐานดูานการศึกษา พบว่า ประเทศไทยอย่้ในลำาดับท่ี 46 จากทังหมด 55 ประเทศ อัตราเขูา ้ เรียนระดับมัธยมศึกษาสุทธิ ไดูอันดับท่ี 46 อัตราเขูาเรียนรูอยละ 72 ผลสัมฤทธิทางการเรียนระดับอุดมศึกษา จำานวนประชากรอายุ 25-34 ์ ปี ท่ีจบอุดมศึกษาไดูอันดับท่ี 39 อัตราผูสำาเร็จอุดมศึกษารูอยละ 18 ้ การตอบสนองความสามารถในการแข่งขันของระบบการศึกษาไดูอันดับ ท่ี 38 การตอบสนองความสามารถในการแข่งขันของการศึกษาระดับ
  • 5. 5 อุดมศึกษา มหาวิทยาลัยสนองต่อภาคเศรษฐกิจและการแข่งขันไดูอันดับ ท่ี 39 ดัชนี ประเมินการศึกษาไทยดูวยวิธีของ The OECD Programme for International Student Assessment (PISA) วัด คุณภาพนั กเรียนโดยจัดใหูคะแนนการอ่านของเด็กไทย คณิ ตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ อย่้ลำาดับท่ี 32 และการวัดทักษะการแกูปัญหาไดูลำาดับท่ี ٣ ٤ จาก 41 ประเทศ และ เม่ ือปี 2543 อีกทังยังพบเด็กไทยมีจุดอ่อน ้ หลายประการในการเขียน คือ สะกดผิด ใชูคำาผิด แยกแยะภาษาพ้ดและ ภาษาเขียนไม่ไดู เรียบเรียงความคิดเป็ นการเขียนไม่ไดู เป็ นตูน (จรวย พร ธรณิ นทร์, ٢٥٥٠) ผลจากการจัดการศึกษาของไทยท่ีผ่านมา โดยสรุป ในภาพรวมพบว่า คุณภาพการจัดการศึกษาของไทยมีความจำาเป็ นตูองไดู รับการปรับปรุงในดูานสติปัญญา ความรู้ ความคิด ทักษะ ความ สามารถ รวมทังดูานคุณธรรม จริยธรรม เพราะในโลกยุคใหม่การ ้ แข่งขันขึ้นอย่้กับความรู้ ความสามารถและคุณธรรมของคนในชาติ โดย เฉพาะเศรษฐกิจของประเทศท่ีตูองใชูความรู้เป็ นฐานในการสรูางและ พัฒนาองค์ความรู้ทางดูานเศรษฐกิจเพ่ ือการพัฒนาประเทศ จึงจำาเป็ น อย่างย่ิงท่ีตูองมีการปฏิร้ปทางการศึกษา โดยการปฏิร้ปหลักส้ตรแกน กลาง พ.ศ. 2551 ในดูานทักษะกระบวนการเรียนรู้ และระบบการ บริหารงาน เพ่ ือเสริมสรูางศักยภาพของเด็กไทยใหูเป็ นคนท่ีมีคุณภาพ เป็ นคนดี คนเก่ง และสามารถดำารงชีวิตอย่้ในสังคมท่ีเปล่ียนแปลงนี้ไดู อย่างมีความสุข สามารถพ่ ึงตนเอง พัฒนาตนเองไดู รู้จกคิดเป็ น แกูไข ั ปั ญหาเป็ น วิเคราะห์สถานการณ์เป็ น มีความคิดสรูางสรรค์ และท่ีสำาคัญ ตูองเป็ นคนท่ีมีคุณธรรม และจริยธรรม (สำานั กงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา บุรรัมย์ เขต ٦-٥ ,٢٥٥٠ ,١ ) ี นอกจากนั ้นการจัดการศึกษาขันพ้ืนฐานของไทยยังมีปัญหาดูาน ้ การจัดทำาหลักส้ตรแกนกลาง พ.ศ. 2551 โดยพบว่าผู้บริหารโรงเรียนมี ภาวะในการเป็ นผู้นำาทางในการจัดทำาหลักส้ตรแกนกลาง พ.ศ.2551 อย่้ ในระดับปานกลางถึงนู อยโดยพจนี ย์ ฐานะเสนา (٢٥٣٦ อูางถึงใน มณฑา วิญญโสภิต, ٣ ,٢٥٤٧) นอกจากนี้ในปี ٢٥٤٤ ธีระ รุญเจริญ (٢ ١٦ ,٥٤٦) ไดูทำาการวิจัยเจาะลึกและเชิงสำารวจ พบว่า โรงเรียนมี ศักยภาพในการรับรู้การกระจายอำานาจการบริหารอย่้ในระดับ “ ค่อนขูาง มาก” แต่ศักยภาพดูานการจัดทำาหลักส้ตรและการบริหารงานวิชาการของ ผู้บริหารโรงเรียน อย่้อันดับสุดทูาย และในขณะท่ีศักยภาพดูานการ บริหารทัวไปอย่้ในอันดับแรก และธีระ รุญเจริญ (١٧ ,٢٥٤٦) ยังชีใหูเห็น ่ ้ อีกว่า ผู้บริหารโรงเรียนส่วนใหญ่ใชูเวลาอย่้นอกโรงเรียนเป็ นปกติและ ขาดความสนใจดูานการจัดการทำาหลักส้ตรแกนกลาง พ.ศ. 2551 นู อย กว่าดูานอ่ ืน ๆ ทำาใหูคร้ผู้ปฏิบัติงานเกิดความวูาเหว่และขาดกำาลังใจ
  • 6. 6 ดังนั ้นในการบริหารการศึกษาในยุคโลกาภิวัฒน์ใหูมีคุณภาพ บรรลุตามเปู าหมายนั ้น จำาเป็ นตูองอาศัยผู้บริหารท่ีมีภาวการณ์เป็ นผู้นำา ท่ีมีความรู้ความเขูาใจในเร่ ืองของหลักการ แนวคิด แนวปฏิบัติในการจัด ทำาหลักส้ตรแกนกลาง พ.ศ. 2551 เพ่ ือสามารถใหูคร้ดำาเนิ นการอย่าง จริงจังมากขึ้น จึงจะทำาใหูคุณภาพการศึกษาของนั กเรียนมีประสิทธิภาพ ตรงตามจุดมุ่งหมายของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ٢٥٤٢ จะเห็นว่าคุณภาพของคนขึ้นอย่้กับการศึกษาซ่ ึงผู้ท่ีมีบทบาทสำาคัญมาก คือการมีสภาพภาวะการเป็ นผู้นำาท่ีจะขับเคล่ ือนใหูสถานศึกษาบรรลุเปู า หมายของการจัดทำาหลักส้ตรแกนกลาง พ.ศ. 2551 ประกอบกับปั ญหา ดูานผลสัมฤทธิทางการเรียนของนั กเรียนในเขตพ้ืนท่ีการศึกษาบุรีรัมย์ ์ ทัง ٤ เขตท่ีกล่าวมาขูางตูน จึงทำาใหูผู้วิจัยมีความสนใจท่ีจะศึกษาสภาพ ้ ภาวะการเป็ นผู้นำาในการจัดทำาหลักส้ตรแกนกลาง พ.ศ. 2551 ของผู้ บริหารโรงเรียน เพ่ ือจะไดูทราบความคิดเห็นว่าอย่้ในระดับใด ซ่ ึงจะไดูนำา ขูอม้ลและผลจากการวิจัยในครังนี้ไปใชูเป็ นแนวทางในการวางแผน ้ กำาหนดนโยบาย ตลอดจนพัฒนา ปรับปรุง และหาแนวทางในการแกู ปั ญหาการแกูปัญหาผลสัมฤทธิทางการเรียนของนั กเรียนใหูมี ์ ประสิทธิภาพ และสอดคลูองกับความตูองการในการพัฒนาโรงเรียน ซ่ ึง จะส่งผลใหูการพัฒนาการศึกษามีประสิทธิภาพมากย่ิงขึ้น ความมุ่งหมายของการวิจัย: 1. เพ่ ือศึกษาสภาพภาวะผู้นำาดูานการจัดทำาหลักส้ตรแกนกลาง การศึกษาขันพ้ืนฐาน พ.ศ. 2551 ของผู้บริหารโรงเรียนตามความคิด ้ เห็นของคร้วิชาการและคร้ผู้สอน สังกัดสำานั กงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา บุรรัมย์ เขต 3 ี 2. เพ่ ือเปรียบเทียบสภาพภาวะผู้นำาดูานการจัดทำาหลักส้ตรแกน กลางการศึกษาขันพ้ืนฐาน พ.ศ. 2551 ของผู้บริหารโรงเรียนตามความ ้ คิดเห็นของคร้วิชาการและคร้ผู้สอน สังกัดสำานั กงาน เขตพ้ืนท่ีการ ศึกษาบุรีรัมย์ เขต 3 ٢.١ สถานภาพตำาแหน่ ง ٢.٢ ประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน ٢.٣ ขนาดของโรงเรียน ความสำาคัญของการวิจัย: 1. เพ่ ือทราบสภาพภาวะผู้นำาดูานการจัดทำาหลักส้ตรแกนกลาง การศึกษาขันพ้ืนฐาน พ.ศ.2551 ของผู้บริหารโรงเรียนตามความคิดเห็น ้ ของคร้วิชาการและคร้ผู้สอน สังกัดสำานั กงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาบุรีรัมย์ เขต 3
  • 7. 7 ٢. เพ่ ือเป็ นขูอม้ลพ้ืนฐานและแนวทางในการวางแผน กำาหนด นโยบาย ตลอดจนการแกูไขปั ญหาการจัดทำาหลักส้ตรสถานศึกษาและ การประเมินผลสัมฤทธิทางการเรียนของโรงเรียน สังกัดสำานั กงานเขต ์ พ้ืนท่ีการศึกษาบุรรัมย์ เขต 3 ใหูบรรลุวัตถุประสงค์และมีประสิทธิภาพ ี มากย่ิงขึ้น ระเบียบวิธีการวิจัย: ١ ขอบเขตของการวิจัย การวิจัยครังนี้มุ่งศึกษาสภาพภาวะผู้นำาดูานการจัดทำาหลักส้ตร ้ แกนกลางการศึกษาขันพ้ืนฐาน พ.ศ. 2551 ของผู้บริหารโรงเรียนตาม ้ ความคิดเห็นของคร้วิชาการและคร้ผู้สอน สังกัดสำานั กงานเขตพ้ืนท่ีการ ศึกษาบุรีรัมย์ เขต 3 ตามกรอบการจัดทำาหลักส้ตรแกนกลาง พ.ศ. 2551 มี 6 ดูานดังนี้ (١) ดูานการกำาหนดวิสัยทัศน์ของหลักส้ตร (2) ดูานการกำาหนดสมรรถนะสำาคัญของผู้เรียน (٣) ดูานการจัดทำาตัวชีวัดชันปี ้ ้ (٤) ดูานการกำาหนดสาระการเรียนรู้แกนกลาง (5) ดูานการปรับโครงสรูางเวลาเรียน (6) ดูานการปรับเกณฑ์การวัดประเมินผล ١.١ ประชากรและกลุ่มตัวอยุาง ١.١.١ ประชากร ประชากรท่ีใชูในการวิจยครังนี้ ั ้ ประกอบดูวย ١.١.١.1 คร้วิชาการในโรงเรียน สังกัดสำานั กงานเขต พ้ืนท่ีการศึกษาบุรรัมย์ เขต 3 จำานวน………คน ี 1.1.1.2 คร้ผู้สอนในโรงเรียน สังกัดสำานั กงานเขต พ้ืนท่ีการศึกษาบุรรัมย์ เขต 3 จำานวน…….คน ี ١.١.٢ กลุ่มตัวอยุาง กลุ่มตัวอย่างท่ีใชูในการศึกษา ครังนี้ไดูแก่ คร้วิชาการและคร้ผู้สอนในโรงเรียน สังกัดสำานั กงานเขต ้ พ้ืนท่ีการศึกษาบุรรัมย์ เขต 3 โดยไดูจากการกำาหนดขนาดกลุ่ม ี ตัวอย่างตามตารางของเครซ่ีและมอร์แกน (Krejcie & Morgan ) ต่อ จากนั ้นจึงทำาการสุ่มกลุ่มตัวอย่างใหูกระจายไปตามอำาเภอและโรงเรียน ต่าง ๆ โดยแบ่งตามขนาดของโรงเรียน อย่างมีสัดส่วน ไดูคร้วิชาการและ คร้ผู้สอนในโรงเรียนจำานวน….คน รวม…..คน ( Stratified Random Sampling ) และทำาการสุ่มอย่างง่าย ( Simple Random Sampling ) ไดูกลุ่มตัวอย่าง ดังนี้
  • 8. 8 1.1.٢.١. คร้วิชาการในโรงเรียน สังกัดสำานั กงานเขต พ้ืนท่ีการศึกษาบุรรัมย์ เขต 3 กลุ่มละ……คน รวม………คน ี ١.١.2.1. คร้ผู้สอนในโรงเรียน สังกัดสำานั กงานเขต พ้ืนท่ีการศึกษาบุรรัมย์ เขต 3 ี กลุ่มละ……คน รวม………คน ในการสุ่มกลุ่มตัวอย่างครังนี้ถูาสุ่มไดูโรงเรียนใดเป็ นกลุ่มตัวอย่าง ้ จะใชูทังคร้คร้วิชาการและผู้สอนในโรงเรียนนั ้น เป็ นผู้ตอบแบบสอบถาม ้ แทนกลุ่มตัวอย่างในแต่ละกลุ่ม ١.٢ ตัวแปรท่ศึกษา ี ١.٢.١ ตัวแปรอิสระ 1.2.1.1 คร้ในโรงเรียน จำาแนกตาม ١.٢.١.١.١ สถานภาพตำาแหน่ ง ١.٢.١.١.١.1 คร้วิชาการ ١.٢.١.١.١.٢ คร้ผู้ สอน ١.٢.١.١.٢ ขนาดของโรงเรียน 1.2.1.1.2.1 โรงเรียนขนาดเล็ก ١.٢.١.١.٢.2 โรงเรียนขนาดกลาง ١.٢.١.١.٢.3 โรงเรียนขนาดใหญ่ ١.٢.١.١.٣ ประสบการณ์ในการปฏิบัติงานใน โรงเรียน ١.٢.١.١.٣.١ ประสบการณ์ตำ่ากว่า ٥ ปี ١.٢.١.١.٣.2 ประสบการณ์ ٥ ปี ถึง ١ ٠ ปี ١.٢.١.١.٣.3 ประสบการณ์ส้งกว่า ١٠ ปี ขึ้นไป ١.٢.٢ ตัวแปรตาม ไดูแก่ ความคิดเห็นของคร้วิชาการ และคร้ผู้สอนในการจัดทำาหลักส้ตรแกนกลาง พ.ศ. 2551 ของผู้ บริหารโรงเรียน สังกัดสำานั กงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาบุรีรัมย์ เขต 3 ตามกรอบการดำาเนิ นงานโดยยึดหลักการมีส่วนร่วม 6 ดูาน คือ (١) ดูานการกำาหนดวิสัยทัศน์หลักส้ตร (2) ดูานการกำาหนดสมรรถนะสำาคัญของผู้เรียน
  • 9. 9 (٣) ดูานการจัดทำาตัวชีวัดชันปี ้ ้ (٤) ดูานการกำาหนดสาระการเรียนรู้แกน กลาง (5) ดูานการปรับโครงสรูางเวลาเรียน (6) ดูานการปรับเกณฑ์การวัดประเมินผล (สำานั กงานคณะกรรมการการศึกษาขันพ้ืน ้ ฐาน, ٢551, ٣-23) 2. เคร่ ืองมือการวิจัย 2.١ ลักษณะเคร่ ืองมือ เคร่ ืองมือท่ีใชูในการเก็บรวบรวมขูอม้ลในการวิจัยครังนี้ เป็ น ้ แบบสอบถามเก่ียวกับภายในโรงเรียน สังกัดสำานั กงานเขตพ้ืนท่ีการ ศึกษาบุรีรัมย์ เขต ٣ ซ่ ึงผู้วิจัยไดูสรูางขึ้นเอง โดยลักษณะของเคร่ ืองมือ ท่ีใชูการเก็บรวบรวมขูอม้ลเป็ นแบบสอบถาม แบ่งเป็ น ٣ ตอน ดังนี้ ตอนท่ี ١ เป็ นขูอคำาถามเก่ียวกับรายละเอียดของผู้ตอบ แบบสอบถาม โดยลักษณะเป็ นขูอคำาถามแบบตรวจสอบรายการ (Check lists) จะมีคำาตอบใหูกาเคร่ ืองหมาย ย ลงใน ( ) ตัวอย่าง สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม ( ) คร้วิชาการ ( ) คร้ผู้สอน ตอนท่ี ٢ เป็ นแบบสอบถามเก่ียวความคิดเห็นของคร้ วิชาการและคร้ผู้สอน ท่ีมีต่อสภาพภาวะดูานผู้นำาในการจัดทำาหลักส้ตร แกนกลาง พ.ศ. 2551 ในสังกัดสำานั กงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาบุรีรัมย์ เขต ٣ ลักษณะคำาถามเป็ นแบบมาตราส่วนประมาณค่า ( Rating Scale) ซ่ ึงคำาถามครอบคลุมเก่ียวกับการดำาเนิ นงานตามกรอบการดำาเนิ น งานการจัดทำาหลักส้ตรแกนกลาง พ.ศ. 2551 ภายในสถานศึกษาโดย ยึดหลักการมีส่วนร่วม ٦ ประการ คือ ดูานการกำาหนดวิสัยทัศน์ หลักส้ตร ดูานการกำาหนดสมรรถนะสำาคัญของผู้เรียน ดูานการจัด ทำาตัวชีวัดชันปี ดูานการกำาหนดสาระการเรียนรู้แกนกลาง ดูานการปรับ ้ ้ โครงสรูางเวลาเรียน ดูานการปรับเกณฑ์การวัดประเมินผล และ แบ่งระดับทัศนะดูานการปฏิบัติงานเป็ น ٥ ระดับ คือ มากท่ีสุด(5) มาก(4) ปานกลาง(3) นู อย(2) นู อยท่ีสุด(1) แลูวกาเคร่ ืองหมาย ย ลงในแบบสอบถาม โดยในแต่ละดูานมีจำานวน 6 ขูอ ดังนี้
  • 10. 10 (١) ดูานการกำาหนดวิสัยทัศน์หลักส้ตร จำานวน.......... ขูอ (2) ดูานการกำาหนดสมรรถนะสำาคัญของผู้เรียน จำานวน.......... ขูอ (٣) ดูานการจัดทำาตัวชีวัดชันปี ้ ้ จำานวน.......... ขูอ (٤) ดูานการกำาหนดสาระการเรียนรู้แกนกลาง จำานวน.......... ขูอ (5) ดูานการปรับโครงสรูางเวลาเรียน จำานวน.......... ขูอ (6) ดูานการปรับเกณฑ์การวัดประเมินผล จำานวน.......... ขูอ ตอนท่ี ٣ เป็ นคำาถามปลายเปิ ด (Open Form) เพ่ ือใหู กลุ่มตัวอย่างไดูแสดงความคิดเห็น ขูอเสนอแนะอ่ ืน ๆ ท่ีนอกเหนื อจาก ท่ีไดูกล่าวมาแลูว เก่ียวกับความคิดเห็นของคร้วิชาการและคร้ผู้สอนต่อ สภาพภาวะผู้นำาดูานการจัดทำาหลักส้ตรแกนกลาง พ.ศ. 2551 ของผู้ บริหารโรงเรียน สังกัดสำานั กงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาบุรีรัมย์ เขต 3 2.2 ขันตอนในการสร้างเคร่ ืองมือท่ีใช้ในการวิจัย ้ การสรูางเคร่ ืองมือท่ีใชูในการรวบรวมขูอม้ลในการ ศึกษาวิจัยครังนี้ ไดูดำาเนิ นการดังนี้ ้ ٤.٢.١ ศึกษาเอกสาร ตำารา บทความและรายงานการวิจัยท่ี เก่ียวขูอง ٤.٢.٢ นำ าขูอม้ลจากการศึกษา คูนควูามาสรูางแบบสอบถาม ٤.٢.٣ นำ าเสนอร่างแบบสอบถามไปใหูผู้เช่ียวชาญ และคณะ กรรมการควบคุมวิทยานิ พนธ์ทำาการตรวจสอบ เพ่ ือใหูไดูคำาถามท่ี ครอบคลุม ตรงสภาพ และปั ญหา เป็ นการหาความเท่ียงตรงของ แบบสอบถามแบบ Face Validity ผู้เช่ียวชาญท่ีทำาการตรวจสอบ มี ดังนี้ ٤.٢.٣.١……………………………… ٤.٢.٣.٢……………………………… ٤.٢.٣.٣ …………………………… 4.2.4 นำ าแบบสอบถามท่ีไดูจากการตรวจสอบ แกูไข จาก ผู้เช่ียวชาญและคณะกรรมการควบคุมวิทยานิ พนธ์ ทำาการตรวจสอบ มา
  • 11. 11 ปรับปรุงแกูไขและเสนอใหูคณะกรรมการควบคุมวิทยานิ พนธ์พิจารณา อีกครัง แลูวนำ ามาปรับปรุงแกูไขใหูดีย่ิงขึ้น ้ ٤.٢.٥ นำ าแบบสอบถามไปทดลองใชู ( Try Out ) กับคร้ วิชาการและคร้ผู้สอนในโรงเรียน สังกัดสำานั กงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา บุรรัมย์ เขต ٣ ท่ีไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง จำานวน ٣٠ คน โดยหาอำานาจการ ี จำาแนกรายขูอ ٤.٢.٦ หาอำานาจการจำาแนก โดยวิเคราะห์แบบสอบถามเป็ น รายขูอหาค่าคะแนนเฉล่ีย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน ของคะแนนแต่ละขูอ ทังกลุ่มส้งและกลุ่มตำ่า ทดสอบความแตกตางโดยใชู ้ t – test ท่ีระดับ นั ยสำาคัญ .٠٥ หรือถูาค่า t มีค่า ١.٧٥ ขึ้นไปถือว่ามีอำานาจจำาแนกส้ง ٤.٢.٧ นำ าแบบสอบถามท่ีผ่านค่าอำานาจจำาแนกเป็ นรายขูอ ไปทดลองใชู ( Try Out ) กับคร้วิชาการและคร้ผู้สอน ในโรงเรียน สังกัดสำานั กงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาบุรีรัมย์ เขต ٣ ท่ีไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง จำานวน ٣٠ คน เพ่ ือหาค่าความเช่ ือมัน ( Reliability ) โดยใชู ่ สัมประสิทธิแอลฟา ์ ( Alpha Coefficient ) ตามวิธีของ ครอ นบาค (Cronbach) 3. การเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้วจัยไดูดำาเนิ นการเก็บรวบรวมขูอม้ลตามลำาดับขันตอน ดังนี้ ิ ้ ١ ผู้วิจัยขอหนั งสือจากบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ราชภัฎบุรีรัมย์ ส่งถึงผู้อำานวยการสำานั กงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาบุรรัมย์ ี เขต ٣ เพ่ ือขอความอนุเคราะห์ในการออกหนั งสือขอความร่วมมือไปยังผู้ บริหารโรงเรียนเพ่ ือขอใชูแบบสอบถามคร้วิชาการและคร้ผู้สอนท่ีเป็ นก ลุ่มตัวอย่างภายในโรงเรียน ٢ ผู้วิจัยนำ าแบบสอบถามการวิจยไปยังสำานั กงานเขตพ้ืนท่ี ั การศึกษาบุรีรัมย์เขต ٣ เพ่ ือแจกจ่ายไปยังสถานศึกษาท่ีเป็ นกลุ่ม ตัวอย่าง พรูอมกำาหนดวันรับแบบสอบถามคืนภายใน ٢ สัปดาห์โดยส่ง แบบสอบถามคืนท่ีสำานั กงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา บุรีรัมย์ เขต ٣ ٣ ผู้วิจัยไปเก็บรวบรวมแบบสอบถามท่ีสำานั กงานเขตพ้ืนท่ี การศึกษาบุรีรัมย์เขต ٣ ดูวยตนเอง กรณี ไม่ไดูรับแบบสอบถามคืน ภายในกำาหนด ผู้วิจัยจะติดตามดูวยตนเองเพ่ ือใหูไดูแบบสอบถามคืน ทังหมด ้ 4. การวิเคราะห์ข้อมูล เม่ ือดำาเนิ นการเก็บรวบรวมขูอม้ลเรียบรูอยแลูว ในการจัด กระทำาขูอม้ลผู้วิจัยไดูดำาเนิ นการดังนี้ ١ ตรวจสอบความสมบ้รณ์ของแบบสอบถามแต่ละฉบับ
  • 12. 12 ٢ คัดแยกแบบสอบถามตามสถานภาพของผู้ตอบ แบบสอบถาม ٣ กรอกรหัสแบบสอบถาม ٤ กำาหนดตัวเลขแทนค่าขูอม้ลในแบบสอบถามแต่ละขูอ แลูวบันทึกขูอม้ลท่ีไดูมาลงในกระดาษ ทำาจนครบแบบสอบถามทุกฉบับ ٥ ประมวลผลดูวยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ โปรแกรม สำาเร็จร้ปทางสถิติ การวิเคราะห์ข้อมูลดำาเนิ นการดังนี้ ١. การศึกษาสถานภาพของกลุ่มตัวอย่าง วิเคราะห์ดูวย การแจกแจงความถ่ี หาค่า รูอยละ (Percent) เสนอขูอม้ลเป็ นตาราง แสดงจำานวนรูอยละ ٢. การศึกษาสภาพภาวะผู้นำาดูานการจัดทำาหลักส้ตรแกน กลางการศึกษาขันพ้ืนฐาน พ.ศ. 2551 ของผู้บริหารโรงเรียนตามความ ้ คิดเห็นของคร้วิชาการและคร้ผู้สอน สังกัดสำานั กงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา บุรรัมย์ เขต 3 วิเคราะห์ดูวยการหาค่าเฉล่ีย ( Mean) และส่วนเบ่ียง ี เบนมาตรฐาน ( Standard Deviation) เสนอขูอม้ลเป็ น ตารางประกอบความเรียง ٣. การเปรียบเทียบสภาพภาวะผู้นำาดูานการจัดทำาหลักส้ตร แกนกลางการศึกษาขันพ้ืนฐาน พ.ศ. 2551 ของผู้บริหารโรงเรียนตาม ้ ความคิดเห็นของคร้วิชาการและคร้ผู้สอน สังกัดสำานั กงานเขตพ้ืนท่ีการ ศึกษาบุรีรัมย์ เขต 3 จำาแนกตามสถานภาพของตำาแหน่ ง วิเคราะห์ดวย ู ค่า t-test Independent กำาหนดค่าสถิติท่ีระดับนั ยสำาคัญ .٠٥ ٤. การเปรียบเทียบสภาพภาวะผู้นำาดูานการจัดทำาหลักส้ตร แกนกลางการศึกษาขันพ้ืนฐาน พ.ศ. 2551 ของผู้บริหารโรงเรียนตาม ้ ความคิดเห็นของคร้วิชาการและคร้ผู้สอน สังกัดสำานั กงานเขตพ้ืนท่ีการ ศึกษาบุรีรัมย์ เขต 3 จำาแนกตามประสบการณ์ โดยการวิเคราะห์ความ แปรปรวนทางเดียว ( One-way Analysis of Variance) เม่ ือพบความ แตกต่างของค่าเฉล่ียในแต่ละดูานอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ จะทำาการ เปรียบเทียบความแตกต่างเป็ นรายค่้ตามวิธีของเชฟเฟ่ ( Scheffe) กำาหนดค่าสถิติท่ีระดับนั ยสำาคัญ .٠٥ 5. การเปรียบเทียบขนาดของโรงเรียนตามสภาพภาวะผู้นำา ดูานการจัดทำาหลักส้ตรแกนกลางการศึกษาขันพ้ืนฐาน พ.ศ. 2551 ของ ้ ผู้บริหารโรงเรียนตามความคิดเห็นของคร้วิชาการและคร้ผู้สอน สังกัด สำานั กงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาบุรีรัมย์ เขต 3 จำาแนกตามขนาดของ โรงเรียน โดยการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ( One-way Analysis of Variance) เม่ ือพบความแตกต่างของค่าเฉล่ียในแต่ละ
  • 13. 13 ดูานอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ จะทำาการเปรียบเทียบความแตกต่างเป็ น รายค่้ตามวิธีของเชฟเฟ่ ( Scheffe) กำาหนดค่าสถิติท่ีระดับนั ยสำาคัญ .٠ ٥ 6. ขูอเสนอแนะท่ีเป็ นคำาถามปลายเปิ ด ใชูการวิเคราะห์เชิง เน้ือหา (Content Analysis) โดยจัดคำาตอบเขูาประเด็นเดียวกันแลูว แจกแจงความถ่ีหาค่ารูอยละ เสนอขูอม้ลเป็ นตารางประกอบคำาอธิบาย 7. เกณฑ์ในการแปลความหมายขูอม้ล การแปลความ หมายของค่าเฉล่ีย (Mean) ไดูกำาหนดขอบเขตของค่าเฉล่ียดังนี้ ( บุญชม ศรีสะอาด, ٢٥٤٥, 1 ٦٣) ค่าเฉล่ีย ٥.٠٠ – ٤.٥١ หมายถึง มีสภาพการดำาเนิ นงาน/มี ปั ญหาอย่้ในระดับมากท่ีสุด ค่าเฉล่ีย ٤.٥٠ – ٣.٥١ หมายถึง มีสภาพการดำาเนิ น งาน/มีปัญหาอย่้ในระดับมาก ค่าเฉล่ีย ٣.٥٠ – ٢.٥١ หมายถึง มีสภาพการดำาเนิ นงาน/มี ปั ญหาอย่้ในระดับปานกลาง ค่าเฉล่ีย ٢.٥٠ – ١.٥١ หมายถึง มีสภาพการดำาเนิ นงาน/มี ปั ญหาอย่้ในระดับนู อย ค่าเฉล่ีย ١.٥٠ – ١.٠٠ หมายถึง มีสภาพการดำาเนิ นงาน/มี ปั ญหาอย่้ในระดับนู อยท่ีสุด สถิติท่ีใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ١. สถิติท่ีใชูในการตรวจสอบคุณภาพของเคร่ ืองมือ ١.١ หาค่าอำานาจจำาแนก ١.٢ ค่าความเช่ ือมันของแบบสอบถาม ่ ٢. สถิติพ้ืนฐาน ٢.١ ค่ารูอยละ ( Percentage) ٢.٢ มัชฉิ มเลขคณิ ตหรือค่าเฉล่ีย (Arithmatic Mean) 2.3 ค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน ( Standard Deviation) ٣. สถิติท่ีใชูในการทดสอบสมมติฐาน ٣.١ การทดสอบค่าเฉล่ียของกลุ่มตัวอย่างท่ีเป็ นอิสระ กัน (Independent Sample) 3.2 การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ( One- way Analysis of Variance)
  • 14. 14 ٣.٣ เม่ ือพบความแตกต่างของค่าเฉล่ียในแต่ละดูาน อย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติท่ีระดับ .٠٥ แลูว จะใชูวิธีการเปรียบเทียบ ความแตกต่างรายค่้ ตามวิธีการของเชฟเฟ่ ( Scheffe) ระยะเวลาในการทำาวิจัย: ตังแต่ 10 มิถุนายน ٢٥٥2 – 5 สิงหาคม ٢٥٥2 ้ แผนการดำาเนิ นการวิจัย: หมายเ วิธีดำาเนิ นงาน ระยะเวลาดำาเนิ นการ หตุ มิ. ก. ส. ก. ต. พ. ธ. ม. ก. มี. เม. พ. ย. ค. ค. ย. ค. ย. ค. ค. พ. ค. ย. ค. ١. ศึกษา เอกสารและ- งานวิจัย ٢. กำาหนดวิธี การ- ดำาเนิ นงาน ٣. สรูางเคร่ ือง มือ ٤. ทดลอง เคร่ ืองมือ ٥. ปรับปรุง เคร่ ืองมือ ٦. เก็บ รวบรวม- ขูอม้ล ٧. วิเคราะห์ ขูอม้ล ٨. แปลผล สรุปผล- อภิปราย เสนอแนะ ٩. เขียน รายงานการ- วิจัย ١٠. พิมพ์
  • 15. 15 บรรณาน่กรม กระทรวงศึกษาธิการ. (٢٥٤٥). หลักสูตรการศึกษาขันพ้ืนฐาน ้ พุทธศักราช ٢٥٤٤ (พิมพ์ครังท่ี ٢). ้ กรุงเทพฯ: องค์การรับส่งสินคูาและพัสดุภัณฑ์. จรวยพร ธรณิ นทร์. (٢٥٥٠). การศึกษาคือปั จจัยอำานาจชีชะตาบ้าน ้ เมือง. คูนเม่ ือ ٧ พฤษภาคม ٢٥٥١, จาก www.moe.go.th/new_site/doc/d/150 ธีระ รุญเจริญ. (٢٥٤٦). การบริหารโรงเรียนยุคปฏิรูปการศึกษา. กรุงเทพฯ: ขูาวฟ่ าง. ---------. (2549). ความเป็ นมืออาชีพของผู้บริหารสถานศึกษา: สภาพปั ญหาและแนวปฏิบัติ. กรุงเทพ: ขูาวฟ่ าง. มณฑา วิญญโสภิต. (٢٥٤٧). การศึกษาพฤติกรรมภาวะผู้นำาทาง วิชาการของผู้บริหารโรงเรียน ระดับประถมศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร ตามการรับรู้ ของครูและผู้บริหาร. วิทยานิ พนธ์ ค.ม. (การบริหารการศึกษา). กรุงเทพฯ: ครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สมคิด พรมจูุย และสุพักตร์ พิบ้ลย์. (٢٥٤٤). การประกันค่ณภาพ ภายในสถานศึกษา. นนทบุรี : จตุพรดีไซน์ สำานั กงานคณะกรรมการการศึกษาขันพ้ืนฐาน ( 2551 ) หลักสูตร ้ แกนกลางการศึกษาขันพ้ืนฐาน พ.ศ. 2551 กรุงเทพมหานคร: ้ ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย สำานั กงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (٢٥٤٤ ). แนวทางการ ประกันค่ณภาพภายใน
  • 16. 16 สถานศึกษา :เพ่ ือพร้อมรับการประเมินภายนอก. พิมพ์ครังท่ี ้ ٣. กรุงเทพฯ : พิมพ์ด. ี สำานั กวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำานั กงานคณะกรรมการการ ศึกษาขันพ้ืนฐาน. (٢٥٤٩). เอกสารแนวทางการดำาเนิ นงาน ้ ปฏิรูปการเรียนการสอน ตามเจตนารมณ กระทรวงศึกษาธิการ٢ ์ “ ٥٤٩ ปี แหุงการปฏิรูปการเรียนการสอน” : แนวทางการประกัน ค่ณภาพภายในสถานศึกษา. กรุงเทพฯ : สำานั กวิชาการและ มาตรฐานการศึกษา.