SlideShare a Scribd company logo
1 of 26
Download to read offline
เอกสารประกอบการอบรมวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย คณะโลจิสติกส




                      บทที่




                                                       อ.ศักดิ์ดา หวานแกว sakdah@gmail.com , hrburapa@yahoo.com
                 Burapha University - Sakda Hwankaew




                                          ความหมายแรงงานสัมพันธ
                         ความสัมพันธหรือความเกี่ยวของทางดานแรงงานระหวางบุคคลทั้ง
                         สองฝาย ไดแก นายจางและลูกจาง ซึ่งบุคคลทั้งสองฝายนี้จะตอง
                         รวมมอรวมใจกนในการประกอบธุรกจหรอกจการอุตสาหกรรม
                         รวมมือรวมใจกันในการประกอบธรกิจหรือกิจการอตสาหกรรม โดย
                         นายจางเปนฝายลงทุนจัดหาเครื่องมือ เครื่องจักร สถานที่ทางาน
                                                                                  ํ
                         วัตถุดิบ ตลอดจนวิธีการผลิตหรือการบริการ สวนลูกจางเปนฝายลง
                         แรงและนําความคิดทํางานใชเครื่องมือ เครื่องจักร ผลิตเปนสินคา
                         หรือบริการออกมา (เกษมสันต วิลาวรรณ, 2521)

                           เปนกระบวนการบริหาร และจัดการของสถาบัน สามฝาย คือ
                           ฝายรััฐบาล ลูกจาง และนายจาง หรืือส    สถานประกอบการ ซึ่ง
                                                                             ป
                           แรงงานสัมพันธโดยธรรมชาติเปนขบวนการผลประโยชนระหวาง
                           นายจางและลูกจางเพียงสองฝาย          รัฐบาลเปนผูวางกติกาหรือ
                           บทบัญญัติตางๆ       เพื่อใหแตละฝายไดตอสูกันในหนทางที่สงบ
                           และถูกตอง (โกวิทย บูรพธานินทร,2543)
                                                          Burapha University - Sakda Hwankaew                  2
                 HRM-Logistices




มหาวิทยาลัยบูรพา โดย อ.ศักดิดา หวานแกว
                            ์                                                                                      1
เอกสารประกอบการอบรมวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย คณะโลจิสติกส




                         คําที่ใชและมีความหมายใกลเคียงกัน

                                  LR                                                                  IR

                          การแรงงานสัมพันธ                                                   อุตสาหกรรมสัมพันธ
                         (Labor Relations)                                                   (Industrial Relations)




                                  LMR                                                                 ER
                     แรงงานและการจัดการสัมพันธ
                                                                                              การพนักงานสัมพันธ
                        (Labor Management
                                                                                             (Employee Relations)
                              Relation)




                 HRM-Logistices                        Burapha University - Sakda Hwankaew                                 3




                                    กระบวนการแรงงานสัมพันธ



                                                                                                     การเลิกจาง
                                                                                                     • คาชดเชย
                                                                                                     • เงินไดเมื่ออกจาก
                                                                          สงเสริมแรงงาน
                                                                                                       งาน
                                                                              สัมพันธ
                                                                                • คณะกรรมการสวัสดิการ
                                               การวาจาง
                                               การวาจาง
                                                                                • คณะกรรมการลูกจาง
                                              สภาพการจาง
                                                                                • สหภาพแรงงาน
                      กําหนดนโยบาย                • คาจางและสวัสดิการ                  การติดตอสื่อสาร
                        ดานแรงงาน                • ผลประโยชนตอบแทน                     การใหคําปรึกษา
                                                                                         การลงโทษทางวินัย
                                                                                         การเจรจาตอรอง
                 HRM-Logistices                        Burapha University - Sakda Hwankaew                                 4




มหาวิทยาลัยบูรพา โดย อ.ศักดิดา หวานแกว
                            ์                                                                                                  2
เอกสารประกอบการอบรมวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย คณะโลจิสติกส




                                             ไตรภาคี – บุคคล 3 ฝาย
                รัฐบาล --> คกก.แรงงานสัมพันธ
                           คกก.คาจาง                                                มีหนาที่ในการออกกฎหมาย
                           คกก.กองทุนเงินทดแทน                                        ควบคุม ลงโทษ กํากับดูแลการ
                           คกก.ที่ปรึกเพื่อพัฒนาแรงงานแหงชาติ       รัฐบาล           จางงานใหเกิดความยุติธรรม
                           ศาลแรงงาน                                                  ตอทุกฝาย
                                                                                      ตอทกฝาย




                  นายจาง --> สมาคมนายจาง                                                              ลูกจาง --> สหภาพแรงงาน,
                              สหพันธนายจาง              การรักษาสมดุล                                             สหพันธแรงงาน
                              สภาองคกรนายจาง                                                                      สภาองคกรลุกจาง

                                                   นายจาง
                                                   นายจาง                             ลูกจาง
                                                                                       ลกจาง           มีหนาที่ทํางานตามที่
                   มีหนาที่วาจางลูกจางให
                   เขาทํางาน มอบหมาย                                                                   นายจางมอบหมายใหมี
                   งานใหทํา และจายคาจาง                                                             ประสิทธิภาพตรงกับ
                   และสวัสดิการที่เปนธรรม                                                              ความตองการของ
                   หรือสูงกวาที่กฎหมาย                                                                 นายจาง
                   กําหนด
                                                                                         ทวิภาคี
                 HRM-Logistices                                  Burapha University - Sakda Hwankaew                                   5




                      ประโยชนของการบริหารแรงงานสัมพันธ

                           1. ดําเนินกิจการได       1. มีขวัญกําลังใจใน          1. เกิดความสงบสุข         1. สังคมสงบสุข มี
                               อยางตอเนื่อง มี        การทํํางาน                   ในอุ
                                                                                     ใ ตสาหกรรม                ความเรียบรอย
                                                                                                                      ี
                               กําไรทางธุรกิจ        2. ไดรับการปรับปรุง         2. สรางบรรยาการ          2. มีคุณภาพชีวิตที่
                           2. สรางภาพลักษณที่         คาจาง สวัสดิการ            การลงทุน                  ดีและสมบูรณ
                               ดีหาไมมีปญหา           มีความกาวหนา            3. เศรษฐกิจกาวหนา
                               ดานแรงงาน            3. ไดมีสวนรวม
                                                                                 4. พัฒนาประเทศ
                           3. รักษาระเบียบวินัย      4. มีความมั่นคงใน
                              ความสงบเรียบรอย          ชีวิต




                                  นายจาง                 ลูกจาง                     รััฐบาล                   สัังคม




                                                          ผูมีสวนไดสวนเสียทั้งหมด



                 HRM-Logistices                                  Burapha University - Sakda Hwankaew                                   6




มหาวิทยาลัยบูรพา โดย อ.ศักดิดา หวานแกว
                            ์                                                                                                              3
เอกสารประกอบการอบรมวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย คณะโลจิสติกส




                              มูลเหตุที่ทําใหเกิดปญหาแรงงาน


                        ไมมีนโยบายการจางงาน                                         ฝายจัดการไมเอาใจใสตอ
                               ที่ยุติธรรม                                            ขอรองทุกขของพนักงาน

                        ไมใหความสําคัญกับงาน                                        พนักงานบางกลุมตองการ
                       บริหารงานทรัพยากรมนุษย                                      ตอรองเพื่อรักษาผลประโยชน

                              ฝายบุคคลไมมี                                               สหภาพแรงงานตองการ
                               ประสทธภาพ
                               ประสิทธิภาพ                                                     สรางผลงาน
                                                                                               ส 




                     ปญหาแรงงานมักจะเกิดจากการมีระบบการบริหารงานบุคคลที่ไมเขมแข็ง

                 HRM-Logistices                      Burapha University - Sakda Hwankaew                         7




                                  ขอตกลงพื้นฐานของการจางงาน

                            ระเบียบ         กฎหมาย           ขอตกลง                                  ขอตกลง
                                                                                     ธรรมเนยม
                                                                                     ธรรมเนียม
                            ขอบังคับ       แรงงาน           สภาพการ                                   พิเศษ
                                                                                       ปฏิบัติ
                                                                จาง                                  (เฉพาะ)




                                  การจาง      สัญญาจางทดลองงาน, สัญญา
                                   งาน           จางงาน, สัญญาจางพิเศษ,



                 HRM-Logistices                      Burapha University - Sakda Hwankaew                         8




มหาวิทยาลัยบูรพา โดย อ.ศักดิดา หวานแกว
                            ์                                                                                        4
เอกสารประกอบการอบรมวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย คณะโลจิสติกส




                    บุคคลที่เกี่ยวของในการสรางแรงงานสัมพันธภายในองคกร



                       ฝายบริหารทรัพยากรมนุษย          องคกร                           ผูบังคับบัญชา(Line)


                           ประเมินความเสี่ยง                                      ปกครองบังคับบัญชา
                                                  ดึงดูด สรรหาคนเกง
                             ออกแบบเครื่องมือ                                        ประเมินผลงาน
                                                      รักษาคนเกง
                                  ใหคําปรึกษา                                      ใหคําแนะนํา
                                                         พัฒนา
                                    พฒนาองคกร
                                    พัฒนาองคกร                                    แกปญหา
                                                                                     ปญ
                                                       จูงใจ(+/-)


                                      Adivise              Policy                        Evaluation
                                      Assist              Support                          Action



                 HRM-Logistices                    Burapha University - Sakda Hwankaew                           9




                           แนวทางการสงเสริมแรงงานสัมพันธ

                                                                สันติสุขภายในองคกร

                                                                    ปรับปรุงสภาพการทํางาน

                                                                    ปฏิบัติตามกฎหมายแรงงาน

                                                                    สรางการมีสวนรวมในองคกร
                                                                    ปรับปรุงการสื่อสารองคกร

                                                                    ใหการศึกษา/พัฒนาองคกร


                                                   Burapha University - Sakda Hwankaew
                 HRM-Logistices                                                                                  10




มหาวิทยาลัยบูรพา โดย อ.ศักดิดา หวานแกว
                            ์                                                                                         5
เอกสารประกอบการอบรมวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย คณะโลจิสติกส




                            แนวทางการบริหารแรงงานสัมพันธ


                                             • พัฒนาใหการศึกษา ความรู ทักษะอยางตอเนื่อง
                                             • ใหขอมูลขาวสาร / สรางขวัญกําลังใจ
                                             • ปฏิบัติตอกันเหมือนคนในครอบครัวเดียวกัน


                                     • ผลตอบแทนที่เหมาะสม                 • ใหมีสวนรวม
                                     • ปฏิบัติดวยความเสมอภาค             • ใหความสําคัญระบบรองทุกข
                                     • รักษาระเบียบวินัย                  • ใหโอกาส
                                     • ยุุติธรรมตอกัน                    • ยึดหลักครอบครัวเดียวกัน


                                  • มีความจริงใจตอกัน                     • ปรึกษาหารือรวมกัน
                                  • เชื่อใจซึ่งกันและกัน                   • แกไขปญหาโดยเร็ว
                                  • ใหการยอมรับ                           • ใชหลักยืดหยุน
                                  • รับผิดชอบตอหนาที่                    • แลกเปลี่ยนขอมูล



                 HRM-Logistices              Burapha University - Sakda Hwankaew                         11




                            แนวทางการบริหารแรงงานสัมพันธ


                                  • มีอคติตอกัน                • ใชกฎหมายเพียงอยางเดียว
                                  • ไมไวใจ                    • มองขามปญหาเล็ก ๆ นอย ๆ
                                  • แบงพรรคแบงพวก             • แข็งกราว
                                  • ละเลยตอหนาที่             • ครอบงําความคิด


                                  • เอากําไร                 • ใหบุคคลภายนอก
                                  • เลือกปฏิบัติ               มาเกี่ยวของ
                                  • ละเลยขอรองทุกข        • สั่งงานฝายเดียว
                                  • ละเลยขอคิดเห็น          • พูดคลุุมเครือ
                                                                  ู


                                        • ขาดการพัฒนา
                                        • สรางความกดดันใหอีก
                                          ฝาย



                 HRM-Logistices              Burapha University - Sakda Hwankaew                         12




มหาวิทยาลัยบูรพา โดย อ.ศักดิดา หวานแกว
                            ์                                                                                 6
เอกสารประกอบการอบรมวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย คณะโลจิสติกส




                       สิทธิและขอตอรองของลูกจาง/นายจาง

                                                                          สิทธิการจัดการและประโยชนตอบแทน
                         ตามขอบังคับกฎหมาย                               อื่นๆ นอกเหนือจากที่กฎหมายกําหนด

                                                                                โบนัส           ขึ้นอยูกบผลประกอบการ
                                                                                                         ั
                             สวัสดิการ, สุขอนามัย                                               ของบริษัทในแตละป


                                   วันหยุด วันลา                           ใหคุณใหโทษ         มอบหมายงาน ประเมินผล
                                                                                                ขึ้นคาจาง เลื่อนระดับ ลงโทษ
                                      วันทํา
                                  งาน คาลวงเวลา                                               เงินกองทุนสะสมเมื่อออก
                                                                          สํารองเลี้ยงชีพ       จากงาน (กฎหมายไมบังคับ)
                                                                                                        ( ฎ


                                                                               ฝกอบรม          การพัฒนาฝกอบรม เปน
                                      คาจาง                                                   สิ่งจูงใจพนักงาน


                                                                                                การดูแลพนักงานใหบริษัท
                                                                            คุณภาพชีวิต         เปนเหมือนกับบานหลังที่สอง

                 HRM-Logistices                           Burapha University - Sakda Hwankaew                                   13




                                        หลักการแกปญหาเรื่องคน

                            การแกไขปญหาที่ดีตองเนน          ตรงจุด             เมื่อรับทราบปญหาแลวตอง
                            เชงปองกน คือไมเกิดปญหา
                            เชิงปองกัน คอไมเกดปญหา                                เอาใจใสและรบหาทางแกไข
                                                                                   เอาใจใสและรีบหาทางแกไข
                                                                ทัันเวลา
                                          เดิมซ้ําขึ้นอีก                          ทันที


                                                                                      เปนที่
                                                ไมเกิดซ้ํา      ผลลัพธ
                                                                                     ยอมรับ


                             ไมใชการแกปญหาเดม
                             ไมใชการแกปญหาเดิม และ  ไ สราง ตองมีหลักการในแกไข
                                                        ไม    ตองมหลกการในแกไข
                              ไมประเมินวาจะเกิดปญหา           ปญหาที่ดี เพื่อสรางการ
                                                       ปญหาใหม
                                      ใหมตามมาหรือไม           ยอมรับจากทุกฝาย



                                    แกปญหาไดดี = แรงงานสัมพันธดี
                 HRM-Logistices                                                                                                 14
                                                          Burapha University - Sakda Hwankaew




มหาวิทยาลัยบูรพา โดย อ.ศักดิดา หวานแกว
                            ์                                                                                                        7
เอกสารประกอบการอบรมวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย คณะโลจิสติกส




                            การบริหารแรงงานสัมพันธสมัยใหม


                             แบบเดิม            •   นายจาง/ลูกจางแยกกันอยู
                             (เชิงรับ)          •   เกิดภาวะหวาดระแวง
                                                •   สถานการณแพ/ชนะ(win-lose)
                                                •   ขาดประสิทธิภาพในการทํางาน

                                  • การมีสวนรวมในการทํางาน (workers’
                                    participation in management)
                                  • สถานการณชนะ/ชนะ(win-win)                                 แบบใหม
                                                                                              แบบใหม
                                  • เกิดความรวมมือ ประสิทธิภาพ
                                                                                              (เชิงรุก)




                                                                      Burapha University - Sakda Hwankaew     15
                 HRM-Logistices




                          ดัชนีชี้วัดผลงานดานแรงงานสัมพันธ

                         ความพึงพอใจ                       การฟอง                            อัตราการหยุด
                         ของพนักงาน                       คดีแรงงาน                           งาน/เลิกจาง



                        อัตราการออก                       จํานวนขอ                            งบประมาณ
                           จากงาน                         เรียกรอง                           ดานสวัสดิการ




                 HRM-Logistices                                                                               16




มหาวิทยาลัยบูรพา โดย อ.ศักดิดา หวานแกว
                            ์                                                                                      8
เอกสารประกอบการอบรมวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย คณะโลจิสติกส




                                  กฎหมายแรงงานที่ควรทราบ

                         2518                2533                     2541                    2551

                        พรบ.                  พรบ.                  พรบ.                        พรบ.
                    แรงงานสัมพันธ         ประกันสังคม        คุมครองแรงงาน              คุมครองแรงงาน
                                                                                             (ฉบับแกไข)

                                  2522
                   พรบ.                              2536
                   จัดตั้งศาลแรงงานและ                               พรบ.
                   วิิธีพิจารณาคดีแรงงาน
                                  ี                           กองทุนสารองเลยงชพ
                                                              กองทนสํารองเลี้ยงชีพ


                                                            2537
                                                                                พรบ.
                                                                            เงินทดแทน


                 HRM-Logistices                     Burapha University - Sakda Hwankaew                    17




                        กฎหมายจางแรงงาน

                         ป.พ.พ.มาตรา 575-583
                         • จางแรงงาน คือ
                         • สิทธิหนาที่นายจางกับลูกจาง
                         • ความระงับของสัญญาจาง
                         • หลัก freedom of contract &
                           หลก
                           sanctity of contract
                           ป.พ.พ. = ประมวลกฎหมายแพงและพานิชย

                 HRM-Logistices




มหาวิทยาลัยบูรพา โดย อ.ศักดิดา หวานแกว
                            ์                                                                                   9
เอกสารประกอบการอบรมวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย คณะโลจิสติกส




                     กฎหมายแรงงานสัมพันธ
                      พ.ร.บ.แรงงานสัมพันธ พ.ศ. 2518
                      • กําหนดกติกาการอยรวมกนระหวางฝาย
                        กาหนดกตกาการอยู วมกันระหวางฝาย
                        จัดการและฝายผูใชแรงงาน
                      • ขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจาง
                      • องคกรนายจาง/ลูกจาง
                      • ขอพิพาท รงงาน ละการระงับขอพิพาท
                        ขอพพาทแรงงานและการระงบขอพพาท
                        แรงงาน
                      • การกระทําอันไมเปนธรรม
                 HRM-Logistices




                      กฎหมายคุมครองแรงงาน
                       พ.ร.บ.คุมครองแรงงาน 2541
                      • กําหนดมาตรฐานขันต่ําของการจางงาน
                                    ฐ     ้
                      • คุมครองกอน/ขณะ/หลังพนสภาพเปน
                        ลูกจาง
                      • คุมครองความปลอดภัย ในการทํางานและ
                        คุ ครองคาตอบแทนการทางาน
                        คมครองคาตอบแทนการทํางาน
                      • เปนกฎหมายมหาชน (public law) ตกลง
                        ขัดหรือแยงไมไดจะตกเปนโมฆะ
                 HRM-Logistices




มหาวิทยาลัยบูรพา โดย อ.ศักดิดา หวานแกว
                            ์                                  10
เอกสารประกอบการอบรมวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย คณะโลจิสติกส




                    วันเวลาทํางานปกติ
                    หากลักษณะหรือสภาพของงานไมอาจทําได
                    อาจกําหนดเปนชั่วโมงทํางานปกติ (regular
                    working h
                         ki     hours) วัันหนึึ่งไ เกิน 8 ช.ม. สััปดาห
                                      )          ไม ิ
                    หนึ่งไมเกิน 48 ช.ม.
                    Day Time (ปกติ)
                     อาทิตย      จันทร     อังคาร      พุธ      พฤหัส       ศุกร         เสาร
                       หยุด

                                  Shift (ทํางานกะ)
                                   อาทิตย     จันทร    อังคาร        พุธ    พฤหัส           ศุกร         เสาร
                                                                       หยุด

                                    หมายเหตุ: ทํางาน 6 วันตองมีวันหยุดประจําสัปดาหอยางนอย 1 วัน(คั่น)

                 HRM-Logistices




                    เวลาพัก
                    ตองจัดใหมีเวลาพัก หลังจากทํางานติดตอกันไม
                    เกิน 5 ช.ม. วันหนึ่งไมนอยกวา 1 ช.ม.
                                       Day Time (ปกติ)
                                           08:00     09:00     10:00      11:00       12:00         13:00
                                                                                      พักเที่ยง



                          • เวลาพักไมนบเปนเวลาทํางาน
                                       ั
                          • เวลาพักวันหนึ่งเกิน 2 ช.ม. ถือเปนเวลาทํางาน
                            เวลาพกวนหนงเกน             ถอเปนเวลาทางาน
                          • พักอยางนอย 20 นาที กอน ทํางานลวงเวลา
                            (มาตรา 27)



                 HRM-Logistices




มหาวิทยาลัยบูรพา โดย อ.ศักดิดา หวานแกว
                            ์                                                                                       11
เอกสารประกอบการอบรมวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย คณะโลจิสติกส




                    วันหยุด
                    • วันหยุดประจําสัปดาห (ไดรับคาจางเฉพาะ
                      ลูกจางรายเดือน)
                    • วันหยุดตามประเพณี (ใหหยุดปละไมต่ํากวา
                      13 วัน โดยไดรับคาจาง บังคับหยุดวันแรงงาน
                      สวนที่เหลือใหจัดตามความเหมาะสม)
                    • วันหยุดพักผอนประจําป (อายุงานครบ 1 ปให
                      หยุดไดปละ วนโดยไดรบคาจาง)
                      หยดไดปละ 6 วันโดยไดรับคาจาง)
                                  หากนายจางเลิกจางลูกจางโดยไมมีความผิด ตองจายคาจาง
                                  สําหรับวันหยุดพักผอนฯในปที่เลิกจางตามสวน รวมทั้งวันหยุด
                                  พักผอนฯ สะสมถามีใหแกลูกจาง



                 HRM-Logistices




                    วันลา
                    • ลูกจางมีสิทธิลาปวยเทาทีปวยจริง โดยไดรับ
                                                  ่
                      คาจางปละ 30วันทํางาน
                    • ลูกจางมีสิทธิลาคลอดครรภหนึ่งไมเกิน 90 วัน
                      โดยไดรับคาจางตลอดเวลาที่ลา ไมเกิน 45 วัน
                    • ลูกจางมีสิทธิลาเพื่อกิจธุระจําเปน ตามระเบียบ
                      ขอบังคับเกียวกับการทํางาน
                                  ่
                              ี
                    • ลูกจางมสทธลาเพอรัับราชการทหารในการ
                               สิ ิ       ื่     ช          ใ
                      เรียกพลเพื่อตรวจสอบ ฝกวิชาทหาร ทดลอง
                      ความพรั่งพรอมโดยไดรับคาจางไมเกินปละ 60
                      วัน
                 HRM-Logistices




มหาวิทยาลัยบูรพา โดย อ.ศักดิดา หวานแกว
                            ์                                                                   12
เอกสารประกอบการอบรมวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย คณะโลจิสติกส




                    คาลวงเวลา
                    • เงินที่จายตอบแทนการทํางานนอก/เกินเวลา
                      ทํางานหรือชั่วโมงทํางานปกติ
                    • หามนายจางสั่งใหลูกจางทํางานลวงเวลา
                      ยกเวนลูกจางยินยอมเปนคราวๆ ไป
                    • คาลวงเวลาปกติ จายไมนอยกวา 1.5 เทาของ
                      คาจาง
                         
                    • คาลวงเวลาในวัันหยุดจายไมนอยกวา 3 เทา
                                  ใ           ไ            
                      ของคาจาง


                 HRM-Logistices




                    คาทํางานในวันหยุด
                    • กรณีไมไดรับคาจางในวันหยุด จายไมนอยกวา
                      2 เทา (ลูกจางรายวัน)
                    • กรณีไดรับคาจางในวันหยุดจายไมนอยกวา 1
                      เทา (ลูกจางรายเดือน)

                    วินัยและการลงโทษ
                       o หลักอาณาเขต             • ขอบังคับเกียวกับการทํางาน
                                                   ขอบงคบเกยวกบการทางาน
                                                                ่
                       o หลักวันเวลาทํางาน
                       o หลักจําเปน
                                                 • ขอตกลงเกียวกับสภาพการจาง
                                                              ่
                                                   (ประกาศ คําสั่ง ระเบียบ)
                                       กรณีทําผิด ถารายแรง เลิกจางได กรณีไมรายแรง ตองตักเตือนเปนตามหนักเบา
                                       หากทําผิดซ้าความผิดภายใน 1 ป นับแตทําผิดที่ถูกเตือน นายจางอาจเลิกจางโดย
                                                   ํ
                                       ไมจายคาชดเชย
                 HRM-Logistices




มหาวิทยาลัยบูรพา โดย อ.ศักดิดา หวานแกว
                            ์                                                                                        13
เอกสารประกอบการอบรมวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย คณะโลจิสติกส




                    การสินสุดสัญญาจาง
                    • ลาออก
                    • ตกลงเลิกสัญญา
                    • เลิกจาง (จายคาชดเชย/ไมจายคาชดเชย)
                                             ไ
                     นายจางเลิกจางลูกจางที่ทํางานติดตอกัน 120 วันขึ้นไป ตองจาย
                     คาชดเชย
                                                                            เลิกจางไมจายคาชดเชย
                                                                                          
                      อายุงาน               คาชดเชยตามกฎหมาย             • ทุจริตตอหนาที่/ทําผิดอาญา
                      120 วัน ไมถึง 1 ป   คาจางสุดทาย 30 วัน           โดยเจตนาตอนายจาง
                                                                          • จงใจทําใหนายจางไดรับความ
                                                                            จงใจทาใหนายจางไดรบความ
                      ครบ 1 ป ไ ถึง 3 ป
                               ไม          คาจางสุดทาย 90 วััน
                                                                            เสียหาย
                      ครบ 3 ป ไมถึง 6 ป  คาจางสุดทาย 180 วัน        • ประมาทเลินเลอทําใหนายจาง
                      ครบ 6 ป ไมถึง 10 ป คาจางสุดทาย 240 วัน          เสียหายรายแรง
                                                                          • ฝาฝนขอบังคับฯ กรณีรายแรง
                      ครบ 10 ปขึ้นไป       คาจางสุดทาย 300 วัน
                                                                          • ทําผิดซ้ําคําเตือน
                      เลิกจางเปนธรรมไมเปนธรรม   เลิกจางโดยไมมีสาเหตุ, เลิกจางมีสาเหตุแตยังไมสมควร,
                 HRM-Logistices
                                                    และเพียงพอที่จะเลิกจาง




                                   คือ หลักประกันในการดํารง
                                   ชวต เปนระบบรวมกนเสยงภย
                                   ชีวิต เปนระบบรวมกันเสี่ยงภัย
                                    และรวมกันรับผิดชอบตอ
                     สังคม ดวยการออมทรัพยในกองทุน
                     ประกันสังคมและนําเงินจากกองทุนมาใชใน
                     ยามจาเปน ดานการรกษาพยาบาลและ
                     ยามจําเปน ดานการรักษาพยาบาลและ
                     ทดแทนการขาดรายไดในระหวางที่ไมสามารถ
                     ประกอบอาชีพโดยปกติได(ปวยนอกงาน) ไม
                     เปนภาระ
                                          บังคับใช 76 จังหวัดกิจการที่มลูกจาง 1 คนขึ้นไป
                                                                        ี
                 HRM-Logistices




มหาวิทยาลัยบูรพา โดย อ.ศักดิดา หวานแกว
                            ์                                                                                 14
เอกสารประกอบการอบรมวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย คณะโลจิสติกส




                                  พ.ร.บ.ประกันสังคม พ.ศ. 2533
                             มีผลเมื่อวันที่ 2 ก.ย. 2533
                             ใชกบสถานประกอบการทมลูกจาง
                             ใชกับสถานประกอบการที่มีลกจาง
                             ตั้งแต 20 คนขึ้นไป
                              วันที่ 2 กันยายน 2536 ขยายผลไปยังสถาน
                             ประกอบการทมลูกจางตั้งแต คนขนไป
                             ประกอบการที่มีลกจางตงแต 10 คนขึ้นไป
                              1 เมษายน 2545 ขยายผลไปยังสถาน
                             ประกอบการที่มีลกจางตั้งแต 1 คนขึ้นไป
                                                 ู
                 HRM-Logistices




                      สิทธิประโยชนตาม พ.ร.บ.ประกันสังคม
                                                                       คลอดบุตร



                                                                                  ตาย
                  เจ็บปวย(นอกงาน)


                 ทุพพลภาพ

                                           ชราภาพ




                                                                                   วางงาน
                                           Burapha University - Sakda Hwankaew
                 HRM-Logistices                                                              30




มหาวิทยาลัยบูรพา โดย อ.ศักดิดา หวานแกว
                            ์                                                                     15
เอกสารประกอบการอบรมวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย คณะโลจิสติกส




                                  สรุปสิทธิประโยชนประกันสังคม
                   1. เจ็บปวยและอุบัติเหตุ   ไดรับการรักษาพยาบาลจนกวาจะหาย
                      นอกงาน                  ไดรับเงินทดแทนการขาดรายได 50% ของคาจาง
                                              ตามที่หยุดงานจริงและตามคําสั่งของแพทย ครั้งหนึ่งไม
                                                         ุ
                                              เกิน 90 วัน และปหนึ่งไมเกิน 180 วัน เวนแตโรค
                                              เรื้อรัง ไดรับเงินไมเกิน 365 วัน
                   2. คลอดบุตร                ไดรับคาคลอดบุตรเหมาจาย
                                              ไดรับเงินสงเคราะหการหยุดงานเพือการคลอดบุตร
                                                                              ่
                                              (หญิง) 50% ของคาจาง จํานวน 90 วัน (เหมาจาย
                                              ทันทีเมื่อคลอดบุตร)

                   3. ทุพพลภาพ                ไดรับเงินทดแทนการขาดรายไดตลอดชีวิต 50% ของ
                                              คาจางคารักษาเดือนละ 2,000 บาท
                   4. ตาย                     ไดรับคาทําศพ 30,000 บาท     (จายผูจัดการศพ) เงิน
                                              สงเคราะหกรณีตาย

                 HRM-Logistices




                 5. สงเคราะหบุตร                   เหมาจาย 200 / 1/ คน / เดือน
                                                    บุตรโดยชอบดวยกฎหมาย แรกเกิด - 6 ป
                 6. ชราภาพ
                    6.1 บํานาญ                      ไดรับ 15% ของคาจางเฉลี่ย 60 เดือน
                      - จายเงินสมทบ 180 ด.         สุดทายปรับเพิ่มใหอีก 1% ทุก 12 เดือน
                      - อายุ 55 ป
                      - ความเปน ผปต.สิ้นสุดลง
                    6.2 บําเหน็จ
                      - จายเงินไมครบ 180 ด.       ไดรับสวนของผูประตน + นายจาง +
                      - ความเปนผูประกันตน
                               ป       ั           ผลประโยชนตอบแทน
                                                       ป โ
                 สิ้นสุดลง
                      - อายุ 55 ป หรือเปนผู
                 ทุพพลภาพ หรือ ตาย

                 HRM-Logistices




มหาวิทยาลัยบูรพา โดย อ.ศักดิดา หวานแกว
                            ์                                                                        16
เอกสารประกอบการอบรมวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย คณะโลจิสติกส




                                    การมีสิทธิรับประโยชนทดแทน


                        ประเภทประโยชนทดแทน                   การมีสิทธิรับประโยชนทดแทน

                    1. การเจ็บปว ยและอุบัติเหตุ   จา ยเงินสมทบมาแลว 3 เดือนภายใน 15 เดือน
                       นอกงาน
                    2. การคลอดบุตร                 จา ยเงินสมทบมาแลว 7 เดือน
                    3. ทุพพลภาพ                    จา ยเงินสมทบมาแลว 3 เดือน
                    4. ตาย                         จา ยเงินสมทบมาแลว 1 เดือน ภายใน 6 เดือน
                    5. ชราภาพ                      บานาญ ไมนอยกวา
                                                   บํา นาญ ไมนอยกว า 180 เดือน
                                                                            เดอน
                                                   บํา เหน็จ นอยกว า   180 เดือน
                    6. สงเคราะหบุตร               จา ยเงินสมทบมาแลว 12 เดือนภายใน 36 เดือน
                    7. ว างงาน                    จา ยเงินสมทบมาแลว 6 เดือนภายใน 15 เดือน


                 HRM-Logistices




                    ผูประกันตน
                       ลูกจาง / ผูประกันตน ซึ่งจายเงินสมทบครบ
                       ตามหลักเกณฑ อายุระหวาง 15 -60 ป

                       ผูประกันตนมี 3 ประเภท 90%                                          50%
                                                                            96%
                       • ตามกฎหมาย (ม.33)
                                                                                     15%



                       • โดยสมัครใจ (ม.39)
                       • ผประกอบอาชีพอิสระ (ม.40)
                         ผู ระกอบอาชพอสระ




                 HRM-Logistices




มหาวิทยาลัยบูรพา โดย อ.ศักดิดา หวานแกว
                            ์                                                                    17
เอกสารประกอบการอบรมวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย คณะโลจิสติกส




                                  การประสบอันตราย

                     การที่ลกจางไดรับอันตรายแกกายหรือ
                            ู
                     ผลกระทบทางจตใจ หรอถงแกความตาย
                     ผลกระทบทางจิตใจ หรือถึงแกความตาย
                     • เนืองจากการทํางานใหนายจาง
                          ่
                     • ปองกันรักษาผลประโยชนใหแกนายจาง
                       ตามคําสั่งของนายจาง




                 HRM-Logistices




                      เงินทดแทน
                  • คาทดแทน 60% ของคาจางรายเดือน

                  • คารักษาพยาบาล เทาทจายจรง ตามความจาเปน ไมเกิน
                    คารกษาพยาบาล เทาที่จายจริง ตามความจําเปน ไมเกน
                      อัตราที่กําหนดในกฎกระทรวง (35,000 -> 50,000 บ.)

                  • คาฟนฟูสมรรถภาพ ในการทํางานตามความจําเปน ตาม
                      หลักเกณฑ วิธีการที่กําหนดในกฎกระทรวง

                  • คาทําศพ 100 เทา ของอัตราสูงสุดของคาจางขั้นต่ํา
                      รายวัน ตามกฎหมาย

                 HRM-Logistices




มหาวิทยาลัยบูรพา โดย อ.ศักดิดา หวานแกว
                            ์                                            18
เอกสารประกอบการอบรมวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย คณะโลจิสติกส




                      การจายเงินทดแทนกรณีสูญเสียอวัยวะ




                 HRM-Logistices




                       ทายาทผูมีสิทธิไดรับเงินทดแทน(เสียชีวิต)

                       • บิดา มารดา โดยชอบตามกฎหมาย
                       • สามี ภรรยา โดยชอบตามกฎหมาย
                       • บุตรมีอายุต่ํากวา 18 ป (เวนแตเมื่อครบ 18
                         ปและยังศึกษาอยูในระดับไมสูงกวาปริญญาตรี
                                         
                         ให 
                         ใ ไดรับสวนแบงตอไป
                                           ไปตลอดระยะเวลาทีี่
                         ศึกษาอยู)
                                 

                 HRM-Logistices




มหาวิทยาลัยบูรพา โดย อ.ศักดิดา หวานแกว
                            ์                                           19
เอกสารประกอบการอบรมวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย คณะโลจิสติกส




                                  เหตุอนนายจางไมตองจายคาทดแทน
                                       ั

                       • ลูกจางเสพของมึนเมาหรือสิ่งเสพยติดอื่นจนไม
                         สามารถครองสตได
                         สามารถครองสติได
                       • จงใจใหตนเองประสบอันตรายหรือยอมใหผูอน
                                                               ื่
                         ทําใหตนประสบอันตราย




                 HRM-Logistices




                      บทที่




                                                       อ.ศักดิ์ดา หวานแกว sakdah@gmail.com , hrburapa@yahoo.com
                 Burapha University - Sakda Hwankaew




มหาวิทยาลัยบูรพา โดย อ.ศักดิดา หวานแกว
                            ์                                                                                      20
เอกสารประกอบการอบรมวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย คณะโลจิสติกส




                              สถิติผูใชแรงงานของประเทศไทย(ป 2534-2548)

                                                   ไตรมาส 1                                                     ไตรมาส 3
                         ป
                                     ชาย             หญิง                  รวม                ชาย                 หญิง          รวม
                       2534       16,855,332      13,493,708            30,349,040         17,228,916          14,771,106   32,000,022
                       2535       17,286,027      14,019,538            31,305,565         17,582,850          15,042,313   32,625,163
                       2536       17,444,648      14,028,128            31,472,776         17,620,192          15,012,881   32,633,073
                       2537       17,344,891      13,586,488            30,931,379         17,659,547          14,764,965   32,424,512
                       2538       17,378,745      13,660,278            31,039,023         17,827,165          14,922,992   32,750,156
                       2539       17,694,204      13,945,924            31,640,127         17,880,804          14,722,678   32,603,481
                       2540       17,820,131      13,943,433            31,763,564         18,109,279          15,084,601   33,193,879
                       2541       17,997,575      13,969,233            31,966,808         18,272,378          14,981,674   33,254,052
                       2542       18,248,222      14,344,854            32,593,076         18,256,237          14,849,388   33,105,626
                       2543       18,389,956
                                  18 389 956      14,427,195
                                                  14 427 195            32,817,150
                                                                        32 817 150         18,604,239
                                                                                           18 604 239          15,244,732
                                                                                                               15 244 732   33,848,970
                                                                                                                            33 848 970
                       2544       18,606,638      14,646,446            33,253,084         19,039,651          15,486,766   34,526,417
                       2545       18,769,558      14,764,773            33,534,331         19,301,655          15,727,662   35,029,317
                       2546       19,055,190      15,082,717            34,137,907         19,473,100          15,944,871   35,417,971
                       2547       19,400,207      15,248,622            34,648,829         19,903,415          16,191,394   36,094,809
                       2548       19,641,281      15,603,688            35,244,969



                                                              Burapha University - Sakda Hwankaew
                 HRM-Logistices                                                                                                          41




                              สถานประกอบกิจการในภาคตะวันออก
                                                ความหลากหลายของอุตสาหกรรม




                                                                 ชลบุรี       อมตะนคร



                                                แหลมฉบัง                                เครือสหพัฒน


                                                 ปนทอง                                        พัทยา



                                                               บอวิน            บานบึง




                                  ฉะเทริงเทรา       ปราจีนบุรี                ระยอง                 จันทบุรี         ตราด

                 HRM-Logistices




มหาวิทยาลัยบูรพา โดย อ.ศักดิดา หวานแกว
                            ์                                                                                                                 21
เอกสารประกอบการอบรมวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย คณะโลจิสติกส




                                                       ที่มา: รายงานประจําป 2550 สํานักงานประกันสังคม
                 HRM-Logistices




                 ลูกจางรวม 484,518 คน                          สถานประกอบการที่มี
                                                          ลูกจาง ตังแต 100 คนขึ้นไป
                                                                    ้
                                            400 แหง                    ทุนจดทะเบียน
                                                                     1.1 แสนแสนลาน
                                                                                          • Amata Nakorn
                                                                                            Industrial Estate
                                       23 แหง
                                          แหง                                             • Saha-Group
                                                                                            Saha Group
                                                                                            Industrial Park
                                                  64 แหง                                 • Leamchabang
                  93 แหง
                                                                                            Industrial Estate
                                  46 แหง
                                                                                          • Pinthong
                                                                                            Industrial Estate
                                                                                          • Ch b i ( อวิน)
                                                                                            Chonburi (บ ิ
                         400 แหง
                                                                                            Industrial Estate
                                                                                          • Nong Bon
                                                                                            Garden Industrial
                                                                                            Zone
                 HRM-Logistices คมอุตสาหกรรม จังหวัดชลบุรี
                              นิ




มหาวิทยาลัยบูรพา โดย อ.ศักดิดา หวานแกว
                            ์                                                                                   22
เอกสารประกอบการอบรมวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย คณะโลจิสติกส




                                                     สถานประกอบการที่มีลูกจาง   • Amata City
                                                     ตั้งแต 100 คนขึ้นไป        • Asia Industrial
                                                                                   Estate
                                                                                 • Map Ta Phut
                                                                                   Industrial Estates
                                                                                 • Siam Eastern
                                                                                   Industrial Park
                                                                                 • Thai Singapore
                                                                                            g p
                                                                                 • Padaeng Industrial
                                                                                   Estate
                                                                                 • G.K. Land
                                                                                   Industrial Park
                                                                                 • T.C.C. Industrial
                                                                                   Park
                                                                                 • EasternSeaboard
                                                                                   Industrial Estate
                                                                                 • Eastern Industrial
                                                                                   Estate
                                                                                 • RIL Industrial
                                                                                 • Rojana Industrial
                                                                                   Park
                                                                                 • SSP Industrial
                                                                                   Park2
                  นิคมอุตสาหกรรม จังหวัดระยอง                                    • Tuntex Industrial
                                                                                   Estate
                 HRM-Logistices




                  สถานการณทางแรงงานของภาคตะวันออก

                        1. เขาสูตลาดแรงงานฝมือมากขึ้น
                                 
                        2. นิสัยการทํางานของพนักงานไมตอเนื่อง
                                                       
                        3. การจางงานแบบผูรับเหมาชวง
                        4. การไหลของแรงงานในภาคอุตสาหกรรม
                        5.
                        5 การขยายตััวขององคกรแรงงานลูกจาง
                                                        
                        6. แนวโนมการยายฐานการลงทุน
                    Company
                    LOGO
                                                                                                 46
                 สมาคมการบริหารงานบุคคลภาคตะวันออก




มหาวิทยาลัยบูรพา โดย อ.ศักดิดา หวานแกว
                            ์                                                                           23
เอกสารประกอบการอบรมวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย คณะโลจิสติกส




                     ปญหาดานแรงงานในเขตภาคตะวันออก

                       1. ขาดแคลนแรงงาน ชางฝมือ
                       2. คุณภาพ ความสามารถของพนักงานทรง
                       2 คณภาพ ความสามารถของพนกงานทรง
                          ตัว..คนใหมไมเหมาะกับงาน
                       3. โครงสรางตนทุนของอุตสาหกรรมตางกัน
                          ทําใหเกิดความไมเทาเทียมในการแขงขัน
                       4. การเจรจาตอรององคกรลูกจางไมใช
                                                    ไ 
                          พื้นฐานของเหตุและผล
                       5. แรงงานตางดาวไมถกกฎหมาย
                                            ู
                 HRM-Logistices




                          ปจจัยที่มผลตอจํานวนการเกิดสหภาพแรงงาน
                                    ี


                        ปจจยทางดานภูมศาสตร
                        ปจจัยทางดานภมิศาสตร                                  การเปลี่ยนแปลง
                          (จํานวนประชากร, โลกเสรี, FTA                      ดานทักษะ/การศึกษา
                                ภาวะโลกรอน ฯลฯ)                            (แรงงานทักษะมีมากขึ้น)




                                                               จํานวน
                                                            สหภาพแรงงาน



                                                            การเปลี่ยนแปลง
                                                           ดานอุตสาหกรรม
                                                         (ไอที,เศรษฐกิจ/บริการ)

                 HRM-Logistices




มหาวิทยาลัยบูรพา โดย อ.ศักดิดา หวานแกว
                            ์                                                                        24
เอกสารประกอบการอบรมวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย คณะโลจิสติกส




                 จํานวนสมาชิกสหภาพแรงงานเทียบกับจํานวนแรงงานทั้งหมด




                 HRM-Logistices




                          จํานวนสมาชิกสหภาพแรงงานแยกตามอุตสาหกรรม

                   แนวโนมจํานวนสหภาพแรงงานฝงประเทศตะวันตกลดลง




                                  แตจํานวนสหภาพแรงงานของประเทศไทยจะเพิ่มขึ้น
                 HRM-Logistices     Source: U.S. Department of Labor, Bureau of Labor Statistics. 2004.




มหาวิทยาลัยบูรพา โดย อ.ศักดิดา หวานแกว
                            ์                                                                             25
เอกสารประกอบการอบรมวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย คณะโลจิสติกส




                              สถิติจํานวนองคกรลูกจางและนายจาง
                                 จํานวนสหภาพแรงงานทัวประเทศ จําแนกรายจังหวัด
                                                    ่
                                              สหภาพ                          สหภาพ
                    ที่
                     1
                                  จังหวัด
                          สมุทรปราการ
                                              แรงงาน ที่
                                               448    21 สิงหบุรี
                                                                  จังหวัด    แรงงาน
                                                                                2             สภาองคการลูกจาง  9 แหง
                     2
                     3
                          กรุงเทพมหานคร
                          ปทุ
                          ป มธานีี
                                               312
                                               105
                                                      22 ปราจีนบุรี
                                                      23 ศรีีสะเกษ
                                                                                2
                                                                                1             สภาองคการนายจาง
                                                                                              สภาองคการนายจาง 11 แหง
                                                                                                                   แหง
                     4    ชลบุรี                39    24 บุรีรมย
                                                              ั                 1
                     5    สมุทรสาคร             38    25 นครสวรรค              1
                     6    พระนครศรีอยุธยา       26    26 เพชรบุรี               1
                     7    นนทบุรี               25    27 สระแกว                1
                     8    ฉะเชิงเทรา            21    28 หนองบัวลําภู           1
                     9    สระบุรี               19    29 กาฬสินธุ              1
                    10    นครปฐม                19    30 พิษณุโลก               1
                    11    ภูเก็ต                15    31 มหาสารคาม              1
                    12    นครราชสีมา             7    32 สุพรรณบุรี             1
                    13    รอยเอ็ด               5    33 อํานาจเจริญ            1
                    14    ขอนแกน                4    34 ชัยภูมิ                1
                    15    อางทอง
                          อางทอง                3    35 สรินทร
                                                         สุรนทร                1
                    16    อุดรธานี               3    36 เชียงราย               1
                    17    ระยอง                  4    37 เลย                    1
                    18    ลพบุรี                 3    38 เชียงใหม              1
                    19    นครพนม                 3    39 ราชบุรี                1
                    20    หนองคาย                3
                                                                    รวม       1,123
                      ขอมูล ณ 31 ธันวาคม 2544
                      ที่มา สํานักงานทะเบียนกลาง กองแรงงานสัมพันธ

                                                                           Burapha University - Sakda Hwankaew
                 HRM-Logistices                                                                                           51




                          บทที่                                                                     Question & Answer




                 Burapha University - Sakda Hwankaew




มหาวิทยาลัยบูรพา โดย อ.ศักดิดา หวานแกว
                            ์                                                                                                  26

More Related Content

What's hot

บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
Bert Nangngam
 
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptเศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
pronprom11
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6
supap6259
 
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมเกมศึษา 5 ขวบ
แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง- กิจกรรมเกมศึษา 5 ขวบแผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง- กิจกรรมเกมศึษา 5 ขวบ
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมเกมศึษา 5 ขวบ
krutitirut
 
30 เทคนิคการสอน
30 เทคนิคการสอน30 เทคนิคการสอน
30 เทคนิคการสอน
Kobwit Piriyawat
 
กำหนดการสอนม.1จ้า
กำหนดการสอนม.1จ้ากำหนดการสอนม.1จ้า
กำหนดการสอนม.1จ้า
krusuparat01
 
ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์
Jintana Kujapan
 
การบัญชีขั้นต้น 1
การบัญชีขั้นต้น 1การบัญชีขั้นต้น 1
การบัญชีขั้นต้น 1
Siriya Lekkang
 
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
พัน พัน
 

What's hot (20)

บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
 
แผนการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์บูรณาการการใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
แผนการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์บูรณาการการใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศแผนการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์บูรณาการการใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
แผนการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์บูรณาการการใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptเศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6
 
หน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้นหน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
 
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมเกมศึษา 5 ขวบ
แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง- กิจกรรมเกมศึษา 5 ขวบแผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง- กิจกรรมเกมศึษา 5 ขวบ
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมเกมศึษา 5 ขวบ
 
5 step
5 step5 step
5 step
 
บูรณาการอาเชียน ม.1
บูรณาการอาเชียน ม.1บูรณาการอาเชียน ม.1
บูรณาการอาเชียน ม.1
 
อจท.เศรษฐศาสตร์ ม.4-6-หน่วยที่-1
อจท.เศรษฐศาสตร์ ม.4-6-หน่วยที่-1อจท.เศรษฐศาสตร์ ม.4-6-หน่วยที่-1
อจท.เศรษฐศาสตร์ ม.4-6-หน่วยที่-1
 
30 เทคนิคการสอน
30 เทคนิคการสอน30 เทคนิคการสอน
30 เทคนิคการสอน
 
กำหนดการสอนม.1จ้า
กำหนดการสอนม.1จ้ากำหนดการสอนม.1จ้า
กำหนดการสอนม.1จ้า
 
Sampling For Internal Auditors
Sampling For Internal AuditorsSampling For Internal Auditors
Sampling For Internal Auditors
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
 
ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์
 
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมนการรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
 
การบัญชีขั้นต้น 1
การบัญชีขั้นต้น 1การบัญชีขั้นต้น 1
การบัญชีขั้นต้น 1
 
4. โจทย์ปัญหาการซื้อขาย กำไร ขาดทุน
4. โจทย์ปัญหาการซื้อขาย กำไร ขาดทุน4. โจทย์ปัญหาการซื้อขาย กำไร ขาดทุน
4. โจทย์ปัญหาการซื้อขาย กำไร ขาดทุน
 
0756 l3 2
0756 l3 20756 l3 2
0756 l3 2
 
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
 

Viewers also liked

การส่งเสริมแรงงานสัมพันธ์ที่่ดีในสถานประกอบการ
การส่งเสริมแรงงานสัมพันธ์ที่่ดีในสถานประกอบการการส่งเสริมแรงงานสัมพันธ์ที่่ดีในสถานประกอบการ
การส่งเสริมแรงงานสัมพันธ์ที่่ดีในสถานประกอบการ
varanon peetiwan
 
บทที่11 HRIS(HRM-Logistics)
บทที่11 HRIS(HRM-Logistics)บทที่11 HRIS(HRM-Logistics)
บทที่11 HRIS(HRM-Logistics)
Sakda Hwankaew
 
ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงานทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
tumetr
 
Top 10 employee relations specialist interview questions and answers
Top 10 employee relations specialist interview questions and answersTop 10 employee relations specialist interview questions and answers
Top 10 employee relations specialist interview questions and answers
jomkeri
 
Top 10 labour relations officer interview questions and answers
Top 10 labour relations officer interview questions and answersTop 10 labour relations officer interview questions and answers
Top 10 labour relations officer interview questions and answers
tonychoper2906
 
Top 10 employee relations interview questions and answers
Top 10 employee relations interview questions and answersTop 10 employee relations interview questions and answers
Top 10 employee relations interview questions and answers
BritneySpears345
 
Ppt on employee relation (Industrial Relation)
Ppt on employee relation (Industrial Relation)Ppt on employee relation (Industrial Relation)
Ppt on employee relation (Industrial Relation)
Akhtar Alam
 
การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)
การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)
การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)
Suradet Sriangkoon
 

Viewers also liked (16)

การส่งเสริมแรงงานสัมพันธ์ที่่ดีในสถานประกอบการ
การส่งเสริมแรงงานสัมพันธ์ที่่ดีในสถานประกอบการการส่งเสริมแรงงานสัมพันธ์ที่่ดีในสถานประกอบการ
การส่งเสริมแรงงานสัมพันธ์ที่่ดีในสถานประกอบการ
 
บทที่11 HRIS(HRM-Logistics)
บทที่11 HRIS(HRM-Logistics)บทที่11 HRIS(HRM-Logistics)
บทที่11 HRIS(HRM-Logistics)
 
ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงานทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
 
Top 10 employee relations specialist interview questions and answers
Top 10 employee relations specialist interview questions and answersTop 10 employee relations specialist interview questions and answers
Top 10 employee relations specialist interview questions and answers
 
การฝึกอบรมและพัฒนา Ppt
การฝึกอบรมและพัฒนา Pptการฝึกอบรมและพัฒนา Ppt
การฝึกอบรมและพัฒนา Ppt
 
Top 10 labour relations officer interview questions and answers
Top 10 labour relations officer interview questions and answersTop 10 labour relations officer interview questions and answers
Top 10 labour relations officer interview questions and answers
 
HR indicators (ตัวชี้วัดการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในองค์กร)
HR indicators (ตัวชี้วัดการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในองค์กร)HR indicators (ตัวชี้วัดการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในองค์กร)
HR indicators (ตัวชี้วัดการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในองค์กร)
 
Top 10 employee relations interview questions and answers
Top 10 employee relations interview questions and answersTop 10 employee relations interview questions and answers
Top 10 employee relations interview questions and answers
 
Employee relation
Employee relationEmployee relation
Employee relation
 
Employee Relations
Employee RelationsEmployee Relations
Employee Relations
 
Employee retention questionnaire
Employee retention questionnaireEmployee retention questionnaire
Employee retention questionnaire
 
Ppt on employee relation (Industrial Relation)
Ppt on employee relation (Industrial Relation)Ppt on employee relation (Industrial Relation)
Ppt on employee relation (Industrial Relation)
 
Employee Relations
Employee RelationsEmployee Relations
Employee Relations
 
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวนPpt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
 
การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)
การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)
การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)
 
HR SCORECARD Human Resource Scorecard PPT Slides
HR SCORECARD Human Resource Scorecard PPT SlidesHR SCORECARD Human Resource Scorecard PPT Slides
HR SCORECARD Human Resource Scorecard PPT Slides
 

More from Sakda Hwankaew

Labor employment in thailand as 2011
Labor employment in thailand as 2011Labor employment in thailand as 2011
Labor employment in thailand as 2011
Sakda Hwankaew
 
บทที่5 การฝึกอบรมและพัฒนาพนักงาน
บทที่5 การฝึกอบรมและพัฒนาพนักงานบทที่5 การฝึกอบรมและพัฒนาพนักงาน
บทที่5 การฝึกอบรมและพัฒนาพนักงาน
Sakda Hwankaew
 
บทที่12(c) Student Outcomes
บทที่12(c) Student Outcomesบทที่12(c) Student Outcomes
บทที่12(c) Student Outcomes
Sakda Hwankaew
 
บทที่4 Recruitment_Selection
บทที่4 Recruitment_Selectionบทที่4 Recruitment_Selection
บทที่4 Recruitment_Selection
Sakda Hwankaew
 
บทที่10 CareerManagement
บทที่10 CareerManagementบทที่10 CareerManagement
บทที่10 CareerManagement
Sakda Hwankaew
 
บทที่12(a) เทคนิคชั้นยอดในการหางาน
บทที่12(a) เทคนิคชั้นยอดในการหางานบทที่12(a) เทคนิคชั้นยอดในการหางาน
บทที่12(a) เทคนิคชั้นยอดในการหางาน
Sakda Hwankaew
 
บทที่8 การบริหารค่าตอบแทน
บทที่8 การบริหารค่าตอบแทนบทที่8 การบริหารค่าตอบแทน
บทที่8 การบริหารค่าตอบแทน
Sakda Hwankaew
 
บทที่12(d) MindMapping
บทที่12(d) MindMappingบทที่12(d) MindMapping
บทที่12(d) MindMapping
Sakda Hwankaew
 
บทที่6 Job Evaluation
บทที่6 Job Evaluationบทที่6 Job Evaluation
บทที่6 Job Evaluation
Sakda Hwankaew
 
บทที่ 7 การประเมินผลการปฏิบัติงาน2
บทที่ 7 การประเมินผลการปฏิบัติงาน2บทที่ 7 การประเมินผลการปฏิบัติงาน2
บทที่ 7 การประเมินผลการปฏิบัติงาน2
Sakda Hwankaew
 
Human Resource Management
Human Resource ManagementHuman Resource Management
Human Resource Management
Sakda Hwankaew
 
บทที่ 7 การประเมินการปฏิบัติงาน1
บทที่ 7 การประเมินการปฏิบัติงาน1บทที่ 7 การประเมินการปฏิบัติงาน1
บทที่ 7 การประเมินการปฏิบัติงาน1
Sakda Hwankaew
 
บทที่12(b) เทคนิคการสมัครงาน
บทที่12(b) เทคนิคการสมัครงานบทที่12(b) เทคนิคการสมัครงาน
บทที่12(b) เทคนิคการสมัครงาน
Sakda Hwankaew
 
ความสำคัญของ HRIS (ตอนที่ 1)
ความสำคัญของ HRIS (ตอนที่ 1)ความสำคัญของ HRIS (ตอนที่ 1)
ความสำคัญของ HRIS (ตอนที่ 1)
Sakda Hwankaew
 

More from Sakda Hwankaew (20)

เทคนิคการฝึกให้ตนเองมีความคิดเชิงสร้างสรรค์และคิดอย่างเป็นระบบ
เทคนิคการฝึกให้ตนเองมีความคิดเชิงสร้างสรรค์และคิดอย่างเป็นระบบเทคนิคการฝึกให้ตนเองมีความคิดเชิงสร้างสรรค์และคิดอย่างเป็นระบบ
เทคนิคการฝึกให้ตนเองมีความคิดเชิงสร้างสรรค์และคิดอย่างเป็นระบบ
 
Thailand Country Report: Join Study in Vietnam
Thailand Country Report: Join Study in VietnamThailand Country Report: Join Study in Vietnam
Thailand Country Report: Join Study in Vietnam
 
People 4 54-บทบาทของ hr กับการบริหารสารสนเทศต้นทุนแรงงาน p.29-32
People 4 54-บทบาทของ hr กับการบริหารสารสนเทศต้นทุนแรงงาน p.29-32People 4 54-บทบาทของ hr กับการบริหารสารสนเทศต้นทุนแรงงาน p.29-32
People 4 54-บทบาทของ hr กับการบริหารสารสนเทศต้นทุนแรงงาน p.29-32
 
People Magazine Vol 3. 54-ประเทศไทยกับการบริหารค่าจ้างขั้นต่ำเชิงสารสนเทศ p.3...
People Magazine Vol 3. 54-ประเทศไทยกับการบริหารค่าจ้างขั้นต่ำเชิงสารสนเทศ p.3...People Magazine Vol 3. 54-ประเทศไทยกับการบริหารค่าจ้างขั้นต่ำเชิงสารสนเทศ p.3...
People Magazine Vol 3. 54-ประเทศไทยกับการบริหารค่าจ้างขั้นต่ำเชิงสารสนเทศ p.3...
 
Mgt tools problem_solving_techniques
Mgt tools problem_solving_techniquesMgt tools problem_solving_techniques
Mgt tools problem_solving_techniques
 
AEC and Human Resources Development
AEC and Human Resources DevelopmentAEC and Human Resources Development
AEC and Human Resources Development
 
Labor employment in thailand as 2011
Labor employment in thailand as 2011Labor employment in thailand as 2011
Labor employment in thailand as 2011
 
บทที่5 การฝึกอบรมและพัฒนาพนักงาน
บทที่5 การฝึกอบรมและพัฒนาพนักงานบทที่5 การฝึกอบรมและพัฒนาพนักงาน
บทที่5 การฝึกอบรมและพัฒนาพนักงาน
 
บทที่12(c) Student Outcomes
บทที่12(c) Student Outcomesบทที่12(c) Student Outcomes
บทที่12(c) Student Outcomes
 
บทที่4 Recruitment_Selection
บทที่4 Recruitment_Selectionบทที่4 Recruitment_Selection
บทที่4 Recruitment_Selection
 
บทที่10 CareerManagement
บทที่10 CareerManagementบทที่10 CareerManagement
บทที่10 CareerManagement
 
บทที่12(a) เทคนิคชั้นยอดในการหางาน
บทที่12(a) เทคนิคชั้นยอดในการหางานบทที่12(a) เทคนิคชั้นยอดในการหางาน
บทที่12(a) เทคนิคชั้นยอดในการหางาน
 
บทที่8 การบริหารค่าตอบแทน
บทที่8 การบริหารค่าตอบแทนบทที่8 การบริหารค่าตอบแทน
บทที่8 การบริหารค่าตอบแทน
 
บทที่12(d) MindMapping
บทที่12(d) MindMappingบทที่12(d) MindMapping
บทที่12(d) MindMapping
 
บทที่6 Job Evaluation
บทที่6 Job Evaluationบทที่6 Job Evaluation
บทที่6 Job Evaluation
 
บทที่ 7 การประเมินผลการปฏิบัติงาน2
บทที่ 7 การประเมินผลการปฏิบัติงาน2บทที่ 7 การประเมินผลการปฏิบัติงาน2
บทที่ 7 การประเมินผลการปฏิบัติงาน2
 
Human Resource Management
Human Resource ManagementHuman Resource Management
Human Resource Management
 
บทที่ 7 การประเมินการปฏิบัติงาน1
บทที่ 7 การประเมินการปฏิบัติงาน1บทที่ 7 การประเมินการปฏิบัติงาน1
บทที่ 7 การประเมินการปฏิบัติงาน1
 
บทที่12(b) เทคนิคการสมัครงาน
บทที่12(b) เทคนิคการสมัครงานบทที่12(b) เทคนิคการสมัครงาน
บทที่12(b) เทคนิคการสมัครงาน
 
ความสำคัญของ HRIS (ตอนที่ 1)
ความสำคัญของ HRIS (ตอนที่ 1)ความสำคัญของ HRIS (ตอนที่ 1)
ความสำคัญของ HRIS (ตอนที่ 1)
 

บทที่ 9 Employee Relation Management

  • 1. เอกสารประกอบการอบรมวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย คณะโลจิสติกส บทที่ อ.ศักดิ์ดา หวานแกว sakdah@gmail.com , hrburapa@yahoo.com Burapha University - Sakda Hwankaew ความหมายแรงงานสัมพันธ ความสัมพันธหรือความเกี่ยวของทางดานแรงงานระหวางบุคคลทั้ง สองฝาย ไดแก นายจางและลูกจาง ซึ่งบุคคลทั้งสองฝายนี้จะตอง รวมมอรวมใจกนในการประกอบธุรกจหรอกจการอุตสาหกรรม รวมมือรวมใจกันในการประกอบธรกิจหรือกิจการอตสาหกรรม โดย นายจางเปนฝายลงทุนจัดหาเครื่องมือ เครื่องจักร สถานที่ทางาน ํ วัตถุดิบ ตลอดจนวิธีการผลิตหรือการบริการ สวนลูกจางเปนฝายลง แรงและนําความคิดทํางานใชเครื่องมือ เครื่องจักร ผลิตเปนสินคา หรือบริการออกมา (เกษมสันต วิลาวรรณ, 2521) เปนกระบวนการบริหาร และจัดการของสถาบัน สามฝาย คือ ฝายรััฐบาล ลูกจาง และนายจาง หรืือส สถานประกอบการ ซึ่ง ป แรงงานสัมพันธโดยธรรมชาติเปนขบวนการผลประโยชนระหวาง นายจางและลูกจางเพียงสองฝาย รัฐบาลเปนผูวางกติกาหรือ บทบัญญัติตางๆ เพื่อใหแตละฝายไดตอสูกันในหนทางที่สงบ และถูกตอง (โกวิทย บูรพธานินทร,2543) Burapha University - Sakda Hwankaew 2 HRM-Logistices มหาวิทยาลัยบูรพา โดย อ.ศักดิดา หวานแกว ์ 1
  • 2. เอกสารประกอบการอบรมวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย คณะโลจิสติกส คําที่ใชและมีความหมายใกลเคียงกัน LR IR การแรงงานสัมพันธ อุตสาหกรรมสัมพันธ (Labor Relations) (Industrial Relations) LMR ER แรงงานและการจัดการสัมพันธ การพนักงานสัมพันธ (Labor Management (Employee Relations) Relation) HRM-Logistices Burapha University - Sakda Hwankaew 3 กระบวนการแรงงานสัมพันธ การเลิกจาง • คาชดเชย • เงินไดเมื่ออกจาก สงเสริมแรงงาน งาน สัมพันธ • คณะกรรมการสวัสดิการ การวาจาง การวาจาง • คณะกรรมการลูกจาง สภาพการจาง • สหภาพแรงงาน กําหนดนโยบาย • คาจางและสวัสดิการ การติดตอสื่อสาร ดานแรงงาน • ผลประโยชนตอบแทน การใหคําปรึกษา การลงโทษทางวินัย การเจรจาตอรอง HRM-Logistices Burapha University - Sakda Hwankaew 4 มหาวิทยาลัยบูรพา โดย อ.ศักดิดา หวานแกว ์ 2
  • 3. เอกสารประกอบการอบรมวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย คณะโลจิสติกส ไตรภาคี – บุคคล 3 ฝาย รัฐบาล --> คกก.แรงงานสัมพันธ คกก.คาจาง มีหนาที่ในการออกกฎหมาย คกก.กองทุนเงินทดแทน ควบคุม ลงโทษ กํากับดูแลการ คกก.ที่ปรึกเพื่อพัฒนาแรงงานแหงชาติ รัฐบาล จางงานใหเกิดความยุติธรรม ศาลแรงงาน ตอทุกฝาย ตอทกฝาย นายจาง --> สมาคมนายจาง ลูกจาง --> สหภาพแรงงาน, สหพันธนายจาง การรักษาสมดุล สหพันธแรงงาน สภาองคกรนายจาง สภาองคกรลุกจาง นายจาง นายจาง ลูกจาง ลกจาง มีหนาที่ทํางานตามที่ มีหนาที่วาจางลูกจางให เขาทํางาน มอบหมาย นายจางมอบหมายใหมี งานใหทํา และจายคาจาง ประสิทธิภาพตรงกับ และสวัสดิการที่เปนธรรม ความตองการของ หรือสูงกวาที่กฎหมาย นายจาง กําหนด ทวิภาคี HRM-Logistices Burapha University - Sakda Hwankaew 5 ประโยชนของการบริหารแรงงานสัมพันธ 1. ดําเนินกิจการได 1. มีขวัญกําลังใจใน 1. เกิดความสงบสุข 1. สังคมสงบสุข มี อยางตอเนื่อง มี การทํํางาน ในอุ ใ ตสาหกรรม ความเรียบรอย ี กําไรทางธุรกิจ 2. ไดรับการปรับปรุง 2. สรางบรรยาการ 2. มีคุณภาพชีวิตที่ 2. สรางภาพลักษณที่ คาจาง สวัสดิการ การลงทุน ดีและสมบูรณ ดีหาไมมีปญหา มีความกาวหนา 3. เศรษฐกิจกาวหนา ดานแรงงาน 3. ไดมีสวนรวม  4. พัฒนาประเทศ 3. รักษาระเบียบวินัย 4. มีความมั่นคงใน ความสงบเรียบรอย ชีวิต นายจาง ลูกจาง รััฐบาล สัังคม ผูมีสวนไดสวนเสียทั้งหมด HRM-Logistices Burapha University - Sakda Hwankaew 6 มหาวิทยาลัยบูรพา โดย อ.ศักดิดา หวานแกว ์ 3
  • 4. เอกสารประกอบการอบรมวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย คณะโลจิสติกส มูลเหตุที่ทําใหเกิดปญหาแรงงาน ไมมีนโยบายการจางงาน ฝายจัดการไมเอาใจใสตอ ที่ยุติธรรม ขอรองทุกขของพนักงาน ไมใหความสําคัญกับงาน พนักงานบางกลุมตองการ บริหารงานทรัพยากรมนุษย ตอรองเพื่อรักษาผลประโยชน ฝายบุคคลไมมี สหภาพแรงงานตองการ ประสทธภาพ ประสิทธิภาพ สรางผลงาน ส  ปญหาแรงงานมักจะเกิดจากการมีระบบการบริหารงานบุคคลที่ไมเขมแข็ง HRM-Logistices Burapha University - Sakda Hwankaew 7 ขอตกลงพื้นฐานของการจางงาน ระเบียบ กฎหมาย ขอตกลง ขอตกลง ธรรมเนยม ธรรมเนียม ขอบังคับ แรงงาน สภาพการ พิเศษ ปฏิบัติ จาง (เฉพาะ) การจาง สัญญาจางทดลองงาน, สัญญา งาน จางงาน, สัญญาจางพิเศษ, HRM-Logistices Burapha University - Sakda Hwankaew 8 มหาวิทยาลัยบูรพา โดย อ.ศักดิดา หวานแกว ์ 4
  • 5. เอกสารประกอบการอบรมวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย คณะโลจิสติกส บุคคลที่เกี่ยวของในการสรางแรงงานสัมพันธภายในองคกร ฝายบริหารทรัพยากรมนุษย องคกร ผูบังคับบัญชา(Line) ประเมินความเสี่ยง ปกครองบังคับบัญชา ดึงดูด สรรหาคนเกง ออกแบบเครื่องมือ ประเมินผลงาน รักษาคนเกง ใหคําปรึกษา ใหคําแนะนํา พัฒนา พฒนาองคกร พัฒนาองคกร แกปญหา ปญ จูงใจ(+/-) Adivise Policy Evaluation Assist Support Action HRM-Logistices Burapha University - Sakda Hwankaew 9 แนวทางการสงเสริมแรงงานสัมพันธ สันติสุขภายในองคกร ปรับปรุงสภาพการทํางาน ปฏิบัติตามกฎหมายแรงงาน สรางการมีสวนรวมในองคกร ปรับปรุงการสื่อสารองคกร ใหการศึกษา/พัฒนาองคกร Burapha University - Sakda Hwankaew HRM-Logistices 10 มหาวิทยาลัยบูรพา โดย อ.ศักดิดา หวานแกว ์ 5
  • 6. เอกสารประกอบการอบรมวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย คณะโลจิสติกส แนวทางการบริหารแรงงานสัมพันธ • พัฒนาใหการศึกษา ความรู ทักษะอยางตอเนื่อง • ใหขอมูลขาวสาร / สรางขวัญกําลังใจ • ปฏิบัติตอกันเหมือนคนในครอบครัวเดียวกัน • ผลตอบแทนที่เหมาะสม • ใหมีสวนรวม • ปฏิบัติดวยความเสมอภาค • ใหความสําคัญระบบรองทุกข • รักษาระเบียบวินัย • ใหโอกาส • ยุุติธรรมตอกัน • ยึดหลักครอบครัวเดียวกัน • มีความจริงใจตอกัน • ปรึกษาหารือรวมกัน • เชื่อใจซึ่งกันและกัน • แกไขปญหาโดยเร็ว • ใหการยอมรับ • ใชหลักยืดหยุน • รับผิดชอบตอหนาที่ • แลกเปลี่ยนขอมูล HRM-Logistices Burapha University - Sakda Hwankaew 11 แนวทางการบริหารแรงงานสัมพันธ • มีอคติตอกัน • ใชกฎหมายเพียงอยางเดียว • ไมไวใจ • มองขามปญหาเล็ก ๆ นอย ๆ • แบงพรรคแบงพวก • แข็งกราว • ละเลยตอหนาที่ • ครอบงําความคิด • เอากําไร • ใหบุคคลภายนอก • เลือกปฏิบัติ มาเกี่ยวของ • ละเลยขอรองทุกข • สั่งงานฝายเดียว • ละเลยขอคิดเห็น • พูดคลุุมเครือ ู • ขาดการพัฒนา • สรางความกดดันใหอีก ฝาย HRM-Logistices Burapha University - Sakda Hwankaew 12 มหาวิทยาลัยบูรพา โดย อ.ศักดิดา หวานแกว ์ 6
  • 7. เอกสารประกอบการอบรมวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย คณะโลจิสติกส สิทธิและขอตอรองของลูกจาง/นายจาง สิทธิการจัดการและประโยชนตอบแทน ตามขอบังคับกฎหมาย อื่นๆ นอกเหนือจากที่กฎหมายกําหนด โบนัส ขึ้นอยูกบผลประกอบการ ั สวัสดิการ, สุขอนามัย ของบริษัทในแตละป วันหยุด วันลา ใหคุณใหโทษ มอบหมายงาน ประเมินผล ขึ้นคาจาง เลื่อนระดับ ลงโทษ วันทํา งาน คาลวงเวลา เงินกองทุนสะสมเมื่อออก สํารองเลี้ยงชีพ จากงาน (กฎหมายไมบังคับ) ( ฎ ฝกอบรม การพัฒนาฝกอบรม เปน คาจาง สิ่งจูงใจพนักงาน การดูแลพนักงานใหบริษัท คุณภาพชีวิต เปนเหมือนกับบานหลังที่สอง HRM-Logistices Burapha University - Sakda Hwankaew 13 หลักการแกปญหาเรื่องคน การแกไขปญหาที่ดีตองเนน ตรงจุด เมื่อรับทราบปญหาแลวตอง เชงปองกน คือไมเกิดปญหา เชิงปองกัน คอไมเกดปญหา เอาใจใสและรบหาทางแกไข เอาใจใสและรีบหาทางแกไข ทัันเวลา เดิมซ้ําขึ้นอีก ทันที เปนที่ ไมเกิดซ้ํา ผลลัพธ ยอมรับ ไมใชการแกปญหาเดม ไมใชการแกปญหาเดิม และ ไ สราง ตองมีหลักการในแกไข ไม  ตองมหลกการในแกไข ไมประเมินวาจะเกิดปญหา ปญหาที่ดี เพื่อสรางการ ปญหาใหม ใหมตามมาหรือไม ยอมรับจากทุกฝาย แกปญหาไดดี = แรงงานสัมพันธดี HRM-Logistices 14 Burapha University - Sakda Hwankaew มหาวิทยาลัยบูรพา โดย อ.ศักดิดา หวานแกว ์ 7
  • 8. เอกสารประกอบการอบรมวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย คณะโลจิสติกส การบริหารแรงงานสัมพันธสมัยใหม แบบเดิม • นายจาง/ลูกจางแยกกันอยู (เชิงรับ) • เกิดภาวะหวาดระแวง • สถานการณแพ/ชนะ(win-lose) • ขาดประสิทธิภาพในการทํางาน • การมีสวนรวมในการทํางาน (workers’ participation in management) • สถานการณชนะ/ชนะ(win-win) แบบใหม แบบใหม • เกิดความรวมมือ ประสิทธิภาพ (เชิงรุก) Burapha University - Sakda Hwankaew 15 HRM-Logistices ดัชนีชี้วัดผลงานดานแรงงานสัมพันธ ความพึงพอใจ การฟอง อัตราการหยุด ของพนักงาน คดีแรงงาน งาน/เลิกจาง อัตราการออก จํานวนขอ งบประมาณ จากงาน เรียกรอง ดานสวัสดิการ HRM-Logistices 16 มหาวิทยาลัยบูรพา โดย อ.ศักดิดา หวานแกว ์ 8
  • 9. เอกสารประกอบการอบรมวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย คณะโลจิสติกส กฎหมายแรงงานที่ควรทราบ 2518 2533 2541 2551 พรบ. พรบ. พรบ. พรบ. แรงงานสัมพันธ ประกันสังคม คุมครองแรงงาน คุมครองแรงงาน (ฉบับแกไข) 2522 พรบ. 2536 จัดตั้งศาลแรงงานและ พรบ. วิิธีพิจารณาคดีแรงงาน ี กองทุนสารองเลยงชพ กองทนสํารองเลี้ยงชีพ 2537 พรบ. เงินทดแทน HRM-Logistices Burapha University - Sakda Hwankaew 17 กฎหมายจางแรงงาน ป.พ.พ.มาตรา 575-583 • จางแรงงาน คือ • สิทธิหนาที่นายจางกับลูกจาง • ความระงับของสัญญาจาง • หลัก freedom of contract & หลก sanctity of contract ป.พ.พ. = ประมวลกฎหมายแพงและพานิชย HRM-Logistices มหาวิทยาลัยบูรพา โดย อ.ศักดิดา หวานแกว ์ 9
  • 10. เอกสารประกอบการอบรมวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย คณะโลจิสติกส กฎหมายแรงงานสัมพันธ พ.ร.บ.แรงงานสัมพันธ พ.ศ. 2518 • กําหนดกติกาการอยรวมกนระหวางฝาย กาหนดกตกาการอยู วมกันระหวางฝาย จัดการและฝายผูใชแรงงาน • ขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจาง • องคกรนายจาง/ลูกจาง • ขอพิพาท รงงาน ละการระงับขอพิพาท ขอพพาทแรงงานและการระงบขอพพาท แรงงาน • การกระทําอันไมเปนธรรม HRM-Logistices กฎหมายคุมครองแรงงาน พ.ร.บ.คุมครองแรงงาน 2541 • กําหนดมาตรฐานขันต่ําของการจางงาน ฐ ้ • คุมครองกอน/ขณะ/หลังพนสภาพเปน ลูกจาง • คุมครองความปลอดภัย ในการทํางานและ คุ ครองคาตอบแทนการทางาน คมครองคาตอบแทนการทํางาน • เปนกฎหมายมหาชน (public law) ตกลง ขัดหรือแยงไมไดจะตกเปนโมฆะ HRM-Logistices มหาวิทยาลัยบูรพา โดย อ.ศักดิดา หวานแกว ์ 10
  • 11. เอกสารประกอบการอบรมวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย คณะโลจิสติกส วันเวลาทํางานปกติ หากลักษณะหรือสภาพของงานไมอาจทําได อาจกําหนดเปนชั่วโมงทํางานปกติ (regular working h ki hours) วัันหนึึ่งไ เกิน 8 ช.ม. สััปดาห ) ไม ิ หนึ่งไมเกิน 48 ช.ม. Day Time (ปกติ) อาทิตย จันทร อังคาร พุธ พฤหัส ศุกร เสาร หยุด Shift (ทํางานกะ) อาทิตย จันทร อังคาร พุธ พฤหัส ศุกร เสาร หยุด หมายเหตุ: ทํางาน 6 วันตองมีวันหยุดประจําสัปดาหอยางนอย 1 วัน(คั่น) HRM-Logistices เวลาพัก ตองจัดใหมีเวลาพัก หลังจากทํางานติดตอกันไม เกิน 5 ช.ม. วันหนึ่งไมนอยกวา 1 ช.ม. Day Time (ปกติ) 08:00 09:00 10:00 11:00 12:00 13:00 พักเที่ยง • เวลาพักไมนบเปนเวลาทํางาน ั • เวลาพักวันหนึ่งเกิน 2 ช.ม. ถือเปนเวลาทํางาน เวลาพกวนหนงเกน ถอเปนเวลาทางาน • พักอยางนอย 20 นาที กอน ทํางานลวงเวลา (มาตรา 27) HRM-Logistices มหาวิทยาลัยบูรพา โดย อ.ศักดิดา หวานแกว ์ 11
  • 12. เอกสารประกอบการอบรมวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย คณะโลจิสติกส วันหยุด • วันหยุดประจําสัปดาห (ไดรับคาจางเฉพาะ ลูกจางรายเดือน) • วันหยุดตามประเพณี (ใหหยุดปละไมต่ํากวา 13 วัน โดยไดรับคาจาง บังคับหยุดวันแรงงาน สวนที่เหลือใหจัดตามความเหมาะสม) • วันหยุดพักผอนประจําป (อายุงานครบ 1 ปให หยุดไดปละ วนโดยไดรบคาจาง) หยดไดปละ 6 วันโดยไดรับคาจาง) หากนายจางเลิกจางลูกจางโดยไมมีความผิด ตองจายคาจาง สําหรับวันหยุดพักผอนฯในปที่เลิกจางตามสวน รวมทั้งวันหยุด พักผอนฯ สะสมถามีใหแกลูกจาง HRM-Logistices วันลา • ลูกจางมีสิทธิลาปวยเทาทีปวยจริง โดยไดรับ ่ คาจางปละ 30วันทํางาน • ลูกจางมีสิทธิลาคลอดครรภหนึ่งไมเกิน 90 วัน โดยไดรับคาจางตลอดเวลาที่ลา ไมเกิน 45 วัน • ลูกจางมีสิทธิลาเพื่อกิจธุระจําเปน ตามระเบียบ ขอบังคับเกียวกับการทํางาน ่  ี • ลูกจางมสทธลาเพอรัับราชการทหารในการ สิ ิ ื่ ช ใ เรียกพลเพื่อตรวจสอบ ฝกวิชาทหาร ทดลอง ความพรั่งพรอมโดยไดรับคาจางไมเกินปละ 60 วัน HRM-Logistices มหาวิทยาลัยบูรพา โดย อ.ศักดิดา หวานแกว ์ 12
  • 13. เอกสารประกอบการอบรมวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย คณะโลจิสติกส คาลวงเวลา • เงินที่จายตอบแทนการทํางานนอก/เกินเวลา ทํางานหรือชั่วโมงทํางานปกติ • หามนายจางสั่งใหลูกจางทํางานลวงเวลา ยกเวนลูกจางยินยอมเปนคราวๆ ไป • คาลวงเวลาปกติ จายไมนอยกวา 1.5 เทาของ คาจาง   • คาลวงเวลาในวัันหยุดจายไมนอยกวา 3 เทา ใ  ไ     ของคาจาง HRM-Logistices คาทํางานในวันหยุด • กรณีไมไดรับคาจางในวันหยุด จายไมนอยกวา 2 เทา (ลูกจางรายวัน) • กรณีไดรับคาจางในวันหยุดจายไมนอยกวา 1 เทา (ลูกจางรายเดือน) วินัยและการลงโทษ o หลักอาณาเขต • ขอบังคับเกียวกับการทํางาน ขอบงคบเกยวกบการทางาน ่ o หลักวันเวลาทํางาน o หลักจําเปน • ขอตกลงเกียวกับสภาพการจาง ่ (ประกาศ คําสั่ง ระเบียบ) กรณีทําผิด ถารายแรง เลิกจางได กรณีไมรายแรง ตองตักเตือนเปนตามหนักเบา หากทําผิดซ้าความผิดภายใน 1 ป นับแตทําผิดที่ถูกเตือน นายจางอาจเลิกจางโดย ํ ไมจายคาชดเชย HRM-Logistices มหาวิทยาลัยบูรพา โดย อ.ศักดิดา หวานแกว ์ 13
  • 14. เอกสารประกอบการอบรมวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย คณะโลจิสติกส การสินสุดสัญญาจาง • ลาออก • ตกลงเลิกสัญญา • เลิกจาง (จายคาชดเชย/ไมจายคาชดเชย) ไ นายจางเลิกจางลูกจางที่ทํางานติดตอกัน 120 วันขึ้นไป ตองจาย คาชดเชย เลิกจางไมจายคาชดเชย  อายุงาน คาชดเชยตามกฎหมาย • ทุจริตตอหนาที่/ทําผิดอาญา 120 วัน ไมถึง 1 ป คาจางสุดทาย 30 วัน โดยเจตนาตอนายจาง • จงใจทําใหนายจางไดรับความ จงใจทาใหนายจางไดรบความ ครบ 1 ป ไ ถึง 3 ป ไม คาจางสุดทาย 90 วััน เสียหาย ครบ 3 ป ไมถึง 6 ป คาจางสุดทาย 180 วัน • ประมาทเลินเลอทําใหนายจาง ครบ 6 ป ไมถึง 10 ป คาจางสุดทาย 240 วัน เสียหายรายแรง • ฝาฝนขอบังคับฯ กรณีรายแรง ครบ 10 ปขึ้นไป คาจางสุดทาย 300 วัน • ทําผิดซ้ําคําเตือน เลิกจางเปนธรรมไมเปนธรรม เลิกจางโดยไมมีสาเหตุ, เลิกจางมีสาเหตุแตยังไมสมควร, HRM-Logistices และเพียงพอที่จะเลิกจาง คือ หลักประกันในการดํารง ชวต เปนระบบรวมกนเสยงภย ชีวิต เปนระบบรวมกันเสี่ยงภัย และรวมกันรับผิดชอบตอ สังคม ดวยการออมทรัพยในกองทุน ประกันสังคมและนําเงินจากกองทุนมาใชใน ยามจาเปน ดานการรกษาพยาบาลและ ยามจําเปน ดานการรักษาพยาบาลและ ทดแทนการขาดรายไดในระหวางที่ไมสามารถ ประกอบอาชีพโดยปกติได(ปวยนอกงาน) ไม เปนภาระ บังคับใช 76 จังหวัดกิจการที่มลูกจาง 1 คนขึ้นไป ี HRM-Logistices มหาวิทยาลัยบูรพา โดย อ.ศักดิดา หวานแกว ์ 14
  • 15. เอกสารประกอบการอบรมวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย คณะโลจิสติกส พ.ร.บ.ประกันสังคม พ.ศ. 2533 มีผลเมื่อวันที่ 2 ก.ย. 2533 ใชกบสถานประกอบการทมลูกจาง ใชกับสถานประกอบการที่มีลกจาง ตั้งแต 20 คนขึ้นไป วันที่ 2 กันยายน 2536 ขยายผลไปยังสถาน ประกอบการทมลูกจางตั้งแต คนขนไป ประกอบการที่มีลกจางตงแต 10 คนขึ้นไป 1 เมษายน 2545 ขยายผลไปยังสถาน ประกอบการที่มีลกจางตั้งแต 1 คนขึ้นไป ู HRM-Logistices สิทธิประโยชนตาม พ.ร.บ.ประกันสังคม คลอดบุตร ตาย เจ็บปวย(นอกงาน) ทุพพลภาพ ชราภาพ วางงาน Burapha University - Sakda Hwankaew HRM-Logistices 30 มหาวิทยาลัยบูรพา โดย อ.ศักดิดา หวานแกว ์ 15
  • 16. เอกสารประกอบการอบรมวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย คณะโลจิสติกส สรุปสิทธิประโยชนประกันสังคม 1. เจ็บปวยและอุบัติเหตุ ไดรับการรักษาพยาบาลจนกวาจะหาย นอกงาน ไดรับเงินทดแทนการขาดรายได 50% ของคาจาง ตามที่หยุดงานจริงและตามคําสั่งของแพทย ครั้งหนึ่งไม ุ เกิน 90 วัน และปหนึ่งไมเกิน 180 วัน เวนแตโรค เรื้อรัง ไดรับเงินไมเกิน 365 วัน 2. คลอดบุตร ไดรับคาคลอดบุตรเหมาจาย ไดรับเงินสงเคราะหการหยุดงานเพือการคลอดบุตร ่ (หญิง) 50% ของคาจาง จํานวน 90 วัน (เหมาจาย ทันทีเมื่อคลอดบุตร) 3. ทุพพลภาพ ไดรับเงินทดแทนการขาดรายไดตลอดชีวิต 50% ของ คาจางคารักษาเดือนละ 2,000 บาท 4. ตาย ไดรับคาทําศพ 30,000 บาท (จายผูจัดการศพ) เงิน สงเคราะหกรณีตาย HRM-Logistices 5. สงเคราะหบุตร เหมาจาย 200 / 1/ คน / เดือน บุตรโดยชอบดวยกฎหมาย แรกเกิด - 6 ป 6. ชราภาพ 6.1 บํานาญ ไดรับ 15% ของคาจางเฉลี่ย 60 เดือน - จายเงินสมทบ 180 ด. สุดทายปรับเพิ่มใหอีก 1% ทุก 12 เดือน - อายุ 55 ป - ความเปน ผปต.สิ้นสุดลง 6.2 บําเหน็จ - จายเงินไมครบ 180 ด. ไดรับสวนของผูประตน + นายจาง + - ความเปนผูประกันตน ป ั ผลประโยชนตอบแทน ป โ สิ้นสุดลง - อายุ 55 ป หรือเปนผู ทุพพลภาพ หรือ ตาย HRM-Logistices มหาวิทยาลัยบูรพา โดย อ.ศักดิดา หวานแกว ์ 16
  • 17. เอกสารประกอบการอบรมวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย คณะโลจิสติกส การมีสิทธิรับประโยชนทดแทน ประเภทประโยชนทดแทน การมีสิทธิรับประโยชนทดแทน 1. การเจ็บปว ยและอุบัติเหตุ จา ยเงินสมทบมาแลว 3 เดือนภายใน 15 เดือน นอกงาน 2. การคลอดบุตร จา ยเงินสมทบมาแลว 7 เดือน 3. ทุพพลภาพ จา ยเงินสมทบมาแลว 3 เดือน 4. ตาย จา ยเงินสมทบมาแลว 1 เดือน ภายใน 6 เดือน 5. ชราภาพ บานาญ ไมนอยกวา บํา นาญ ไมนอยกว า 180 เดือน เดอน บํา เหน็จ นอยกว า 180 เดือน 6. สงเคราะหบุตร จา ยเงินสมทบมาแลว 12 เดือนภายใน 36 เดือน 7. ว างงาน จา ยเงินสมทบมาแลว 6 เดือนภายใน 15 เดือน HRM-Logistices ผูประกันตน ลูกจาง / ผูประกันตน ซึ่งจายเงินสมทบครบ ตามหลักเกณฑ อายุระหวาง 15 -60 ป ผูประกันตนมี 3 ประเภท 90% 50% 96% • ตามกฎหมาย (ม.33) 15% • โดยสมัครใจ (ม.39) • ผประกอบอาชีพอิสระ (ม.40) ผู ระกอบอาชพอสระ HRM-Logistices มหาวิทยาลัยบูรพา โดย อ.ศักดิดา หวานแกว ์ 17
  • 18. เอกสารประกอบการอบรมวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย คณะโลจิสติกส การประสบอันตราย การที่ลกจางไดรับอันตรายแกกายหรือ ู ผลกระทบทางจตใจ หรอถงแกความตาย ผลกระทบทางจิตใจ หรือถึงแกความตาย • เนืองจากการทํางานใหนายจาง ่ • ปองกันรักษาผลประโยชนใหแกนายจาง ตามคําสั่งของนายจาง HRM-Logistices เงินทดแทน • คาทดแทน 60% ของคาจางรายเดือน • คารักษาพยาบาล เทาทจายจรง ตามความจาเปน ไมเกิน คารกษาพยาบาล เทาที่จายจริง ตามความจําเปน ไมเกน อัตราที่กําหนดในกฎกระทรวง (35,000 -> 50,000 บ.) • คาฟนฟูสมรรถภาพ ในการทํางานตามความจําเปน ตาม หลักเกณฑ วิธีการที่กําหนดในกฎกระทรวง • คาทําศพ 100 เทา ของอัตราสูงสุดของคาจางขั้นต่ํา รายวัน ตามกฎหมาย HRM-Logistices มหาวิทยาลัยบูรพา โดย อ.ศักดิดา หวานแกว ์ 18
  • 19. เอกสารประกอบการอบรมวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย คณะโลจิสติกส การจายเงินทดแทนกรณีสูญเสียอวัยวะ HRM-Logistices ทายาทผูมีสิทธิไดรับเงินทดแทน(เสียชีวิต) • บิดา มารดา โดยชอบตามกฎหมาย • สามี ภรรยา โดยชอบตามกฎหมาย • บุตรมีอายุต่ํากวา 18 ป (เวนแตเมื่อครบ 18 ปและยังศึกษาอยูในระดับไมสูงกวาปริญญาตรี  ให  ใ ไดรับสวนแบงตอไป   ไปตลอดระยะเวลาทีี่ ศึกษาอยู)  HRM-Logistices มหาวิทยาลัยบูรพา โดย อ.ศักดิดา หวานแกว ์ 19
  • 20. เอกสารประกอบการอบรมวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย คณะโลจิสติกส เหตุอนนายจางไมตองจายคาทดแทน ั • ลูกจางเสพของมึนเมาหรือสิ่งเสพยติดอื่นจนไม สามารถครองสตได สามารถครองสติได • จงใจใหตนเองประสบอันตรายหรือยอมใหผูอน ื่ ทําใหตนประสบอันตราย HRM-Logistices บทที่ อ.ศักดิ์ดา หวานแกว sakdah@gmail.com , hrburapa@yahoo.com Burapha University - Sakda Hwankaew มหาวิทยาลัยบูรพา โดย อ.ศักดิดา หวานแกว ์ 20
  • 21. เอกสารประกอบการอบรมวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย คณะโลจิสติกส สถิติผูใชแรงงานของประเทศไทย(ป 2534-2548) ไตรมาส 1 ไตรมาส 3 ป ชาย หญิง รวม ชาย หญิง รวม 2534 16,855,332 13,493,708 30,349,040 17,228,916 14,771,106 32,000,022 2535 17,286,027 14,019,538 31,305,565 17,582,850 15,042,313 32,625,163 2536 17,444,648 14,028,128 31,472,776 17,620,192 15,012,881 32,633,073 2537 17,344,891 13,586,488 30,931,379 17,659,547 14,764,965 32,424,512 2538 17,378,745 13,660,278 31,039,023 17,827,165 14,922,992 32,750,156 2539 17,694,204 13,945,924 31,640,127 17,880,804 14,722,678 32,603,481 2540 17,820,131 13,943,433 31,763,564 18,109,279 15,084,601 33,193,879 2541 17,997,575 13,969,233 31,966,808 18,272,378 14,981,674 33,254,052 2542 18,248,222 14,344,854 32,593,076 18,256,237 14,849,388 33,105,626 2543 18,389,956 18 389 956 14,427,195 14 427 195 32,817,150 32 817 150 18,604,239 18 604 239 15,244,732 15 244 732 33,848,970 33 848 970 2544 18,606,638 14,646,446 33,253,084 19,039,651 15,486,766 34,526,417 2545 18,769,558 14,764,773 33,534,331 19,301,655 15,727,662 35,029,317 2546 19,055,190 15,082,717 34,137,907 19,473,100 15,944,871 35,417,971 2547 19,400,207 15,248,622 34,648,829 19,903,415 16,191,394 36,094,809 2548 19,641,281 15,603,688 35,244,969 Burapha University - Sakda Hwankaew HRM-Logistices 41 สถานประกอบกิจการในภาคตะวันออก ความหลากหลายของอุตสาหกรรม ชลบุรี อมตะนคร แหลมฉบัง เครือสหพัฒน ปนทอง พัทยา บอวิน บานบึง ฉะเทริงเทรา ปราจีนบุรี ระยอง จันทบุรี ตราด HRM-Logistices มหาวิทยาลัยบูรพา โดย อ.ศักดิดา หวานแกว ์ 21
  • 22. เอกสารประกอบการอบรมวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย คณะโลจิสติกส ที่มา: รายงานประจําป 2550 สํานักงานประกันสังคม HRM-Logistices ลูกจางรวม 484,518 คน สถานประกอบการที่มี ลูกจาง ตังแต 100 คนขึ้นไป ้ 400 แหง ทุนจดทะเบียน 1.1 แสนแสนลาน • Amata Nakorn Industrial Estate 23 แหง แหง • Saha-Group Saha Group Industrial Park 64 แหง • Leamchabang 93 แหง Industrial Estate 46 แหง • Pinthong Industrial Estate • Ch b i ( อวิน) Chonburi (บ ิ 400 แหง Industrial Estate • Nong Bon Garden Industrial Zone HRM-Logistices คมอุตสาหกรรม จังหวัดชลบุรี นิ มหาวิทยาลัยบูรพา โดย อ.ศักดิดา หวานแกว ์ 22
  • 23. เอกสารประกอบการอบรมวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย คณะโลจิสติกส สถานประกอบการที่มีลูกจาง • Amata City ตั้งแต 100 คนขึ้นไป • Asia Industrial Estate • Map Ta Phut Industrial Estates • Siam Eastern Industrial Park • Thai Singapore g p • Padaeng Industrial Estate • G.K. Land Industrial Park • T.C.C. Industrial Park • EasternSeaboard Industrial Estate • Eastern Industrial Estate • RIL Industrial • Rojana Industrial Park • SSP Industrial Park2 นิคมอุตสาหกรรม จังหวัดระยอง • Tuntex Industrial Estate HRM-Logistices สถานการณทางแรงงานของภาคตะวันออก 1. เขาสูตลาดแรงงานฝมือมากขึ้น  2. นิสัยการทํางานของพนักงานไมตอเนื่อง  3. การจางงานแบบผูรับเหมาชวง 4. การไหลของแรงงานในภาคอุตสาหกรรม 5. 5 การขยายตััวขององคกรแรงงานลูกจาง   6. แนวโนมการยายฐานการลงทุน Company LOGO 46 สมาคมการบริหารงานบุคคลภาคตะวันออก มหาวิทยาลัยบูรพา โดย อ.ศักดิดา หวานแกว ์ 23
  • 24. เอกสารประกอบการอบรมวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย คณะโลจิสติกส ปญหาดานแรงงานในเขตภาคตะวันออก 1. ขาดแคลนแรงงาน ชางฝมือ 2. คุณภาพ ความสามารถของพนักงานทรง 2 คณภาพ ความสามารถของพนกงานทรง ตัว..คนใหมไมเหมาะกับงาน 3. โครงสรางตนทุนของอุตสาหกรรมตางกัน ทําใหเกิดความไมเทาเทียมในการแขงขัน 4. การเจรจาตอรององคกรลูกจางไมใช   ไ  พื้นฐานของเหตุและผล 5. แรงงานตางดาวไมถกกฎหมาย ู HRM-Logistices ปจจัยที่มผลตอจํานวนการเกิดสหภาพแรงงาน ี ปจจยทางดานภูมศาสตร ปจจัยทางดานภมิศาสตร การเปลี่ยนแปลง (จํานวนประชากร, โลกเสรี, FTA ดานทักษะ/การศึกษา ภาวะโลกรอน ฯลฯ) (แรงงานทักษะมีมากขึ้น) จํานวน สหภาพแรงงาน การเปลี่ยนแปลง ดานอุตสาหกรรม (ไอที,เศรษฐกิจ/บริการ) HRM-Logistices มหาวิทยาลัยบูรพา โดย อ.ศักดิดา หวานแกว ์ 24
  • 25. เอกสารประกอบการอบรมวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย คณะโลจิสติกส จํานวนสมาชิกสหภาพแรงงานเทียบกับจํานวนแรงงานทั้งหมด HRM-Logistices จํานวนสมาชิกสหภาพแรงงานแยกตามอุตสาหกรรม แนวโนมจํานวนสหภาพแรงงานฝงประเทศตะวันตกลดลง แตจํานวนสหภาพแรงงานของประเทศไทยจะเพิ่มขึ้น HRM-Logistices Source: U.S. Department of Labor, Bureau of Labor Statistics. 2004. มหาวิทยาลัยบูรพา โดย อ.ศักดิดา หวานแกว ์ 25
  • 26. เอกสารประกอบการอบรมวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย คณะโลจิสติกส สถิติจํานวนองคกรลูกจางและนายจาง จํานวนสหภาพแรงงานทัวประเทศ จําแนกรายจังหวัด ่ สหภาพ สหภาพ ที่ 1 จังหวัด สมุทรปราการ แรงงาน ที่ 448 21 สิงหบุรี จังหวัด แรงงาน 2 สภาองคการลูกจาง 9 แหง 2 3 กรุงเทพมหานคร ปทุ ป มธานีี 312 105 22 ปราจีนบุรี 23 ศรีีสะเกษ 2 1 สภาองคการนายจาง สภาองคการนายจาง 11 แหง แหง 4 ชลบุรี 39 24 บุรีรมย ั 1 5 สมุทรสาคร 38 25 นครสวรรค 1 6 พระนครศรีอยุธยา 26 26 เพชรบุรี 1 7 นนทบุรี 25 27 สระแกว 1 8 ฉะเชิงเทรา 21 28 หนองบัวลําภู 1 9 สระบุรี 19 29 กาฬสินธุ 1 10 นครปฐม 19 30 พิษณุโลก 1 11 ภูเก็ต 15 31 มหาสารคาม 1 12 นครราชสีมา 7 32 สุพรรณบุรี 1 13 รอยเอ็ด 5 33 อํานาจเจริญ 1 14 ขอนแกน 4 34 ชัยภูมิ 1 15 อางทอง อางทอง 3 35 สรินทร สุรนทร 1 16 อุดรธานี 3 36 เชียงราย 1 17 ระยอง 4 37 เลย 1 18 ลพบุรี 3 38 เชียงใหม 1 19 นครพนม 3 39 ราชบุรี 1 20 หนองคาย 3 รวม 1,123 ขอมูล ณ 31 ธันวาคม 2544 ที่มา สํานักงานทะเบียนกลาง กองแรงงานสัมพันธ Burapha University - Sakda Hwankaew HRM-Logistices 51 บทที่ Question & Answer Burapha University - Sakda Hwankaew มหาวิทยาลัยบูรพา โดย อ.ศักดิดา หวานแกว ์ 26