SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 58
สื่อประกอบการเรียนการสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ … วิชาภาษาไทย …  ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖
สื่อประกอบการเรียนการสอน …  เรื่อง …   เสียงและอักษรไทย
เสียงและอักษรไทย เสียงในภาษาไทยมี ๓ เสียง คือ  ... ๑ .  เสียงแท้   ๒ .  เสียงแปร   ๓ .  เสียงดนตรี
เสียงแท้ เสียงแท้  ได้แก่  เสียง ……… ... มี  ………  รูป   ………  เสียง สระ ๒๑ ๒๔
สระ
สระ ๒๑ รูป  ได้แก่ …  ๑ .  วิสรรชนีย์ ๒ .  ลากข้าง ๓ .  พินทุ์อิ ๔ .  ฝนทอง ๕ .  ฟันหนู ๖ .  หยาดน้ำค้าง ๗ .  ไม้หน้า
๘ .  ไม้มลาย ๙ .  ไม้โอ ๑๐ .  ไม้ม้วน ๑๑ .  ตีนเหยียด ๑๒ .  ตีนคู้ ๑๓ .  ไม้ไต่คู้ ๑๔ .  ไม้หันอากาศ ๑๕ .  ตัวรึ ๑๖ .  ตัวรือ ๑๗ .  ตัวลึ ๑๘ .  ตัวลือ ๑๙ .  ตัวออ ๒๐ .  ตัววอ ๒๑ .  ตัวยอ
เสียงแท้ สระ ๒๔ เสียง ได้แก่ ๑.  สระเดี่ยว ๒. สระประสม
สระเดี่ยว สระเดี่ยว  ๑๘  เสียง  คือ สระเสียงสั้น สระเสียงยาว   อะ   อา   อิ   อี   อึ อือ อุ อู
สระเดี่ยว สระเสียงสั้น สระเสียงยาว   เอะ เอ แอะ แอ โอะ โอ เอาะ ออ เออะ เออ
สระประสม สระประสม  มี  ๖  เสียง  คือ  ... สระประสม ต้นกำเนิดเสียง   ตัวอย่าง อัว อู  +  อา   วัว  ,  กลัว  ,  มั่ว อัวะ อู  +  อะ   ผัวะ
สระประสม ต้นกำเนิดเสียง   ตัวอย่าง เอีย อี  +  อา   เมีย  ,  เสีย  ,  เพลีย เอียะ อิ  +  อะ   เกี๊ยะ สระประสม
สระประสม ต้นกำเนิดเสียง   ตัวอย่าง เอือ อือ  +  อา   เดือน  ,  เพื่อน   เอือะ อึ  +  อะ   สระประสม
ส่วนสระ  อำ ไอ ใอ เอา ฤ ฤา ฦ ฦา  นั้น  ปัจจุบันถือว่าเป็นพยางค์  คือ  อำ   -  อัม  คือ อ  +  อะ  +  ม  เสียงวรรณยุกต์สามัญ ไอ   -  อัย  คือ อ  +  อะ  +  ย เสียงวรรณยุกต์สามัญ ใอ   -  อัย  คือ อ  +  อะ  +  ย เสียงวรรณยุกต์สามัญ เอา   คือ อ  +  อะ  +  ว เสียงวรรณยุกต์สามัญ  สระที่ปัจจุบันถือว่าเป็นพยางค์
ฤ   -  รึ  คือ ร  +  อึ เสียงวรรณยุกต์ตรี ฤา   -  รือ  คือ ร  +  อือ เสียงวรรณยุกต์สามัญ ฦ   -  ลึ  คือ ล  +  อึ เสียงวรรณยุกต์ตรี ฦา   -  ลือ  คือ ล  +  อือ เสียงวรรณยุกต์สามัญ สระที่ปัจจุบันถือว่าเป็นพยางค์
การใช้สระ เรามีวิธีใช้สระ ๓ วิธี  คือ  ... ๑ .  ใช้แบบคงรูป เช่น อย่าบอกเจี๊ยบนะ ๒ .  ใช้แบบลดรูป เช่น มดคบคนจร ๓ .  ใช้แบบเปลี่ยนรูป   เช่น  ฉันเกิดจับเท็จ
ข้อสังเกตการใช้รูปสระแทนเสียงสระ ๑ .  เสียงสระบางเสียงใช้อักษรแทนได้หลายรูป เช่น กำ    กัม กรรม หรือ ไ ส  ไ ส ย  สั ย ใ ส  เป็นต้น ๒ .  คำบางคำรูปสระไม่ออกเสียง เช่น ญาติ เหตุ พยาธิ ๓ .  คำบางคำมีเสียงสระอะ แต่ไม่ปรากฏรูปวิสรรชนีย์    เช่น สนาม ขนม สกัด อร่อย ๔ .  รูปสระบางรูปมีเสียงซ้ำกัน เช่น เทิน เทอญ  ,  ใย ไย หรือ    ใหญ่  ,  หยากไย่
เสียงแปร เสียงแปร คือ เสียงของพยัญชนะ มี  …………  รูป …………  เสียง ๔๔ ๒๑
พยัญชนะ
พยัญชนะไทย มี ๔๔ รูป ๒๑ เสียง ดังนี้  ...  ๑ .  ก ๒ .  ข ฃ ค ฅ ฆ ๓ .  ง  หง ๔ .  จ  จร ๕ .  ฉ  ช  ฌ ๖ .  ซ ส ศ ษ  สร   ศร   ซร   ทร ๗ .  ญ ย  อย   หย   หญ ๘ .  ฎ ด  ๙ .  ฏ ต ๑๐ .  ฐ ฑ ฒ ถ ท ธ
๑๑ .  ณ น  หน ๑๒ .  บ ๑๓ .  ป ๑๔ .  ผ พ ภ ๑๕ .  ฝ ฟ ๑๖ .  ม  หม ๑๗ .  ร  หร ๑๘ .  ล ฬ  หล ๑๙ .  ว  หว ๒๐ .  ห ฮ ๒๑ .  อ
ไตรยางศ์ พยัญชนะแบ่งเป็น ๓ พวก  เรียกว่า ๑ .  อักษรสูง ๒ .  อักษรกลาง ๓ .  อักษรต่ำ ประโยชน์ ของไตรยางศ์ ใช้ในการผันวรรณยุกต์
อักษรสูง อักษรสูง มี ๑๑ ตัว  คือ  ...  ข ล ฉ ถ ฐ ผ ฝ ศ ษ ส ห หลักการท่องจำ ฉันขอฝากขวดใส่ถุงผ้าให้เศรษฐี
อักษรกลาง อักษรกลาง มี ๙ ตัว ดังนี้ …  ก จ ฎ ฏ ด ต บ ป อ หลักการท่องจำ ไก่จิกเด็กตาย ( ฎฏ ) บนปากโอ่ง
อักษรต่ำ อักษรต่ำ มี ๒๔ ตัว ดังนี้  ... ค ฅ ฆ ง ช ซ ฌ ญ ฑ ฒ ณ ท ธ น ย ร ล ว พ ม ฟ ภ ฬ ฮ  หลักการท่องจำ คอฅนฆ่างูชูโซ่เฌอหญิงโฑเฒ่าเณรทำธนู ย่ารู้แล้วว่าพม่าฟันสำเภาเฬาแฮ
อักษรเดี่ยวและอักษรคู่ อักษรเดี่ยว อักษรคู่
อักษรเดี่ยว อักษรเดี่ยว  คือ อักษรต่ำที่ไม่มีเสียงคู่กับอักษรสูง มี ๑๐ ตัว ดังนี้  ...  ง ญ น ย ณ ร ว ม ฬ ล หลักการท่องจำ งูใหญ่นอนอยู่ ณ ริมวัดโมฬีโลก
อักษรคู่ อักษรคู่   คือ  อักษรต่ำที่มีเสียงคู่กับอักษรสูง  มี ๑๔ ตัว ดังนี้  ... ค ฅ ฆ ช ซ ฌ ฑ  ฒ ท ธ พ ภ ฟ ฮ
พยางค์เปิดและพยางค์ปิด พยางค์เปิด  คือ พยางค์ที่ไม่มีตัวสะกด เช่น เห่เรือ เปล หรือ ฯลฯ พยางค์ปิด  คือ พยางค์ที่มีตัวสะกด เช่น ใครห้ามทำไม
มาตราในภาษาไทย มาตราในภาษาไทย มี ๙ มาตรา คือ *  แม่ ก . กา *  มาตราตัวสะกด อีก ๘ มาตรา
มาตราในภาษาไทย ๑ .  แม่ ก .  กา  คือ คำที่ประสมด้วยสระไม่มีตัวสะกด เช่น    ปีระกา ปลากระดี่ เป็นต้น ๒ .  แม่กก   -  ก ข ค ฆ ๓ .  แม่กด   -  ด จ ช ซ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ต ถ ท ธ ศ ษ ส ๔ .  แม่กบ   -  บ ป พ ฟ ภ ๕ .  แม่กน   -  น ณ ร ล ฬ ญ
มาตราในภาษาไทย ๖ .  แม่กง   -  ง ๗ .  แม่กม   -  ม ๘ .  แม่เกย   -  ย ๙ .  แม่เกอว   -  ว  รู้หรือไม่ว่าพยัญชนะตัวใดที่ ไม่ใช้เป็นตัวสะกดบ้าง รู้สิ…  ก็มี ฉ ฌ ผ ฝ ห อ ไง
คำครุ  -  คำลหุ คำลหุ  (  )  คือ คำที่ประสมสระเสียงสั้น ไม่มีตัวสะกด เช่น เกาะโต๊ะ เฉพาะในคำประพันธ์ คำ บ , บ่ จัดเป็นลหุ อุ คำครุ  (  )  คือคำที่ประสมสระเสียงยาว และมีตัวสะกด ได้ทุกแม่ทั้ง ๘ มาตรา รวมทั้งคำที่ประสมสระ อำ ไอ ใอ เอา ด้วย เช่น มันมากับความมืด โชคดีผีสับร่าง อั ในคำประพันธ์ สระอำ เป็นได้ทั้ง ครุ และ ลหุ
คำเป็น  -  คำตาย คำตาย  คือ ๑ .  คำที่ประสมสระเสียงสั้น ในมาตราแม่ ก .  กา   ๒ .  คำที่มีตัวสะกดในแม่ กก กด กบ   เช่น  นกจิกผักกาด  พบเกาะประหลาด คำเป็น  คือ ๑ .  คำที่ประสมด้วยสระเสียงยาว รวม อำ ไอ ใอ เอา   ๒ .  ประสมตัวสะกดแม่ กง กน กม เกย เกอว  เช่น พลพายกรายทอง  ร้องโห่เห่โอ้เห่มา
คำเป็น  -  คำตาย  -  คำครุ  -  คำลหุ คำครุ คำลหุ คำเป็น คำตาย ให้ พิจารณาตัวสะกดก่อนจึงจะพิจารณาสระ ๑ .  ถ้ามีตัวสะกดเป็นคำครุ ทั้งหมด ถ้าไม่มีตัวสะกด สระเสียงยาวเป็นครุ เสียงสั้นเป็นลหุ ๒ .  ถ้ามีตัวสะกด แม่ กก กด กบ เป็นคำตายนอกนั้นเป็นคำเป็น ถ้าไม่มีตัวสะกด ให้พิจารณาสระเสียงยาวเป็นคำเป็น สระสั้นเป็นคำตาย
อักษรนำ อักษรนำ  คือ พยัญชนะ ๒ ตัวที่ใช้สระเดียวโดยพยางค์หน้าออกเสียงอะ และเสียงพยัญชนะตัวหลังตามตัวหน้า ๑ .  พยางค์หน้าออกเสียงอะ โดยไม่ต้องประวิสรรชนีย์ เช่น สนาม ๒ .  อ .  นำ ย .  มี ๔ คำ คือ อย่า อยู่ อย่าง อยาก ๓ .  ห .  เป็นอักษรนำ เช่น หญิง ใหญ่ หยิบ หรูหรา หมาก ไหว้
อักษรควบ คือ…  ร , ล , ว ออกเสียงควบ กล้ำ กับพยัญชนะตัวหน้า ร  -  ก ข ค ด ต ท บ ป พ ฟ ล  -  ก ข ค บ ป พ ฟ  ผ ว  -  ก ข ค หมายเหตุ คำควบกล้ำ ดร บร ฟร บล ฟล มีใช้ในภาษาต่างประเทศเท่านั้น เช่น ดราฟ บราซิล ฟรี บลู ฟลาย
อักษรควบไม่แท้ จ  -  จริง ซร  -  ไซร้ ศร  -  ศรี  เศร้า สร  -  สร้าง  แสร้ง  เสริม ทร  -  ทราย  เทริด  ทราม
ข้อสังเกตเรื่องพยัญชนะ ๑ .  การที่รูปพยัญชนะ มีมากกว่าเสียง คือ มี ๔๔ รูป ๒๑ เสียง นั้นทำให้เกิดปัญหาในการเขียนพยัญชนะที่เสียงซ้ำกัน ยุ่งยากในการเขียนตัวสะกดการันต์ แต่มีประโยชน์ในด้านสื่อสารรู้ความหมายของคำใช้ในการเขียนคำพ้องเสียงแต่ความหมายต่างกัน เช่น กาญจน์ ,  กานต์ ,  กานท์ ,  การ ,  กาล เป็นต้น ซึ่งเราจะรู้ความหมายของคำเมื่อฟังเสียงนั้นต้องอาศัยบริบทของคำนั้นช่วย
ข้อสังเกตเรื่องพยัญชนะ ๒ .  มีพยัญชนะบางรูปไม่ออกเสียง ๑ )  พวกตัวการันต์ คือ พยัญชนะที่มีเครื่องหมายทัณฑฆาตกำกับมีไว้เพื่อรักษารูปเดิมของศัพท์เพื่อให้รู้ว่ามาจากภาษาใด เช่น สงฆ์ ฟิล์ม กาญจน์ ๒ )  ร หรือ ห ที่นำหน้าพยัญชนะสะกดในคำบางคำ เช่น สามารถ พรหม ๓ )  พยัญชนะซึ่งตามหลังพยัญชนะสะกดในคำบางคำ เช่น พุทธ เนตร
๒ .  มีพยัญชนะบางรูปไม่ออกเสียง  (  ต่อ  ) ๔ )  ร  ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของอักษรควบไม่แท้ เช่น จริง สร้าง ศรี โทรม ๕ )  ห  หรือ  อ  ซึ่งนำอักษรต่ำเดี่ยว เช่น หลากหลาย อย่า อยู่ ๖ )  คำบางคำมีเสียงพยัญชนะ แต่ไม่ปรากฎรูปพยัญชนะ เช่น อำ  -  ดำ มีเสียง  ม  สะกด ไอ  -  ไป มีเสียง  ย  สะกด ใอ  -  ใคร มีเสียง  ย  สะกด เอา  -  เรา มีเสียง  ว  สะกด ข้อสังเกตเรื่องพยัญชนะ
เสียงวรรณยุกต์ในภาษาไทย มี เสียงดนตรี …… .. รูป .……. เสียง ๔ ๕
วรรณยุกต์
เสียงวรรณยุกต์   รูปวรรณยุกต์ สามัญ เอก โท ตรี จัตวา - l ด้ ๗ +
สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการผันวรรณยุกต์ คือ  ๑ .  ไตรยางศ์ ๒ .  คำเป็น  -  คำตาย
อักษรกลาง เสียง คำ คำเป็น คำตาย สามัญ  เอก   โท  ตรี  จัตวา ปา   ป่า  ป้า  ป๊า  ป๋า   ปาด  ป้าด  ป๊าด  ป๋าด
อักษรสูง เสียง คำ คำเป็น คำตาย สามัญ  เอก   โท  ตรี  จัตวา -  ข่า  ข้า  -  ขา -  ขาด  ข้าด  -  -
อักษรต่ำ เสียง คำ คำเป็น คำตาย เสียงยาว สามัญ  เอก   โท  ตรี  จัตวา คา  -  ค่า  ค้า  - -  -  คาด  ค้าด  ค๋าด คำตาย เสียงสั้น -  -  ค่ะ  คะ  ค๋ะ
ข้อสังเกตการใช้วรรณยุกต์ ๑ .  อักษรกลางคำเป็นเท่านั้นที่ผันได้ครบห้าเสียง ๒ .  อักษรกลางและอักษรสูงผันรูปวรรณยุกต์ใดจะเป็นเสียงนั้น เช่น กล ้า   จ๋ า ข้า  ป๊า  ๓ .  อักษรต่ำ ผันรูปวรรณยุกต์เอก จะมีเสียงโท เช่น ค่ำ น่า   ถ้า ผันรูปวรรณยุกต์โท จะมีเสียงตรี เช่น น้า ใช้
ข้อสังเกตการใช้วรรณยุกต์ ๔ .  อักษรคู่ผันครบห้าเสียงได้โดยใช้เสียงคู่กันช่วย เช่น    คา  ข่า  ค่า ( ข้า )   ค้า  ขา ๕ .  อักษรเดี่ยวผันครบห้าเสียงได้โดยใช้ ห นำ เช่น   งา  หง่า   ง่า  ง้า  หงา ๖ .  อักษรต่ำไม่มีการผันวรรณยุกต์ด้วยรูปตรี  ( ๗ )  ถ้ามี   แสดงได้ว่าคำนั้นเขียนผิด
ข้อสังเกตการใช้วรรณยุกต์ ๗ .  คำที่ไม่มีรูปวรรณยุกต์กำกับเป็นคำพื้นเสียงมีเสียงวรรณยุกต์   ดังนี้ -  อักษรกลาง คำเป็น พื้นเสียงเป็นเสียง สามัญ -  อักษรต่ำ คำเป็น พื้นเสียงเป็นเสียง สามัญ -  อักษรกลาง คำตาย พื้นเสียงเป็นเสียง เอก -  อักษรสูง คำตาย พื้นเสียงเป็นเสียง เอก -  อักษรสูง คำเป็น พื้นเสียงเป็นเสียง จัตวา -  อักษรต่ำ คำตายสั้น พื้นเสียงเป็นเสียง ตรี -  อักษรต่ำ คำตายยาว พื้นเสียงเป็นเสียง โท
การพิจารณา ส่วนประกอบของพยางค์ ให้พิจารณาโครงสร้างของพยางค์ดังนี้ …
๓ ส่วน ประกอบด้วย …  สระ  +  พยัญชนะ  +  วรรณยุกต์ เช่น … ม้า ดุ และ เตะ หมู
๔ ส่วน ประกอบด้วย …  สระ  +  พยัญชนะ  +  วรรณยุกต์  +  ตัวสะกด เช่น … ใคร เอา ต้ม ยำ ไก่ บ้าง
๔ ส่วน  พิเศษ ประกอบด้วย …  สระ  +  พยัญชนะ  +  วรรณยุกต์  +  ตัวการันต์ เช่น … เล่ห์ โชว์
๕ ส่วน ประกอบด้วย …  สระ  +  พยัญชนะ  +  วรรณยุกต์  +  ตัวสะกด  +  ตัวการันต์ เช่น …พยางค์ เสาร์ เยาว์ อนงค์
การพิจารณาส่วนประกอบของพยางค์นั้น ให้พิจารณาว่าเป็นสระ พยัญชนะ และวรรณยุกต์รวมทั้งตัวสะกด ชนิดเดียวกันหรือไม่ และมีวรรณยุกต์เสียงเดียวกันหรือไม่ คณะ ผู้จัดทำ
คณะผู้จัดทำ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิชา ภาษาไทย โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

แผ่นพับอักษรนำ
แผ่นพับอักษรนำแผ่นพับอักษรนำ
แผ่นพับอักษรนำGoy Saranghae
 
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำสื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำNook Kanokwan
 
วิจัย ไทย
วิจัย  ไทยวิจัย  ไทย
วิจัย ไทยKru Poy
 
งานชิ้นที่ 2แผ่นพับ
งานชิ้นที่ 2แผ่นพับงานชิ้นที่ 2แผ่นพับ
งานชิ้นที่ 2แผ่นพับMinny Min Min
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยNook Kanokwan
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยbambookruble
 
แนวข้อสอบ ป.4
แนวข้อสอบ ป.4แนวข้อสอบ ป.4
แนวข้อสอบ ป.4Chutima Muangmueng
 
มาตราตัวสะกดแม่กด
มาตราตัวสะกดแม่กดมาตราตัวสะกดแม่กด
มาตราตัวสะกดแม่กดKroo R WaraSri
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยKittitus Sa-admoang
 
สรุปสังคม O-net
สรุปสังคม O-netสรุปสังคม O-net
สรุปสังคม O-netWarissa'nan Wrs
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4Itt Bandhudhara
 
บทเรียน Cai
บทเรียน Caiบทเรียน Cai
บทเรียน Caiunit24
 

Mais procurados (20)

k kuep 3
k kuep 3k kuep 3
k kuep 3
 
แผ่นพับอักษรนำ
แผ่นพับอักษรนำแผ่นพับอักษรนำ
แผ่นพับอักษรนำ
 
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำสื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
 
k kuep 2
k kuep 2k kuep 2
k kuep 2
 
ใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทย
ใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทยใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทย
ใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทย
 
วิจัย ไทย
วิจัย  ไทยวิจัย  ไทย
วิจัย ไทย
 
k kuop 1
k kuop 1k kuop 1
k kuop 1
 
มาตราตัวสะกด
มาตราตัวสะกดมาตราตัวสะกด
มาตราตัวสะกด
 
งานชิ้นที่ 2แผ่นพับ
งานชิ้นที่ 2แผ่นพับงานชิ้นที่ 2แผ่นพับ
งานชิ้นที่ 2แผ่นพับ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 
แนวข้อสอบ ป.4
แนวข้อสอบ ป.4แนวข้อสอบ ป.4
แนวข้อสอบ ป.4
 
มาตราตัวสะกดแม่กด
มาตราตัวสะกดแม่กดมาตราตัวสะกดแม่กด
มาตราตัวสะกดแม่กด
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 
สรุปสังคม O-net
สรุปสังคม O-netสรุปสังคม O-net
สรุปสังคม O-net
 
การสร้างคำ
การสร้างคำการสร้างคำ
การสร้างคำ
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
 
บทเรียน Cai
บทเรียน Caiบทเรียน Cai
บทเรียน Cai
 
ใบความรู้การใช้ประโยคเพื่อสื่อสาร
ใบความรู้การใช้ประโยคเพื่อสื่อสารใบความรู้การใช้ประโยคเพื่อสื่อสาร
ใบความรู้การใช้ประโยคเพื่อสื่อสาร
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 

Destaque

การผันวรรณยุกต์ ป.1
การผันวรรณยุกต์ ป.1การผันวรรณยุกต์ ป.1
การผันวรรณยุกต์ ป.1s6527718t
 
งานชิ้นที่๒ แผ่นพับ
งานชิ้นที่๒ แผ่นพับงานชิ้นที่๒ แผ่นพับ
งานชิ้นที่๒ แผ่นพับThanutta Cnb
 
กกกกกกกกกกกกก
กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก
กกกกกกกกกกกกกปลา ปิ้ง
 
6 7 สระในภาษาไทย
6 7 สระในภาษาไทย6 7 สระในภาษาไทย
6 7 สระในภาษาไทยChaichan Boonmak
 
แผ่นผับอักษร3 หมู่
แผ่นผับอักษร3 หมู่แผ่นผับอักษร3 หมู่
แผ่นผับอักษร3 หมู่sakass74
 
อักษรสามหมู่
อักษรสามหมู่อักษรสามหมู่
อักษรสามหมู่Piyarerk Bunkoson
 
ชุดที่3 เล่ม2 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...
ชุดที่3 เล่ม2 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...ชุดที่3 เล่ม2 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...
ชุดที่3 เล่ม2 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...sornordon
 
แบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
แบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำแบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
แบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำPiyarerk Bunkoson
 
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำPiyarerk Bunkoson
 
สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]
สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]
สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]Nongkran Jarurnphong
 
ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7Nongkran Jarurnphong
 
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓Nongkran Jarurnphong
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)Nongkran Jarurnphong
 
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙Nongkran Jarurnphong
 

Destaque (18)

การผันวรรณยุกต์ ป.1
การผันวรรณยุกต์ ป.1การผันวรรณยุกต์ ป.1
การผันวรรณยุกต์ ป.1
 
อีรีด
อีรีดอีรีด
อีรีด
 
งานชิ้นที่๒ แผ่นพับ
งานชิ้นที่๒ แผ่นพับงานชิ้นที่๒ แผ่นพับ
งานชิ้นที่๒ แผ่นพับ
 
กกกกกกกกกกกกก
กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก
กกกกกกกกกกกกก
 
6 7 สระในภาษาไทย
6 7 สระในภาษาไทย6 7 สระในภาษาไทย
6 7 สระในภาษาไทย
 
แผ่นผับอักษร3 หมู่
แผ่นผับอักษร3 หมู่แผ่นผับอักษร3 หมู่
แผ่นผับอักษร3 หมู่
 
อักษรสามหมู่
อักษรสามหมู่อักษรสามหมู่
อักษรสามหมู่
 
ชุดที่3 เล่ม2 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...
ชุดที่3 เล่ม2 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...ชุดที่3 เล่ม2 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...
ชุดที่3 เล่ม2 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...
 
แบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
แบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำแบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
แบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
 
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
 
สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]
สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]
สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]
 
กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑
 
กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒
 
ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7
 
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
 
Flickr
FlickrFlickr
Flickr
 
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
 

Semelhante a Intro computer

ครั้ง๗
ครั้ง๗ครั้ง๗
ครั้ง๗vp12052499
 
Kam
KamKam
Kamsa
 
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิTongsamut vorasan
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยพัน พัน
 
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นสรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นTook Took Rachataporn
 
สรุปภาษาไทย
สรุปภาษาไทยสรุปภาษาไทย
สรุปภาษาไทยwisita42
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรองMong Chawdon
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรองPairor Singwong
 

Semelhante a Intro computer (20)

ครั้ง๗
ครั้ง๗ครั้ง๗
ครั้ง๗
 
Kam
KamKam
Kam
 
เสียงในภาษาไทย
เสียงในภาษาไทยเสียงในภาษาไทย
เสียงในภาษาไทย
 
คำสมาส
คำสมาสคำสมาส
คำสมาส
 
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
 
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
 
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
 
Thai
ThaiThai
Thai
 
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นสรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
 
สรุปภาษาไทย
สรุปภาษาไทยสรุปภาษาไทย
สรุปภาษาไทย
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 

Intro computer

  • 1. สื่อประกอบการเรียนการสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ … วิชาภาษาไทย … ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖
  • 2. สื่อประกอบการเรียนการสอน … เรื่อง … เสียงและอักษรไทย
  • 3. เสียงและอักษรไทย เสียงในภาษาไทยมี ๓ เสียง คือ ... ๑ . เสียงแท้ ๒ . เสียงแปร ๓ . เสียงดนตรี
  • 4. เสียงแท้ เสียงแท้ ได้แก่ เสียง ……… ... มี ……… รูป ……… เสียง สระ ๒๑ ๒๔
  • 6. สระ ๒๑ รูป ได้แก่ … ๑ . วิสรรชนีย์ ๒ . ลากข้าง ๓ . พินทุ์อิ ๔ . ฝนทอง ๕ . ฟันหนู ๖ . หยาดน้ำค้าง ๗ . ไม้หน้า
  • 7. ๘ . ไม้มลาย ๙ . ไม้โอ ๑๐ . ไม้ม้วน ๑๑ . ตีนเหยียด ๑๒ . ตีนคู้ ๑๓ . ไม้ไต่คู้ ๑๔ . ไม้หันอากาศ ๑๕ . ตัวรึ ๑๖ . ตัวรือ ๑๗ . ตัวลึ ๑๘ . ตัวลือ ๑๙ . ตัวออ ๒๐ . ตัววอ ๒๑ . ตัวยอ
  • 8. เสียงแท้ สระ ๒๔ เสียง ได้แก่ ๑. สระเดี่ยว ๒. สระประสม
  • 9. สระเดี่ยว สระเดี่ยว ๑๘ เสียง คือ สระเสียงสั้น สระเสียงยาว อะ อา อิ อี อึ อือ อุ อู
  • 10. สระเดี่ยว สระเสียงสั้น สระเสียงยาว เอะ เอ แอะ แอ โอะ โอ เอาะ ออ เออะ เออ
  • 11. สระประสม สระประสม มี ๖ เสียง คือ ... สระประสม ต้นกำเนิดเสียง ตัวอย่าง อัว อู + อา วัว , กลัว , มั่ว อัวะ อู + อะ ผัวะ
  • 12. สระประสม ต้นกำเนิดเสียง ตัวอย่าง เอีย อี + อา เมีย , เสีย , เพลีย เอียะ อิ + อะ เกี๊ยะ สระประสม
  • 13. สระประสม ต้นกำเนิดเสียง ตัวอย่าง เอือ อือ + อา เดือน , เพื่อน เอือะ อึ + อะ สระประสม
  • 14. ส่วนสระ อำ ไอ ใอ เอา ฤ ฤา ฦ ฦา นั้น ปัจจุบันถือว่าเป็นพยางค์ คือ อำ - อัม คือ อ + อะ + ม เสียงวรรณยุกต์สามัญ ไอ - อัย คือ อ + อะ + ย เสียงวรรณยุกต์สามัญ ใอ - อัย คือ อ + อะ + ย เสียงวรรณยุกต์สามัญ เอา คือ อ + อะ + ว เสียงวรรณยุกต์สามัญ สระที่ปัจจุบันถือว่าเป็นพยางค์
  • 15. - รึ คือ ร + อึ เสียงวรรณยุกต์ตรี ฤา - รือ คือ ร + อือ เสียงวรรณยุกต์สามัญ ฦ - ลึ คือ ล + อึ เสียงวรรณยุกต์ตรี ฦา - ลือ คือ ล + อือ เสียงวรรณยุกต์สามัญ สระที่ปัจจุบันถือว่าเป็นพยางค์
  • 16. การใช้สระ เรามีวิธีใช้สระ ๓ วิธี คือ ... ๑ . ใช้แบบคงรูป เช่น อย่าบอกเจี๊ยบนะ ๒ . ใช้แบบลดรูป เช่น มดคบคนจร ๓ . ใช้แบบเปลี่ยนรูป เช่น ฉันเกิดจับเท็จ
  • 17. ข้อสังเกตการใช้รูปสระแทนเสียงสระ ๑ . เสียงสระบางเสียงใช้อักษรแทนได้หลายรูป เช่น กำ กัม กรรม หรือ ไ ส ไ ส ย สั ย ใ ส เป็นต้น ๒ . คำบางคำรูปสระไม่ออกเสียง เช่น ญาติ เหตุ พยาธิ ๓ . คำบางคำมีเสียงสระอะ แต่ไม่ปรากฏรูปวิสรรชนีย์ เช่น สนาม ขนม สกัด อร่อย ๔ . รูปสระบางรูปมีเสียงซ้ำกัน เช่น เทิน เทอญ , ใย ไย หรือ ใหญ่ , หยากไย่
  • 18. เสียงแปร เสียงแปร คือ เสียงของพยัญชนะ มี ………… รูป ………… เสียง ๔๔ ๒๑
  • 20. พยัญชนะไทย มี ๔๔ รูป ๒๑ เสียง ดังนี้ ... ๑ . ก ๒ . ข ฃ ค ฅ ฆ ๓ . ง หง ๔ . จ จร ๕ . ฉ ช ฌ ๖ . ซ ส ศ ษ สร ศร ซร ทร ๗ . ญ ย อย หย หญ ๘ . ฎ ด ๙ . ฏ ต ๑๐ . ฐ ฑ ฒ ถ ท ธ
  • 21. ๑๑ . ณ น หน ๑๒ . บ ๑๓ . ป ๑๔ . ผ พ ภ ๑๕ . ฝ ฟ ๑๖ . ม หม ๑๗ . ร หร ๑๘ . ล ฬ หล ๑๙ . ว หว ๒๐ . ห ฮ ๒๑ . อ
  • 22. ไตรยางศ์ พยัญชนะแบ่งเป็น ๓ พวก เรียกว่า ๑ . อักษรสูง ๒ . อักษรกลาง ๓ . อักษรต่ำ ประโยชน์ ของไตรยางศ์ ใช้ในการผันวรรณยุกต์
  • 23. อักษรสูง อักษรสูง มี ๑๑ ตัว คือ ... ข ล ฉ ถ ฐ ผ ฝ ศ ษ ส ห หลักการท่องจำ ฉันขอฝากขวดใส่ถุงผ้าให้เศรษฐี
  • 24. อักษรกลาง อักษรกลาง มี ๙ ตัว ดังนี้ … ก จ ฎ ฏ ด ต บ ป อ หลักการท่องจำ ไก่จิกเด็กตาย ( ฎฏ ) บนปากโอ่ง
  • 25. อักษรต่ำ อักษรต่ำ มี ๒๔ ตัว ดังนี้ ... ค ฅ ฆ ง ช ซ ฌ ญ ฑ ฒ ณ ท ธ น ย ร ล ว พ ม ฟ ภ ฬ ฮ หลักการท่องจำ คอฅนฆ่างูชูโซ่เฌอหญิงโฑเฒ่าเณรทำธนู ย่ารู้แล้วว่าพม่าฟันสำเภาเฬาแฮ
  • 27. อักษรเดี่ยว อักษรเดี่ยว คือ อักษรต่ำที่ไม่มีเสียงคู่กับอักษรสูง มี ๑๐ ตัว ดังนี้ ... ง ญ น ย ณ ร ว ม ฬ ล หลักการท่องจำ งูใหญ่นอนอยู่ ณ ริมวัดโมฬีโลก
  • 28. อักษรคู่ อักษรคู่ คือ อักษรต่ำที่มีเสียงคู่กับอักษรสูง มี ๑๔ ตัว ดังนี้ ... ค ฅ ฆ ช ซ ฌ ฑ ฒ ท ธ พ ภ ฟ ฮ
  • 29. พยางค์เปิดและพยางค์ปิด พยางค์เปิด คือ พยางค์ที่ไม่มีตัวสะกด เช่น เห่เรือ เปล หรือ ฯลฯ พยางค์ปิด คือ พยางค์ที่มีตัวสะกด เช่น ใครห้ามทำไม
  • 30. มาตราในภาษาไทย มาตราในภาษาไทย มี ๙ มาตรา คือ * แม่ ก . กา * มาตราตัวสะกด อีก ๘ มาตรา
  • 31. มาตราในภาษาไทย ๑ . แม่ ก . กา คือ คำที่ประสมด้วยสระไม่มีตัวสะกด เช่น ปีระกา ปลากระดี่ เป็นต้น ๒ . แม่กก - ก ข ค ฆ ๓ . แม่กด - ด จ ช ซ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ต ถ ท ธ ศ ษ ส ๔ . แม่กบ - บ ป พ ฟ ภ ๕ . แม่กน - น ณ ร ล ฬ ญ
  • 32. มาตราในภาษาไทย ๖ . แม่กง - ง ๗ . แม่กม - ม ๘ . แม่เกย - ย ๙ . แม่เกอว - ว รู้หรือไม่ว่าพยัญชนะตัวใดที่ ไม่ใช้เป็นตัวสะกดบ้าง รู้สิ… ก็มี ฉ ฌ ผ ฝ ห อ ไง
  • 33. คำครุ - คำลหุ คำลหุ ( ) คือ คำที่ประสมสระเสียงสั้น ไม่มีตัวสะกด เช่น เกาะโต๊ะ เฉพาะในคำประพันธ์ คำ บ , บ่ จัดเป็นลหุ อุ คำครุ ( ) คือคำที่ประสมสระเสียงยาว และมีตัวสะกด ได้ทุกแม่ทั้ง ๘ มาตรา รวมทั้งคำที่ประสมสระ อำ ไอ ใอ เอา ด้วย เช่น มันมากับความมืด โชคดีผีสับร่าง อั ในคำประพันธ์ สระอำ เป็นได้ทั้ง ครุ และ ลหุ
  • 34. คำเป็น - คำตาย คำตาย คือ ๑ . คำที่ประสมสระเสียงสั้น ในมาตราแม่ ก . กา ๒ . คำที่มีตัวสะกดในแม่ กก กด กบ เช่น นกจิกผักกาด พบเกาะประหลาด คำเป็น คือ ๑ . คำที่ประสมด้วยสระเสียงยาว รวม อำ ไอ ใอ เอา ๒ . ประสมตัวสะกดแม่ กง กน กม เกย เกอว เช่น พลพายกรายทอง ร้องโห่เห่โอ้เห่มา
  • 35. คำเป็น - คำตาย - คำครุ - คำลหุ คำครุ คำลหุ คำเป็น คำตาย ให้ พิจารณาตัวสะกดก่อนจึงจะพิจารณาสระ ๑ . ถ้ามีตัวสะกดเป็นคำครุ ทั้งหมด ถ้าไม่มีตัวสะกด สระเสียงยาวเป็นครุ เสียงสั้นเป็นลหุ ๒ . ถ้ามีตัวสะกด แม่ กก กด กบ เป็นคำตายนอกนั้นเป็นคำเป็น ถ้าไม่มีตัวสะกด ให้พิจารณาสระเสียงยาวเป็นคำเป็น สระสั้นเป็นคำตาย
  • 36. อักษรนำ อักษรนำ คือ พยัญชนะ ๒ ตัวที่ใช้สระเดียวโดยพยางค์หน้าออกเสียงอะ และเสียงพยัญชนะตัวหลังตามตัวหน้า ๑ . พยางค์หน้าออกเสียงอะ โดยไม่ต้องประวิสรรชนีย์ เช่น สนาม ๒ . อ . นำ ย . มี ๔ คำ คือ อย่า อยู่ อย่าง อยาก ๓ . ห . เป็นอักษรนำ เช่น หญิง ใหญ่ หยิบ หรูหรา หมาก ไหว้
  • 37. อักษรควบ คือ… ร , ล , ว ออกเสียงควบ กล้ำ กับพยัญชนะตัวหน้า ร - ก ข ค ด ต ท บ ป พ ฟ ล - ก ข ค บ ป พ ฟ ผ ว - ก ข ค หมายเหตุ คำควบกล้ำ ดร บร ฟร บล ฟล มีใช้ในภาษาต่างประเทศเท่านั้น เช่น ดราฟ บราซิล ฟรี บลู ฟลาย
  • 38. อักษรควบไม่แท้ จ - จริง ซร - ไซร้ ศร - ศรี เศร้า สร - สร้าง แสร้ง เสริม ทร - ทราย เทริด ทราม
  • 39. ข้อสังเกตเรื่องพยัญชนะ ๑ . การที่รูปพยัญชนะ มีมากกว่าเสียง คือ มี ๔๔ รูป ๒๑ เสียง นั้นทำให้เกิดปัญหาในการเขียนพยัญชนะที่เสียงซ้ำกัน ยุ่งยากในการเขียนตัวสะกดการันต์ แต่มีประโยชน์ในด้านสื่อสารรู้ความหมายของคำใช้ในการเขียนคำพ้องเสียงแต่ความหมายต่างกัน เช่น กาญจน์ , กานต์ , กานท์ , การ , กาล เป็นต้น ซึ่งเราจะรู้ความหมายของคำเมื่อฟังเสียงนั้นต้องอาศัยบริบทของคำนั้นช่วย
  • 40. ข้อสังเกตเรื่องพยัญชนะ ๒ . มีพยัญชนะบางรูปไม่ออกเสียง ๑ ) พวกตัวการันต์ คือ พยัญชนะที่มีเครื่องหมายทัณฑฆาตกำกับมีไว้เพื่อรักษารูปเดิมของศัพท์เพื่อให้รู้ว่ามาจากภาษาใด เช่น สงฆ์ ฟิล์ม กาญจน์ ๒ ) ร หรือ ห ที่นำหน้าพยัญชนะสะกดในคำบางคำ เช่น สามารถ พรหม ๓ ) พยัญชนะซึ่งตามหลังพยัญชนะสะกดในคำบางคำ เช่น พุทธ เนตร
  • 41. ๒ . มีพยัญชนะบางรูปไม่ออกเสียง ( ต่อ ) ๔ ) ร ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของอักษรควบไม่แท้ เช่น จริง สร้าง ศรี โทรม ๕ ) ห หรือ อ ซึ่งนำอักษรต่ำเดี่ยว เช่น หลากหลาย อย่า อยู่ ๖ ) คำบางคำมีเสียงพยัญชนะ แต่ไม่ปรากฎรูปพยัญชนะ เช่น อำ - ดำ มีเสียง ม สะกด ไอ - ไป มีเสียง ย สะกด ใอ - ใคร มีเสียง ย สะกด เอา - เรา มีเสียง ว สะกด ข้อสังเกตเรื่องพยัญชนะ
  • 44. เสียงวรรณยุกต์ รูปวรรณยุกต์ สามัญ เอก โท ตรี จัตวา - l ด้ ๗ +
  • 45. สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการผันวรรณยุกต์ คือ ๑ . ไตรยางศ์ ๒ . คำเป็น - คำตาย
  • 46. อักษรกลาง เสียง คำ คำเป็น คำตาย สามัญ เอก โท ตรี จัตวา ปา ป่า ป้า ป๊า ป๋า ปาด ป้าด ป๊าด ป๋าด
  • 47. อักษรสูง เสียง คำ คำเป็น คำตาย สามัญ เอก โท ตรี จัตวา - ข่า ข้า - ขา - ขาด ข้าด - -
  • 48. อักษรต่ำ เสียง คำ คำเป็น คำตาย เสียงยาว สามัญ เอก โท ตรี จัตวา คา - ค่า ค้า - - - คาด ค้าด ค๋าด คำตาย เสียงสั้น - - ค่ะ คะ ค๋ะ
  • 49. ข้อสังเกตการใช้วรรณยุกต์ ๑ . อักษรกลางคำเป็นเท่านั้นที่ผันได้ครบห้าเสียง ๒ . อักษรกลางและอักษรสูงผันรูปวรรณยุกต์ใดจะเป็นเสียงนั้น เช่น กล ้า จ๋ า ข้า ป๊า ๓ . อักษรต่ำ ผันรูปวรรณยุกต์เอก จะมีเสียงโท เช่น ค่ำ น่า ถ้า ผันรูปวรรณยุกต์โท จะมีเสียงตรี เช่น น้า ใช้
  • 50. ข้อสังเกตการใช้วรรณยุกต์ ๔ . อักษรคู่ผันครบห้าเสียงได้โดยใช้เสียงคู่กันช่วย เช่น คา ข่า ค่า ( ข้า ) ค้า ขา ๕ . อักษรเดี่ยวผันครบห้าเสียงได้โดยใช้ ห นำ เช่น งา หง่า ง่า ง้า หงา ๖ . อักษรต่ำไม่มีการผันวรรณยุกต์ด้วยรูปตรี ( ๗ ) ถ้ามี แสดงได้ว่าคำนั้นเขียนผิด
  • 51. ข้อสังเกตการใช้วรรณยุกต์ ๗ . คำที่ไม่มีรูปวรรณยุกต์กำกับเป็นคำพื้นเสียงมีเสียงวรรณยุกต์ ดังนี้ - อักษรกลาง คำเป็น พื้นเสียงเป็นเสียง สามัญ - อักษรต่ำ คำเป็น พื้นเสียงเป็นเสียง สามัญ - อักษรกลาง คำตาย พื้นเสียงเป็นเสียง เอก - อักษรสูง คำตาย พื้นเสียงเป็นเสียง เอก - อักษรสูง คำเป็น พื้นเสียงเป็นเสียง จัตวา - อักษรต่ำ คำตายสั้น พื้นเสียงเป็นเสียง ตรี - อักษรต่ำ คำตายยาว พื้นเสียงเป็นเสียง โท
  • 53. ๓ ส่วน ประกอบด้วย … สระ + พยัญชนะ + วรรณยุกต์ เช่น … ม้า ดุ และ เตะ หมู
  • 54. ๔ ส่วน ประกอบด้วย … สระ + พยัญชนะ + วรรณยุกต์ + ตัวสะกด เช่น … ใคร เอา ต้ม ยำ ไก่ บ้าง
  • 55. ๔ ส่วน พิเศษ ประกอบด้วย … สระ + พยัญชนะ + วรรณยุกต์ + ตัวการันต์ เช่น … เล่ห์ โชว์
  • 56. ๕ ส่วน ประกอบด้วย … สระ + พยัญชนะ + วรรณยุกต์ + ตัวสะกด + ตัวการันต์ เช่น …พยางค์ เสาร์ เยาว์ อนงค์
  • 57. การพิจารณาส่วนประกอบของพยางค์นั้น ให้พิจารณาว่าเป็นสระ พยัญชนะ และวรรณยุกต์รวมทั้งตัวสะกด ชนิดเดียวกันหรือไม่ และมีวรรณยุกต์เสียงเดียวกันหรือไม่ คณะ ผู้จัดทำ
  • 58. คณะผู้จัดทำ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิชา ภาษาไทย โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย