SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
Download to read offline
บทที่ 1

บทนา

1. ทีมาและความสาคัญ
        ่
          กรมควบคุมโรค คือหนึ่ งในหน่ วยงานของกระทรวงสาธารณสุ ข ที่รับนโยบายรัฐบาลไปสู่ การปฏิบติ    ั
โดยมีภารกิ จเกี่ ยวกับการพัฒนาวิชาการเพื่อการควบคุมโรคและภัยที่คุก คามสุ ขภาพ โดยมีการศึกษา วิจย       ั
พัฒนา รวมทั้งการถ่ายทอดองค์ความรู ้และเทคโนโลยีเพื่อการเฝ้ าระวัง ป้ องกัน ควบคุม วินิจฉัย และรักษาโรค
และภัยที่คุกคามสุ ขภาพ ด้วยภารกิจหน้าที่ ตลอดจนการปฏิบติตามนโยบายที่ได้รับมอบหมาย เพื่อนาไปสู่
                                                           ั
ผลสั ม ฤทธิ์ ในการปฏิ บ ัติง าน กรมควบคุ ม โรคจึ ง ได้ก าหนดนโยบายในการปฏิ บ ัติราชการที่ เกี่ ย วข้อ ง
ตลอดจนกาหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ และยุทธศาสตร์ ต่างๆ โดยจะนามาซึ่ งการบรรลุเป้ าหมายตามนโยบาย
ของกรมควบคุ มโรค และสอดรั บกับนโยบายของรั ฐบาลที่ กาหนดไว้ ด้วยภารกิ จหลักหรื อกระบวนการ
บริ หารจัดการที่เกี่ยวข้อง
          จากเหตุผลดังกล่าว ประกอบกับเพื่อศึกษาแนวทางในการบริ หารงานสาธารณสุ ขที่เกี่ยวข้อง คณะผูจดทา
                                                                                                  ้ั
จึงได้เลือกกรมควบคุมโรคเป็ นองค์กรศึกษาโดยคาดหวังว่าจะสามารถนาหลักทฤษฎี และการบริ หารจัดการ
ที่เป็ นประโยชน์ นามาประยุกต์ใช้ในการพัฒนา ปรับปรุ ง กระบวนการทางานที่ รับผิดชอบ เพื่อให้เกิ ด
ประสิ ทธิ ภาพต่อไป

2. วัตถุประสงค์
    2.1 เพื่อสามารถอธิ บายคุณค่า ความสาคัญ และกระบวนการบริ หารได้
    2.2 เพื่อสามารถอธิบายและวิเคราะห์กระบวนการบริ หารในระบบสาธารณสุ ขได้ ในเทอมของการวางแผน
การจัดองค์การ การอานวยการ การนิเทศงาน การควบคุมกากับงาน และการประเมินผล
    2.3 เพื่อสามารถจาแนกปัจจัยที่มีผลต่อการบริ หารงานสาธารณสุ ข ในประเด็นการบริ หารงาน และโครงการ
สาธารณสุ ขต่าง ๆ

3. ประโยชน์ ทจะได้ รับ
               ี่
                                                                          ั
   มีความรู้ ความเข้าใจในการบริ หารงานสาธารณสุ ข ที่สามารถนาไปประยุกต์ได้กบงานทุกระดับ ทั้งภาครัฐ
และเอกชนที่เกี่ยวข้อง ทั้งในส่ วนกลางและส่ วนภูมิภาค
2

                                                บทที่ 2

การทบทวนเอกสารทีเ่ กียวข้ อง
                     ่

         “การบริ หาร” (Administration) จะใช้ในการบริ หารระดับสู ง โดยเน้นที่การกาหนดนโยบายที่สาคัญ
และการกาหนดแผนของผูบริ หารระดับสู ง และ “การจัดการ” (Management) จะเน้นการปฏิบติการให้
                          ้                                                                  ั
เป็ นไปตามนโยบาย (แผนที่วางไว้) ในการบริ หารทรัพยากรและกิจการงานอื่นๆ เพื่อให้บรรลุวตถุประสงค์
                                                                                           ั
ที่กาหนดไว้ขององค์กร
         กระบวนการบริ หารจัดการ คือกลุ่มของกิ จกรรม ประกอบด้วย การวางแผน (Planning) การจัด
องค์กร (Organizing) การสั่งการ (Leading/ Directing) หรื อการอานวย และการควบคุม (Controlling) ซึ่ งจะ
มี ค วามสั มพันธ์ โดยตรงกับ ทรั พ ยากรขององค์กร ที่ ก าหนดทิ ศ ทางในการใช้ท รั พ ยากรทั้ง หลายอย่า งมี
ประสิ ทธิภาพและประสิ ทธิผล เพื่อให้บรรลุถึงเป้ าหมายขององค์กร

รู ปที่ 1 หน้าที่ของการบริ หารจัดการ (The Four Functions Management) แสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่าง
หน้าที่ต่างๆ ของการบริ หาร ที่เชื่อมโยงเกี่ยวพันกันในรู ปกระบวนการ

                                                Planning


           Controlling                    Management Process                      Organizing


                                                Leading

        ที่มา : http://www.bloggang.com/mainblog.php?id=lean-357

หน้าที่ของการบริ หารประกอบด้วยกิจกรรมพื้นฐาน 4 ประการหรื ออาจแบ่งในลักษณะที่เป็ นขั้นตอนดังนี้
           1) การวางแผน (Planning) เป็ นสิ่ งที่องค์กรต้องการเปลี่ยนแปลงในอนาคต การวางแผนเป็ นสะพานเชื่อม
ระหว่างเหตุการณ์ปัจจุบนและอนาคต ซึ่งทาได้โดยการให้บรรลุเป้ าหมายผลลัพธ์ที่ตองการ การวางแผนจึงต้อง
                        ั                                                        ้
                                                   ่
อาศัยการกาหนดกลยุทธ์ท่ีมีประสิ ทธิ ภาพ แม้วาพื้นฐานของการจัดการโดยทัวไปเป็ นงานของผูบริ หารการ
                                                                              ่                ้
วางแผนเป็ นสิ่ งสาคัญสาหรับการปฏิบติตามกลยุทธ์ให้ประสบความสาเร็ จและการประเมินกลยุทธ์ เพราะว่า
                                        ั
การจัดการองค์กร การจูงใจ การจัดบุคคลเข้าทางาน และกิจกรรมควบคุม ขึ้นกับการวางแผน กระบวนการ
วางแผนจะต้องประกอบด้วยผูบริ หารและพนักงานภายในองค์กร การวางแผนจะช่วยให้องค์กรกาหนดข้อดี
                              ้
จากโอกาสภายนอกและทาให้เกิดผลกระทบจากอุปสรรคภายนอกต่าสุ ด โดยต้องมองเหตุการณ์ในอดีตและ
ปั จจุ บ นเพื่ อคาดคะเนเหตุ การณ์ ที่ จะเกิ ดขั้นในอนาคต การวางแผน ประกอบด้วย การพัฒนาภารกิ จ
         ั
3

(Mission) การคาดคะเนเหตุการณ์ปัจจุบน เหตุการณ์อนาคต และแนวโน้ม การกาหนดวัตถุประสงค์ และ
                                             ั
การเลือกกลยุทธ์ที่ใช้
          2) การจัดการองค์การ (Organizing) การแบ่งงาน การจัดสายการบังคับบัญชา การรวมหรื อการ
กระจายอานาจ อานาจหน้าที่ หรื อความมีเอกภาพในการบังคับบัญชาที่ยึดถือปฏิบติมา โดยการกาหนดงาน
                                                                                    ั
และความส าคัญ ของอ านาจหน้า ที่ การจัด องค์ก รที่ ดี ส ามารถจู ง ใจผูบ ริ ห ารและพนัก งานให้ม องเห็ น
                                                                         ้
ความสาคัญของความสาเร็ จขององค์กร
                  การกาหนดลักษณะเฉพาะของงาน (Work Specialization) โดยการแบ่งงานประกอบด้วย
                   งานที่กาหนดออกมาเป็ นแผนก การจัดแผนก
                  การมอบอานาจหน้าที่ (Delegating Authority) การแยกงานออกเป็ นงานย่อยตามการพัฒนา
                   รายละเอียดของงาน (Job Description) และคุณสมบัติของงงาน (Job Specification)
                   เครื่ องมือเหล่านี้มีความชัดเจนสาหรับผูบริ หารและพนักงาน ซึ่งต้องการทราบลักษณะของงาน
                                                           ้
                  การก าหนดแผนกในโครงสร้ างขององค์กร (Organization Structure) ขนาดของการ
                   ควบคุม (Span of Control) และสายการบังคับบัญชา (Chain of Command) รู ปแบบทัวไป          ่
                   ของการจัดแผนกคือ ตามหน้าที่ (Functional) ตามฝ่ าย (Divisional) ตามหน่วยธุ รกิจเชิ งกลยุทธ์
                   (Strategic business unit) และด้านแมททริ กซ์ (Matrix)
          3) การนาหรื อการสั่งการ (Leading/ Directing) เป็ นการใช้อิทธิ พลเพื่อจูงใจพนักงานให้ปฏิบติงาน ั
และนาไปสู่ ความสาเร็ จตามเป้ าหมายที่ระบุ ไว้ หรื อเป็ นกระบวนการจัดการให้สมาชิ กในองค์กรทางาน
ร่ วมกันได้ดวยวิธีการต่างๆ การนาหรื อการสั่งการต้องใช้ความสามารถหลายเรื่ องควบคู่กนไป อาทิ ภาวะ
               ้                                                                           ั
ความเป็ นผูนาของผูบริ หาร การจูงใจ การติดต่อสื่ อสารในองค์กร และการทางานเป็ นทีม เป็ นต้น หน้าที่ในการนา
            ้        ้
หรื อสั่งการนี้ มีความสาคัญไม่นอยไปกว่าหน้าที่อื่น เพราะผูบริ หารต้องแสดงบทบาทของผูสั่งการอย่างมี
                                      ้                            ้                          ้
คุณภาพ ถ้าไม่เช่นนั้น แผนงานที่วางไว้ตลอดจนทรัพยากรที่จดเตรี ยมไว้อาจไม่เกิดประสิ ทธิ ผล ถ้าผูบริ หาร
                                                                 ั                                    ้
ดาเนินกิจกรรมด้านการสั่งการไม่ดีพอ ดังนั้น การสั่งการจึงเป็ นเรื่ องของความรู ้ความชานาญ ประสบการณ์
และความสามารถที่จะชักจูงให้พนักงานร่ วมกันปฏิ บติงานไปตามเป้ าหมายที่กาหนดไว้ให้องค์กรประสบ
                                                         ั
ความสาเร็ จตามต้องการ
          4) การควบคุม (Controlling) การใช้ทรัพยากรต่างๆ ขององค์กร ถือว่าเป็ นกระบวนการตรวจสอบ
หรื อติดตามผลและประเมินการปฏิบติงานในกิจกรรมต่างๆ ของพนักงาน เพื่อรักษาให้องค์กรดาเนินไปใน
                                          ั
ทิศทางสู่ เป้ าหมายอย่างถูกต้องตามวัตถุ ประสงค์หลักขององค์กร ในเวลาที่กาหนดไว้ องค์กรหรื อธุ รกิจที่
ประสบความล้มเหลวอาจเกิดจากการขาดการควบคุม หรื อมีการควบคุมที่ไร้ประสิ ทธิ ภาพ และหลายแห่ ง
เกิดจากความไม่ใส่ ใจในเรื่ องของการควบคุม ละเลยเพิกเฉย หรื อในทางกลับกันคือมีการควบคุมมากจนเกิด
ความผิดพลาดขององค์กรเอง การควบคุมจึงเป็ นหน้าที่หลักทางการบริ หารที่มีความสาคัญ ตั้งแต่เริ่ มต้นจนจบ
กระบวนการทางการบริ หาร
4

                                               บทที่ 3

กระบวนการบริหารระบบสาธารณสุ ข กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุ ข

ความเป็ นมา
         กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุ ข เดิมเป็ นกองโรคติดต่อ สังกัดกรมสาธารณสุ ข
กระทรวงมหาดไทย ทาหน้าที่ควบคุมและป้ องกันโรคติดต่อ ต่อมาในปี พ.ศ. 2485 ได้มีประกาศราชกฤษฎีกา
สถาปนากรมสาธารณสุ ข ให้เป็ นกระทรวงสาธารณสุ ข มีกรมในสังกัดรวม 7 กรม ซึ่ งมีกรมที่เกี่ยวข้องกับงาน
โรคติดต่อ 2 กรม คือ กรมการแพทย์ และกรมสาธารณสุ ข (ภายหลังเปลี่ยนเป็ นกรมอนามัย ) กรมการแพทย์
จะรับผิดชอบกิจการของโรงพยาบาล เช่น โรงพยาบาลโรคเรื้ อนพระประแดง, โรงพยาบาลโรคเรื้ อนขอนแก่น,
โรงพยาบาลโรคเรื้ อนเชียงใหม่, โรงพยาบาลโรคเรื้ อนนครศรี ธรรมราช, นิ คมโรคเรื้ อนเชียงราย,โรงพยาบาลบางรัก,
                                                                                   ่
โรงพยาบาลวัณโรค, โรงพยาบาลบาราศนราดูร ส่ วนงานควบคุมโรคอื่น ๆ ยังอยูในความรับผิดชอบของกรม
ควบคุมโรคติดต่อ กรมสาธารณสุ ข
         ในปี พ.ศ. 2495 ได้เปลี่ยนชื่ อ กรมสาธารณสุ ขเป็ นกรมอนามัย และโอนกิจการของโรงพยาบาลเฉพาะโรค
ในสังกัดกรมอนามัย และยกฐานะหน่วยงานเฉพาะโรคให้เป็ นกอง คือ กองควบคุมวัณโรค กองควบคุมโรคเรื้ อน
ปรับปรุ งขยายงานควบคุมไข้มาลาเรี ยและโรคเท้าช้าง เป็ นกองควบคุมมาลาเรี ยและโรคเท้าช้าง รวมงานควบคุม
คุดทะราดกับกามโรคตั้งเป็ นกองควบคุมกามโรคและคุดทะราด
         ในปี พ.ศ. 2515 ได้มีการรวมกรมการแพทย์และกรมอนามัยเข้าด้วยกันเป็ นกรมการแพทย์และอนามัย
งานควบคุมโรคติดต่อทั้งหมด จึงขึ้นกับกรมการแพทย์และอนามัย
         ในปี พ.ศ. 2517 ได้มีการแยกกรมการแพทย์และกรมอนามัยออกจากกันในครั้งนั้นได้มีการรวมหน่วยงาน
ควบคุมโรคติดต่อเข้าด้วยกันจัดตั้งเป็ นกรมควบคุมโรคติดต่อ
         กรมควบคุมโรคติดต่อ แบ่งส่ วนราชการเป็ นกลุ่มงานที่ปรึ กษากองวิชาการเกี่ยวกับโรคติดต่อต่างๆ 7 กอง
และหน่วยงานสนับสนุนการบริ หารงานของกรมฯ 4 หน่วยงาน โรงพยาบาลเฉพาะโรค 4 แห่ง นอกจากนั้นยังมี
                ั ่
หน่วยงานที่ต้ งอยูในส่ วนภูมิภาค ได้แก่ สานักงานควบคุมโรคติดต่อเขต 12 เขต และสานักงานควบคุมโรคติดต่อ
นาโดยแมลง 5 สานักงาน
         ในปี พ.ศ. 2545 ได้มีการออกกฎหมายปฏิรูปราชการ ทาให้การแบ่งหน่วยงานของกรมควบคุมโรค
ประกอบด้วย หน่วยงานสนับสนุนการบริ หารงาน 4 กอง กองวิชาการเกี่ยวกับโรคติดต่อต่างๆ 8 สานัก และ
                  ั ่
มีหน่วยงานที่ต้ งอยูในส่ วนภูมิภาค ได้แก่ สานักงานป้ องกันควบคุมโรค 12 เขต
         ปั จ จุ บ ัน กรมควบคุ ม โรคมี ห น่ ว ยงานที่ ก.พ. ให้ ค วามเห็ น ชอบแต่ ไ ม่ ป รากฏในกฎกระทรวง
ประกอบด้วย กองบริ หาร 6 แห่ ง สถาบัน 2 แห่ ง สานักวิชาการ 11 แห่ ง และ สานักงานป้ องกันควบคุม
โรค 12 แห่ง ดังนี้
         - กองบริ หาร 6 แห่ง : กองแผนงาน, กองคลัง, กองการเจ้าหน้าที่, สานักงานเลขานุการกรม, กลุ่ม
               ตรวจสอบภายใน และกลุ่มพัฒนาระบบบริ หาร
5

        - สถาบัน 2 แห่ง : สถาบันบาราศนราดูร และสถาบันราชประชาสมาสัย
        - สานักวิชาการ 11 แห่ ง : สานักโรคติดต่อนาโดยแมลง, สานักโรคเอดส์ และโรคติดต่อทาง
          เพศสัมพันธ์, สานักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่ งแวดล้อม, สานักวัณโรค, สานักโรคติดต่อ
          ทัวไป, สานักงานคณะกรรมการควบคุ มเครื่ องดื่ มแอลกอฮอล์ , ส านัก โรคไม่ ติดต่ อ, ส านัก
            ่
          ระบาดวิท ยา, ส านัก โรคติ ดต่ อ อุ บ ัติใ หม่ , ส านัก งานคณะกรรมการวัค ซี น แห่ ง ชาติ และ
          สานักงานเผยแพร่ และประชาสัมพันธ์
        - สานักงานป้ องกันควบคุมโรค 12 แห่ง : สานักงานป้ องกันควบคุมโรคที่ 1-12
กระบวนการบริหารระบบสาธารณสุ ข กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุ ข
1. การวางแผน (Planning)
       กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุ ข เป็ นหนึ่ งในหน่วยงานราชการที่มีความสาคัญต่อการพัฒนา
สุ ขภาพของประชาชน ที่มุ่งเน้นการเป็ นผูนาด้านวิชาการและเทคโนโลยีการป้ องกันและควบคุมโรคของ
                                       ้
ประเทศและระดับนานาชาติ
      วิสั ย ทัศ น์ เป็ นองค์ก รชั้นน าระดับ ระดับนานาชาติ ที่ สั ง คมเชื่ อถื อและไว้วางใจเพื่ อป้ องกัน
ประชาชนจากโรคและภัยสุ ขภาพ ด้วยความเป็ นเลิศทางวิชาการภายในปี 2563
        พันธกิจ
        1. วิจ ย และพัฒ นาองค์ค วามรู ้ เ พื่ อ ก าหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์ พัฒ นาคุ ณภาพมาตรฐานทาง
                  ั
วิชาการและมาตรการดาเนินงานเฝ้ าระวัง ป้ องกัน ควบคุมโรคและภัยสุ ขภาพ
        2. พัฒนาการบริ หารจัดการแลกเปลี่ยนวิชาการเชิ งคุณภาพ และเพิ่มประสิ ทธิ ภาพในการถ่ายทอด
มาตรฐาน มาตรการ เทคโนโลยีการเฝ้ าระวัง ป้ องกัน ควบคุมโรคและภัยสุ ขภาพ
        3. พัฒนาระบบฐานข้อมูล ข่าวกรองโรค การจัดการความรู ้ และกลไก ความร่ วมมือ ความเข้มแข็ง
ของเครื อ ข่ า ยเฝ้ าระวัง ป้ องกัน ควบคุ ม โรคและภัย สุ ข ภาพ เพื่ อ เตรี ย มพร้ อ มตอบโต้ภ าวะฉุ ก เฉิ นด้า น
สาธารณสุ ข
        4. ประเมินสถานการณ์ โรค / ความเสี่ ยงภัย สุ ขภาพเชิ งรุ ก และประเมิ นผลการดาเนิ นงานตาม
มาตรฐาน เป้ าหมายการให้บริ การรวมทั้งกากับคุ ณภาพ กลยุทธ์การเฝ้ าระวัง ป้ องกัน ควบคุ มโรคและภัย
สุ ขภาพที่มีลาดับภาระโรคสู ง

       ภารกิจ
       1. ศึกษา ค้นคว้า วิจยพัฒนาและกาหนดมาตรฐานทางวิชาการและเทคโนโลยี ตลอดจนการพัฒนา
                            ั
บุคลากรด้านป้ องกันควบคุมโรคและภัยที่คุกคามสุ ขภาพ
       2. เผยแพร่ ความรู ้ทางวิชาการด้านป้ องกันควบคุมโรคและภัยที่คุกคามสุ ขภาพให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
และประชาชน
       3. ควบคุม กากับ นิเทศ และประเมินผลด้านควบคุมโรค
6

        4. ให้บริ การรักษาและฟื้ นฟูสภาพผูป่วยเฉพาะโรค
                                           ้
        5. ประสานนโยบายและแผนป้ องกันควบคุมโรคและภัยที่คุกคามสุ ขภาพ
        6. พัฒนาเครื อข่ายการป้ องกันควบคุมโรคตลอดจนการเฝ้ าระวังโรคกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและ
องค์กรท้องถิ่น
        7. สร้างเครื อข่ายความร่ วมมือกับนานาประเทศหรื อองค์กรระหว่างประเทศในการป้ องกันควบคุม
โรคและปั ญหาสุ ขภาพระหว่างประเทศ
ยุทธศาสตร์ การดาเนินงานแบบมุ่งเน้ นผลงาน สู่ วสัยทัศน์
                                              ิ
         1. การพัฒนาเป็ นศูนย์กลางนโยบาย มาตรการ นวัตกรรม ข้อมูลอ้างอิงและมาตรฐานวิชาการเฝ้ า
ระวัง ป้ องกัน ควบคุมโรคและภัยสุ ขภาพของชาติที่ได้มาตรฐานสากล
         2. การพัฒนา และร่ วมมื อกับเครื อข่ายภาคี ภายในและนานาชาติ รวมทั้งสนับสนุ นพื้นที่ ในการ
ดาเนินงานป้ องกันและควบคุมโรคอย่างมีประสิ ทธิ ภาพและยังยืน
                                                         ่
         3. การสื่ อสารสาธารณะและประชาสัมพันธ์อย่างทัวถึงและได้ผล เพื่อป้ องกัน ควบคุมโรคและภัย
                                                       ่
สุ ขภาพ
         4. การเตรี ยมความพร้อมและดาเนินการป้ องกัน ควบคุมโรคและภัยสุ ขภาพในสถานการณ์ฉุกเฉิ น
และภัยพิบติอย่างรวดเร็ ว ตามความต้องการของพื้นที่และได้มาตรฐานสากล
            ั
         5. การติดตามและประเมินผลภาพรวมของการเฝ้ าระวัง ป้ องกัน ควบคุมโรคและภัยสุ ขภาพของ
ประเทศตามมาตรฐานสากล
         6. การพัฒนาคุณภาพระบบการบริ หารจัดองค์การตามมาตรฐานสากล และโปร่ งใสตรวจสอบได้
         กรมควบคุมโรคมีการวางแผนงานที่เป็ นแผนยุทธศาสตร์ เพื่อก้าวไปสู่ อนาคตที่คาดหวังภายใน 10 ปี
นับเป็ นแผนระยะยาว ซึ่ งมีการกาหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป็ นสิ่ งที่จะช่วยกาหนดทิศทางเดินในอนาคตที่ชดเจน
                                                                                                  ั
      ั
ให้กบองค์การ มีกรอบการดาเนิ นงาน แนวทางปฏิบติงานช่วยในการควบคุมองค์การให้ดาเนิ นการตามแผน
                                                    ั
ที่กาหนดไว้ นอกจากแผนระยะยาวแล้วยังมีการวางแผนระยะกลาง แผนปฏิ บติราชการ 4 ปี จะมีการ
                                                                                  ั
พิจารณาว่าจะปรับปรุ งแผนที่วางไว้ เพื่อให้สอดคล้องเหมาะสมกับสถานการณ์และสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลง
ไปในปั จจุบน และมีการประมาณการด้านงบประมาณ เพื่อให้แผนยุทธศาสตร์ ดงกล่าวสามารถถ่ายทอดสู่
               ั                                                                ั
แผนปฏิบติการแต่ละปี การวางแผนระยะยาว ผูบริ หารระดับสู งของกรมควบคุมโรค จะมีบทบาทสาคัญที่
          ั                                      ้
จะก าหนดเป้ าหมายและทิ ศ ทางในระยะยาว ที่ ส อดคล้อ งกับ นโยบายระดับ ชาติ และระดับ กระทรวง
ในขณะที่ผบริ หารระดับรองลงมา ผูอานวยการสานักงาน หรื อกอง จะรับผิดชอบแผนระยะกลาง ที่จะต้อง
            ู้                        ้
ก าหนดให้ ส อดคล้อ งกับ แผนระยะยาว ผูบ ริ ห ารระดับ ต้นวางแผนระยะสั้ นให้ส อดคล้องกับ แผนของ
                                            ้
ผูบริ หารระดับกลางอีกต่อหนึ่ง แผนในแต่ระดับจะต้องเกื้อหนุนสอดคล้องกัน
  ้

2. การจัดการองค์ การ (Organizing) โครงสร้างของกรมควบคุมโรค ประกอบด้วย กองบริ หาร 6 แห่ ง
สถาบัน 2 แห่ง สานักวิชาการ 11 แห่ง และ สานักงานป้ องกันควบคุมโรค 12 แห่ง
7

การจัดการองค์ การของกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุ ข แบ่ งตามแผนกงานได้ ดังนี้
        1. การจัดแผนกงานตามหน้าที่ ได้แก่ กองแผนงาน กองคลัง กองการเจ้าหน้าที่ สานักงานเลขานุการกรม
กลุ่มตรวจสอบภายใน และกลุ่มพัฒนาระบบบริ หาร
        2. การจัดแผนกงานตามผลิตภัณฑ์ (วิชาการ) ได้แก่ สานักโรคติดต่อนาโดยแมลง สานักโรคเอดส์
และโรคติ ดต่ อทางเพศสั มพันธ์ ส านักโรคจากการประกอบอาชี พและสิ่ งแวดล้อม ส านักวัณโรค ส านัก
โรคติ ดต่อทัวไป สานักงานคณะกรรมการควบคุ มเครื่ องดื่ มแอลกอฮอล์ สานักโรคไม่ติดต่อ สานักระบาดวิทยา
            ่
ส านั กโรคติ ดต่ ออุ บ ัติ ใ หม่ ส านั ก งานคณะกรรมการวัค ซี น แห่ ง ชาติ และส านั ก งานเผยแพร่ และ
ประชาสัมพันธ์
        3. การจัดแผนกงานตามพื้นที่ ได้แก่ สานักงานป้ องกันควบคุมโรค 12 พื้นที่

3. การนาและการสั่ งการ
      กรมควบคุ มโรค กระทรวงสาธารณสุ ข มี การนาและสั่งการ โดยกลไกการถ่ายทอด การสื่ อสาร
ภายในองค์การ โดยมีกรอบแนวคิดการถ่ายทอด/ จัดทาคารับรองตัวชี้วดและค่าเป้ าหมาย
                                                            ั

                 กรมควบคุมโรค                                                  หน่ วยงาน
           Department Scorecard :DSC                                    Bureau Scorecard :BuSC
   เป้ าหมายการให้บริ การของกรม                       เป้ าหมายการให้บริ การของหน่วยงาน
   - นโยบายระดับชาติ ระดับกระทรวง และระดับกรม         - บทบาทหน้าที่และภารกิจของสานัก / กองที่สนับสนุนต่อเป้ าหมายการ
   - พันธกิจ บทบาท หน้าที่ตามกฏหมาย                   ให้บริ การและตัวชี้ วดระดับกรม
                                                                           ั
                                                      - บทบาทหน้าที่และภารกิจในงานประจาของสานัก / กอง
                                                      - งานที่ได้รับมอบหมายเป็ นพิเศษ



                      บุคคล                                                      กลุ่มงาน
            Individual Scorecard : ISC                                    Sector Scorecard :SSC
   เป้ าหมายการให้บริ การในระดับบุคคล                 เป้ าหมายการให้บริ การของกลุ่มงาน
   - บทบาทหน้าที่ของบุคคลที่สนับสนุนต่อเป้ าประสงค์   - บทบาทหน้าที่และภารกิจของกลุ่มงาน / ฝ่ ายที่สนับสนุนต่อเป้ าหมาย
   และตัวชี้วดของหัวหน้ากลุ่มงาน / ฝ่ าย
              ั                                       การให้บริ การและตัวชี้ วดระดับผูอานวยการกอง / สานัก
                                                                              ั       ้
    - บทบาทหน้าที่งานของบุคคล                         - บทบาทหน้าที่และภารกิจในงานประจาของกลุ่มงาน
   - งานที่ได้รับมอบหมายเป็ นพิเศษ                    - งานที่ได้รับมอบหมายเป็ นพิเศษ
8

         บริ หารทรัพยากรบุคคลด้วยกรอบแนวคิดความสามารถเชิงสมรรถนะหลัก (Core Competency) คือ
Competency ที่ เป็ นแก่ นหรื อแกนหลักขององค์การซึ่ งทุ กคนในองค์การต้องมี คุณสมบัติที่เหมื อนกันนี้
เพราะความสามารถและคุ ณสมบัติประเภทนี้ เป็ นตัวกาหนดหรื อผลัก ดันให้องค์กรบรรลุ ตามวิสัย ทัศ น์
(Vision) และพันธกิจ (Mission) ที่วางไว้ได้ ตลอดจนยังเป็ นตัวสะท้อนถึงค่านิ ยม (Values) ที่คนในองค์กรมี
และถือปฏิบติร่วมกัน ได้แก่
              ั
         1. ภาวะผูนา โดยการการนาศักยภาพของตนเองออกมาเพื่อผลักดันให้เกิดกิจกรรม ผลงาน ผลผลิต
                      ้
บริ การ ซึ่ งเป็ นที่ยอมรับ และได้รับความร่ วมมือจากผูเ้ กี่ ยวข้อง การจัดการ การบริ หาร หน่วยงาน และ
ผูใต้บงคับบัญชา ในการปฏิบติงาน รวมทั้งสนับสนุ น กิจกรรมต่างๆ เพื่อให้เกิดผลลัพธ์ ตามเป้ าหมายที่
  ้ ั                          ั
กาหนด อย่างมีประสิ ทธิ ภาพมีความคิดสร้างสรรค์ ที่ก่อให้เกิดการพัฒนา หรื อเปลี่ยนแปลงไปสู่ ความสาเร็ จ
ขององค์กร
         2. การทางานเป็ นทีม สร้างความเป็ นผูนา ตัดสิ นใจเป็ น วิเคราะห์ปัญหาต่างๆ รวบรวมข้อมูลที่
                                                ้
ถูกต้อง สามารถสื่ อสารความเข้าใจกันได้ ประสานงานและจูงใจให้คนทางานอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
         3. การให้บริ การเชิงคุณภาพ สามารถที่จะแสดงภาพพจน์ที่ดีในการให้บริ การ สร้างความเชื่ อมัน   ่
     ั ้
ให้กบผูบริ การ ประกันผลงาน และการให้บริ การที่สามารถตอบสนองต่อความต้องการ และความคาดหวัง
ของผูรับบริ การ โดยมีความเต็มใจที่จะให้บริ การอย่างเต็มที่
      ้
         4. การพัฒนาตนเอง ความมุ่งมันและกระตือรื อร้นในการพัฒนาความรู ้ความสามารถของตนเอง
                                         ่
อย่างต่อเนื่อง โดยการศึกษาหาความรู ้จากแหล่งต่างๆ เพื่อนาความรู ้มาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ต่องาน
ต่อตนเอง และ ต่อองค์กร รวมถึงมีการกาหนดเป้ าหมายและทบทวนกับเป้ าหมายที่ต้ งไว้ในการพัฒนาั
          ่
ตนเองอยูตลอดเวลา
         5. ความรับผิดชอบ การตระหนักในสิ ทธิ หน้าที่ ความสานึ กในความรับผิดชอบต่อตนเอง ต่อ
ตาแหน่ งหน้าที่ราชการ และ ต่อหน่ วยงาน รวมถึ งประชาชน การใส่ ใจปั ญหาของหน่ วยงาน และ
กระตือรื อร้นในการแก้ไขปั ญหา ตลอดจนการเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง และ ความกล้าที่จะยอมรับ
ผลการกระทาของตน
            ทั้งนี้ กรมควบคุมโรค ได้มีการพัฒนาสมรรถนะ ในฐานะที่เป็ นกรมวิชาการ เน้นการทาหน้าที่ด้าน
การเป็ นที่ปรึ กษาทางวิชาการ (Technical advisor) เป็ นผูประสานสนับสนุน (Facilitator) ทาให้กรมควบคุม
                                                          ้
โรคต้องพัฒนาความพร้อมด้านวิชาการ และทักษะการเป็ นผูประสานสนับสนุน ได้แก่
                                                             ้
            1. การพัฒนาองค์ความรู ้ใหม่ ๆ และระเบียบวิธีการใหม่ของกรมควบคุมโรค และภัยคุกคามในระดับลึก
ที่จะเป็ นองค์กรการควบคุมโรคในระดับชาติ และระดับภูมิภาค
            2. พัฒนาผูเ้ ชี่ยวชาญด้านการควบคุมโรคในระดับต่างๆ เช่น ระดับแพทย์ที่มีความรู ้ดานการแพทย์
                                                                                           ้
พื้นฐานที่สามารถเข้าใจเรื่ องธรรมชาติ ของโรคและระบาดวิทยาของโรคได้ดีให้ผ่านการอบรมหลักสู ตร
ระบาดวิทยา FETP หรื อศึกษาลึกระดับปริ ญญาเอก รมทั้งพัฒนานักวิชาการควบคุมโรคที่มีความชานาญให้
ได้ศึกษาต่อระดับปริ ญญาโท และระดับปริ ญญาเอก และพัฒนาความก้าวหน้าในด้านวิชาชี พ เพื่อรักษาไว้
          ่                             ่
ให้คงอยูในสายงานนี้ หรื อแม้จะไปอยูที่ใดก็เป็ นทรัพยากรมนุษย์ท่ีจะแก้ปัญหาการควบคุมโรคในระยะยาว
9

          3. การพัฒนาสมรรถนะบุคลากรในระดับปฏิบติการ เช่นบุคลากรของ CUP ที่ตองเน้นให้นกวิชาการ
                                                     ั                            ้       ั
หัวหน้า CUP และสมาชิ ก CUP ทุกคนได้รับการอบรมเรื่ องความรู ้ และทักษะการป้ องกันควบคุมโรค
รวมทั้งการเฝ้ าระวัง (SRRT) นอกจากนี้ บุ คลากรอื่ น เช่ น ผูเ้ ชี่ ยวชาญเวชกรรมป้ องกันของสานักงาน
สาธารณสุ ขจังหวัดทุกคน ควรจะต้องเชิญเข้าร่ วมสัมมนาวิชาการควบคุมโรค ที่จดโดยกรมควบคุมโรค เพื่อ
                                                                             ั
รับรู ้วชาการ แนวคิด หลักการและวิธีการ รวมทั้งวิทยาการก้าวหน้าในการควบคุมป้ องกันโรค
        ิ
4. การควบคุมและการประเมินผล
การติดตามกากับประเมินผลการดาเนินงาน
       1. การประเมินผลแผนกลยุทธ์กรมควบคุมโรค
       2. การประเมินความคุมค่าภารกิจรัฐ
                            ้
       3. การวิเคราะห์ผลสาเร็ จของการใช้จ่ายงบประมาณ (Performance Assessment Rating tool :
PART) และการจัดทารายงานแผน/ผลการปฏิบติงานและการใช้จ่ายงบประมาณ (สงป 301/ 302)
                                         ั
       4. การนิเทศ กากับ ติดตามการดาเนินงานตามตัวชี้วดกรมควบคุมโรค/แผนงาน/ โครงการของ
                                                     ั
หน่วยงานในสังกัดกรมฯ
       5. การรายงานผลดาเนินงานตัวชี้วดกรมฯ ตัวชี้วดกระทรวง ฯ
                                      ั           ั
การบริหารงบประมาณ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุ ข
       ทุกหน่วยงานในสังกัดกรมควบคุมโรค มีข้ นตอนการบริ หารงบประมาณ ในแนวทางเดียวกัน ดังนี้
                                               ั
       1. ก่อนดาเนินการ (ระยะนาเสนอแผนงาน/ โครงการ)
           1.1 ประเมินความสอดคล้องของแผนงาน/ โครงการกับเป้ าประสงค์และยุทธศาสตร์ ภาพรวม
           1.2 ทบทวนการตอบสนองของแผนงาน/ โครงการต่อสัมฤทธิ ผลของการปฏิบติการ    ั
       2. ระหว่างดาเนินการ (ระยะปฏิบติการแผนงาน/ โครงการ)
                                       ั
           2.1 ติดตามกระบวนการดาเนินงานและผลผลิตที่ได้จากการดาเนิ นการแต่ละระยะของกิจกรรม
           2.2 ประเมินผลผลิตที่มีผลต่อการตอบสนองต่อเป้ าหมายการให้บริ การและกลยุทธ์ในภาพรวม
       3. หลังดาเนินการ (ระยะหลังการดาเนินการแผนงาน/ โครงการ)
           3.1 ประเมินผล ผลผลิต ผลลัพธ์และผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการดาเนิ นของโครงการ
           3.2 ประเมินผลการดาเนินการได้ตามเป้ าหมายการให้บริ การและกลยุทธ์หรื อไม่ และต้องปรับ
กระบวนการอย่างไรเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ ตอเป้ าหมายการให้บริ การ
                                         ่
10




                                               บทที่ 4
บทสรุป

การวิเคราะห์ องค์ การและประเด็นปัญหาการดาเนินงานในเชิ งกระบวนการบริ หารจัดการของกรมควบคุมโรค

         1. ด้ านโครงสร้ าง
               กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุ ข จัดว่าเป็ นองค์การใหญ่ขนาดหนึ่ ง ซึ่ งมีลกษณะพิเศษ
                                                                                            ั
ขององค์การ คือมีอานาจหน้าที่ลดหลันตามลาดับชั้นบังคับบัญชา มีนโยบาย อานาจหน้าที่ ระเบียบ มาตรฐาน
                                     ่
ข้อบังคับที่ช่วยให้การปฏิบติงานสามารถเป็ นไปตามแผนที่วางไว้และเทคนิคการสื่ อสารที่มีรูปแบบ มีการแบ่งงาน
                           ั
กันทาตามความถนัดโดยรวบรวมบุคคลที่มีทกษะการปฏิ บติท่ีเฉพาะเจาะจง ซึ่ งเป็ นลักษณะขององค์กรที่
                                             ั            ั
ช่วยให้การปฏิบติงานมีประสิ ทธิภาพ โดยมีแนวทางการดาเนินงานตามอานาจหน้าที่รับผิดชอบและสอดรับ
                 ั
กับนโยบายของรัฐบาล โดยมีการแบ่งโครงสร้างและการจัดองค์การแนวราบ (Flat Structure) พิจารณาถึง
วัตถุ ประสงค์และกิ จกรรมขององค์กร แยกเป็ นกลุ่มงาน กอง และสานัก รวมทั้งมีหน่ วยงานสนับสนุ น
มีการแยกและกระจายงานจากกลุ่ มใหญ่ไปสู่ งานย่อยที่ มีลกษณะเฉพาะเจาะจง ได้แก่ สานักโรคเอดส์
                                                            ั
สานักวัณโรค และแยกกระจายความรับผิดชอบและการปฏิ บติงาน เพื่อให้ถูกต้องตามระเบียบฯ และลด
                                                               ั
ปั ญหาความเสี่ ยงในการปฏิบติงาน ทั้งนี้ ทุกหน่วยงานมีความเป็ นเอกภาพขึ้นตรงต่อกรมควบคุมโรคโดยตรง
                             ั
ซึ่ งทาให้ง่ายต่อการควบคุ มหรื อกาหนดพฤติกรรมของบุคคล มี ระเบี ยบแบบแผนในการบริ หารจัดการที่
ชัดเจน แต่ความเป็ นทางการนั้นมีข้ นตอนมาก ไม่คล่องตัว และการที่องค์การได้แบ่งให้มีหน่ วยงานย่อย
                                   ั
                                                                                          ่
เฉพาะกับโรคต่าง ๆ ที่มีการระบาดในช่วงเวลาต่างๆ กับหน่วยงานเดิมที่มีการดาเนิ นการอยูแล้ว ก่อให้เกิ ด
ปั ญหาการทางานซ้ าซ้อนกันหรื อลักษณะการทางานใกล้เคียงกัน
          2. ด้ านอัตรากาลังและทรัพยากรบุคคล
                                                   ั
             2.1 เมื่อพิจารณาอัตรากาลังเจ้าหน้าที่กบภารกิจหน้าที่รับผิดชอบ พบว่าสานักโรคติดต่อนาโดยแมลง
มีอตรากาลังค่อนข้างน้อย เนื่ องจากต้องร่ วมสนับสนุ นการดาเนิ นงานและปฏิบติงานของหน่วยงานอื่น และ
    ั                                                                           ั
การควบคุ มโรคติดต่อนาโดยแมลงเป็ นงานที่ควบคุมได้ค่อนข้างยาก ทาให้เกิ ดการแพร่ ระบาดได้เร็ วและ
การป้ องกันโรคที่ดีควรปฏิบติงานเชิ งรุ ก จาเป็ นต้องจัดสรรทรัพยากรให้เพียงพอต่อการปฏิบติงานในการ
                              ั                                                               ั
ป้ องกันก่อนการระบาดของโรค
11

              2.2 ส าหรั บกลุ่ มตรวจสอบภายในและกลุ่ มพัฒนาระบบบริ หารค่ อนข้างเป็ นหัวใจส าคัญของการ
ปฏิบติงานของกรมควบคุมโรค โดยกลุ่มตรวจสอบภายในมีหน้าที่ควบคุมและบริ หารการปฏิบติงานให้เป็ นไปตาม
       ั                                                                            ั
ระเบียบฯ ป้ องกันปั ญหาความเสี่ ยงจากกระบวนการบริ หารจัดการและกลุ่มพัฒนาระบบบริ หาร ซึ่ งเป็ นเรื่ องของการ
วางแผน การพัฒนาระบบงานซึ่ งเป็ นเรื่ องที่จาเป็ นต้องมีความรวดเร็ ว ทันต่อสถานการณ์ เนื่ องจากส่ วนหนึ่ ง
เป็ นกลุ่มที่ตองมีการตัดสิ นใจประกอบการพิจารณาการดาเนินงานสาหรับผูบริ หาร
               ้                                                           ้
                                                                                      ่
              2.3 การกระจายศูนย์พฒนาบุคลากรควบคุมโรคไปทุกภูมิภาค ไม่รวมศูนย์อยูแต่ในกรมควบคุม
                                    ั
โรค หรื อสานักฯ ในส่ วนกลาง แต่ควรใช้สานักงานป้ องกันควบคุ มโรคเขตต่าง ๆ เป็ นแกนหลัก เพื่อให้
ภู มิ ภ าคมี ค วามเข้ม แข็ ง ในการควบคุ ม ป้ องกัน โรคทั้ง ด้า นวิ ช าการและประสบการณ์ และเป็ นแหล่ ง
ประโยชน์ แก่พ้ืนที่ในระดับจังหวัด และเขต และครอบคลุ มทัวประเทศ เป็ นการพัฒนาทั้งคน โครงสร้ าง
                                                                   ่
และทีมงานโดยให้ภมิภาคเป็ นเครื อข่าย
                       ู
         3. ด้ านนโยบาย อานาจหน้ าที่ วิสัยทัศน์ พันธกิจ การประเมินผล
             กรมควบคุ มโรคมีนโยบายและอานาจหน้าที่ วิสัยทัศน์ชัดเจน โดยเริ่ มตั้งแต่นโยบายที่ เป็ น
ตัวกาหนดทิศทางขอบเขตของงานและมีวสัยทัศน์ พันธกิจที่สอดคล้องมา จนถึงยุทธศาสตร์ ของการปฏิบติ
                                           ิ                                                           ั
นามาซึ่ งการบรรลุ วตถุ ประสงค์ของกรมควบคุ มโรคได้ โดยผ่านหน่ วยงานที่ มีส่วนขับเคลื่ อนในการนา
                      ั
นโยบาย วิสัยทัศน์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์ ต่างๆ ถ่ายทอดไปสู่ สานักงานป้ องกันควบคุมโรค (สคร.) ซึ่ งเป็ น
หน่ วยงานในระดับภูมิภาค อย่างไรก็ตามภาระงานในกรมควบคุ มโรคส่ วนใหญ่ เป็ นการดาเนิ นงานตาม
ภารกิ จพื้นฐาน ส่ งผลให้หน่ วยปฏิ บติภายใต้สังกัดกรมฯ ยังใช้รูปแบบกระบวนการทางานแบบเดิ มตาม
                                       ั
โครงสร้างขององค์การ การกาหนดกลุ่มเป้ าหมาย (Target)
                                                                                  ยุทธศาสตร์ ภาพรวม
ของกรมฯ ซึ่ งการถ่ายทอดแผนยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบติ แม้จะใช้กระบวนการมีส่วนร่ วมในการจัดทาแผน
                                                      ั
ยุทธศาสตร์ ระดับกรมฯ โดยมีผแทนจากหน่วยปฏิบติเข้าร่ วมกระบวนการโดยตลอดเพื่อสร้างความเข้าใจในการ
                                ู้                ั
จัดทาแผนฯ ตั้งแต่เริ่ มต้น พร้อมทั้งมีการประชุมเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบจัดทาแผนของหน่วยปฏิบติเพื่อชี้ แจง
                                                                                          ั
ถ่ายทอดเป้ าหมายและตัวชี้ วด แต่ยงมีปัญหาในการนาไปถ่ายทอดสู่ ผบริ หารของหน่วยปฏิ บติและผูจดทา
                              ั      ั                                 ู้               ั        ้ั
โครงการ ส่ งผลให้แผนของหน่วยปฏิบติไม่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ ของกรมฯ
                                         ั
         4. ด้ านกระบวนการจัดการ
         ในการปฏิบติงานของกรมควบคุมโรคเพื่อพิจารณาเกี่ยวกับด้านองค์การหรื อระบบย่อยขององค์การ
                    ั
                                                                        ั
ตามที่ได้สรุ ปมาก่อนหน้านี้แล้ว องค์การและการจัดการมีความสัมพันธ์กน เพื่อให้เกิดผลลัพธ์คือการบรรลุ
วัตถุ ประสงค์ขององค์การว่ามี กระบวนการบริ หารจัดการเข้ามาเกี่ ยวข้อง โดยกระบวนการจัดการจะมีความหมาย
ถึงขั้นตอนของการจัดการซึ่ งจะเริ่ มตั้งแต่การวางแผน การจัดองค์การ การบังคับบัญชา การประสานงาน
และการควบคุมงาน โดยการวางแผนจะเป็ นการหาหนทางที่จะบรรลุตามเป้ าหมายขององค์การตามแผนที่
กาหนด ส่ วนการจัดองค์การ คือ การนาทรัพยากรที่เกี่ยวกับคนมาบริ หารให้แผนบรรลุวตถุประสงค์ การ
                                                                                      ั
บังคับบัญชา คื อ การสั่งงานให้เจ้าหน้าที่ ปฏิ บติ การประสานงาน คื อ การนาเอาทรั พยากรต่างๆ และ
                                                ั
12

กิจกรรมต่างๆ ขององค์การให้มีความสอดคล้องกลมกลืนต่อการบริ หารให้บรรลุเป้ าหมายและการควบคุม
งาน คือ การตรวจสอบติดตามแผนเพื่อให้แน่ใจว่าได้มีการนาไปปฏิบติ
                                                           ั
         เมื่อพิจารณาถึงการวางแผนและการบริ หารจัดการ ตลอดจนแนวทางของกรมควบคุมโรค ซึ่ งได้มี
วิสัยทัศน์ พันธกิจ และมีการใช้กลยุทธ์ในการปฏิบติงานอย่างชัดเจนในการนามาซึ่ งการบรรลุพนธกิจและ
                                                    ั                                        ั
วิสัยทัศน์ของกรมควบคุ มโรค และในขณะเดี ยวกันกรมควบคุ มโรคจะมีปัญหาเกี่ ยวกับการดาเนิ นงาน
ตามเป้ าหมายหรื อตัวชี้ วดซึ่ ง เป็ นตัวประเมิ นผลความสาเร็ จของกรมควบคุ มโรคว่าได้ทางานบรรลุ ตาม
                           ั
วิสัยทัศน์ พันธกิจ ที่ได้กาหนดไว้หรื อไม่ เนื่องจากข้อมูลที่ได้ศึกษาจากตัวชี้ วดต่างๆ ของกรมควบคุมโรค
                                                                                ั
ซึ่ งแสดงถึ งความก้าวหน้าในการดาเนิ นงาน โดยส่ วนหนึ่ งต้องรอข้อมูลจากสานักงานป้ องกันควบคุ มโรค
(สคร.) ท าให้ ผ ลการด าเนิ น งานค่ อ นข้า งล่ า ช้า กรมควบคุ ม โรคควรมี น โยบายหรื อ มาตรการในการ
ตรวจสอบ ปรับปรุ งแก้ไขและให้การสนับสนุ นหน่ วยงานย่อยเหล่านี้ ตลอดจนการจัดสรรงบประมาณ
สนับสนุ นทรั พยากรต่าง ๆ ให้เพียงพอ และพัฒนาช่ องทางการรายงานข้อมูล ระหว่างหน่ วยงานที่ เกี่ ยวข้อง
พัฒนาเครื อข่ายการปฏิ บติงานให้ครอบคลุ ม ตลอดจนกาหนดตัวชี้ วดที่จะถ่ายทอดไปสู่ สานักงานป้ องกัน
                         ั                                          ั
ควบคุมโรค (สคร.) ที่ชดเจน รวดเร็ ว เพื่อให้หน่วยงานระดับล่างสามารถปฏิบติหน้าที่ได้ทนต่อสถานการณ์
                       ั                                                      ั         ั

         สรุ ป
         จากการศึกษาการบริ หารของกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุ ข พบว่า กรมควบคุมโรคใช้หลักการ
บริ หารจัดการที่หน่วยงานอื่น สามารถนามาประยุกต์ใช้ในการปฏิบติงานได้หลายประเด็น และเพื่อให้การ
                                                                   ั
พัฒนางานของกรมควบคุ มโรคมีประสิ ทธิ ภาพยิ่งขึ้น กรมควบคุ มโรคควรมีการวางแผนงานในส่ วนที่ เกี่ ยวข้อง
เพื่อให้ได้ทิศทาง นโยบาย และกาหนดตัวชี้ วดที่ชัดเจน โดยพัฒนาระบบการบริ หารจัดการภายในให้เพียงพอ
                                             ั
และมีประสิ ทธิ ภาพ สามารถรวบรวมผลการปฏิ บติงาน การให้การสนับสนุ นการปฏิ บติงานหน่ วยงาน
                                                     ั                                         ั
สนับ สนุ น ได้ การมี ร ะบบข้อ มู ล ข่ า วสารสารสนเทศที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพจะช่ ว ยให้ เ กิ ด การปฏิ บ ัติ แ ละ
ประสานงานระหว่างส่ วนราชการย่อยได้ดี นอกจากนี้ ควรจัดท าระบบการควบคุ มนิ เทศงานที่ มี ประสิ ทธิ ภาพ
เพื่อให้ได้ขอมูลที่ถูกต้องชัดเจนของระดับล่าง ทั้งนี้ ในการบริ หารงานให้เกิดผลสาเร็ จได้น้ นควรใช้หลักการ
             ้                                                                               ั
ประยุ กต์ แบบผสมผสาน เพื่ อให้ เกิ ดการพัฒ นาและความยื ด หยุ่น สามารถน าไปใช้ ไ ด้เ หมาะสมกับ
สถานการณ์ต่อไป
13

                                         ภาคผนวก

รู ปภาพที่ 1 ผังโครงสร้างองค์การ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุ ข
14


ตารางที่ 1 ข้อมูลบุคลากร กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุ ข


         รายการข้ อมูล           ข้ าราชการ            ลูกจ้ างประจา        พนักงานราชการ              รวม
            บุคลากร          จานวน ร้ อยละ         จานวน         ร้ อยละ   จานวน ร้ อยละ      จานวน          ร้ อยละ
 สายงานหลัก                   2,262       78.43     1,735         69.23     301      62.71     4,298          73.22
 สายงานสนับสนุน                622        21.57      771          30.77     179      37.29     1,572          26.78
              รวม             2,884      100.00     2,506        100.00     480      100.00    5,870         100.00
 ระดับการศึกษา
       ต่ากว่าปริ ญญาตรี       569          19.73 2,305          91.98      132      27.50    3,006          51.21
       ปริ ญญาตรี             1,452         50.35 198             7.90      319      66.46    1,969          33.54
       ปริ ญญาโท               707          24.51   3             0.12       29       6.04     739           12.59
       ปริ ญญาเอก              156          5.41    0             0.00        0       0.00     156            2.66
              รวม             2,884      100.00   2,506         100.00      480      100.00   5,870          100.00
        ประเภท/ระดับ             ข้ าราชการ           ลูกจ้ างประจา         พนักงานราชการ              รวม
                             จานวน ร้ อยละ จานวน                ร้ อยละ    จานวน ร้ อยละ      จานวน          ร้ อยละ
 ทั่วไป
        ปฏิบติงาน (O1)
              ั                99          3.43
        ชานาญงาน (O2)         910          31.55
        อาวุโส (O3)            37          1.28
 วิชาการ
        ปฏิบติการ (K1)
                ั             309          10.71
        ชานาญการ (K2)        1,040         36.06
        ชานาญการพิเศษ (K3)    393          13.63
        เชี่ยวชาญ (K4)         57          1.98
        ทรงคุณวุฒิ (K5)        12          0.42
 อานวยการ
        ต้น (M1)               4            0.14
        สูง (M2)               18           0.62
 บริหาร
        ต้น (S1)               4            0.14
        สูง (S2)               1            0.03
                  รวม        2,884      100.00      2,506           -       480        -                        -
 อายุตวเฉลีย
      ั ่                    46 ปี        -         49 ปี           -       32 ปี      -        -               -
 อายุราชการเฉลีย   ่         21 ปี        -         23 ปี           -       3 ปี       -        -               -

ที่มา : ฝ่ ายข้อมูลการบริ หารงานบุคคล กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุ ข
http://person.ddc.moph.go.th/organize/dat_new/html/index.html
15

ตารางที่ 2 แสดงอัตรากาลังข้าราชการ, พนักงานราชการและลูกจ้างประจา (ข้อมูล ณ วันที่ 30 เมษายน 53)
   ลาดับที่                                 กลุ่ม/ ฝ่ าย                         อัตรากาลัง
     1        กรมควบคุมโรค                                                           11
               - สานักงานบริ หารโครงการกองทุนโลก
               - สานักงานเผยแพร่ และประชาสัมพันธ์
               - สานักจัดการความรู ้
               - สานักงานคณะกรรมการวัคซี นแห่งชาติ
               - สานักโรคติดต่ออุบติใหม่
                                     ั
               - สานักวัณโรค
               - สานักงานคณะกรรมการควบคุมเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์
               - สานักควบคุมการบริ โภคยาสูบ
               - ศูนย์ปฏิบติการเตรี ยมพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉิ น ฯ (PHER)
                          ั
               - ศูนย์อานวยการบริ หารจัดการปั ญหาเอดส์แห่งชาติ
               - ศูนย์สารสนเทศ
     2        กลุ่มตรวจสอบภายใน                                                      9
     3        กลุ่มพัฒนาระบบบริ หาร                                                  5
     4        กองคลัง                                                               48
     5        กองแผนงาน                                                             42
     6        กองการเจ้าหน้าที่                                                     50
     7        สถาบันบาราศนราดูร                                                     332
     8        สถาบันราชประชาสมาสัย                                                  246
     9        สานักงานเลขานุการกรม                                                  28
     10       สานักโรคติดต่อทัวไป
                                ่                                                   147
     11       สานักโรคไม่ติดต่อ                                                     70
     12       สานักโรคติดต่อนาโดยแมลง                                               78
     13       สานักโรคเอดส์ วัณโรคและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์                        236
     14       สานักระบาดวิทยา                                                       89
     15       สานักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่ งแวดล้อม                              81
     16       สานักงานป้ องกันควบคุมโรคที่ 1-12                                    1,804
                                                รวม                                3,276

ที่มา : กลุ่มงานพัฒนาระบบงานและอัตรากาลัง กองการเจ้าหน้าที่ กรมควบคุมโรค
ล

                    1. 1.พัฒความรูแง เสริมงานวิจยและ 2.หน่วยงานบริหารจัดการ
                        องค์ นาและส่ ละเทคโนโลยี
                                       ้           ั               2. พัฒนาระบบบริห าร
                                                                                                  3.พั วนาศักยภาพเครือ ายเป้าหมายได้ ั
                                                                                                 4.หน่ฒยงานและเครือ ข่า ยในการจัดการ รบการ
กลยุทธ์
ผลผลิ ต              ถ่ด้ยทอดองค์ความรู้ ป้อนการเฝ
                       า านการเฝ้าระวัง ด้า งกัน     ้า ระวัเฝ้าระวัง จัป้การแบบมุง เน้มโรค
                                                            ง           ดอ งกันควบคุ น
                                                                                   ่                                                             3.หน่ว
                                                                                            ระบบการเฝ้าเสริมป้ องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ง
                                                                                               สนับสนุน ระวัง สร้างศักยภาพและความเข้มแข็        และปร
                       ป้ องกัน ควบคุมโรคและภัยสุข
                     ควบคุมโรคและภัย สุ ข ภาพภาพ และภัย สุผลสัมฤทธิ ์ างมี ข ภาพอย่                                                    16
                                                                                              ในการจัดการระบบเฝ้าระวัง ป้อ งกัน ควบคุมโรค           การ
                             ทีได้มาตรฐาน
                               ่                                    ประสิทธิภาพ                  ภัย สุ ข ภาพ รวมทังบริการเฉพาะทีมคุณภาพ
                                                                                                                   ้              ่ ี
ผลผลิ ต                                                             บรรณานุกรม
                    1. องค์ความรูแ ละเทคโนโลยี 2.หน่วยงานบริหารจัดการ
                                         ้                                                       4.หน่วยงานและเครือ ข่ายเป้าหมายได้รบการ  ั      3.หน่ว
                      ด้านการเฝ้าระวังป้อ งกัน
                       1.1 ศึกษา ค้นคว้า วิจย  ั           เฝ้าระวัง ป้อ งกันควบคุมโรค         สนับ4.1 น เสริมสร้างศัธิภาพระบบเฝ้าระวัง มแข็ง
                                                                                                    สนุ พัฒนาประสิทกยภาพและความเข้
                                                                2.1 พัฒนาคุณภาพ                                                                 และปร
แผนงาน /             ควบคุมโรคและภัย สุอข ภาพ
                           พัฒนาวิชาการเพื่                     และภัย สุ ข ภาพอย่ างมี
                                                                    การบริหาร                      ข่า ดการระบบเฝ้าระวัง ป้อ งกั ควบคุ
                                                                                              ในการจัวกรองโรคและภัย สุ ข ภาพนระบบ) มโรค
                                                                                                                               (5                  3.1ถ
                             ทีได้มาตรฐาน
                                 ่                                  ประสิทธิภาพ                  ภัย สุ ข ภาพ รวมทังบริการเฉพาะทีมคุณภาพ
                                                                                                                     ้ P5          ่ ี           ป้อ งก
โครงการ                  ปรับปรุงประสิทธิภาพ                       จัดการองค์กร
           บุญใจ ศรีและถ่นรากูร.(2550).ภาวะผู้ นาและกลยุทธ์ การจัดการองค์ การพยาบาล.กรุ งเทพฯน:และพัฒนาเครืองข่าย
                      สถิต ายทอดองค์ความรู้                               P7                      4.2 บริการสนับสนุ
                                                                                                                          โรงพิมพ์แห่
                       1.1 ศึกษามหาวินการ ย.
                           เทคโนโลยีด้าทยาลั
                  จุฬ้ าลงกรณ์      ค้นคว้า วิจย ั              2.1 พัฒนาคุณภาพ              การเฝ้าระวัง ป้อ งกัน ควบคุมโรคและภัย สุงข ภาพ
                                                                                                    4.1 พัฒนาประสิทธิภาพระบบเฝ้าระวั
                   เฝาระวัง ป้อ ชาการเพือมโรค
                           พัฒนาวิ งกันควบคุ ่                                                     ข่าวกรองโรคและภัย สุ ข ภาพ ระบบ)
                                                                                                                               (5               3.23.1ถ
                                                                                                                                                     เส
แผนงาน /                                                            การบริหาร                                          P6
                                                                                                                                                 ป้อ งก
                                                                                                                                                   พฤต
                          และภัย ประสิทธิภาพ
                                   สุ ข ภาพP3
โครงการ    พยอม วงศ์สารศรี
                         ปรับปรุง.(2542).องค์ การและการจัจัดการ.กรุ งเทพฯ :สานักพิมพ์สุภา.
                                                                   ด การองค์กร                                         P5
                                                                                             4.4พัฒนาระบบบริหารจัดการและการเตรีย มพร้อ ม
                      และถ่ายทอดองค์ความรู้                               P7                    ตอบโต้ภาวะฉุ กเฉิสนุนและพัฒนาเครือ ข่าย
                                                                                                  4.2 บริการสนับ นทางสาธารณสุ ข(PHER)
           วิทยา ด่านธารงกู้ ล.(2546).การบริหาร.กรุ งเทพฯ :บริ ษท เธิ ร์ดเวฟ เอ็ดดูเคชัน ง ป้อ งกั P2
                           เทคโนโลยีด้านการ                                      ั           การเฝ้าระวัจากัด. น ควบคุมโรคและภัย สุ ข ภาพ
                                                                                                        ่                                       3.2 เส
                   เฝ้าระวัง ปอ งกันควบคุมโรค                                                                          P6
                          และภัย สุ ข ภาพP3                                                                                                        พฤต
           สมยศ นาวีการ.(2547).การบริหาร:การพัฒนาองค์ การและการจูงใจ. 4.4พัฒนาระบบบริหารจัดพ์บรรณกิจ. ยมพร้อ ม
                                                                                             กรุ งเทพฯ : สานักพิม การและการเตรี
                                                                                                ตอบโต้ภาวะฉุ กเฉินทางสาธารณสุ ข(PHER)
           Bloggang. (2550). ความหมายของการบริ หารจัดการ. [ออนไลน์]. สื บค้นจาก :                                      P2
                 http://www.bloggang.com/mainblog.php?id=lean-357 (                              2553)
           www. ddc.moph.go.th

More Related Content

What's hot

แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการsomdetpittayakom school
 
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)Sakarin Habusaya
 
กำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆกำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆLooktan Kp
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันUtai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุคู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุUtai Sukviwatsirikul
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)Aphisit Aunbusdumberdor
 
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น copy
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น   copy1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น   copy
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น copyKunlaya Kamwut
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมPhakawat Owat
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานpacharawalee
 
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการProud N. Boonrak
 
Chapter 4 บทบาทของการควบคุมคุณภาพกับงานอุตสาหกรรม
Chapter 4 บทบาทของการควบคุมคุณภาพกับงานอุตสาหกรรมChapter 4 บทบาทของการควบคุมคุณภาพกับงานอุตสาหกรรม
Chapter 4 บทบาทของการควบคุมคุณภาพกับงานอุตสาหกรรมRonnarit Junsiri
 
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลักการบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลักTeetut Tresirichod
 
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิดคำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิดkrisdika
 
คู่มือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในคลินิก NCD คุณภาพ
คู่มือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในคลินิก NCD คุณภาพคู่มือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในคลินิก NCD คุณภาพ
คู่มือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในคลินิก NCD คุณภาพUtai Sukviwatsirikul
 
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุสมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุUtai Sukviwatsirikul
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการพัน พัน
 

What's hot (20)

แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
 
1111111111111111111
11111111111111111111111111111111111111
1111111111111111111
 
กำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆกำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆ
 
Ppt. service profile
Ppt. service profilePpt. service profile
Ppt. service profile
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
 
ภาวะซีด
ภาวะซีดภาวะซีด
ภาวะซีด
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุคู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
 
ขนมไทย
ขนมไทยขนมไทย
ขนมไทย
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
 
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น copy
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น   copy1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น   copy
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น copy
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงาน
 
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
 
Chapter 4 บทบาทของการควบคุมคุณภาพกับงานอุตสาหกรรม
Chapter 4 บทบาทของการควบคุมคุณภาพกับงานอุตสาหกรรมChapter 4 บทบาทของการควบคุมคุณภาพกับงานอุตสาหกรรม
Chapter 4 บทบาทของการควบคุมคุณภาพกับงานอุตสาหกรรม
 
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลักการบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
 
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิดคำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
 
คู่มือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในคลินิก NCD คุณภาพ
คู่มือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในคลินิก NCD คุณภาพคู่มือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในคลินิก NCD คุณภาพ
คู่มือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในคลินิก NCD คุณภาพ
 
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุสมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการ
 

Viewers also liked

ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)Nattakorn Sunkdon
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)Nattakorn Sunkdon
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟ
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟ
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟNattakorn Sunkdon
 
ตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหารตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหารNithimar Or
 
การจัดองค์การและการบริหาร
การจัดองค์การและการบริหารการจัดองค์การและการบริหาร
การจัดองค์การและการบริหารJuneSwns
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำดื่ม(Water)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำดื่ม(Water)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำดื่ม(Water)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำดื่ม(Water)Nattakorn Sunkdon
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจร้านBakery
ตัวอย่างแผนธุรกิจร้านBakeryตัวอย่างแผนธุรกิจร้านBakery
ตัวอย่างแผนธุรกิจร้านBakeryNattakorn Sunkdon
 
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ [ภาคบริการ]
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ [ภาคบริการ]คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ [ภาคบริการ]
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ [ภาคบริการ]siep
 
การบริหารโครงการ
การบริหารโครงการการบริหารโครงการ
การบริหารโครงการNuch Sake
 
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคมโครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคมจตุรพล ชานันโท
 
Web services technology with customer contact center management
Web services technology with customer contact center managementWeb services technology with customer contact center management
Web services technology with customer contact center managementAttaporn Ninsuwan
 
โครงการเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการเศรษฐกิจพอเพียงโครงการเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการเศรษฐกิจพอเพียงSaiYoseob
 
1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนา
1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนา1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนา
1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนาSaiiew
 
การบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการการบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการTwatchai Tangutairuang
 
เรื่อง การจัดทำระบบคุณภาพในโรงงานอุตสาหกรรม
เรื่อง การจัดทำระบบคุณภาพในโรงงานอุตสาหกรรมเรื่อง การจัดทำระบบคุณภาพในโรงงานอุตสาหกรรม
เรื่อง การจัดทำระบบคุณภาพในโรงงานอุตสาหกรรมApichaya Savetvijit
 
11 การเขียนโครงการ
11 การเขียนโครงการ11 การเขียนโครงการ
11 การเขียนโครงการWatcharin Chongkonsatit
 
ระบบจัดการร้านเบเกอรี่
ระบบจัดการร้านเบเกอรี่ระบบจัดการร้านเบเกอรี่
ระบบจัดการร้านเบเกอรี่Visiene Lssbh
 
นำเสนอหัวข้องานวิจัย
นำเสนอหัวข้องานวิจัยนำเสนอหัวข้องานวิจัย
นำเสนอหัวข้องานวิจัยNongtato Thailand
 
การบริหารจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการงบประมาณการบริหารจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการงบประมาณWeIvy View
 

Viewers also liked (20)

ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟ
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟ
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟ
 
ตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหารตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหาร
 
การจัดองค์การและการบริหาร
การจัดองค์การและการบริหารการจัดองค์การและการบริหาร
การจัดองค์การและการบริหาร
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำดื่ม(Water)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำดื่ม(Water)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำดื่ม(Water)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำดื่ม(Water)
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจร้านBakery
ตัวอย่างแผนธุรกิจร้านBakeryตัวอย่างแผนธุรกิจร้านBakery
ตัวอย่างแผนธุรกิจร้านBakery
 
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ [ภาคบริการ]
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ [ภาคบริการ]คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ [ภาคบริการ]
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ [ภาคบริการ]
 
การบริหารโครงการ
การบริหารโครงการการบริหารโครงการ
การบริหารโครงการ
 
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคมโครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
 
Web services technology with customer contact center management
Web services technology with customer contact center managementWeb services technology with customer contact center management
Web services technology with customer contact center management
 
โครงการเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการเศรษฐกิจพอเพียงโครงการเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการเศรษฐกิจพอเพียง
 
e-Government Cloud Computing
e-Government Cloud Computinge-Government Cloud Computing
e-Government Cloud Computing
 
1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนา
1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนา1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนา
1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนา
 
การบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการการบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการ
 
เรื่อง การจัดทำระบบคุณภาพในโรงงานอุตสาหกรรม
เรื่อง การจัดทำระบบคุณภาพในโรงงานอุตสาหกรรมเรื่อง การจัดทำระบบคุณภาพในโรงงานอุตสาหกรรม
เรื่อง การจัดทำระบบคุณภาพในโรงงานอุตสาหกรรม
 
11 การเขียนโครงการ
11 การเขียนโครงการ11 การเขียนโครงการ
11 การเขียนโครงการ
 
ระบบจัดการร้านเบเกอรี่
ระบบจัดการร้านเบเกอรี่ระบบจัดการร้านเบเกอรี่
ระบบจัดการร้านเบเกอรี่
 
นำเสนอหัวข้องานวิจัย
นำเสนอหัวข้องานวิจัยนำเสนอหัวข้องานวิจัย
นำเสนอหัวข้องานวิจัย
 
การบริหารจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการงบประมาณการบริหารจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการงบประมาณ
 

Similar to ตัวอย่างงานบริหาร

บทที่3
บทที่3บทที่3
บทที่3praphol
 
2การบริหารองค์การด้วยโครงการ
2การบริหารองค์การด้วยโครงการ2การบริหารองค์การด้วยโครงการ
2การบริหารองค์การด้วยโครงการpop Jaturong
 
Strategic management
Strategic managementStrategic management
Strategic managementTum Aditap
 
การบริหารโรงเรียนเพื่อคุณภาพ
การบริหารโรงเรียนเพื่อคุณภาพการบริหารโรงเรียนเพื่อคุณภาพ
การบริหารโรงเรียนเพื่อคุณภาพChalermpon Dondee
 
เอกสารประกอบการสอนกลยุทธ
เอกสารประกอบการสอนกลยุทธเอกสารประกอบการสอนกลยุทธ
เอกสารประกอบการสอนกลยุทธNatepanna Yavirach
 
บริหารราชการไทย 1
บริหารราชการไทย 1บริหารราชการไทย 1
บริหารราชการไทย 1Saiiew
 
การจัดการเชิงยุทธศาสตร์
การจัดการเชิงยุทธศาสตร์การจัดการเชิงยุทธศาสตร์
การจัดการเชิงยุทธศาสตร์jeabjeabloei
 
The Nature of Management Control System
The Nature of Management Control SystemThe Nature of Management Control System
The Nature of Management Control Systemsiriporn pongvinyoo
 

Similar to ตัวอย่างงานบริหาร (20)

Plan 21072011181254
Plan 21072011181254Plan 21072011181254
Plan 21072011181254
 
บทที่3
บทที่3บทที่3
บทที่3
 
Chapter 4
Chapter 4Chapter 4
Chapter 4
 
2การบริหารองค์การด้วยโครงการ
2การบริหารองค์การด้วยโครงการ2การบริหารองค์การด้วยโครงการ
2การบริหารองค์การด้วยโครงการ
 
Strategic management
Strategic managementStrategic management
Strategic management
 
Organization and Management (OM) overview (ch.1)
Organization and Management (OM) overview (ch.1)Organization and Management (OM) overview (ch.1)
Organization and Management (OM) overview (ch.1)
 
การบริหารโรงเรียนเพื่อคุณภาพ
การบริหารโรงเรียนเพื่อคุณภาพการบริหารโรงเรียนเพื่อคุณภาพ
การบริหารโรงเรียนเพื่อคุณภาพ
 
เอกสารประกอบการสอนกลยุทธ
เอกสารประกอบการสอนกลยุทธเอกสารประกอบการสอนกลยุทธ
เอกสารประกอบการสอนกลยุทธ
 
บริหารราชการไทย 1
บริหารราชการไทย 1บริหารราชการไทย 1
บริหารราชการไทย 1
 
คำศัพท์ ต้องรู้
คำศัพท์ ต้องรู้คำศัพท์ ต้องรู้
คำศัพท์ ต้องรู้
 
การจัดการเชิงยุทธศาสตร์
การจัดการเชิงยุทธศาสตร์การจัดการเชิงยุทธศาสตร์
การจัดการเชิงยุทธศาสตร์
 
The Nature of Management Control System
The Nature of Management Control SystemThe Nature of Management Control System
The Nature of Management Control System
 
Action plan
Action planAction plan
Action plan
 
R2R
R2RR2R
R2R
 
KM Handbook
KM HandbookKM Handbook
KM Handbook
 
Po
PoPo
Po
 
Po
PoPo
Po
 
No1
No1No1
No1
 
Watsubsamosorn
WatsubsamosornWatsubsamosorn
Watsubsamosorn
 
D:\2
D:\2D:\2
D:\2
 

More from Nithimar Or

Ponetong hospital3
Ponetong hospital3Ponetong hospital3
Ponetong hospital3Nithimar Or
 
Ponetong hospital2
Ponetong hospital2Ponetong hospital2
Ponetong hospital2Nithimar Or
 
Ponetong hospital1
Ponetong hospital1Ponetong hospital1
Ponetong hospital1Nithimar Or
 
Salapoom hospital
Salapoom hospitalSalapoom hospital
Salapoom hospitalNithimar Or
 
Oral Health Ponetong
Oral Health PonetongOral Health Ponetong
Oral Health PonetongNithimar Or
 
Special dentistry
Special dentistrySpecial dentistry
Special dentistryNithimar Or
 
การฟื้นฟูสภาพคนพิการ Copy
การฟื้นฟูสภาพคนพิการ   Copyการฟื้นฟูสภาพคนพิการ   Copy
การฟื้นฟูสภาพคนพิการ CopyNithimar Or
 
Communication และ km jan55
 Communication และ km jan55 Communication และ km jan55
Communication และ km jan55Nithimar Or
 
รายละเอียดการนำเสนอผลงาน
รายละเอียดการนำเสนอผลงานรายละเอียดการนำเสนอผลงาน
รายละเอียดการนำเสนอผลงานNithimar Or
 

More from Nithimar Or (20)

Ummoua1
Ummoua1Ummoua1
Ummoua1
 
Ummoua2
Ummoua2Ummoua2
Ummoua2
 
Ummoua3
Ummoua3Ummoua3
Ummoua3
 
Ll101
Ll101Ll101
Ll101
 
Ummoa101
Ummoa101Ummoa101
Ummoa101
 
Ponetong hospital3
Ponetong hospital3Ponetong hospital3
Ponetong hospital3
 
Ponetong hospital2
Ponetong hospital2Ponetong hospital2
Ponetong hospital2
 
Ponetong hospital1
Ponetong hospital1Ponetong hospital1
Ponetong hospital1
 
Salapoom hospital
Salapoom hospitalSalapoom hospital
Salapoom hospital
 
Pochai
PochaiPochai
Pochai
 
Il payathai
Il payathaiIl payathai
Il payathai
 
Oral Health Ponetong
Oral Health PonetongOral Health Ponetong
Oral Health Ponetong
 
Special dentistry
Special dentistrySpecial dentistry
Special dentistry
 
การฟื้นฟูสภาพคนพิการ Copy
การฟื้นฟูสภาพคนพิการ   Copyการฟื้นฟูสภาพคนพิการ   Copy
การฟื้นฟูสภาพคนพิการ Copy
 
Communication และ km jan55
 Communication และ km jan55 Communication และ km jan55
Communication และ km jan55
 
Oha@chiangmai54
Oha@chiangmai54Oha@chiangmai54
Oha@chiangmai54
 
Cross sectional
Cross sectionalCross sectional
Cross sectional
 
รายละเอียดการนำเสนอผลงาน
รายละเอียดการนำเสนอผลงานรายละเอียดการนำเสนอผลงาน
รายละเอียดการนำเสนอผลงาน
 
Plan11
Plan11Plan11
Plan11
 
Plan1 11
Plan1 11Plan1 11
Plan1 11
 

ตัวอย่างงานบริหาร

  • 1. บทที่ 1 บทนา 1. ทีมาและความสาคัญ ่ กรมควบคุมโรค คือหนึ่ งในหน่ วยงานของกระทรวงสาธารณสุ ข ที่รับนโยบายรัฐบาลไปสู่ การปฏิบติ ั โดยมีภารกิ จเกี่ ยวกับการพัฒนาวิชาการเพื่อการควบคุมโรคและภัยที่คุก คามสุ ขภาพ โดยมีการศึกษา วิจย ั พัฒนา รวมทั้งการถ่ายทอดองค์ความรู ้และเทคโนโลยีเพื่อการเฝ้ าระวัง ป้ องกัน ควบคุม วินิจฉัย และรักษาโรค และภัยที่คุกคามสุ ขภาพ ด้วยภารกิจหน้าที่ ตลอดจนการปฏิบติตามนโยบายที่ได้รับมอบหมาย เพื่อนาไปสู่ ั ผลสั ม ฤทธิ์ ในการปฏิ บ ัติง าน กรมควบคุ ม โรคจึ ง ได้ก าหนดนโยบายในการปฏิ บ ัติราชการที่ เกี่ ย วข้อ ง ตลอดจนกาหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ และยุทธศาสตร์ ต่างๆ โดยจะนามาซึ่ งการบรรลุเป้ าหมายตามนโยบาย ของกรมควบคุ มโรค และสอดรั บกับนโยบายของรั ฐบาลที่ กาหนดไว้ ด้วยภารกิ จหลักหรื อกระบวนการ บริ หารจัดการที่เกี่ยวข้อง จากเหตุผลดังกล่าว ประกอบกับเพื่อศึกษาแนวทางในการบริ หารงานสาธารณสุ ขที่เกี่ยวข้อง คณะผูจดทา ้ั จึงได้เลือกกรมควบคุมโรคเป็ นองค์กรศึกษาโดยคาดหวังว่าจะสามารถนาหลักทฤษฎี และการบริ หารจัดการ ที่เป็ นประโยชน์ นามาประยุกต์ใช้ในการพัฒนา ปรับปรุ ง กระบวนการทางานที่ รับผิดชอบ เพื่อให้เกิ ด ประสิ ทธิ ภาพต่อไป 2. วัตถุประสงค์ 2.1 เพื่อสามารถอธิ บายคุณค่า ความสาคัญ และกระบวนการบริ หารได้ 2.2 เพื่อสามารถอธิบายและวิเคราะห์กระบวนการบริ หารในระบบสาธารณสุ ขได้ ในเทอมของการวางแผน การจัดองค์การ การอานวยการ การนิเทศงาน การควบคุมกากับงาน และการประเมินผล 2.3 เพื่อสามารถจาแนกปัจจัยที่มีผลต่อการบริ หารงานสาธารณสุ ข ในประเด็นการบริ หารงาน และโครงการ สาธารณสุ ขต่าง ๆ 3. ประโยชน์ ทจะได้ รับ ี่ ั มีความรู้ ความเข้าใจในการบริ หารงานสาธารณสุ ข ที่สามารถนาไปประยุกต์ได้กบงานทุกระดับ ทั้งภาครัฐ และเอกชนที่เกี่ยวข้อง ทั้งในส่ วนกลางและส่ วนภูมิภาค
  • 2. 2 บทที่ 2 การทบทวนเอกสารทีเ่ กียวข้ อง ่ “การบริ หาร” (Administration) จะใช้ในการบริ หารระดับสู ง โดยเน้นที่การกาหนดนโยบายที่สาคัญ และการกาหนดแผนของผูบริ หารระดับสู ง และ “การจัดการ” (Management) จะเน้นการปฏิบติการให้ ้ ั เป็ นไปตามนโยบาย (แผนที่วางไว้) ในการบริ หารทรัพยากรและกิจการงานอื่นๆ เพื่อให้บรรลุวตถุประสงค์ ั ที่กาหนดไว้ขององค์กร กระบวนการบริ หารจัดการ คือกลุ่มของกิ จกรรม ประกอบด้วย การวางแผน (Planning) การจัด องค์กร (Organizing) การสั่งการ (Leading/ Directing) หรื อการอานวย และการควบคุม (Controlling) ซึ่ งจะ มี ค วามสั มพันธ์ โดยตรงกับ ทรั พ ยากรขององค์กร ที่ ก าหนดทิ ศ ทางในการใช้ท รั พ ยากรทั้ง หลายอย่า งมี ประสิ ทธิภาพและประสิ ทธิผล เพื่อให้บรรลุถึงเป้ าหมายขององค์กร รู ปที่ 1 หน้าที่ของการบริ หารจัดการ (The Four Functions Management) แสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่าง หน้าที่ต่างๆ ของการบริ หาร ที่เชื่อมโยงเกี่ยวพันกันในรู ปกระบวนการ Planning Controlling Management Process Organizing Leading ที่มา : http://www.bloggang.com/mainblog.php?id=lean-357 หน้าที่ของการบริ หารประกอบด้วยกิจกรรมพื้นฐาน 4 ประการหรื ออาจแบ่งในลักษณะที่เป็ นขั้นตอนดังนี้ 1) การวางแผน (Planning) เป็ นสิ่ งที่องค์กรต้องการเปลี่ยนแปลงในอนาคต การวางแผนเป็ นสะพานเชื่อม ระหว่างเหตุการณ์ปัจจุบนและอนาคต ซึ่งทาได้โดยการให้บรรลุเป้ าหมายผลลัพธ์ที่ตองการ การวางแผนจึงต้อง ั ้ ่ อาศัยการกาหนดกลยุทธ์ท่ีมีประสิ ทธิ ภาพ แม้วาพื้นฐานของการจัดการโดยทัวไปเป็ นงานของผูบริ หารการ ่ ้ วางแผนเป็ นสิ่ งสาคัญสาหรับการปฏิบติตามกลยุทธ์ให้ประสบความสาเร็ จและการประเมินกลยุทธ์ เพราะว่า ั การจัดการองค์กร การจูงใจ การจัดบุคคลเข้าทางาน และกิจกรรมควบคุม ขึ้นกับการวางแผน กระบวนการ วางแผนจะต้องประกอบด้วยผูบริ หารและพนักงานภายในองค์กร การวางแผนจะช่วยให้องค์กรกาหนดข้อดี ้ จากโอกาสภายนอกและทาให้เกิดผลกระทบจากอุปสรรคภายนอกต่าสุ ด โดยต้องมองเหตุการณ์ในอดีตและ ปั จจุ บ นเพื่ อคาดคะเนเหตุ การณ์ ที่ จะเกิ ดขั้นในอนาคต การวางแผน ประกอบด้วย การพัฒนาภารกิ จ ั
  • 3. 3 (Mission) การคาดคะเนเหตุการณ์ปัจจุบน เหตุการณ์อนาคต และแนวโน้ม การกาหนดวัตถุประสงค์ และ ั การเลือกกลยุทธ์ที่ใช้ 2) การจัดการองค์การ (Organizing) การแบ่งงาน การจัดสายการบังคับบัญชา การรวมหรื อการ กระจายอานาจ อานาจหน้าที่ หรื อความมีเอกภาพในการบังคับบัญชาที่ยึดถือปฏิบติมา โดยการกาหนดงาน ั และความส าคัญ ของอ านาจหน้า ที่ การจัด องค์ก รที่ ดี ส ามารถจู ง ใจผูบ ริ ห ารและพนัก งานให้ม องเห็ น ้ ความสาคัญของความสาเร็ จขององค์กร  การกาหนดลักษณะเฉพาะของงาน (Work Specialization) โดยการแบ่งงานประกอบด้วย งานที่กาหนดออกมาเป็ นแผนก การจัดแผนก  การมอบอานาจหน้าที่ (Delegating Authority) การแยกงานออกเป็ นงานย่อยตามการพัฒนา รายละเอียดของงาน (Job Description) และคุณสมบัติของงงาน (Job Specification) เครื่ องมือเหล่านี้มีความชัดเจนสาหรับผูบริ หารและพนักงาน ซึ่งต้องการทราบลักษณะของงาน ้  การก าหนดแผนกในโครงสร้ างขององค์กร (Organization Structure) ขนาดของการ ควบคุม (Span of Control) และสายการบังคับบัญชา (Chain of Command) รู ปแบบทัวไป ่ ของการจัดแผนกคือ ตามหน้าที่ (Functional) ตามฝ่ าย (Divisional) ตามหน่วยธุ รกิจเชิ งกลยุทธ์ (Strategic business unit) และด้านแมททริ กซ์ (Matrix) 3) การนาหรื อการสั่งการ (Leading/ Directing) เป็ นการใช้อิทธิ พลเพื่อจูงใจพนักงานให้ปฏิบติงาน ั และนาไปสู่ ความสาเร็ จตามเป้ าหมายที่ระบุ ไว้ หรื อเป็ นกระบวนการจัดการให้สมาชิ กในองค์กรทางาน ร่ วมกันได้ดวยวิธีการต่างๆ การนาหรื อการสั่งการต้องใช้ความสามารถหลายเรื่ องควบคู่กนไป อาทิ ภาวะ ้ ั ความเป็ นผูนาของผูบริ หาร การจูงใจ การติดต่อสื่ อสารในองค์กร และการทางานเป็ นทีม เป็ นต้น หน้าที่ในการนา ้ ้ หรื อสั่งการนี้ มีความสาคัญไม่นอยไปกว่าหน้าที่อื่น เพราะผูบริ หารต้องแสดงบทบาทของผูสั่งการอย่างมี ้ ้ ้ คุณภาพ ถ้าไม่เช่นนั้น แผนงานที่วางไว้ตลอดจนทรัพยากรที่จดเตรี ยมไว้อาจไม่เกิดประสิ ทธิ ผล ถ้าผูบริ หาร ั ้ ดาเนินกิจกรรมด้านการสั่งการไม่ดีพอ ดังนั้น การสั่งการจึงเป็ นเรื่ องของความรู ้ความชานาญ ประสบการณ์ และความสามารถที่จะชักจูงให้พนักงานร่ วมกันปฏิ บติงานไปตามเป้ าหมายที่กาหนดไว้ให้องค์กรประสบ ั ความสาเร็ จตามต้องการ 4) การควบคุม (Controlling) การใช้ทรัพยากรต่างๆ ขององค์กร ถือว่าเป็ นกระบวนการตรวจสอบ หรื อติดตามผลและประเมินการปฏิบติงานในกิจกรรมต่างๆ ของพนักงาน เพื่อรักษาให้องค์กรดาเนินไปใน ั ทิศทางสู่ เป้ าหมายอย่างถูกต้องตามวัตถุ ประสงค์หลักขององค์กร ในเวลาที่กาหนดไว้ องค์กรหรื อธุ รกิจที่ ประสบความล้มเหลวอาจเกิดจากการขาดการควบคุม หรื อมีการควบคุมที่ไร้ประสิ ทธิ ภาพ และหลายแห่ ง เกิดจากความไม่ใส่ ใจในเรื่ องของการควบคุม ละเลยเพิกเฉย หรื อในทางกลับกันคือมีการควบคุมมากจนเกิด ความผิดพลาดขององค์กรเอง การควบคุมจึงเป็ นหน้าที่หลักทางการบริ หารที่มีความสาคัญ ตั้งแต่เริ่ มต้นจนจบ กระบวนการทางการบริ หาร
  • 4. 4 บทที่ 3 กระบวนการบริหารระบบสาธารณสุ ข กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุ ข ความเป็ นมา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุ ข เดิมเป็ นกองโรคติดต่อ สังกัดกรมสาธารณสุ ข กระทรวงมหาดไทย ทาหน้าที่ควบคุมและป้ องกันโรคติดต่อ ต่อมาในปี พ.ศ. 2485 ได้มีประกาศราชกฤษฎีกา สถาปนากรมสาธารณสุ ข ให้เป็ นกระทรวงสาธารณสุ ข มีกรมในสังกัดรวม 7 กรม ซึ่ งมีกรมที่เกี่ยวข้องกับงาน โรคติดต่อ 2 กรม คือ กรมการแพทย์ และกรมสาธารณสุ ข (ภายหลังเปลี่ยนเป็ นกรมอนามัย ) กรมการแพทย์ จะรับผิดชอบกิจการของโรงพยาบาล เช่น โรงพยาบาลโรคเรื้ อนพระประแดง, โรงพยาบาลโรคเรื้ อนขอนแก่น, โรงพยาบาลโรคเรื้ อนเชียงใหม่, โรงพยาบาลโรคเรื้ อนนครศรี ธรรมราช, นิ คมโรคเรื้ อนเชียงราย,โรงพยาบาลบางรัก, ่ โรงพยาบาลวัณโรค, โรงพยาบาลบาราศนราดูร ส่ วนงานควบคุมโรคอื่น ๆ ยังอยูในความรับผิดชอบของกรม ควบคุมโรคติดต่อ กรมสาธารณสุ ข ในปี พ.ศ. 2495 ได้เปลี่ยนชื่ อ กรมสาธารณสุ ขเป็ นกรมอนามัย และโอนกิจการของโรงพยาบาลเฉพาะโรค ในสังกัดกรมอนามัย และยกฐานะหน่วยงานเฉพาะโรคให้เป็ นกอง คือ กองควบคุมวัณโรค กองควบคุมโรคเรื้ อน ปรับปรุ งขยายงานควบคุมไข้มาลาเรี ยและโรคเท้าช้าง เป็ นกองควบคุมมาลาเรี ยและโรคเท้าช้าง รวมงานควบคุม คุดทะราดกับกามโรคตั้งเป็ นกองควบคุมกามโรคและคุดทะราด ในปี พ.ศ. 2515 ได้มีการรวมกรมการแพทย์และกรมอนามัยเข้าด้วยกันเป็ นกรมการแพทย์และอนามัย งานควบคุมโรคติดต่อทั้งหมด จึงขึ้นกับกรมการแพทย์และอนามัย ในปี พ.ศ. 2517 ได้มีการแยกกรมการแพทย์และกรมอนามัยออกจากกันในครั้งนั้นได้มีการรวมหน่วยงาน ควบคุมโรคติดต่อเข้าด้วยกันจัดตั้งเป็ นกรมควบคุมโรคติดต่อ กรมควบคุมโรคติดต่อ แบ่งส่ วนราชการเป็ นกลุ่มงานที่ปรึ กษากองวิชาการเกี่ยวกับโรคติดต่อต่างๆ 7 กอง และหน่วยงานสนับสนุนการบริ หารงานของกรมฯ 4 หน่วยงาน โรงพยาบาลเฉพาะโรค 4 แห่ง นอกจากนั้นยังมี ั ่ หน่วยงานที่ต้ งอยูในส่ วนภูมิภาค ได้แก่ สานักงานควบคุมโรคติดต่อเขต 12 เขต และสานักงานควบคุมโรคติดต่อ นาโดยแมลง 5 สานักงาน ในปี พ.ศ. 2545 ได้มีการออกกฎหมายปฏิรูปราชการ ทาให้การแบ่งหน่วยงานของกรมควบคุมโรค ประกอบด้วย หน่วยงานสนับสนุนการบริ หารงาน 4 กอง กองวิชาการเกี่ยวกับโรคติดต่อต่างๆ 8 สานัก และ ั ่ มีหน่วยงานที่ต้ งอยูในส่ วนภูมิภาค ได้แก่ สานักงานป้ องกันควบคุมโรค 12 เขต ปั จ จุ บ ัน กรมควบคุ ม โรคมี ห น่ ว ยงานที่ ก.พ. ให้ ค วามเห็ น ชอบแต่ ไ ม่ ป รากฏในกฎกระทรวง ประกอบด้วย กองบริ หาร 6 แห่ ง สถาบัน 2 แห่ ง สานักวิชาการ 11 แห่ ง และ สานักงานป้ องกันควบคุม โรค 12 แห่ง ดังนี้ - กองบริ หาร 6 แห่ง : กองแผนงาน, กองคลัง, กองการเจ้าหน้าที่, สานักงานเลขานุการกรม, กลุ่ม ตรวจสอบภายใน และกลุ่มพัฒนาระบบบริ หาร
  • 5. 5 - สถาบัน 2 แห่ง : สถาบันบาราศนราดูร และสถาบันราชประชาสมาสัย - สานักวิชาการ 11 แห่ ง : สานักโรคติดต่อนาโดยแมลง, สานักโรคเอดส์ และโรคติดต่อทาง เพศสัมพันธ์, สานักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่ งแวดล้อม, สานักวัณโรค, สานักโรคติดต่อ ทัวไป, สานักงานคณะกรรมการควบคุ มเครื่ องดื่ มแอลกอฮอล์ , ส านัก โรคไม่ ติดต่ อ, ส านัก ่ ระบาดวิท ยา, ส านัก โรคติ ดต่ อ อุ บ ัติใ หม่ , ส านัก งานคณะกรรมการวัค ซี น แห่ ง ชาติ และ สานักงานเผยแพร่ และประชาสัมพันธ์ - สานักงานป้ องกันควบคุมโรค 12 แห่ง : สานักงานป้ องกันควบคุมโรคที่ 1-12 กระบวนการบริหารระบบสาธารณสุ ข กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุ ข 1. การวางแผน (Planning) กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุ ข เป็ นหนึ่ งในหน่วยงานราชการที่มีความสาคัญต่อการพัฒนา สุ ขภาพของประชาชน ที่มุ่งเน้นการเป็ นผูนาด้านวิชาการและเทคโนโลยีการป้ องกันและควบคุมโรคของ ้ ประเทศและระดับนานาชาติ วิสั ย ทัศ น์ เป็ นองค์ก รชั้นน าระดับ ระดับนานาชาติ ที่ สั ง คมเชื่ อถื อและไว้วางใจเพื่ อป้ องกัน ประชาชนจากโรคและภัยสุ ขภาพ ด้วยความเป็ นเลิศทางวิชาการภายในปี 2563 พันธกิจ 1. วิจ ย และพัฒ นาองค์ค วามรู ้ เ พื่ อ ก าหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์ พัฒ นาคุ ณภาพมาตรฐานทาง ั วิชาการและมาตรการดาเนินงานเฝ้ าระวัง ป้ องกัน ควบคุมโรคและภัยสุ ขภาพ 2. พัฒนาการบริ หารจัดการแลกเปลี่ยนวิชาการเชิ งคุณภาพ และเพิ่มประสิ ทธิ ภาพในการถ่ายทอด มาตรฐาน มาตรการ เทคโนโลยีการเฝ้ าระวัง ป้ องกัน ควบคุมโรคและภัยสุ ขภาพ 3. พัฒนาระบบฐานข้อมูล ข่าวกรองโรค การจัดการความรู ้ และกลไก ความร่ วมมือ ความเข้มแข็ง ของเครื อ ข่ า ยเฝ้ าระวัง ป้ องกัน ควบคุ ม โรคและภัย สุ ข ภาพ เพื่ อ เตรี ย มพร้ อ มตอบโต้ภ าวะฉุ ก เฉิ นด้า น สาธารณสุ ข 4. ประเมินสถานการณ์ โรค / ความเสี่ ยงภัย สุ ขภาพเชิ งรุ ก และประเมิ นผลการดาเนิ นงานตาม มาตรฐาน เป้ าหมายการให้บริ การรวมทั้งกากับคุ ณภาพ กลยุทธ์การเฝ้ าระวัง ป้ องกัน ควบคุ มโรคและภัย สุ ขภาพที่มีลาดับภาระโรคสู ง ภารกิจ 1. ศึกษา ค้นคว้า วิจยพัฒนาและกาหนดมาตรฐานทางวิชาการและเทคโนโลยี ตลอดจนการพัฒนา ั บุคลากรด้านป้ องกันควบคุมโรคและภัยที่คุกคามสุ ขภาพ 2. เผยแพร่ ความรู ้ทางวิชาการด้านป้ องกันควบคุมโรคและภัยที่คุกคามสุ ขภาพให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และประชาชน 3. ควบคุม กากับ นิเทศ และประเมินผลด้านควบคุมโรค
  • 6. 6 4. ให้บริ การรักษาและฟื้ นฟูสภาพผูป่วยเฉพาะโรค ้ 5. ประสานนโยบายและแผนป้ องกันควบคุมโรคและภัยที่คุกคามสุ ขภาพ 6. พัฒนาเครื อข่ายการป้ องกันควบคุมโรคตลอดจนการเฝ้ าระวังโรคกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและ องค์กรท้องถิ่น 7. สร้างเครื อข่ายความร่ วมมือกับนานาประเทศหรื อองค์กรระหว่างประเทศในการป้ องกันควบคุม โรคและปั ญหาสุ ขภาพระหว่างประเทศ ยุทธศาสตร์ การดาเนินงานแบบมุ่งเน้ นผลงาน สู่ วสัยทัศน์ ิ 1. การพัฒนาเป็ นศูนย์กลางนโยบาย มาตรการ นวัตกรรม ข้อมูลอ้างอิงและมาตรฐานวิชาการเฝ้ า ระวัง ป้ องกัน ควบคุมโรคและภัยสุ ขภาพของชาติที่ได้มาตรฐานสากล 2. การพัฒนา และร่ วมมื อกับเครื อข่ายภาคี ภายในและนานาชาติ รวมทั้งสนับสนุ นพื้นที่ ในการ ดาเนินงานป้ องกันและควบคุมโรคอย่างมีประสิ ทธิ ภาพและยังยืน ่ 3. การสื่ อสารสาธารณะและประชาสัมพันธ์อย่างทัวถึงและได้ผล เพื่อป้ องกัน ควบคุมโรคและภัย ่ สุ ขภาพ 4. การเตรี ยมความพร้อมและดาเนินการป้ องกัน ควบคุมโรคและภัยสุ ขภาพในสถานการณ์ฉุกเฉิ น และภัยพิบติอย่างรวดเร็ ว ตามความต้องการของพื้นที่และได้มาตรฐานสากล ั 5. การติดตามและประเมินผลภาพรวมของการเฝ้ าระวัง ป้ องกัน ควบคุมโรคและภัยสุ ขภาพของ ประเทศตามมาตรฐานสากล 6. การพัฒนาคุณภาพระบบการบริ หารจัดองค์การตามมาตรฐานสากล และโปร่ งใสตรวจสอบได้ กรมควบคุมโรคมีการวางแผนงานที่เป็ นแผนยุทธศาสตร์ เพื่อก้าวไปสู่ อนาคตที่คาดหวังภายใน 10 ปี นับเป็ นแผนระยะยาว ซึ่ งมีการกาหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป็ นสิ่ งที่จะช่วยกาหนดทิศทางเดินในอนาคตที่ชดเจน ั ั ให้กบองค์การ มีกรอบการดาเนิ นงาน แนวทางปฏิบติงานช่วยในการควบคุมองค์การให้ดาเนิ นการตามแผน ั ที่กาหนดไว้ นอกจากแผนระยะยาวแล้วยังมีการวางแผนระยะกลาง แผนปฏิ บติราชการ 4 ปี จะมีการ ั พิจารณาว่าจะปรับปรุ งแผนที่วางไว้ เพื่อให้สอดคล้องเหมาะสมกับสถานการณ์และสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลง ไปในปั จจุบน และมีการประมาณการด้านงบประมาณ เพื่อให้แผนยุทธศาสตร์ ดงกล่าวสามารถถ่ายทอดสู่ ั ั แผนปฏิบติการแต่ละปี การวางแผนระยะยาว ผูบริ หารระดับสู งของกรมควบคุมโรค จะมีบทบาทสาคัญที่ ั ้ จะก าหนดเป้ าหมายและทิ ศ ทางในระยะยาว ที่ ส อดคล้อ งกับ นโยบายระดับ ชาติ และระดับ กระทรวง ในขณะที่ผบริ หารระดับรองลงมา ผูอานวยการสานักงาน หรื อกอง จะรับผิดชอบแผนระยะกลาง ที่จะต้อง ู้ ้ ก าหนดให้ ส อดคล้อ งกับ แผนระยะยาว ผูบ ริ ห ารระดับ ต้นวางแผนระยะสั้ นให้ส อดคล้องกับ แผนของ ้ ผูบริ หารระดับกลางอีกต่อหนึ่ง แผนในแต่ระดับจะต้องเกื้อหนุนสอดคล้องกัน ้ 2. การจัดการองค์ การ (Organizing) โครงสร้างของกรมควบคุมโรค ประกอบด้วย กองบริ หาร 6 แห่ ง สถาบัน 2 แห่ง สานักวิชาการ 11 แห่ง และ สานักงานป้ องกันควบคุมโรค 12 แห่ง
  • 7. 7 การจัดการองค์ การของกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุ ข แบ่ งตามแผนกงานได้ ดังนี้ 1. การจัดแผนกงานตามหน้าที่ ได้แก่ กองแผนงาน กองคลัง กองการเจ้าหน้าที่ สานักงานเลขานุการกรม กลุ่มตรวจสอบภายใน และกลุ่มพัฒนาระบบบริ หาร 2. การจัดแผนกงานตามผลิตภัณฑ์ (วิชาการ) ได้แก่ สานักโรคติดต่อนาโดยแมลง สานักโรคเอดส์ และโรคติ ดต่ อทางเพศสั มพันธ์ ส านักโรคจากการประกอบอาชี พและสิ่ งแวดล้อม ส านักวัณโรค ส านัก โรคติ ดต่อทัวไป สานักงานคณะกรรมการควบคุ มเครื่ องดื่ มแอลกอฮอล์ สานักโรคไม่ติดต่อ สานักระบาดวิทยา ่ ส านั กโรคติ ดต่ ออุ บ ัติ ใ หม่ ส านั ก งานคณะกรรมการวัค ซี น แห่ ง ชาติ และส านั ก งานเผยแพร่ และ ประชาสัมพันธ์ 3. การจัดแผนกงานตามพื้นที่ ได้แก่ สานักงานป้ องกันควบคุมโรค 12 พื้นที่ 3. การนาและการสั่ งการ กรมควบคุ มโรค กระทรวงสาธารณสุ ข มี การนาและสั่งการ โดยกลไกการถ่ายทอด การสื่ อสาร ภายในองค์การ โดยมีกรอบแนวคิดการถ่ายทอด/ จัดทาคารับรองตัวชี้วดและค่าเป้ าหมาย ั กรมควบคุมโรค หน่ วยงาน Department Scorecard :DSC Bureau Scorecard :BuSC เป้ าหมายการให้บริ การของกรม เป้ าหมายการให้บริ การของหน่วยงาน - นโยบายระดับชาติ ระดับกระทรวง และระดับกรม - บทบาทหน้าที่และภารกิจของสานัก / กองที่สนับสนุนต่อเป้ าหมายการ - พันธกิจ บทบาท หน้าที่ตามกฏหมาย ให้บริ การและตัวชี้ วดระดับกรม ั - บทบาทหน้าที่และภารกิจในงานประจาของสานัก / กอง - งานที่ได้รับมอบหมายเป็ นพิเศษ บุคคล กลุ่มงาน Individual Scorecard : ISC Sector Scorecard :SSC เป้ าหมายการให้บริ การในระดับบุคคล เป้ าหมายการให้บริ การของกลุ่มงาน - บทบาทหน้าที่ของบุคคลที่สนับสนุนต่อเป้ าประสงค์ - บทบาทหน้าที่และภารกิจของกลุ่มงาน / ฝ่ ายที่สนับสนุนต่อเป้ าหมาย และตัวชี้วดของหัวหน้ากลุ่มงาน / ฝ่ าย ั การให้บริ การและตัวชี้ วดระดับผูอานวยการกอง / สานัก ั ้ - บทบาทหน้าที่งานของบุคคล - บทบาทหน้าที่และภารกิจในงานประจาของกลุ่มงาน - งานที่ได้รับมอบหมายเป็ นพิเศษ - งานที่ได้รับมอบหมายเป็ นพิเศษ
  • 8. 8 บริ หารทรัพยากรบุคคลด้วยกรอบแนวคิดความสามารถเชิงสมรรถนะหลัก (Core Competency) คือ Competency ที่ เป็ นแก่ นหรื อแกนหลักขององค์การซึ่ งทุ กคนในองค์การต้องมี คุณสมบัติที่เหมื อนกันนี้ เพราะความสามารถและคุ ณสมบัติประเภทนี้ เป็ นตัวกาหนดหรื อผลัก ดันให้องค์กรบรรลุ ตามวิสัย ทัศ น์ (Vision) และพันธกิจ (Mission) ที่วางไว้ได้ ตลอดจนยังเป็ นตัวสะท้อนถึงค่านิ ยม (Values) ที่คนในองค์กรมี และถือปฏิบติร่วมกัน ได้แก่ ั 1. ภาวะผูนา โดยการการนาศักยภาพของตนเองออกมาเพื่อผลักดันให้เกิดกิจกรรม ผลงาน ผลผลิต ้ บริ การ ซึ่ งเป็ นที่ยอมรับ และได้รับความร่ วมมือจากผูเ้ กี่ ยวข้อง การจัดการ การบริ หาร หน่วยงาน และ ผูใต้บงคับบัญชา ในการปฏิบติงาน รวมทั้งสนับสนุ น กิจกรรมต่างๆ เพื่อให้เกิดผลลัพธ์ ตามเป้ าหมายที่ ้ ั ั กาหนด อย่างมีประสิ ทธิ ภาพมีความคิดสร้างสรรค์ ที่ก่อให้เกิดการพัฒนา หรื อเปลี่ยนแปลงไปสู่ ความสาเร็ จ ขององค์กร 2. การทางานเป็ นทีม สร้างความเป็ นผูนา ตัดสิ นใจเป็ น วิเคราะห์ปัญหาต่างๆ รวบรวมข้อมูลที่ ้ ถูกต้อง สามารถสื่ อสารความเข้าใจกันได้ ประสานงานและจูงใจให้คนทางานอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ 3. การให้บริ การเชิงคุณภาพ สามารถที่จะแสดงภาพพจน์ที่ดีในการให้บริ การ สร้างความเชื่ อมัน ่ ั ้ ให้กบผูบริ การ ประกันผลงาน และการให้บริ การที่สามารถตอบสนองต่อความต้องการ และความคาดหวัง ของผูรับบริ การ โดยมีความเต็มใจที่จะให้บริ การอย่างเต็มที่ ้ 4. การพัฒนาตนเอง ความมุ่งมันและกระตือรื อร้นในการพัฒนาความรู ้ความสามารถของตนเอง ่ อย่างต่อเนื่อง โดยการศึกษาหาความรู ้จากแหล่งต่างๆ เพื่อนาความรู ้มาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ต่องาน ต่อตนเอง และ ต่อองค์กร รวมถึงมีการกาหนดเป้ าหมายและทบทวนกับเป้ าหมายที่ต้ งไว้ในการพัฒนาั ่ ตนเองอยูตลอดเวลา 5. ความรับผิดชอบ การตระหนักในสิ ทธิ หน้าที่ ความสานึ กในความรับผิดชอบต่อตนเอง ต่อ ตาแหน่ งหน้าที่ราชการ และ ต่อหน่ วยงาน รวมถึ งประชาชน การใส่ ใจปั ญหาของหน่ วยงาน และ กระตือรื อร้นในการแก้ไขปั ญหา ตลอดจนการเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง และ ความกล้าที่จะยอมรับ ผลการกระทาของตน ทั้งนี้ กรมควบคุมโรค ได้มีการพัฒนาสมรรถนะ ในฐานะที่เป็ นกรมวิชาการ เน้นการทาหน้าที่ด้าน การเป็ นที่ปรึ กษาทางวิชาการ (Technical advisor) เป็ นผูประสานสนับสนุน (Facilitator) ทาให้กรมควบคุม ้ โรคต้องพัฒนาความพร้อมด้านวิชาการ และทักษะการเป็ นผูประสานสนับสนุน ได้แก่ ้ 1. การพัฒนาองค์ความรู ้ใหม่ ๆ และระเบียบวิธีการใหม่ของกรมควบคุมโรค และภัยคุกคามในระดับลึก ที่จะเป็ นองค์กรการควบคุมโรคในระดับชาติ และระดับภูมิภาค 2. พัฒนาผูเ้ ชี่ยวชาญด้านการควบคุมโรคในระดับต่างๆ เช่น ระดับแพทย์ที่มีความรู ้ดานการแพทย์ ้ พื้นฐานที่สามารถเข้าใจเรื่ องธรรมชาติ ของโรคและระบาดวิทยาของโรคได้ดีให้ผ่านการอบรมหลักสู ตร ระบาดวิทยา FETP หรื อศึกษาลึกระดับปริ ญญาเอก รมทั้งพัฒนานักวิชาการควบคุมโรคที่มีความชานาญให้ ได้ศึกษาต่อระดับปริ ญญาโท และระดับปริ ญญาเอก และพัฒนาความก้าวหน้าในด้านวิชาชี พ เพื่อรักษาไว้ ่ ่ ให้คงอยูในสายงานนี้ หรื อแม้จะไปอยูที่ใดก็เป็ นทรัพยากรมนุษย์ท่ีจะแก้ปัญหาการควบคุมโรคในระยะยาว
  • 9. 9 3. การพัฒนาสมรรถนะบุคลากรในระดับปฏิบติการ เช่นบุคลากรของ CUP ที่ตองเน้นให้นกวิชาการ ั ้ ั หัวหน้า CUP และสมาชิ ก CUP ทุกคนได้รับการอบรมเรื่ องความรู ้ และทักษะการป้ องกันควบคุมโรค รวมทั้งการเฝ้ าระวัง (SRRT) นอกจากนี้ บุ คลากรอื่ น เช่ น ผูเ้ ชี่ ยวชาญเวชกรรมป้ องกันของสานักงาน สาธารณสุ ขจังหวัดทุกคน ควรจะต้องเชิญเข้าร่ วมสัมมนาวิชาการควบคุมโรค ที่จดโดยกรมควบคุมโรค เพื่อ ั รับรู ้วชาการ แนวคิด หลักการและวิธีการ รวมทั้งวิทยาการก้าวหน้าในการควบคุมป้ องกันโรค ิ 4. การควบคุมและการประเมินผล การติดตามกากับประเมินผลการดาเนินงาน 1. การประเมินผลแผนกลยุทธ์กรมควบคุมโรค 2. การประเมินความคุมค่าภารกิจรัฐ ้ 3. การวิเคราะห์ผลสาเร็ จของการใช้จ่ายงบประมาณ (Performance Assessment Rating tool : PART) และการจัดทารายงานแผน/ผลการปฏิบติงานและการใช้จ่ายงบประมาณ (สงป 301/ 302) ั 4. การนิเทศ กากับ ติดตามการดาเนินงานตามตัวชี้วดกรมควบคุมโรค/แผนงาน/ โครงการของ ั หน่วยงานในสังกัดกรมฯ 5. การรายงานผลดาเนินงานตัวชี้วดกรมฯ ตัวชี้วดกระทรวง ฯ ั ั การบริหารงบประมาณ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุ ข ทุกหน่วยงานในสังกัดกรมควบคุมโรค มีข้ นตอนการบริ หารงบประมาณ ในแนวทางเดียวกัน ดังนี้ ั 1. ก่อนดาเนินการ (ระยะนาเสนอแผนงาน/ โครงการ) 1.1 ประเมินความสอดคล้องของแผนงาน/ โครงการกับเป้ าประสงค์และยุทธศาสตร์ ภาพรวม 1.2 ทบทวนการตอบสนองของแผนงาน/ โครงการต่อสัมฤทธิ ผลของการปฏิบติการ ั 2. ระหว่างดาเนินการ (ระยะปฏิบติการแผนงาน/ โครงการ) ั 2.1 ติดตามกระบวนการดาเนินงานและผลผลิตที่ได้จากการดาเนิ นการแต่ละระยะของกิจกรรม 2.2 ประเมินผลผลิตที่มีผลต่อการตอบสนองต่อเป้ าหมายการให้บริ การและกลยุทธ์ในภาพรวม 3. หลังดาเนินการ (ระยะหลังการดาเนินการแผนงาน/ โครงการ) 3.1 ประเมินผล ผลผลิต ผลลัพธ์และผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการดาเนิ นของโครงการ 3.2 ประเมินผลการดาเนินการได้ตามเป้ าหมายการให้บริ การและกลยุทธ์หรื อไม่ และต้องปรับ กระบวนการอย่างไรเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ ตอเป้ าหมายการให้บริ การ ่
  • 10. 10 บทที่ 4 บทสรุป การวิเคราะห์ องค์ การและประเด็นปัญหาการดาเนินงานในเชิ งกระบวนการบริ หารจัดการของกรมควบคุมโรค 1. ด้ านโครงสร้ าง กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุ ข จัดว่าเป็ นองค์การใหญ่ขนาดหนึ่ ง ซึ่ งมีลกษณะพิเศษ ั ขององค์การ คือมีอานาจหน้าที่ลดหลันตามลาดับชั้นบังคับบัญชา มีนโยบาย อานาจหน้าที่ ระเบียบ มาตรฐาน ่ ข้อบังคับที่ช่วยให้การปฏิบติงานสามารถเป็ นไปตามแผนที่วางไว้และเทคนิคการสื่ อสารที่มีรูปแบบ มีการแบ่งงาน ั กันทาตามความถนัดโดยรวบรวมบุคคลที่มีทกษะการปฏิ บติท่ีเฉพาะเจาะจง ซึ่ งเป็ นลักษณะขององค์กรที่ ั ั ช่วยให้การปฏิบติงานมีประสิ ทธิภาพ โดยมีแนวทางการดาเนินงานตามอานาจหน้าที่รับผิดชอบและสอดรับ ั กับนโยบายของรัฐบาล โดยมีการแบ่งโครงสร้างและการจัดองค์การแนวราบ (Flat Structure) พิจารณาถึง วัตถุ ประสงค์และกิ จกรรมขององค์กร แยกเป็ นกลุ่มงาน กอง และสานัก รวมทั้งมีหน่ วยงานสนับสนุ น มีการแยกและกระจายงานจากกลุ่ มใหญ่ไปสู่ งานย่อยที่ มีลกษณะเฉพาะเจาะจง ได้แก่ สานักโรคเอดส์ ั สานักวัณโรค และแยกกระจายความรับผิดชอบและการปฏิ บติงาน เพื่อให้ถูกต้องตามระเบียบฯ และลด ั ปั ญหาความเสี่ ยงในการปฏิบติงาน ทั้งนี้ ทุกหน่วยงานมีความเป็ นเอกภาพขึ้นตรงต่อกรมควบคุมโรคโดยตรง ั ซึ่ งทาให้ง่ายต่อการควบคุ มหรื อกาหนดพฤติกรรมของบุคคล มี ระเบี ยบแบบแผนในการบริ หารจัดการที่ ชัดเจน แต่ความเป็ นทางการนั้นมีข้ นตอนมาก ไม่คล่องตัว และการที่องค์การได้แบ่งให้มีหน่ วยงานย่อย ั ่ เฉพาะกับโรคต่าง ๆ ที่มีการระบาดในช่วงเวลาต่างๆ กับหน่วยงานเดิมที่มีการดาเนิ นการอยูแล้ว ก่อให้เกิ ด ปั ญหาการทางานซ้ าซ้อนกันหรื อลักษณะการทางานใกล้เคียงกัน 2. ด้ านอัตรากาลังและทรัพยากรบุคคล ั 2.1 เมื่อพิจารณาอัตรากาลังเจ้าหน้าที่กบภารกิจหน้าที่รับผิดชอบ พบว่าสานักโรคติดต่อนาโดยแมลง มีอตรากาลังค่อนข้างน้อย เนื่ องจากต้องร่ วมสนับสนุ นการดาเนิ นงานและปฏิบติงานของหน่วยงานอื่น และ ั ั การควบคุ มโรคติดต่อนาโดยแมลงเป็ นงานที่ควบคุมได้ค่อนข้างยาก ทาให้เกิ ดการแพร่ ระบาดได้เร็ วและ การป้ องกันโรคที่ดีควรปฏิบติงานเชิ งรุ ก จาเป็ นต้องจัดสรรทรัพยากรให้เพียงพอต่อการปฏิบติงานในการ ั ั ป้ องกันก่อนการระบาดของโรค
  • 11. 11 2.2 ส าหรั บกลุ่ มตรวจสอบภายในและกลุ่ มพัฒนาระบบบริ หารค่ อนข้างเป็ นหัวใจส าคัญของการ ปฏิบติงานของกรมควบคุมโรค โดยกลุ่มตรวจสอบภายในมีหน้าที่ควบคุมและบริ หารการปฏิบติงานให้เป็ นไปตาม ั ั ระเบียบฯ ป้ องกันปั ญหาความเสี่ ยงจากกระบวนการบริ หารจัดการและกลุ่มพัฒนาระบบบริ หาร ซึ่ งเป็ นเรื่ องของการ วางแผน การพัฒนาระบบงานซึ่ งเป็ นเรื่ องที่จาเป็ นต้องมีความรวดเร็ ว ทันต่อสถานการณ์ เนื่ องจากส่ วนหนึ่ ง เป็ นกลุ่มที่ตองมีการตัดสิ นใจประกอบการพิจารณาการดาเนินงานสาหรับผูบริ หาร ้ ้ ่ 2.3 การกระจายศูนย์พฒนาบุคลากรควบคุมโรคไปทุกภูมิภาค ไม่รวมศูนย์อยูแต่ในกรมควบคุม ั โรค หรื อสานักฯ ในส่ วนกลาง แต่ควรใช้สานักงานป้ องกันควบคุ มโรคเขตต่าง ๆ เป็ นแกนหลัก เพื่อให้ ภู มิ ภ าคมี ค วามเข้ม แข็ ง ในการควบคุ ม ป้ องกัน โรคทั้ง ด้า นวิ ช าการและประสบการณ์ และเป็ นแหล่ ง ประโยชน์ แก่พ้ืนที่ในระดับจังหวัด และเขต และครอบคลุ มทัวประเทศ เป็ นการพัฒนาทั้งคน โครงสร้ าง ่ และทีมงานโดยให้ภมิภาคเป็ นเครื อข่าย ู 3. ด้ านนโยบาย อานาจหน้ าที่ วิสัยทัศน์ พันธกิจ การประเมินผล กรมควบคุ มโรคมีนโยบายและอานาจหน้าที่ วิสัยทัศน์ชัดเจน โดยเริ่ มตั้งแต่นโยบายที่ เป็ น ตัวกาหนดทิศทางขอบเขตของงานและมีวสัยทัศน์ พันธกิจที่สอดคล้องมา จนถึงยุทธศาสตร์ ของการปฏิบติ ิ ั นามาซึ่ งการบรรลุ วตถุ ประสงค์ของกรมควบคุ มโรคได้ โดยผ่านหน่ วยงานที่ มีส่วนขับเคลื่ อนในการนา ั นโยบาย วิสัยทัศน์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์ ต่างๆ ถ่ายทอดไปสู่ สานักงานป้ องกันควบคุมโรค (สคร.) ซึ่ งเป็ น หน่ วยงานในระดับภูมิภาค อย่างไรก็ตามภาระงานในกรมควบคุ มโรคส่ วนใหญ่ เป็ นการดาเนิ นงานตาม ภารกิ จพื้นฐาน ส่ งผลให้หน่ วยปฏิ บติภายใต้สังกัดกรมฯ ยังใช้รูปแบบกระบวนการทางานแบบเดิ มตาม ั โครงสร้างขององค์การ การกาหนดกลุ่มเป้ าหมาย (Target) ยุทธศาสตร์ ภาพรวม ของกรมฯ ซึ่ งการถ่ายทอดแผนยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบติ แม้จะใช้กระบวนการมีส่วนร่ วมในการจัดทาแผน ั ยุทธศาสตร์ ระดับกรมฯ โดยมีผแทนจากหน่วยปฏิบติเข้าร่ วมกระบวนการโดยตลอดเพื่อสร้างความเข้าใจในการ ู้ ั จัดทาแผนฯ ตั้งแต่เริ่ มต้น พร้อมทั้งมีการประชุมเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบจัดทาแผนของหน่วยปฏิบติเพื่อชี้ แจง ั ถ่ายทอดเป้ าหมายและตัวชี้ วด แต่ยงมีปัญหาในการนาไปถ่ายทอดสู่ ผบริ หารของหน่วยปฏิ บติและผูจดทา ั ั ู้ ั ้ั โครงการ ส่ งผลให้แผนของหน่วยปฏิบติไม่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ ของกรมฯ ั 4. ด้ านกระบวนการจัดการ ในการปฏิบติงานของกรมควบคุมโรคเพื่อพิจารณาเกี่ยวกับด้านองค์การหรื อระบบย่อยขององค์การ ั ั ตามที่ได้สรุ ปมาก่อนหน้านี้แล้ว องค์การและการจัดการมีความสัมพันธ์กน เพื่อให้เกิดผลลัพธ์คือการบรรลุ วัตถุ ประสงค์ขององค์การว่ามี กระบวนการบริ หารจัดการเข้ามาเกี่ ยวข้อง โดยกระบวนการจัดการจะมีความหมาย ถึงขั้นตอนของการจัดการซึ่ งจะเริ่ มตั้งแต่การวางแผน การจัดองค์การ การบังคับบัญชา การประสานงาน และการควบคุมงาน โดยการวางแผนจะเป็ นการหาหนทางที่จะบรรลุตามเป้ าหมายขององค์การตามแผนที่ กาหนด ส่ วนการจัดองค์การ คือ การนาทรัพยากรที่เกี่ยวกับคนมาบริ หารให้แผนบรรลุวตถุประสงค์ การ ั บังคับบัญชา คื อ การสั่งงานให้เจ้าหน้าที่ ปฏิ บติ การประสานงาน คื อ การนาเอาทรั พยากรต่างๆ และ ั
  • 12. 12 กิจกรรมต่างๆ ขององค์การให้มีความสอดคล้องกลมกลืนต่อการบริ หารให้บรรลุเป้ าหมายและการควบคุม งาน คือ การตรวจสอบติดตามแผนเพื่อให้แน่ใจว่าได้มีการนาไปปฏิบติ ั เมื่อพิจารณาถึงการวางแผนและการบริ หารจัดการ ตลอดจนแนวทางของกรมควบคุมโรค ซึ่ งได้มี วิสัยทัศน์ พันธกิจ และมีการใช้กลยุทธ์ในการปฏิบติงานอย่างชัดเจนในการนามาซึ่ งการบรรลุพนธกิจและ ั ั วิสัยทัศน์ของกรมควบคุ มโรค และในขณะเดี ยวกันกรมควบคุ มโรคจะมีปัญหาเกี่ ยวกับการดาเนิ นงาน ตามเป้ าหมายหรื อตัวชี้ วดซึ่ ง เป็ นตัวประเมิ นผลความสาเร็ จของกรมควบคุ มโรคว่าได้ทางานบรรลุ ตาม ั วิสัยทัศน์ พันธกิจ ที่ได้กาหนดไว้หรื อไม่ เนื่องจากข้อมูลที่ได้ศึกษาจากตัวชี้ วดต่างๆ ของกรมควบคุมโรค ั ซึ่ งแสดงถึ งความก้าวหน้าในการดาเนิ นงาน โดยส่ วนหนึ่ งต้องรอข้อมูลจากสานักงานป้ องกันควบคุ มโรค (สคร.) ท าให้ ผ ลการด าเนิ น งานค่ อ นข้า งล่ า ช้า กรมควบคุ ม โรคควรมี น โยบายหรื อ มาตรการในการ ตรวจสอบ ปรับปรุ งแก้ไขและให้การสนับสนุ นหน่ วยงานย่อยเหล่านี้ ตลอดจนการจัดสรรงบประมาณ สนับสนุ นทรั พยากรต่าง ๆ ให้เพียงพอ และพัฒนาช่ องทางการรายงานข้อมูล ระหว่างหน่ วยงานที่ เกี่ ยวข้อง พัฒนาเครื อข่ายการปฏิ บติงานให้ครอบคลุ ม ตลอดจนกาหนดตัวชี้ วดที่จะถ่ายทอดไปสู่ สานักงานป้ องกัน ั ั ควบคุมโรค (สคร.) ที่ชดเจน รวดเร็ ว เพื่อให้หน่วยงานระดับล่างสามารถปฏิบติหน้าที่ได้ทนต่อสถานการณ์ ั ั ั สรุ ป จากการศึกษาการบริ หารของกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุ ข พบว่า กรมควบคุมโรคใช้หลักการ บริ หารจัดการที่หน่วยงานอื่น สามารถนามาประยุกต์ใช้ในการปฏิบติงานได้หลายประเด็น และเพื่อให้การ ั พัฒนางานของกรมควบคุ มโรคมีประสิ ทธิ ภาพยิ่งขึ้น กรมควบคุ มโรคควรมีการวางแผนงานในส่ วนที่ เกี่ ยวข้อง เพื่อให้ได้ทิศทาง นโยบาย และกาหนดตัวชี้ วดที่ชัดเจน โดยพัฒนาระบบการบริ หารจัดการภายในให้เพียงพอ ั และมีประสิ ทธิ ภาพ สามารถรวบรวมผลการปฏิ บติงาน การให้การสนับสนุ นการปฏิ บติงานหน่ วยงาน ั ั สนับ สนุ น ได้ การมี ร ะบบข้อ มู ล ข่ า วสารสารสนเทศที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพจะช่ ว ยให้ เ กิ ด การปฏิ บ ัติ แ ละ ประสานงานระหว่างส่ วนราชการย่อยได้ดี นอกจากนี้ ควรจัดท าระบบการควบคุ มนิ เทศงานที่ มี ประสิ ทธิ ภาพ เพื่อให้ได้ขอมูลที่ถูกต้องชัดเจนของระดับล่าง ทั้งนี้ ในการบริ หารงานให้เกิดผลสาเร็ จได้น้ นควรใช้หลักการ ้ ั ประยุ กต์ แบบผสมผสาน เพื่ อให้ เกิ ดการพัฒ นาและความยื ด หยุ่น สามารถน าไปใช้ ไ ด้เ หมาะสมกับ สถานการณ์ต่อไป
  • 13. 13 ภาคผนวก รู ปภาพที่ 1 ผังโครงสร้างองค์การ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุ ข
  • 14. 14 ตารางที่ 1 ข้อมูลบุคลากร กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุ ข รายการข้ อมูล ข้ าราชการ ลูกจ้ างประจา พนักงานราชการ รวม บุคลากร จานวน ร้ อยละ จานวน ร้ อยละ จานวน ร้ อยละ จานวน ร้ อยละ สายงานหลัก 2,262 78.43 1,735 69.23 301 62.71 4,298 73.22 สายงานสนับสนุน 622 21.57 771 30.77 179 37.29 1,572 26.78 รวม 2,884 100.00 2,506 100.00 480 100.00 5,870 100.00 ระดับการศึกษา ต่ากว่าปริ ญญาตรี 569 19.73 2,305 91.98 132 27.50 3,006 51.21 ปริ ญญาตรี 1,452 50.35 198 7.90 319 66.46 1,969 33.54 ปริ ญญาโท 707 24.51 3 0.12 29 6.04 739 12.59 ปริ ญญาเอก 156 5.41 0 0.00 0 0.00 156 2.66 รวม 2,884 100.00 2,506 100.00 480 100.00 5,870 100.00 ประเภท/ระดับ ข้ าราชการ ลูกจ้ างประจา พนักงานราชการ รวม จานวน ร้ อยละ จานวน ร้ อยละ จานวน ร้ อยละ จานวน ร้ อยละ ทั่วไป ปฏิบติงาน (O1) ั 99 3.43 ชานาญงาน (O2) 910 31.55 อาวุโส (O3) 37 1.28 วิชาการ ปฏิบติการ (K1) ั 309 10.71 ชานาญการ (K2) 1,040 36.06 ชานาญการพิเศษ (K3) 393 13.63 เชี่ยวชาญ (K4) 57 1.98 ทรงคุณวุฒิ (K5) 12 0.42 อานวยการ ต้น (M1) 4 0.14 สูง (M2) 18 0.62 บริหาร ต้น (S1) 4 0.14 สูง (S2) 1 0.03 รวม 2,884 100.00 2,506 - 480 - - อายุตวเฉลีย ั ่ 46 ปี - 49 ปี - 32 ปี - - - อายุราชการเฉลีย ่ 21 ปี - 23 ปี - 3 ปี - - - ที่มา : ฝ่ ายข้อมูลการบริ หารงานบุคคล กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุ ข http://person.ddc.moph.go.th/organize/dat_new/html/index.html
  • 15. 15 ตารางที่ 2 แสดงอัตรากาลังข้าราชการ, พนักงานราชการและลูกจ้างประจา (ข้อมูล ณ วันที่ 30 เมษายน 53) ลาดับที่ กลุ่ม/ ฝ่ าย อัตรากาลัง 1 กรมควบคุมโรค 11 - สานักงานบริ หารโครงการกองทุนโลก - สานักงานเผยแพร่ และประชาสัมพันธ์ - สานักจัดการความรู ้ - สานักงานคณะกรรมการวัคซี นแห่งชาติ - สานักโรคติดต่ออุบติใหม่ ั - สานักวัณโรค - สานักงานคณะกรรมการควบคุมเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์ - สานักควบคุมการบริ โภคยาสูบ - ศูนย์ปฏิบติการเตรี ยมพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉิ น ฯ (PHER) ั - ศูนย์อานวยการบริ หารจัดการปั ญหาเอดส์แห่งชาติ - ศูนย์สารสนเทศ 2 กลุ่มตรวจสอบภายใน 9 3 กลุ่มพัฒนาระบบบริ หาร 5 4 กองคลัง 48 5 กองแผนงาน 42 6 กองการเจ้าหน้าที่ 50 7 สถาบันบาราศนราดูร 332 8 สถาบันราชประชาสมาสัย 246 9 สานักงานเลขานุการกรม 28 10 สานักโรคติดต่อทัวไป ่ 147 11 สานักโรคไม่ติดต่อ 70 12 สานักโรคติดต่อนาโดยแมลง 78 13 สานักโรคเอดส์ วัณโรคและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 236 14 สานักระบาดวิทยา 89 15 สานักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่ งแวดล้อม 81 16 สานักงานป้ องกันควบคุมโรคที่ 1-12 1,804 รวม 3,276 ที่มา : กลุ่มงานพัฒนาระบบงานและอัตรากาลัง กองการเจ้าหน้าที่ กรมควบคุมโรค
  • 16. 1. 1.พัฒความรูแง เสริมงานวิจยและ 2.หน่วยงานบริหารจัดการ องค์ นาและส่ ละเทคโนโลยี ้ ั 2. พัฒนาระบบบริห าร 3.พั วนาศักยภาพเครือ ายเป้าหมายได้ ั 4.หน่ฒยงานและเครือ ข่า ยในการจัดการ รบการ กลยุทธ์ ผลผลิ ต ถ่ด้ยทอดองค์ความรู้ ป้อนการเฝ า านการเฝ้าระวัง ด้า งกัน ้า ระวัเฝ้าระวัง จัป้การแบบมุง เน้มโรค ง ดอ งกันควบคุ น ่ 3.หน่ว ระบบการเฝ้าเสริมป้ องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ง สนับสนุน ระวัง สร้างศักยภาพและความเข้มแข็ และปร ป้ องกัน ควบคุมโรคและภัยสุข ควบคุมโรคและภัย สุ ข ภาพภาพ และภัย สุผลสัมฤทธิ ์ างมี ข ภาพอย่ 16 ในการจัดการระบบเฝ้าระวัง ป้อ งกัน ควบคุมโรค การ ทีได้มาตรฐาน ่ ประสิทธิภาพ ภัย สุ ข ภาพ รวมทังบริการเฉพาะทีมคุณภาพ ้ ่ ี ผลผลิ ต บรรณานุกรม 1. องค์ความรูแ ละเทคโนโลยี 2.หน่วยงานบริหารจัดการ ้ 4.หน่วยงานและเครือ ข่ายเป้าหมายได้รบการ ั 3.หน่ว ด้านการเฝ้าระวังป้อ งกัน 1.1 ศึกษา ค้นคว้า วิจย ั เฝ้าระวัง ป้อ งกันควบคุมโรค สนับ4.1 น เสริมสร้างศัธิภาพระบบเฝ้าระวัง มแข็ง สนุ พัฒนาประสิทกยภาพและความเข้ 2.1 พัฒนาคุณภาพ และปร แผนงาน / ควบคุมโรคและภัย สุอข ภาพ พัฒนาวิชาการเพื่ และภัย สุ ข ภาพอย่ างมี การบริหาร ข่า ดการระบบเฝ้าระวัง ป้อ งกั ควบคุ ในการจัวกรองโรคและภัย สุ ข ภาพนระบบ) มโรค (5 3.1ถ ทีได้มาตรฐาน ่ ประสิทธิภาพ ภัย สุ ข ภาพ รวมทังบริการเฉพาะทีมคุณภาพ ้ P5 ่ ี ป้อ งก โครงการ ปรับปรุงประสิทธิภาพ จัดการองค์กร บุญใจ ศรีและถ่นรากูร.(2550).ภาวะผู้ นาและกลยุทธ์ การจัดการองค์ การพยาบาล.กรุ งเทพฯน:และพัฒนาเครืองข่าย สถิต ายทอดองค์ความรู้ P7 4.2 บริการสนับสนุ โรงพิมพ์แห่ 1.1 ศึกษามหาวินการ ย. เทคโนโลยีด้าทยาลั จุฬ้ าลงกรณ์ ค้นคว้า วิจย ั 2.1 พัฒนาคุณภาพ การเฝ้าระวัง ป้อ งกัน ควบคุมโรคและภัย สุงข ภาพ 4.1 พัฒนาประสิทธิภาพระบบเฝ้าระวั เฝาระวัง ป้อ ชาการเพือมโรค พัฒนาวิ งกันควบคุ ่ ข่าวกรองโรคและภัย สุ ข ภาพ ระบบ) (5 3.23.1ถ เส แผนงาน / การบริหาร P6 ป้อ งก พฤต และภัย ประสิทธิภาพ สุ ข ภาพP3 โครงการ พยอม วงศ์สารศรี ปรับปรุง.(2542).องค์ การและการจัจัดการ.กรุ งเทพฯ :สานักพิมพ์สุภา. ด การองค์กร P5 4.4พัฒนาระบบบริหารจัดการและการเตรีย มพร้อ ม และถ่ายทอดองค์ความรู้ P7 ตอบโต้ภาวะฉุ กเฉิสนุนและพัฒนาเครือ ข่าย 4.2 บริการสนับ นทางสาธารณสุ ข(PHER) วิทยา ด่านธารงกู้ ล.(2546).การบริหาร.กรุ งเทพฯ :บริ ษท เธิ ร์ดเวฟ เอ็ดดูเคชัน ง ป้อ งกั P2 เทคโนโลยีด้านการ ั การเฝ้าระวัจากัด. น ควบคุมโรคและภัย สุ ข ภาพ ่ 3.2 เส เฝ้าระวัง ปอ งกันควบคุมโรค P6 และภัย สุ ข ภาพP3 พฤต สมยศ นาวีการ.(2547).การบริหาร:การพัฒนาองค์ การและการจูงใจ. 4.4พัฒนาระบบบริหารจัดพ์บรรณกิจ. ยมพร้อ ม กรุ งเทพฯ : สานักพิม การและการเตรี ตอบโต้ภาวะฉุ กเฉินทางสาธารณสุ ข(PHER) Bloggang. (2550). ความหมายของการบริ หารจัดการ. [ออนไลน์]. สื บค้นจาก : P2 http://www.bloggang.com/mainblog.php?id=lean-357 ( 2553) www. ddc.moph.go.th