SlideShare a Scribd company logo
1 of 33
Download to read offline
คดีหมายเลขดําที่ อ. ๙๘๗/๒๕๕๒
คดีหมายเลขแดงที่ อ.๖๕๐/๒๕๕๗
ในพระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย
ศาลปกครองสูงสุด
วันที่ ๒๔ เดือน พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๕๕๗
นายสุภรธรรม มงคลสวัสดิ์ ที่ ๑ ผูฟองคดี
นางสาวเสาวลักษณ ทองกวย ที่ ๒
นายพิเชฎฐ รักตะบุตร ที่ ๓
กรุงเทพมหานคร ที่ ๑
ผูวาราชการกรุงเทพมหานคร ที่ ๒
ผูอํานวยการสํานักการโยธา ที่ ๓
บริษัท ระบบขนสงมวลชนกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) ที่ ๔ ผูถูกฟองคดี
เรื่อง คดีพิพาทเกี่ยวกับการที่หนวยงานทางปกครองหรือเจาหนาที่ของรัฐละเลยตอหนาที่
ตามที่กฎหมายกําหนดใหตองปฏิบัติ หรือปฏิบัติหนาที่ดังกลาวลาชาเกินสมควร
(อุทธรณคําพิพากษา)
ผูฟองคดีทั้งสามยื่นอุทธรณคําพิพากษา ในคดีหมายเลขดําที่ ๑๗๓๗/๒๕๕๐
หมายเลขแดงที่ ๑๔๗๑/๒๕๕๒ ของศาลปกครองชั้นตน (ศาลปกครองกลาง)
คดีนี้ผูฟองคดีทั้งสามฟองวา ผูฟองคดีที่ ๑ ขาทั้งสองขางขาดตั้งแตกําเนิด
สวนผูฟองคดีที่ ๒ และผูฟองคดีที่ ๓ ขาทั้งสองขางไมมีความรูสึกอันเกิดจากอุบัติเหตุ
ระหวาง
คําพิพากษา
(อุทธรณ)
(ต. ๒๒)
/ไมสามารถ...
๒
ไมสามารถเคลื่อนไหวไดและเปนคนพิการตามมาตรา ๓ (ที่ถูกคือ มาตรา ๔) แหงพระราชบัญญัติ
การฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ พ.ศ. ๒๕๓๔ และขอ ๑ (๓) และขอ ๔ (ข) ของกฎกระทรวง
ฉบับที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๓๗) ออกตามความในพระราชบัญญัติการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ
พ.ศ. ๒๕๓๔ เมื่อประมาณป พ.ศ. ๒๕๓๔ ผูถูกฟองคดีที่ ๔ ไดรับสัมปทานจากผูถูกฟองคดีที่ ๑
ใหกอสรางโครงการระบบขนสงมวลชนกรุงเทพมหานครและไดกอสรางสถานีขนสงรวม
๒๓ สถานี คือ สถานีชิดลม สถานีเพลินจิต สถานีนานา สถานีอโศก สถานีพรอมพงษ
สถานีทองหลอ สถานีเอกมัย สถานีพระโขนง สถานีออนนุช สถานีสยาม สถานีราชเทวี
สถานีพญาไท สถานีอนุสาวรียชัย สถานีสนามเปา สถานีอารีย สถานีสะพานควาย สถานีหมอชิต
สถานีสนามกีฬาแหงชาติ สถานีราชดําริ สถานีศาลาแดง สถานีชองนนทรี สถานีสุรศักดิ์
และสถานีสะพานตากสิน ซึ่งแตละสถานีประกอบดวยที่พักผูโดยสาร ชั้นจําหนายตั๋ว ชานชาลา
รางเดินรถไฟฟาซึ่งอยูสูงกวาพื้นถนนประมาณ ๕ เมตร ถึง ๗ เมตร กอสรางครอมพื้นถนน
ประชาชนที่ใชบริการจะตองเดินขึ้นอาคารสถานีโดยใชบันไดขึ้นลงจากพื้นถนนดานลาง
กับอาคารสถานี ซึ่งมีการกอสรางบันไดธรรมดาหรือบันไดเลื่อนโดยใชระบบไฟฟา โดยเฉลี่ย
มีทางขึ้นลงสถานีละ ๔ จุด โดยมีผูถูกฟองคดีที่ ๑ ผูถูกฟองคดีที่ ๒ และผูถูกฟองคดีที่ ๓
เปนผูควบคุมใหเปนไปตามสัญญาสัมปทานและกฎหมายที่เกี่ยวของซึ่งจะตองจัดใหมี
สิ่งอํานวยความสะดวกสําหรับคนพิการ ตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ
กรุงเทพมหานครพ.ศ.๒๕๒๘ และพระราชบัญญัติการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ พ.ศ.๒๕๓๔ ดวย
แตปรากฏวาสถานีรถไฟฟาจํานวน ๑๘ สถานี คือ สถานีชิดลม สถานีเพลินจิต สถานีนานา
สถานีพรอมพงษ สถานีทองหลอ สถานีเอกมัย สถานีพระโขนง สถานีราชเทวี สถานีพญาไท
สถานีอนุสาวรียชัย สถานีสนามเปา สถานีอารีย สถานีสะพานควาย สถานีสนามกีฬาแหงชาติ
สถานีราชดําริ สถานีศาลาแดง สถานีสุรศักดิ์ และสถานีสะพานตากสิน ไมมีการกอสราง
สิ่งอํานวยความสะดวกใหกับผูฟองคดีทั้งสามในฐานะคนพิการ หรือทุพพลภาพ
ผูสูงอายุหรือคนพิการประเภทอื่นแตอยางใด สวนสถานีรถไฟฟาที่เหลืออีก ๕ สถานี คือ
สถานีอโศก สถานีออนนุช สถานีชองนนทรี สถานีหมอชิต และสถานีสยาม มีการกอสราง
ทางขึ้น – ลง เปนบันไดเลื่อนดวยระบบไฟฟาและมีลิฟทในบางจุด แตไมมีทางลาดในพื้นที่
ตางระดับ ไมมีแผนผังหรือปายติดประกาศทุกชนิดขนาดใหญและติดไฟใหคนสายตาเลือนราง
เห็นชัดเจน ไมมีปายบอกทางชัดเจนพรอมดวยขอมูลตารางการเดินรถเปนตัวอักษรเบรลล
/และตัวพิมพใหญ...
๓
และตัวพิมพใหญ ไมจัดทําเครื่องโทรสารสําหรับคนพิการทางการไดยินหรือสื่อความหมาย
และไมมีปายอักษรวิ่งใหขอมูลพรอมประกาศโดยใชเสียง ทําใหผูฟองคดีทั้งสามและคนพิการ
ทั่วไปไมไดรับความสะดวกและตองอาศัยการชวยเหลือจากประชาชนโดยทั่วไป นอกจากนี้
ผูฟองคดีทั้งสามไดรวมกันเปนคณะบุคคลที่เรียกวาคณะกรรมการอิสระเพื่อความเสมอภาค
มีวัตถุประสงคเพื่อสงเสริมใหคนพิการไดมีอาชีพและมีสวนรวมในกิจกรรมของสังคม
ไดเทากับคนปกติ ไดเคยรองขอใหผูถูกฟองคดีทั้งสี่ดําเนินการจัดสิ่งอํานวยความสะดวก
ดังกลาวให ซึ่งผูถูกฟองคดีทั้งสี่ไดรับทราบและตกลงวาจะรวมกันสํารวจตรวจสอบและเก็บ
รายละเอียด แตก็หาไดดําเนินการตามที่ผูฟองคดีทั้งสามรองขอไม ผูฟองคดีทั้งสาม
ไดแจงเปนหนังสือ เขาพบหารือ และประชุมชี้แจงรวมกับผูเกี่ยวของทั้งภาครัฐและเอกชน
แตผูถูกฟองคดีทั้งสี่ก็ไมไดกระทําการตามที่รองขอ ทั้งๆ ที่ผูถูกฟองคดีที่ ๑ ผูถูกฟองคดีที่ ๒
และผูถูกฟองคดีที่ ๓ มีหนาที่ตามกฎหมายโดยเฉพาะ อีกทั้งตอมาไดมีการออกกฎกระทรวง
ฉบับที่ ๔(พ.ศ.๒๕๔๒)ออกตามความในพระราชบัญญัติการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการพ.ศ.๒๕๓๔
อาศัยอํานาจตามมาตรา ๑๗ (๑) และมาตรา ๒๐ แหงพระราชบัญญัติการฟนฟูสมรรถภาพ
คนพิการ พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งขอ ๒ ของกฎกระทรวงดังกลาวกําหนดใหอาคารสถานีขนสงมวลชน
ตองมีอุปกรณที่อํานวยความสะดวกโดยตรงแกคนพิการและคณะกรรมการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ
ไดกําหนดรายละเอียดเกี่ยวกับลิฟทที่ใชวาจะตองมีความกวางของประตูไมนอยกวา๘๕ เซนติเมตร
ขนาดกวางยาวไมนอยกวา ๑.๑๐ x ๑๐.๔๐ เมตร (ที่ถูกคือ ๑.๔๐ เมตร) ปุมกดเรียกลิฟท
และปุมบังคับตองอยูสูงจากพื้นระหวาง ๐.๙๐ เมตร ถึง ๑.๒๐ เมตร ภายนอกลิฟทจะตองไมมี
สิ่งกีดขวางเกาอี้เข็นคนพิการและภายในลิฟทใหมีราวสูงจากพื้นไมนอยกวา ๘๐ เซนติเมตร
รวมทั้งมีเสียงบอกเมื่อลิฟทหยุดตามชั้นตางๆ และใหมีเสียงสัญญาณและแสงไฟเตือน
เมื่อลิฟทเกิดขัดของโดยในหมวด๒ขอ๕(๓)ของระเบียบคณะกรรมการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ
วาดวยมาตรฐานอุปกรณหรือสิ่งอํานวยความสะดวกโดยตรงแกคนพิการ พ.ศ. ๒๕๔๔
ไดกําหนดใหสถานีขนสงตองมีอุปกรณหรือสิ่งอํานวยความสะดวกแกคนพิการโดยตรง
เชน ลิฟท ทางลาดในพื้นที่ตางระดับทุกแหง แผนผังหรือปายขนาดใหญ ปายบอกทาง
เครื่องโทรสาร ทางขึ้นลงสําหรับเกาอี้คนพิการ และติดตั้งสัญลักษณคนพิการไวทั้งใน
และนอกตัวรถดวย แตผูถูกฟองคดีทั้งสี่ไมไดดําเนินการในเรื่องดังกลาวแตอยางใด
จึงนําคดีมาฟองตอศาลปกครอง
/ขอใหศาล...
๔
ขอใหศาลมีคําพิพากษาหรือคําสั่ง ดังนี้
๑. ใหผูถูกฟองคดีทั้งสี่จัดทําลิฟทที่สถานีขนสงทั้ง ๒๓ สถานี โดยมี
รายละเอียดตามกฎกระทรวง ฉบับที่ ๔ (พ.ศ. ๒๕๔๒) ออกตามความในพระราชบัญญัติ
การฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ พ.ศ. ๒๕๓๔ ขอ ๖ และขอ ๗ วรรคสอง และระเบียบ
คณะกรรมการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการวาดวยมาตรฐานอุปกรณหรือสิ่งอํานวยความสะดวก
โดยตรงแกคนพิการ พ.ศ. ๒๕๔๔ หมวด ๑ อาคาร ขอ ๔ (๖) (ก) (ข) (ค) (ง) และ (จ)
๒. ใหผูถูกฟองคดีทั้งสี่จัดทําอุปกรณสิ่งอํานวยความสะดวกที่สถานีขนสง
ทั้ง ๒๓ สถานี ตามกฎกระทรวง ฉบับที่ ๔ (พ.ศ. ๒๕๔๒) ออกตามความในพระราชบัญญัติ
การฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ พ.ศ. ๒๕๓๔ ขอ ๕ และตามระเบียบคณะกรรมการฟนฟู
สมรรถภาพคนพิการวาดวยมาตรฐานอุปกรณหรือสิ่งอํานวยความสะดวกโดยตรง
แกคนพิการ พ.ศ. ๒๕๔๔ หมวด ๒ สถานที่ ขอ ๕ (๓) (ก) (ข) (ค) (ง) (จ) และ (ฉ) และ
๓. ใหผูถูกฟองคดีทั้งสี่จัดทําสิ่งอํานวยความสะดวกบนรถไฟฟา คือ ใหจัด
ที่วางสําหรับเกาอี้คนพิการใหมีความกวางไมนอยกวา ๑๒๐ เซนติเมตร และใหมีราวสูง
จากพื้นไมนอยวา ๘๐ เซนติเมตร บริเวณทางขึ้นลง และติดสัญลักษณคนพิการไวทั้งใน
และนอกตัวรถคันที่จัดไวสําหรับคนพิการ ตามกฎกระทรวง ฉบับที่ ๔ (พ.ศ. ๒๕๔๒)
ออกตามความในพระราชบัญญัติการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ พ.ศ. ๒๕๓๔ และ
ตามระเบียบคณะกรรมการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการวาดวยมาตรฐานอุปกรณหรือสิ่งอํานวย
ความสะดวกโดยตรงแกคนพิการ พ.ศ. ๒๕๔๔ หมวด ๓ ยานพาหนะ ขอ ๗ (ง) และ (จ)
ผูถูกฟองคดีที่ ๑ ถึงผูถูกฟองคดีที่ ๓ ใหการวา ผูถูกฟองคดีที่ ๑ ไดทําสัญญา
สัมปทานโครงการระบบขนสงมวลชนกรุงเทพมหานครกับผูถูกฟองคดีที่ ๔ เมื่อวันที่ ๙
เมษายน ๒๕๓๕ ซึ่งในขณะนั้นกฎกระทรวง ฉบับที่ ๔ (พ.ศ. ๒๕๔๒) ออกตามความใน
พระราชบัญญัติการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ พ.ศ. ๒๕๓๔ และระเบียบคณะกรรมการ
ฟนฟูสมรรถภาพคนพิการวาดวยมาตรฐานอุปกรณหรือสิ่งอํานวยความสะดวกโดยตรงแก
คนพิการ พ.ศ. ๒๕๔๔ ยังมิไดบังคับใช กฎหมายจึงไมมีผลยอนหลังใหผูถูกฟองคดีทั้งสี่
ตองปฏิบัติตาม และตามขอสัญญาสัมปทานดังกลาวก็มิไดกําหนดใหผูถูกฟองคดีที่ ๔
ตองจัดทําสิ่งอํานวยความสะดวกสําหรับคนพิการ แตเมื่อตอมามีการรองเรียนเกี่ยวกับเรื่องนี้
คณะรัฐมนตรีไดมีมติใหผูถูกฟองคดีที่ ๑ จัดทําสิ่งอํานวยความสะดวกใหแกคนพิการ
ซึ่งผูถูกฟองคดีที่ ๑ ก็ไดจัดสรางลิฟทเพื่ออํานวยความสะดวกใหแกคนพิการในสถานีขนสง
/จํานวน ๑๘...
๕
จํานวน ๑๘ สถานีแลว สวนที่ผูฟองคดีทั้งสามอางวาไดเคยรองขอตอผูถูกฟองคดีทั้งสี่
ใหจัดทําสิ่งอํานวยความสะดวกในระบบขนสงมวลชนและบริการสาธารณะเพื่อใหประชาชนหรือ
คนพิการทุกกลุม ทุกเพศ ทุกวัย สามารถใชบริการรถไฟฟาโดยเสมอภาคแตผูถูกฟองคดีทั้งสี่
มิไดดําเนินการใดๆ นั้น เห็นวา หลังจากมีการรองขอแลวผูถูกฟองคดีทั้งสี่ไดจัดประชุม
ครั้งสุดทายเมื่อวันที่ ๒๗ เมษายน ๒๕๔๙ ผูฟองคดีทั้งสามจึงตองฟองคดีตอศาลปกครอง
ภายในระยะเวลา ๙๐ วันนับแตวันดังกลาวคือภายในวันที่ ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๔๙ การยื่นฟอง
เมื่อวันที่ ๑๓ กันยายน ๒๕๕๐ จึงพนระยะเวลาตามมาตรา ๔๙ แหงพระราชบัญญัติจัดตั้ง
ศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ แลว
ผูถูกฟองคดีที่ ๔ ใหการวา ผูฟองคดีทั้งสามไมไดเปนคนพิการตามมาตรา ๓
(ที่ถูกคือ มาตรา ๔) แหงพระราชบัญญัติการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ พ.ศ. ๒๕๓๔ ขอ ๑
(๓) และขอ ๔ (ข) ของกฎกระทรวง ฉบับที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๓๗) ออกตามความในพระราชบัญญัติ
การฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ พ.ศ. ๒๕๓๔ ผูถูกฟองคดีที่ ๔ เปนบริษัทเอกชนที่ไดรับสัมปทาน
ระบบขนสงมวลชนกรุงเทพมหานครจากผูถูกฟองคดีที่ ๑ โดยจะตองเปนผูหาเงินลงทุน
ในระบบขนสงดังกลาวเองตามเงื่อนไขในสัญญาสัมปทานและบริหารจัดการเองทั้งสิ้น
โดยมีผูถูกฟองคดีที่ ๑ เขามาตรวจดูการบริหารจัดการตามขอกําหนดและเงื่อนไขในสัญญา
สัมปทานเทานั้น ผูถูกฟองคดีที่ ๔ มิไดอยูภายใตการกํากับดูแลหรือสั่งการของผูถูกฟองคดีที่ ๑
ถึงผูถูกฟองคดีที่ ๓ผูถูกฟองคดีที่ ๔จึงมิใชหนวยงานทางปกครองตามมาตรา๓แหงพระราชบัญญัติ
จัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ รวมทั้งไมไดเปนตัวแทนของ
ผูถูกฟองคดีที่ ๑ ถึงผูถูกฟองคดีที่ ๓ ผูฟองคดีทั้งสามจึงไมมีอํานาจฟองผูถูกฟองคดีที่ ๔
นอกจากนี้ ศาลลมละลายกลางไดมีคําสั่งใหฟนฟูกิจการของผูถูกฟองคดีที่ ๔ เมื่อวันที่ ๗
กรกฎาคม ๒๕๔๙ และคําสั่งเห็นชอบดวยแผนฟนฟูกิจการตามมติที่ประชุมเจาหนี้เมื่อวันที่ ๓๑
มกราคม ๒๕๕๐ โดยมีผูถูกฟองคดีที่ ๔ เปนผูบริหารแผนตามกฎหมาย เมื่อผูถูกฟองคดีที่ ๔
อยูในระหวางการฟนฟูกิจการของศาลลมละลายกลาง คดีที่ผูฟองคดีทั้งสามฟองผูถูกฟองคดีที่ ๔
จึงไมอยูในอํานาจของศาลปกครองตามมาตรา๙วรรคสอง(๓)แหงพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและ
วิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ อีกทั้งตามพระราชบัญญัติลมละลาย พุทธศักราช ๒๔๘๓
มาตรา ๙๐/๑๒ บัญญัติวา ภายใตบังคับมาตรา ๙๐/๑๓ และมาตรา ๙๐/๑๔ นับแตวันที่
ศาลมีคําสั่งรับคํารองขอไวเพื่อพิจารณาจนถึงวันครบกําหนดระยะเวลาดําเนินการตามแผน
หรือวันที่ดําเนินการเปนผลสําเร็จตามแผนหรือวันที่ศาลมีคําสั่งยกคํารองขอหรือจําหนายคดี
/หรือยกเลิก...
๖
หรือยกเลิกคําสั่งใหฟนฟูกิจการหรือยกเลิกการฟนฟูกิจการหรือพิทักษทรัพยของลูกหนี้
เด็ดขาดตามความในหมวดนี้... (๔) หามมิใหฟองลูกหนี้เปนคดีแพงเกี่ยวกับทรัพยสินของลูกหนี้
หรือเสนอขอพิพาทที่ลูกหนี้อาจตองรับผิดหรือไดรับความเสียหายใหอนุญาโตตุลาการชี้ขาด...
(๙) หามมิใหลูกหนี้จําหนาย จาย โอน ใหเชา ชําระหนี้ กอหนี้หรือกระทําการใดๆ
ที่กอใหเกิดภาระในทรัพยสิน นอกจากเปนการกระทําที่จําเปนเพื่อใหการดําเนินการคาตามปกติ
ของลูกหนี้สามารถดําเนินตอไปได เวนแตศาลที่รับคํารองขอจะมีคําสั่งเปนอยางอื่น จึงเห็นไดวา
ผูฟองคดีทั้งสามไมมีอํานาจฟองผูถูกฟองคดีที่ ๔ หรือหากมีการฟองและศาลมีคําพิพากษาแลว
ก็ไมสามารถบังคับใหผูถูกฟองคดีที่ ๔ ดําเนินการตามคําขอของผูฟองคดีทั้งสามได
เพราะจะทําใหเกิดภาระในทรัพยสินของผูถูกฟองคดีที่ ๔ มิใชเปนการกระทําที่จําเปนเพื่อให
การดําเนินการคาตามปกติของลูกหนี้ดําเนินการตอไปได คําฟองนี้จึงขัดตอพระราชบัญญัติ
ลมละลาย พุทธศักราช ๒๔๘๓ และผูถูกฟองคดีที่ ๑ กับผูถูกฟองคดีที่ ๔ ไดทําสัญญา
สัมปทานโครงการระบบขนสงมวลชนกรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ ๙ เมษายน ๒๕๓๕
กอนที่กฎกระทรวง ฉบับที่ ๔ (พ.ศ. ๒๕๔๒) ออกตามความในพระราชบัญญัติการฟนฟู
สมรรถภาพคนพิการ พ.ศ. ๒๕๓๔ และระเบียบคณะกรรมการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ
วาดวยมาตรฐานอุปกรณหรือสิ่งอํานวยความสะดวกโดยตรงแกคนพิการ พ.ศ. ๒๕๔๔
ประกาศใชบังคับเมื่อวันที่ ๓ธันวาคม๒๕๔๒และวันที่ ๔พฤษภาคม๒๕๔๔ตามลําดับประกอบกับ
ผูถูกฟองคดีที่ ๔ ไดสงมอบสถานีรถไฟฟาทั้ง ๒๓ สถานี ใหตกเปนกรรมสิทธิ์ของผูถูกฟองคดีที่ ๑
ตั้งแตวันที่ ๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๔๒ แลว การไมกอสรางสิ่งอํานวยความสะดวกตามฟอง
จึงมิใชความผิดของผูถูกฟองคดีที่ ๔ อีกทั้งในสัญญาสัมปทานดังกลาวก็ไมมีขอกําหนดให
ผูถูกฟองคดีที่ ๔ กอสรางลิฟทหรือสิ่งอํานวยความสะดวกใหแกคนพิการ ผูถูกฟองคดีที่ ๔
จึงไมไดละเลยตอหนาที่ตามที่กฎหมายกําหนดและตามสัญญาสัมปทาน และไมมีเหตุ
ที่จะตองรับผิดตามคําขอของผูฟองคดีทั้งสาม สวนขออางที่วาผูฟองคดีทั้งสามเคยรองขอตอ
ผูถูกฟองคดีทั้งสี่ใหจัดทําสิ่งอํานวยความสะดวกในระบบขนสงมวลชนเพื่อใหประชาชน
คนพิการทุกกลุมสามารถใชบริการไดอยางเสมอภาค ซึ่งไดมีการประชุมเรื่องดังกลาว
เมื่อวันที่ ๒๗ เมษายน ๒๕๔๙ และไดมีการหารือกันหลายครั้ง แตผูถูกฟองคดีทั้งสี่มิได
ดําเนินการใดๆ จึงเปนการละเลยตอหนาที่ นั้น เมื่อผูฟองคดีทั้งสามไมไดรับคําชี้แจงจาก
ผูถูกฟองคดีทั้งสี่ตั้งแตวันที่ ๒๗ เมษายน ๒๕๔๙ ผูฟองคดีทั้งสามจะตองยื่นฟอง
ภายในวันที่ ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๔๙ การยื่นฟองคดีตอศาลเมื่อวันที่ ๑๓ กันยายน ๒๕๕๐
/จึงพนระยะเวลา...
๗
จึงพนระยะเวลาตามที่มาตรา ๔๙ แหงพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณา
คดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ กําหนดไวแลว ขอใหศาลพิจารณาพิพากษายกฟองและสั่งให
ผูฟองคดีทั้งสามชดใชคาธรรมเนียมและคาทนายความแทนผูถูกฟองคดีที่ ๔ ดวย
ผูฟองคดีทั้งสามคัดคานคําใหการของผูถูกฟองคดีที่ ๑ ถึงผูถูกฟองคดีที่ ๓ วา
เมื่อพิจารณามาตรา ๑๗ แหงพระราชบัญญัติการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ พ.ศ. ๒๕๓๔
ที่บัญญัติวาเพื่อเปนการคุมครองและสงเคราะหคนพิการ ใหรัฐมนตรีมีอํานาจออก
กฎกระทรวงกําหนด(๑)ลักษณะอาคารสถานที่ ยานพาหนะหรือบริการสาธารณะอื่นที่ตองมีอุปกรณ
ที่อํานวยความสะดวกโดยตรงแกคนพิการ และเหตุผลในการประกาศใชบังคับพระราชบัญญัติ
ดังกลาวแลว จะเห็นไดวากฎหมายมีเจตนารมณใหคนพิการสามารถดํารงชีวิตและมีสวนรวม
ในกิจกรรมของสังคมอยางเทาเทียมกับคนปกติโดยทั่วไปหรือมีความเสมอภาค ขออางที่วา
กฎหมายไมมีผลยอนหลังนั้น เปนกรณีของกฎหมายอาญา แตสําหรับในกรณีของการจัดใหมี
สิ่งอํานวยความสะดวกแกคนพิการนั้น เปนกรณีที่ผูถูกฟองคดีที่ ๑ ถึงผูถูกฟองคดีที่ ๓
มีหนาที่ตามกฎหมาย ทั้งกฎกระทรวงและระเบียบที่อางก็ไมไดกําหนดวา อาคาร สถานที่
หรือยานพาหนะที่กอสรางแลวจะไดรับการยกเวนไมตองจัดทําสิ่งอํานวยความสะดวก
โดยตรงแกคนพิการ และการที่ผูถูกฟองคดีที่ ๑ ไดทําสัญญาสัมปทานกับผูถูกฟองคดีที่ ๔
กอนกฎกระทรวงและระเบียบดังกลาวใชบังคับ ก็หาไดมีกฎหมาย กฎกระทรวง หรือ
ระเบียบขอใดยกเวนวาไมตองจัดใหมีสิ่งอํานวยความสะดวกแกคนพิการได การถือเอาวัน
เริ่มตนใชบังคับตามที่กําหนดไวในกฎกระทรวงและระเบียบดังกลาว เพื่อปฏิเสธไมจัด
สิ่งอํานวยความสะดวกใหคนพิการ ทั้งๆ ที่อยูในวิสัยที่จะทําได ยอมผิดจากหลักนิติธรรม
และเปนการใชอํานาจทางปกครองที่ปราศจากความเมตตา รวมทั้งขัดแยงกับเจตนารมณ
ของพระราชบัญญัติการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ พ.ศ. ๒๕๓๔ โดยกอนยื่นฟองคดีตอ
ศาลปกครอง ผูฟองคดีทั้งสามไดเรียกรองเรื่อยมาตั้งแตป พ.ศ. ๒๕๔๘ แตผูถูกฟองคดีทั้งสี่
ไมไดดําเนินการโดยครบถวน จึงถือวาเปนการละเลยตอหนาที่อยางตอเนื่องจนถึงวันที่ ๑๓
กันยายน ๒๕๕๐ ซึ่งเปนวันฟองคดี คําฟองคดีนี้จึงไมพนกําหนดระยะเวลาการฟองคดี ตาม
มาตรา ๔๙ แหงพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒
อีกทั้งการฟองคดีนี้ยังเปนการคุมครองประโยชนสาธารณะ เพราะผูที่จะไดรับประโยชนคือ
คนพิการทั่วประเทศซึ่งมีจํานวนประมาณ ๗๐๐,๐๐๐ คน จึงชอบที่จะยื่นฟองเมื่อใดก็ได
ตามมาตรา ๕๒ วรรคหนึ่ง แหงพระราชบัญญัติดังกลาว
/ผูฟองคดี...
๘
ผูฟองคดีทั้งสามคัดคานคําใหการของผูถูกฟองคดีที่ ๔ วา ผูฟองคดีทั้งสามเปน
คนพิการ ตามมาตรา ๔ แหงพระราชบัญญัติการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ พ.ศ. ๒๕๓๔
และตามหลักเกณฑที่กําหนดไวในกฎกระทรวง ฉบับที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๓๗) ออกตามความใน
พระราชบัญญัติการฟนฟูสมมรรถภาพคนพิการ พ.ศ. ๒๕๓๔ และการที่ผูถูกฟองคดีที่ ๔
ไดรับสัญญาสัมปทานจากผูถูกฟองคดีที่ ๑ ยอมทําใหผูถูกฟองคดีที่ ๔ มีอํานาจในการบํารุงรักษา
ระบบขนสงมวลชนทั้งมีสิทธิในรายไดที่เกิดจากกิจการดังกลาวอันเปนกรณีที่ถือไดวาไดรับมอบหมาย
ใหใชอํานาจทางปกครองหรือดําเนินกิจการทางปกครอง ผูถูกฟองคดีที่ ๔ จึงเปนหนวยงาน
ทางปกครอง ตามมาตรา ๓ แหงพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง
พ.ศ. ๒๕๔๒ สวนกรณีศาลลมละลายกลางมีคําสั่งใหฟนฟูกิจการของผูถูกฟองคดีที่ ๔ วันที่ ๗
กรกฎาคม ๒๕๔๙ นั้น เมื่อคดีนี้เปนการฟองผูถูกฟองคดีที่ ๔ ตอศาลปกครองวาละเลยตอหนาที่
ตามที่กฎหมายกําหนดใหตองปฏิบัติหรือปฏิบัติหนาที่ดังกลาวลาชาเกินสมควรและขอใหจัด
สิ่งอํานวยความสะดวกแกคนพิการโดยตรง มิใชการขออํานาจศาลบังคับใหผูถูกฟองคดีที่ ๔
ปฏิบัติการชําระหนี้ดวยทรัพยสินหรือใหชําระหนี้ดวยการปฏิบัติอยางหนึ่งอยางใด
ตามนัยประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย และไมทําใหกระทบกระเทือนถึงทรัพยสิน
ของผูถูกฟองคดีที่ ๔ ในระหวางการปฏิบัติตามแผนฟนฟูกิจการ คดีนี้จึงไมอยูภายใต
พระราชบัญญัติลมละลาย พุทธศักราช ๒๔๘๓ อันจะตองหามมิใหผูฟองคดีทั้งสามฟองคดี
ตอศาลปกครอง
ผูถูกฟองคดีที่ ๑ ถึงผูถูกฟองคดีที่ ๓ ใหการเพิ่มเติมวา การจัดใหมีสิ่งอํานวย
ความสะดวกเพื่อประโยชนแกคนพิการเพิ่มเติมจากเดิมซึ่งไดมีการกอสรางเสร็จไปแลว
กอนที่จะมีกฎหมายบังคับนั้น จะตองพิจารณาถึงความเปนไปไดในทางวิศวกรรมและคํานึงถึง
ผลกระทบตอโครงสรางเดิมของอาคารดวย
ผูถูกฟองคดีที่ ๔ ใหการเพิ่มเติมวา แมผูถูกฟองคดีที่ ๔ เปนผูไดรับสัมปทาน
จากผูถูกฟองคดีที่ ๑ แตผูถูกฟองคดีที่ ๔ ไมไดตกอยูภายใตอํานาจการบังคับบัญชาของ
ผูถูกฟองคดีที่ ๑ ถึงผูถูกฟองคดีที่ ๓ และไมเคยไดรับมอบหมายใหใชอํานาจทางปกครอง
จากผูถูกฟองคดีที่ ๑ ถึงผูถูกฟองคดีที่ ๓ อีกทั้งในสัญญาสัมปทานก็ไมมีขอความใด
ใหอํานาจผูถูกฟองคดีที่ ๔ ใชอํานาจทางปกครองหรือดําเนินกิจการทางปกครอง และไมมี
บทบัญญัติกฎหมายใดใหอํานาจผูถูกฟองคดีที่ ๑ ถึงผูถูกฟองคดีที่ ๓ มอบอํานาจใหเอกชน
ใชอํานาจทางปกครองหรือดําเนินกิจการทางปกครองแทนได และหากจะตองมีการกอสรางลิฟท
พรอมทั้งจัดทําอุปกรณสิ่งอํานวยความสะดวกสําหรับคนพิการตามคําขอของผูฟองคดีทั้งสามแลว
/จะตองเสียคาใชจาย...
๙
จะตองเสียคาใชจายเปนเงินไมนอยกวา ๗๐๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท ซึ่งเปนการกอภาระใหเกิด
แกทรัพยสินของผูถูกฟองคดีที่ ๔ ที่เปนลูกหนี้ฟนฟูกิจการของศาลลมละลายกลางโดยตรง
ผูฟองคดีทั้งสามจึงไมอาจฟองผูถูกฟองคดีที่ ๔ ตอศาลปกครองได ผูถูกฟองคดีที่ ๔
มิไดละเลยตอหนาที่ตามที่กฎหมายกําหนดใหตองปฏิบัติเพราะทําสัญญาสัมปทานกอนกฎกระทรวง
ฉบับที่ ๔ (พ.ศ. ๒๕๔๒) ออกตามความในพระราชบัญญัติการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ
พ.ศ. ๒๕๓๔ และระเบียบคณะกรรมการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการวาดวยมาตรฐานอุปกรณ
หรือสิ่งอํานวยความสะดวกโดยตรงแกคนพิการ พ.ศ. ๒๕๔๔ ใชบังคับ อีกทั้งตามขอ ๑๙
ของสัญญาสัมปทานไดระบุใหผูถูกฟองคดีที่ ๔ โอนกรรมสิทธิ์ในอสังหาริมทรัพยที่สรางขึ้น
บนที่ดินใหแกผูถูกฟองคดีที่ ๑ ซึ่งผูถูกฟองคดีที่ ๔ ดําเนินการแลว นอกจากนี้ กฎหมาย
และระเบียบดังกลาวใชบังคับกับเจาของอาคาร สถานที่ ยานพาหนะและสถานที่สาธารณะ
เทานั้น เมื่อผูถูกฟองคดีที่ ๔ มิใชเจาของสถานีรถไฟฟาทั้ง ๒๓ แหง จึงไมมีหนาที่ตอง
จัดทําสิ่งอํานวยความสะดวกดังกลาว และผูฟองคดีทั้งสามไดยื่นฟองผูถูกฟองคดีที่ ๔
เมื่อพนระยะเวลาเกาสิบวัน ตามมาตรา ๔๙ แหงพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและ
วิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒
ศาลปกครองชั้นตนมีคําสั่งใหผูถูกฟองคดีที่ ๑ และผูถูกฟองคดีที่ ๒ ชี้แจง
ขอเท็จจริงตามประเด็นที่ศาลปกครองชั้นตนกําหนด ซึ่งผูถูกฟองคดีที่ ๑ และผูถูกฟองคดีที่ ๒
ชี้แจงวา ในขณะที่มีการกอสรางระบบขนสงมวลชนกรุงเทพมหานคร (BTS) ซึ่งเปนการลงทุน
โดยภาคเอกชนนั้น ผูถูกฟองคดีที่ ๑ ไมไดกําหนดนโยบาย แผนงาน และโครงการที่เกี่ยวของ
กับคนพิการแตอยางใด แตที่มีการกอสรางลิฟทเพิ่มเติมในภายหลังรวม ๕ สถานี นั้น
เปนการใชงบประมาณของผูถูกฟองคดีที่ ๑ และงบอุดหนุนจากรัฐบาลเปนเงินจํานวน
๑๗๕,๑๙๔,๕๙๐ บาท สวนการกอสรางลิฟทและสิ่งอํานวยความสะดวกใหคนพิการสําหรับ
สถานีรถไฟฟาที่เหลือ ผูถูกฟองคดีที่ ๑ โดยสํานักการจราจรและขนสงและผูถูกฟองคดีที่ ๔
ไดสํารวจเบื้องตนในการหาตําแหนงลิฟทสําหรับคนพิการแลว อยูในระหวางการจัดทํา
รายละเอียด รูปแบบ และขอกําหนดเพื่อขอความเห็นชอบในการดําเนินการตอไป
ศาลปกครองชั้นตนพิจารณาแลวเห็นวา คดีมีประเด็นที่จะตองวินิจฉัย ดังนี้
ประเด็นที่หนึ่งผูฟองคดีทั้งสามมีสิทธิฟองผูถูกฟองคดีที่ ๔หรือไม ศาลปกครองชั้นตน
เห็นวา ผูถูกฟองคดีที่ ๔ เปนผูไดรับสัมปทานโครงการระบบขนสงมวลชนกรุงเทพมหานคร (BTS)
จากผูถูกฟองคดีที่ ๑ โดยเปนผูจัดใหมีและประกอบการตามโครงการดังกลาวภายใตขอกําหนด
และเงื่อนไขของสัญญา โดยอาศัยอํานาจตามความในขอ ๓ (๒) และขอ ๑๑ ของประกาศ
/คณะปฏิวัติ...
๑๐
คณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๕๘ ลงวันที่ ๒๖ มกราคม ๒๕๑๕ โดยรัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย
ไดอนุญาตใหผูถูกฟองคดีที่ ๑ โดยผูถูกฟองคดีที่ ๒ เปนผูมีอํานาจควบคุมดูแล และโดยที่
โครงการดังกลาวเปนการจัดการเกี่ยวกับระบบขนสงมวลชน อันเปนการจัดทําบริการสาธารณะ
ตามอํานาจหนาที่ของผูถูกฟองคดีที่ ๑ ตามมาตรา ๘๙ แหงพระราชบัญญัติระเบียบบริหาร
ราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๒๘ ผูถูกฟองคดีที่ ๔ จึงเปนผูที่เขามาดําเนินการจัดทํา
บริการสาธารณะในเรื่องดังกลาวแทนผูถูกฟองคดีที่ ๑ ตามสัญญาที่ไดจัดทําขึ้นนั่นเอง
และโดยที่สัญญาดังกลาวเปนสัญญาสัมปทานซึ่งเปนสัญญาทางปกครองตามมาตรา ๓
แหงพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ และเปน
เครื่องมือที่สําคัญในการจัดทําบริการสาธารณะของคูสัญญา จึงถือไดวาผูถูกฟองคดีที่ ๔
ไดรับมอบหมายใหดําเนินกิจการขนสงมวลชนตามสัญญาดังกลาว ซึ่งมีลักษณะของการใหบริการ
ดานการขนสงอันเปนการดําเนินกิจการทางปกครอง การที่ผูฟองคดีไดมีหนังสือรองขอให
ผูถูกฟองคดีที่ ๔ ดําเนินการกอสรางลิฟทและสิ่งอํานวยความสะดวกใหกับคนพิการจึงถือไดวา
เปนการมีหนังสือรองขอใหผูถูกฟองคดีที่ ๑ ซึ่งเปนหนวยงานทางปกครองและผูถูกฟองคดีที่ ๔
ปฏิบัติตามอํานาจหนาที่ที่กฎหมายกําหนดดวย ในเมื่อผูถูกฟองคดีที่ ๔ รวมทั้งผูถูกฟองคดีที่ ๑
ไมไดดําเนินการตามคํารองขอ อันเปนเหตุใหผูฟองคดีทั้งสามไดรับความเดือดรอนหรือเสียหาย
ผูฟองคดีทั้งสามจึงชอบที่จะฟองผูถูกฟองคดีที่ ๔ และผูถูกฟองคดีที่ ๑ รวมกันตอศาลปกครอง
ตามนัยมาตรา ๙ วรรคหนึ่ง (๒) แหงพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณา
คดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ได สําหรับขออางของผูถูกฟองคดีที่ ๔ ที่วา ผูถูกฟองคดีที่ ๔
กําลังอยูในระหวางการดําเนินการตามคําสั่งของศาลลมละลายกลางใหฟนฟูกิจการอยูนั้น
เมื่อคดีนี้เปนกรณีที่ผูฟองคดีทั้งสามไดยื่นฟองคดีตอศาลปกครองโดยกลาวหาวาผูถูกฟองคดีที่ ๔
ละเลยตอหนาที่ตามที่กฎหมายกําหนดใหตองปฏิบัติหรือปฏิบัติหนาที่ดังกลาวลาชาเกินสมควร
ตามมาตรา ๙ วรรคหนึ่ง (๒) แหงพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง
พ.ศ. ๒๕๔๒ มิใชเปนการฟองคดีแพง ตามมาตรา ๙๐/๑๒ แหงพระราชบัญญัติลมละลาย
พุทธศักราช ๒๔๘๓ แตอยางใด ขออางของผูถูกฟองคดีที่ ๔ ในประเด็นนี้จึงไมอาจรับฟงได
สวนขออางของผูถูกฟองคดีที่ ๔ ที่วา ผูฟองคดีทั้งสามมิใชคนพิการ นั้น ตามมาตรา ๓
(ที่ถูกคือ มาตรา ๔) แหงพระราชบัญญัติการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ พ.ศ. ๒๕๓๔
และขอ ๑ (๓) และขอ ๔ (ข) ของกฎกระทรวง ฉบับที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๓๗) ออกตามความใน
พระราชบัญญัติการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ พ.ศ. ๒๕๓๔ ไดกําหนดวา คนพิการ หมายความวา
/คนที่มีความผิด...
๑๑
คนที่มีความผิดปกติหรือบกพรองทางรางกาย ทางสติปญญา หรือทางจิตใจ ตามประเภท
และหลักเกณฑที่กําหนดในกฎกระทรวง โดยกฎหมายดังกลาวไดกําหนดประเภทของคนพิการ
ไวในกรณีตางๆ เชน การมองเห็น การไดยินหรือการสื่อความหมาย การเคลื่อนไหว พฤติกรรม
สติปญญาหรือการเรียนรู เปนตน โดยในกรณีของคนพิการทางการเคลื่อนไหวนั้น ไดแก
คนที่สูญเสียความสามารถในการเคลื่อนไหวมือ แขน ขา หรือลําตัว อันเนื่องมาจากแขน
หรือขาขาด อัมพาตหรือออนแรง ฯลฯ ที่ทําใหไมสามารถประกอบกิจวัตรหลักในชีวิตประจําวัน
หรือดํารงชีวิตเยี่ยงคนปกติได เมื่อขอเท็จจริงฟงไดวา ผูฟองคดีที่ ๑ ขาขาดทั้งสองขาง
สวนผูฟองคดีที่ ๒ และผูฟองคดีที่ ๓ แมมีขาครบทั้งสองขางแตไมมีความรูสึก ซึ่งจากลักษณะ
ทางกายของผูฟองคดีทั้งสามที่ปรากฏนั้นเห็นไดอยางชัดเจนวาไมสามารถประกอบกิจวัตรหลัก
ในชีวิตประจําวันไดและไมสามารถเคลื่อนไหวไดตามปกติ กรณีจึงถือไดวาผูฟองคดีทั้งสาม
เปนคนพิการตามหลักเกณฑที่กฎหมายกําหนดไวแลว ขออางของผูถูกฟองคดีที่ ๔ จึงไมอาจ
รับฟงไดเชนกัน
ประเด็นที่สอง ผูฟองคดีทั้งสามไดยื่นฟองผูถูกฟองคดีทั้งสี่ ภายในระยะเวลา
ตามที่กําหนดไวในมาตรา ๔๙ แหงพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณา
คดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ หรือไม ศาลปกครองชั้นตนเห็นวา กอนฟองคดีผูฟองคดีที่ ๑
ไดมีหนังสือถึงผูถูกฟองคดีที่ ๒ เพื่อขอใหมีการดําเนินการเกี่ยวกับการกอสรางลิฟทและ
สิ่งอํานวยความสะดวกใหกับคนพิการมาแลวเปนลําดับ กลาวคือ ในครั้งแรกผูฟองคดีที่ ๑
ไดมีหนังสือลงวันที่ ๒๙ ธันวาคม ๒๕๔๘ ถึงผูถูกฟองคดีที่ ๒ และผูถูกฟองคดีที่ ๒
ไดจัดการประชุมเมื่อวันที่ ๒๓ มกราคม ๒๕๔๙ จากนั้นเจาหนาที่ของผูถูกฟองคดีที่ ๑
ไดมีหนังสือลงวันที่ ๑๖ กุมภาพันธ ๒๕๔๙ สงรายงานการประชุมใหผูฟองคดีที่ ๑ ทราบ
ผูฟองคดีที่ ๑ จึงไดมีหนังสือลงวันที่ ๒๐ กุมภาพันธ ๒๕๔๙ ถึงผูถูกฟองคดีที่ ๒ และหนังสือ
ลงวันที่ ๒๑ กุมภาพันธ ๒๕๔๙ ถึงผูถูกฟองคดีที่ ๔ เพื่อขอใหมีการปรับปรุงทางขึ้นลง
สถานีรถไฟฟาบีทีเอส (BTS) อีกครั้งหนึ่ง ตอมา ผูฟองคดีที่ ๑ ไดมีหนังสือลงวันที่ ๒๘
มีนาคม ๒๕๔๙ ถึงผูถูกฟองคดีที่ ๔ โดยผูถูกฟองคดีที่ ๔ ไดจัดประชุมเมื่อวันที่ ๒๗
เมษายน ๒๕๔๙ ซึ่งหลังจากนั้น ผูฟองคดีที่ ๑ ไดมีหนังสือลงวันที่ ๒๘ พฤศจิกายน ๒๕๔๙
ถึงผูถูกฟองคดีที่ ๒ เพื่อขอใหมีการจัดสิ่งอํานวยความสะดวกในโครงการรถไฟฟาสายสีเขียวออน
และสีเขียวเขม แตผูถูกฟองคดีที่ ๒ ไมไดแจงผลการพิจารณาใหผูฟองคดีที่ ๑ ทราบแตอยางใด
จนกระทั่งผูฟองคดีที่ ๑ ไดมีหนังสือลงวันที่ ๕ มีนาคม ๒๕๕๐ ถึงผูถูกฟองคดีที่ ๒ ขอทราบ
/ความคืบหนา...
๑๒
ความคืบหนาในเรื่องดังกลาวแตไมปรากฏขอเท็จจริงวาผูถูกฟองคดีทั้งสี่ไดแจงผลการพิจารณา
ใหผูฟองคดีทั้งสามทราบแตอยางใด ผูฟองคดีทั้งสามจึงไดนําคดีมาฟองเมื่อวันที่ ๑๓ กันยายน
๒๕๕๐ นั้น การที่ผูฟองคดีที่ ๑ ไดมีหนังสือถึงผูถูกฟองคดีที่ ๒ ครั้งแรก เมื่อวันที่ ๒๙ ธันวาคม
๒๕๔๘ และหลังจากนั้นก็ไดมีหนังสือรองขอใหผูถูกฟองคดีทั้งสี่ดําเนินการเปนลําดับ จนกระทั่ง
ครั้งหลังสุดไดมีหนังสือลงวันที่ ๕ มีนาคม ๒๕๕๐ ขอทราบผลการพิจารณา ยอมแสดงวา
ผูฟองคดียังไมไดรับหนังสือชี้แจงจากผูถูกฟองคดีทั้งสี่แตอยางใด จึงตองถือวาวันดังกลาว
เปนวันที่รูหรือควรรูถึงเหตุแหงการฟองคดีนั่นเอง การที่ผูฟองคดีทั้งสามไดนําคดีมาฟอง
เมื่อวันที่ ๑๓ กันยายน ๒๕๕๐ จึงเปนกรณีที่ผูฟองคดีทั้งสามไดนําคดีมายื่นฟองเมื่อพน
กําหนดเกาสิบวันนับแตวันที่ผูฟองคดีทั้งสามไดมีหนังสือรองขอตอหนวยงานทางปกครอง
หรือเจาหนาที่ของรัฐเพื่อใหปฏิบัติหนาที่ตามที่กฎหมายกําหนดแตไมไดรับคําชี้แจงตาม
มาตรา ๔๙ แหงพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒
แตโดยที่การยื่นฟองคดีนี้จะเปนประโยชนแกสวนรวมคือคนพิการและผูสูงอายุโดยทั่วไป
ศาลจึงสามารถรับคดีนี้ไวพิจารณาไดตามนัยมาตรา ๕๒ วรรคสอง แหงพระราชบัญญัติ
ดังกลาว ขออางของผูถูกฟองคดีทั้งสี่ที่วาผูฟองคดีทั้งสามไดยื่นฟองเมื่อพนกําหนดเวลา
จึงไมอาจรับฟงได
ประเด็นที่สาม ผูถูกฟองคดีทั้งสี่ละเลยตอหนาที่ตามที่กฎหมายกําหนด
ใหตองปฏิบัติหรือปฏิบัติหนาที่ดังกลาวลาชาเกินสมควรหรือไม ศาลปกครองชั้นตนเห็นวา
มาตรา ๕๕ ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ ซึ่งมีผลบังคับ
ในขณะที่เกิดขอพิพาทในคดีนี้ บัญญัติวา บุคคลซึ่งพิการหรือทุพพลภาพมีสิทธิไดรับ
สิ่งอํานวยความสะดวกอันเปนสาธารณะและความชวยเหลืออื่นจากรัฐ ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ
และมาตรา ๘๙ แหงพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๒๘
กําหนดใหผูถูกฟองคดีที่ ๑ มีอํานาจหนาที่ดําเนินกิจการในเขตกรุงเทพมหานคร
ในหลายกรณี ซึ่งหมายความรวมถึงการจัดใหมีและบํารุงรักษาเกี่ยวกับระบบขนสงมวลชน
และทําหนาที่อื่นๆ ตามที่กฎหมายระบุใหเปนอํานาจหนาที่ของผูวาราชการจังหวัด นายอําเภอ
เทศบาลนคร หรือตามที่คณะรัฐมนตรี นายกรัฐมนตรี หรือรัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย
มอบหมาย หรือที่กฎหมายระบุเปนหนาที่ของกรุงเทพมหานคร สวนผูถูกฟองคดีที่ ๒ นั้น
มาตรา ๔๙ แหงพระราชบัญญัติดังกลาว กําหนดใหมีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้ (๑) กําหนด
นโยบายและบริหารราชการกรุงเทพมหานครใหเปนไปตามกฎหมาย (๒) สั่ง อนุญาต อนุมัติ
เกี่ยวกับราชการของกรุงเทพมหานคร (๓) แตงตั้งและถอดถอนรองผูวาราชการกรุงเทพมหานคร
/เลขานุการ...
๑๓
เลขานุการผูวาราชการกรุงเทพมหานคร ผูชวยเลขานุการผูวาราชการกรุงเทพมหานคร และ
แตงตั้งและถอดถอนผูทรงคุณวุฒิเปนประธานที่ปรึกษาที่ปรึกษาหรือคณะที่ปรึกษาของผูวาราชการ
กรุงเทพมหานคร หรือเปนคณะกรรมการเพื่อปฏิบัติราชการใดๆ (๔) บริหารราชการตามที่
คณะรัฐมนตรี นายกรัฐมนตรี หรือรัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทยมอบหมาย (๕) วางระเบียบ
เพื่อใหงานของกรุงเทพมหานครเปนไปโดยเรียบรอย (๖) รักษาการใหเปนไปตามขอบัญญัติ
ของกรุงเทพมหานคร (๗) อํานาจหนาที่อื่นตามที่บัญญัติไวในพระราชบัญญัตินี้และกฎหมายอื่น
และสําหรับในเรื่องลักษณะของอาคาร สถานที่ ยานพาหนะหรือบริการสาธารณะอื่นที่ตองมี
อุปกรณที่อํานวยความสะดวกโดยตรงแกคนพิการนั้น มาตรา ๑๗ วรรคหนึ่ง (๑) แหง
พระราชบัญญัติการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ พ.ศ. ๒๕๓๔ บัญญัติวา เพื่อเปนการคุมครอง
และสงเคราะหคนพิการใหรัฐมนตรีมีอํานาจออกกฎกระทรวงกําหนดลักษณะอาคาร
สถานที่ ยานพาหนะ หรือบริการสาธารณะอื่นที่ตองมีอุปกรณที่อํานวยความสะดวกโดยตรง
แกคนพิการ โดยรัฐมนตรีวาการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคมไดออกกฎกระทรวง
ฉบับที่ ๔ (พ.ศ. ๒๕๔๒) ออกตามความในพระราชบัญญัติการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ
พ.ศ. ๒๕๓๔ เมื่อวันที่ ๓ ธันวาคม ๒๕๔๒ โดยในขอ ๒ ของกฎกระทรวงดังกลาวไดกําหนดให
ลักษณะอาคารที่ตองมีอุปกรณที่อํานวยความสะดวกโดยตรงแกคนพิการ ไดแก อาคารของ
สถานสงเคราะหคนพิการหรือคนชรา สถานศึกษาสําหรับคนพิการ โรงพยาบาล โรงแรม
หอประชุม สถานศึกษา สถานีขนสงมวลชน และอาคารในลักษณะอื่นใดตามที่กฎหมาย
วาดวยการควบคุมอาคารกําหนด และขอ ๔ ไดกําหนดใหลักษณะยานพาหนะที่ตองมี
อุปกรณที่อํานวยความสะดวกโดยตรงแกคนพิการ ไดแก รถยนตสาธารณะและรถยนต
บริการตามกฎหมายวาดวยรถยนต รถที่ใชในการขนสงผูโดยสารประเภทขนสงประจําทาง
และไมประจําทางตามกฎหมาย รถไฟหรือรถไฟฟาตามกฎหมายวาดวยการนั้น เปนตน
สําหรับอุปกรณที่อํานวยความสะดวกโดยตรงแกคนพิการใหเปนไปตามระเบียบที่
คณะกรรมการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการกําหนด เวนแตในกรณีที่กฎหมายที่ควบคุมอาคาร
สถานที่ ยานพาหนะหรือบริการสาธารณะอื่น จะไดกําหนดอุปกรณที่อํานวยความสะดวก
โดยตรงแกคนพิการไวโดยเฉพาะ และมีมาตรฐานไมต่ํากวาที่คณะกรรมการดังกลาวกําหนด
หลังจากนั้น จึงไดมีการออกระเบียบคณะกรรมการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการวาดวย
มาตรฐานอุปกรณหรือสิ่งอํานวยความสะดวกโดยตรงแกคนพิการ พ.ศ. ๒๕๔๔ โดยได
ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ ๓๐ พฤษภาคม ๒๕๔๔ และมีผลใชบังคับตั้งแต
วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป ระเบียบดังกลาวไดกําหนดรายละเอียด
/ของอุปกรณ...
๑๔
ของอุปกรณหรือสิ่งอํานวยความสะดวกโดยตรงแกคนพิการที่จะตองติดตั้งในอาคาร
ซึ่งประกอบดวยทางเขาสูอาคาร ทางลาด ทางเชื่อมระหวางอาคารและระเบียง ประตู บันได
ลิฟท หองน้ํา ที่อาบน้ํา หองสวมและอางลางมือ สวนในยานพาหนะที่เปนรถไฟหรือรถไฟฟา
ไดกําหนดใหมีอุปกรณหรือสิ่งอํานวยความสะดวกโดยตรงแกคนพิการ โดยกําหนดให
ความกวางของประตูไมนอยวา ๙๐ เซนติเมตร ชานชาลากับตัวรถมีความหางไมเกิน ๗.๕
เซนติเมตร ทางเดินระหวางที่นั่งทั้งสองขางใหมีความกวางไมนอยกวา ๙๐ เซนติเมตร
ทางขึ้น – ลง ใหจัดที่วางสําหรับเกาอี้เข็นคนพิการใหมีความกวางไมนอยกวา ๑๒๐ เซนติเมตร
และใหมีราวจับสูงจากพื้นไมนอยกวา ๘๐ เซนติเมตร ติดสัญลักษณคนพิการไวทั้งใน
และนอกตัวรถคันที่จัดไวใหสําหรับคนพิการ และมีเสียงบอกชื่อสถานีถัดไปสําหรับคนพิการ
ทางการมองเห็น และมีอักษรวิ่งบอกชื่อสถานีสําหรับคนพิการทางการไดยินหรือ
สื่อความหมาย จากระเบียบกฎหมายดังกลาวขางตนแสดงใหเห็นวา แมวาตามบทบัญญัติ
ของรัฐธรรมนูญจะไดรับรองสิทธิของผูพิการหรือผูทุพพลภาพในการที่จะไดรับสิ่งอํานวย
ความสะดวกอันเปนสาธารณะและความชวยเหลือจากรัฐก็ตาม แตการจัดใหมีสิ่งอํานวย
ความสะดวกหรือความชวยเหลือเหลานั้นจะตองเปนไปตามที่กฎหมายบัญญัติดวย และ
โดยที่การดําเนินการในการจัดระบบขนสงมวลชนกรุงเทพมหานคร หรือ BTS ซึ่งถือเปนการ
ดําเนินการตามอํานาจหนาที่ที่กฎหมายกําหนดของผูถูกฟองคดีทั้งสี่นั้น เปนการดําเนินการ
ในลักษณะสัญญาสัมปทานมาตั้งแตวันที่ ๙ เมษายน ๒๕๓๕ ซึ่งในขณะนั้นแมจะมี
พระราชบัญญัติการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ พ.ศ. ๒๕๓๔ ใชบังคับ แตกฎหมายดังกลาว
ไดมีเจตนารมณเพื่อเปนการสนับสนุนสงเสริมใหคนพิการไดมีโอกาสในดานตางๆ สามารถ
ดํารงชีวิตประกอบอาชีพและมีสวนรวมในกิจกรรมของสังคมไดเทาเทียมกับคนปกติ
โดยทั่วไป รวมทั้งใหสังคมไดมีสวนรวมในการเกื้อกูลและฟนฟูสมรรถภาพคนพิการดวย
เทานั้น โดยมิไดมีการกําหนดรายละเอียดของอาคาร สถานที่ หรือยานพาหนะที่จะตองจัด
ใหมีสิ่งอํานวยความสะดวกใหคนพิการเอาไวแตอยางใด อีกทั้งการดําเนินการกอสรางระบบ
ขนสงมวลชนกรุงเทพมหานคร หรือ BTS นั้น จําเปนตองพิจารณาถึงปจจัยที่เกี่ยวของในอีก
หลายๆ ดาน เชน ตนทุน และคาใชจายในการกอสราง รายได และผลตอบแทน เปนตน และ
ในขณะเดียวกันก็จําเปนตองพิจารณาถึงขอบังคับตามที่ระเบียบกฎหมายในขณะนั้นกําหนดไวในสวน
ที่เกี่ยวกับการกอสรางอาคารที่จะตองจัดใหมีสิ่งอํานวยความสะดวกใหกับคนพิการอีกดวย
ทั้งนี้ เพื่อใชเปนกรอบแนวทางในการออกแบบและดําเนินการกอสรางตอไป และแมวา
ระเบียบกฎหมายในขณะนั้นจะไมไดกําหนดใหมีการกอสรางสิ่งอํานวยความสะดวกใหกับ
/คนพิการเอาไว...
๑๕
คนพิการเอาไว และหากผูถูกฟองคดีทั้งสี่จะดําเนินการจัดใหมีสิ่งอํานวยความสะดวกใหกับ
คนพิการตามมาในภายหลังแลว การดําเนินการในลักษณะดังกลาวก็ไมไดขัดตอระเบียบ
กฎหมายก็ตาม แตการที่จะดําเนินการเชนวานั้นไดยอมขึ้นอยูกับปจจัยในดานตางๆ เชน
งบประมาณ และความมั่นคงแข็งแรงของอาคารที่จะจัดใหมีสิ่งอํานวยความสะดวกเหลานั้น
การบริหารจัดการระบบขนสงมวลชน และผลกระทบที่จะเกิดขึ้นกับประชาชนผูใชบริการ เปนตน
การจัดใหมีสิ่งอํานวยความสะดวกใหกับคนพิการในระบบขนสงมวลชนกรุงเทพมหานคร
หรือ BTS จึงตองพิจารณาจากปจจัยดังกลาวขางตนประกอบกัน ขอเท็จจริงในสวนนี้ปรากฏวา
ผูถูกฟองคดีที่ ๑ และผูถูกฟองคดีที่ ๔ ไดทําสัญญาสัมปทานระบบขนสงมวลชนเมื่อวันที่ ๙
เมษายน ๒๕๓๕ ภายใตชื่อ “ระบบขนสงมวลชนกรุงเทพมหานคร” โดยมีชื่อยอวา “BTS”
ซึ่งเปนการทําสัญญากอนที่กฎกระทรวง ฉบับที่ ๔ (พ.ศ. ๒๕๔๒) ออกตามความใน
พระราชบัญญัติการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ พ.ศ. ๒๕๓๔ และระเบียบคณะกรรมการ
ฟนฟูสมรรถภาพคนพิการวาดวยมาตรฐานอุปกรณหรือสิ่งอํานวยความสะดวกโดยตรงแก
คนพิการ พ.ศ. ๒๕๔๔ ใชบังคับ ในเมื่อการทําสัญญาดังกลาวไดกระทําขึ้นในขณะที่ไมมี
ระเบียบกฎหมายกําหนดใหผูถูกฟองคดีทั้งสี่จัดใหมีสิ่งอํานวยความสะดวกแกคนพิการ
ในระบบขนสงมวลชนกรุงเทพมหานคร ผูถูกฟองคดีที่ ๑ และผูถูกฟองคดีที่ ๔ ซึ่งเปนคูสัญญา
และผูถูกฟองคดีที่ ๒ และผูถูกฟองคดีที่ ๓ ซึ่งเปนเจาหนาที่ของรัฐที่เกี่ยวของตามโครงการ
ดังกลาวรวมถึงผูที่รับผิดชอบในการสํารวจออกแบบจึงไมอาจทราบถึงลักษณะของอาคาร
สถานที่ ยานพาหนะ หรือบริการสาธารณะอื่นที่ตองจัดใหมีอุปกรณที่อํานวยความสะดวก
โดยตรงแกคนพิการตามที่มาตรา ๑๗ แหงพระราชบัญญัติการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ
พ.ศ. ๒๕๓๔ กําหนดไวได เนื่องจากในขณะนั้นยังไมมีการกําหนดรายละเอียดรวมทั้งชนิด
และประเภทของอาคาร สถานที่ และยานพาหนะที่จะตองจัดใหมีสิ่งอํานวยความสะดวก
ใหกับคนพิการนั่นเอง การที่ผูถูกฟองคดีทั้งสี่ไมจัดใหมีรวมทั้งกอสรางลิฟทและสิ่งอํานวย
ความสะดวกแกคนพิการในบริเวณสถานีรถไฟฟาและบนรถไฟฟาในโครงการขนสงมวลชน
กรุงเทพมหานคร (BTS) จึงเปนการปฏิบัติตามอํานาจหนาที่ตามที่ระเบียบกฎหมายในขณะนั้น
ใชบังคับแลว จึงไมอาจถือไดวาผูถูกฟองคดีทั้งสี่ไดละเลยตอหนาที่ตามที่กฎหมายกําหนด
ใหตองปฏิบัติหรือปฏิบัติหนาที่ดังกลาวลาชาเกินสมควร สําหรับขออางของผูฟองคดีทั้งสาม
ที่วา แมวาจะไดมีการทําสัญญาสัมปทานดังกลาวกอนที่กฎกระทรวงและระเบียบดังกลาวใชบังคับ
แตก็ไมมีระเบียบกฎหมายยกเวนวาผูถูกฟองคดีทั้งสี่ไมตองจัดใหมีสิ่งอํานวยความสะดวก
ใหแกคนพิการ การไมจัดสิ่งอํานวยความสะดวกดังกลาวโดยถือตามวันที่ระเบียบใชบังคับ
/ยอมผิดไปจาก...
๑๖
ยอมผิดไปจากเจตนารมณของพระราชบัญญัติการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ พ.ศ. ๒๕๓๔
ผิดหลักนิติธรรมและเปนการใชอํานาจทางปกครองที่ปราศจากความเมตตานั้น แมวาเจตนารมณ
ของพระราชบัญญัติการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ พ.ศ. ๒๕๓๔ จะเปนการคุมครอง
การสงเคราะห การพัฒนา และการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการโดยวิธีการตางๆ รวมทั้งใหสังคม
มีสวนรวมในการเกื้อกูลและฟนฟูสมรรถภาพคนพิการก็ตาม แตบทบัญญัติในมาตรา ๑๗
แหงพระราชบัญญัติดังกลาว ไดกําหนดใหการคุมครองและการสงเคราะหคนพิการจะ
ดําเนินการไดมากนอยเพียงใด จะตองใหรัฐมนตรีผูรักษาการตามพระราชบัญญัติดังกลาว
ออกกฎกระทรวงเพื่อกําหนดลักษณะของอาคาร สถานที่ ยานพาหนะ หรือบริการสาธารณะอื่น
ที่จะตองมีอุปกรณที่อํานวยความสะดวกโดยตรงแกคนพิการอีกครั้งหนึ่ง เนื่องจากการดําเนินการ
ในกรณีดังกลาวจําเปนตองคํานึงถึงผลกระทบตอสภาพสังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรม
รวมทั้งงบประมาณและคาใชจายที่เพิ่มขึ้น ตลอดจนระดับของการพัฒนาทางดานตางๆ
ของประเทศโดยรวมดวย นอกจากนั้น อาคารสิ่งปลูกสรางหรือโครงการที่มีการดําเนินการ
ไปกอนที่จะมีระเบียบกฎหมายดังกลาวใชบังคับโดยไมไดจัดใหมีสิ่งอํานวยความสะดวก
แกคนพิการ หากจะมีการกอสรางสิ่งอํานวยความสะดวกเหลานั้นตอมาในภายหลังเพื่อให
เปนไปตามเงื่อนไขของระเบียบกฎหมายที่ออกมาภายหลังที่วาจะตองจัดใหมีสิ่งอํานวย
ความสะดวกใหคนพิการนั้น จําเปนตองคํานึงถึงความเปนไปไดในหลายกรณี เชน ความเปนไปได
ทางวิศวกรรมวาจะมีผลกระทบตอโครงสรางอาคารสิ่งกอสรางเดิม และคาใชจายที่จะเพิ่มขึ้น
อันจะสงผลกระทบตอการบริหารโครงการตามมาเชนกัน การดําเนินการของผูถูกฟองคดีทั้งสี่
ที่ไมกอสรางระบบลิฟทและสิ่งอํานวยความสะดวกใหกับคนพิการในโครงการระบบขนสง
มวลชนกรุงเทพมหานคร จึงไมเปนการขัดตอเจตนารมณของพระราชบัญญัติการฟนฟู
สมรรถภาพคนพิการ พ.ศ. ๒๕๓๔ หรือขัดตอหลักนิติธรรม รวมทั้งมิใชเปนการใชอํานาจ
ทางปกครองโดยปราศจากความเมตตาดังที่ผูฟองคดีทั้งสามกลาวอางแตอยางใด
นอกจากนั้น ยังปรากฏขอเท็จจริงดวยวา หลังจากที่ผูฟองคดีทั้งสามไดมีการรองขอใหมี
การกอสรางลิฟทและสิ่งอํานวยความสะดวกแกคนพิการแลว ผูถูกฟองคดีทั้งสี่ก็ได
ดําเนินการกอสรางลิฟทและสิ่งอํานวยความสะดวกใหแกคนพิการเพิ่มขึ้นในบางสถานีรวม
๕ สถานี คือ สถานีอโศก สถานีออนนุช สถานีชองนนทรี สถานีหมอชิต และสถานีสยาม
ซึ่งเปนสถานีที่มีความสําคัญและมีผูโดยสารหนาแนน แสดงใหเห็นวาผูถูกฟองคดีทั้งสี่
ไดดําเนินการตามอํานาจหนาที่และเปนไปตามระเบียบที่ออกมาภายหลังเชนกัน อีกทั้ง
ยังปรากฏจากคําชี้แจงของผูถูกฟองคดีที่ ๑ และผูถูกฟองคดีที่ ๒ ดวยวา สําหรับสถานี
/รถไฟฟาที่เหลือ...
คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุดให้ BTS ติดตั้งลิฟท์ทุกสถานี (อ.650/2557)
คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุดให้ BTS ติดตั้งลิฟท์ทุกสถานี (อ.650/2557)
คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุดให้ BTS ติดตั้งลิฟท์ทุกสถานี (อ.650/2557)
คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุดให้ BTS ติดตั้งลิฟท์ทุกสถานี (อ.650/2557)
คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุดให้ BTS ติดตั้งลิฟท์ทุกสถานี (อ.650/2557)
คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุดให้ BTS ติดตั้งลิฟท์ทุกสถานี (อ.650/2557)
คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุดให้ BTS ติดตั้งลิฟท์ทุกสถานี (อ.650/2557)
คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุดให้ BTS ติดตั้งลิฟท์ทุกสถานี (อ.650/2557)
คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุดให้ BTS ติดตั้งลิฟท์ทุกสถานี (อ.650/2557)
คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุดให้ BTS ติดตั้งลิฟท์ทุกสถานี (อ.650/2557)
คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุดให้ BTS ติดตั้งลิฟท์ทุกสถานี (อ.650/2557)
คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุดให้ BTS ติดตั้งลิฟท์ทุกสถานี (อ.650/2557)
คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุดให้ BTS ติดตั้งลิฟท์ทุกสถานี (อ.650/2557)
คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุดให้ BTS ติดตั้งลิฟท์ทุกสถานี (อ.650/2557)
คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุดให้ BTS ติดตั้งลิฟท์ทุกสถานี (อ.650/2557)
คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุดให้ BTS ติดตั้งลิฟท์ทุกสถานี (อ.650/2557)
คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุดให้ BTS ติดตั้งลิฟท์ทุกสถานี (อ.650/2557)

More Related Content

More from Parun Rutjanathamrong

WHO guideline on country pharmaceutical pricing policies 2015
WHO guideline on country pharmaceutical pricing policies 2015WHO guideline on country pharmaceutical pricing policies 2015
WHO guideline on country pharmaceutical pricing policies 2015Parun Rutjanathamrong
 
เรื่องร้องทุกข์กรณีขอย้ายในตำแหน่งเภสัชกรชำนาญการและอ้างถึงการย้ายข้ามหน้าข้ามตา
เรื่องร้องทุกข์กรณีขอย้ายในตำแหน่งเภสัชกรชำนาญการและอ้างถึงการย้ายข้ามหน้าข้ามตาเรื่องร้องทุกข์กรณีขอย้ายในตำแหน่งเภสัชกรชำนาญการและอ้างถึงการย้ายข้ามหน้าข้ามตา
เรื่องร้องทุกข์กรณีขอย้ายในตำแหน่งเภสัชกรชำนาญการและอ้างถึงการย้ายข้ามหน้าข้ามตาParun Rutjanathamrong
 
รายงานการประชุมพิจารณาร่างพระราชบัญญัติควบคุมหมอดูและหมอทำเสน่ห์ยาแฝด พ.ศ. 2482
รายงานการประชุมพิจารณาร่างพระราชบัญญัติควบคุมหมอดูและหมอทำเสน่ห์ยาแฝด พ.ศ. 2482รายงานการประชุมพิจารณาร่างพระราชบัญญัติควบคุมหมอดูและหมอทำเสน่ห์ยาแฝด พ.ศ. 2482
รายงานการประชุมพิจารณาร่างพระราชบัญญัติควบคุมหมอดูและหมอทำเสน่ห์ยาแฝด พ.ศ. 2482Parun Rutjanathamrong
 
การอภิปรายให้ร้านยามีเภสัชกรประจำตลอดเวลาเปิดทำการ ปี 2527
การอภิปรายให้ร้านยามีเภสัชกรประจำตลอดเวลาเปิดทำการ ปี 2527การอภิปรายให้ร้านยามีเภสัชกรประจำตลอดเวลาเปิดทำการ ปี 2527
การอภิปรายให้ร้านยามีเภสัชกรประจำตลอดเวลาเปิดทำการ ปี 2527Parun Rutjanathamrong
 
คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด คดีเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาลราชการ เจ้าหน้าที่ไม่เชื่อว...
คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด คดีเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาลราชการ เจ้าหน้าที่ไม่เชื่อว...คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด คดีเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาลราชการ เจ้าหน้าที่ไม่เชื่อว...
คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด คดีเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาลราชการ เจ้าหน้าที่ไม่เชื่อว...Parun Rutjanathamrong
 
จับตา!สอบข้อเท็จจริง2ฝ่าย'หมอณรงค์ สปสช.'
จับตา!สอบข้อเท็จจริง2ฝ่าย'หมอณรงค์ สปสช.'จับตา!สอบข้อเท็จจริง2ฝ่าย'หมอณรงค์ สปสช.'
จับตา!สอบข้อเท็จจริง2ฝ่าย'หมอณรงค์ สปสช.'Parun Rutjanathamrong
 
องค์การเภสัชกรรมโชว์กำไร6ปี ช่วยรัฐประหยัดเกือบ 2 หมื่นล้าน
องค์การเภสัชกรรมโชว์กำไร6ปี ช่วยรัฐประหยัดเกือบ 2 หมื่นล้านองค์การเภสัชกรรมโชว์กำไร6ปี ช่วยรัฐประหยัดเกือบ 2 หมื่นล้าน
องค์การเภสัชกรรมโชว์กำไร6ปี ช่วยรัฐประหยัดเกือบ 2 หมื่นล้านParun Rutjanathamrong
 
W11 2557-แนวทางการดำเนินการตามประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือน กรณีการเรี่ยไร ...
W11 2557-แนวทางการดำเนินการตามประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือน กรณีการเรี่ยไร  ...W11 2557-แนวทางการดำเนินการตามประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือน กรณีการเรี่ยไร  ...
W11 2557-แนวทางการดำเนินการตามประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือน กรณีการเรี่ยไร ...Parun Rutjanathamrong
 
คู่มือการตรวจสอบคำขอรับสิทธิบัตรการประดิษฐ์และอนุสิทธิบัตรทางด้านเคมีและเภสัช...
คู่มือการตรวจสอบคำขอรับสิทธิบัตรการประดิษฐ์และอนุสิทธิบัตรทางด้านเคมีและเภสัช...คู่มือการตรวจสอบคำขอรับสิทธิบัตรการประดิษฐ์และอนุสิทธิบัตรทางด้านเคมีและเภสัช...
คู่มือการตรวจสอบคำขอรับสิทธิบัตรการประดิษฐ์และอนุสิทธิบัตรทางด้านเคมีและเภสัช...Parun Rutjanathamrong
 
เนื้อหาความตกลงอาเซียนด้านยาแผนโบราณและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร และภาคผนวก (ย่อ)
เนื้อหาความตกลงอาเซียนด้านยาแผนโบราณและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร และภาคผนวก (ย่อ)เนื้อหาความตกลงอาเซียนด้านยาแผนโบราณและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร และภาคผนวก (ย่อ)
เนื้อหาความตกลงอาเซียนด้านยาแผนโบราณและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร และภาคผนวก (ย่อ)Parun Rutjanathamrong
 
สถิติคดีในศาลยุติธรรมปี2556
สถิติคดีในศาลยุติธรรมปี2556สถิติคดีในศาลยุติธรรมปี2556
สถิติคดีในศาลยุติธรรมปี2556Parun Rutjanathamrong
 
เกณฑ์จริยธรรมการจัดซื้อยาและการส่งเสริมการขายยา
เกณฑ์จริยธรรมการจัดซื้อยาและการส่งเสริมการขายยาเกณฑ์จริยธรรมการจัดซื้อยาและการส่งเสริมการขายยา
เกณฑ์จริยธรรมการจัดซื้อยาและการส่งเสริมการขายยาParun Rutjanathamrong
 
ตารางเปรียบเทียบร่างพ.ร.บ.ยา
ตารางเปรียบเทียบร่างพ.ร.บ.ยาตารางเปรียบเทียบร่างพ.ร.บ.ยา
ตารางเปรียบเทียบร่างพ.ร.บ.ยาParun Rutjanathamrong
 
Royal decree วิธีการเสนอเรื่องต่อคณะรัฐมนตรี
Royal decree วิธีการเสนอเรื่องต่อคณะรัฐมนตรีRoyal decree วิธีการเสนอเรื่องต่อคณะรัฐมนตรี
Royal decree วิธีการเสนอเรื่องต่อคณะรัฐมนตรีParun Rutjanathamrong
 
เปลี่ยนแปลงระบบการตรวจประเมินGmp
เปลี่ยนแปลงระบบการตรวจประเมินGmpเปลี่ยนแปลงระบบการตรวจประเมินGmp
เปลี่ยนแปลงระบบการตรวจประเมินGmpParun Rutjanathamrong
 
ข่าวประท้วงร่าง พ.ร.บ.ยา 9ตุลาคม2557
ข่าวประท้วงร่าง พ.ร.บ.ยา 9ตุลาคม2557ข่าวประท้วงร่าง พ.ร.บ.ยา 9ตุลาคม2557
ข่าวประท้วงร่าง พ.ร.บ.ยา 9ตุลาคม2557Parun Rutjanathamrong
 
สิทธิอุทธรณ์ฎีกาในคดีอาญาที่'ขาด'และ'เกิน'
สิทธิอุทธรณ์ฎีกาในคดีอาญาที่'ขาด'และ'เกิน'สิทธิอุทธรณ์ฎีกาในคดีอาญาที่'ขาด'และ'เกิน'
สิทธิอุทธรณ์ฎีกาในคดีอาญาที่'ขาด'และ'เกิน'Parun Rutjanathamrong
 
Fda แนวปฏิบัติตามกฎกระทรวงการขอนุญาตและการออกใบอนุญาตขายยาแผนปัจจุบัน
Fda แนวปฏิบัติตามกฎกระทรวงการขอนุญาตและการออกใบอนุญาตขายยาแผนปัจจุบันFda แนวปฏิบัติตามกฎกระทรวงการขอนุญาตและการออกใบอนุญาตขายยาแผนปัจจุบัน
Fda แนวปฏิบัติตามกฎกระทรวงการขอนุญาตและการออกใบอนุญาตขายยาแผนปัจจุบันParun Rutjanathamrong
 
ห้ามพระภิกษุสามเณรประกอบอาชีพเป็นหมอหรือแพทย์รักษาโรค
ห้ามพระภิกษุสามเณรประกอบอาชีพเป็นหมอหรือแพทย์รักษาโรคห้ามพระภิกษุสามเณรประกอบอาชีพเป็นหมอหรือแพทย์รักษาโรค
ห้ามพระภิกษุสามเณรประกอบอาชีพเป็นหมอหรือแพทย์รักษาโรคParun Rutjanathamrong
 

More from Parun Rutjanathamrong (20)

WHO guideline on country pharmaceutical pricing policies 2015
WHO guideline on country pharmaceutical pricing policies 2015WHO guideline on country pharmaceutical pricing policies 2015
WHO guideline on country pharmaceutical pricing policies 2015
 
เรื่องร้องทุกข์กรณีขอย้ายในตำแหน่งเภสัชกรชำนาญการและอ้างถึงการย้ายข้ามหน้าข้ามตา
เรื่องร้องทุกข์กรณีขอย้ายในตำแหน่งเภสัชกรชำนาญการและอ้างถึงการย้ายข้ามหน้าข้ามตาเรื่องร้องทุกข์กรณีขอย้ายในตำแหน่งเภสัชกรชำนาญการและอ้างถึงการย้ายข้ามหน้าข้ามตา
เรื่องร้องทุกข์กรณีขอย้ายในตำแหน่งเภสัชกรชำนาญการและอ้างถึงการย้ายข้ามหน้าข้ามตา
 
รายงานการประชุมพิจารณาร่างพระราชบัญญัติควบคุมหมอดูและหมอทำเสน่ห์ยาแฝด พ.ศ. 2482
รายงานการประชุมพิจารณาร่างพระราชบัญญัติควบคุมหมอดูและหมอทำเสน่ห์ยาแฝด พ.ศ. 2482รายงานการประชุมพิจารณาร่างพระราชบัญญัติควบคุมหมอดูและหมอทำเสน่ห์ยาแฝด พ.ศ. 2482
รายงานการประชุมพิจารณาร่างพระราชบัญญัติควบคุมหมอดูและหมอทำเสน่ห์ยาแฝด พ.ศ. 2482
 
การอภิปรายให้ร้านยามีเภสัชกรประจำตลอดเวลาเปิดทำการ ปี 2527
การอภิปรายให้ร้านยามีเภสัชกรประจำตลอดเวลาเปิดทำการ ปี 2527การอภิปรายให้ร้านยามีเภสัชกรประจำตลอดเวลาเปิดทำการ ปี 2527
การอภิปรายให้ร้านยามีเภสัชกรประจำตลอดเวลาเปิดทำการ ปี 2527
 
คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด คดีเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาลราชการ เจ้าหน้าที่ไม่เชื่อว...
คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด คดีเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาลราชการ เจ้าหน้าที่ไม่เชื่อว...คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด คดีเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาลราชการ เจ้าหน้าที่ไม่เชื่อว...
คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด คดีเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาลราชการ เจ้าหน้าที่ไม่เชื่อว...
 
จับตา!สอบข้อเท็จจริง2ฝ่าย'หมอณรงค์ สปสช.'
จับตา!สอบข้อเท็จจริง2ฝ่าย'หมอณรงค์ สปสช.'จับตา!สอบข้อเท็จจริง2ฝ่าย'หมอณรงค์ สปสช.'
จับตา!สอบข้อเท็จจริง2ฝ่าย'หมอณรงค์ สปสช.'
 
องค์การเภสัชกรรมโชว์กำไร6ปี ช่วยรัฐประหยัดเกือบ 2 หมื่นล้าน
องค์การเภสัชกรรมโชว์กำไร6ปี ช่วยรัฐประหยัดเกือบ 2 หมื่นล้านองค์การเภสัชกรรมโชว์กำไร6ปี ช่วยรัฐประหยัดเกือบ 2 หมื่นล้าน
องค์การเภสัชกรรมโชว์กำไร6ปี ช่วยรัฐประหยัดเกือบ 2 หมื่นล้าน
 
W11 2557-แนวทางการดำเนินการตามประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือน กรณีการเรี่ยไร ...
W11 2557-แนวทางการดำเนินการตามประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือน กรณีการเรี่ยไร  ...W11 2557-แนวทางการดำเนินการตามประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือน กรณีการเรี่ยไร  ...
W11 2557-แนวทางการดำเนินการตามประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือน กรณีการเรี่ยไร ...
 
คู่มือการตรวจสอบคำขอรับสิทธิบัตรการประดิษฐ์และอนุสิทธิบัตรทางด้านเคมีและเภสัช...
คู่มือการตรวจสอบคำขอรับสิทธิบัตรการประดิษฐ์และอนุสิทธิบัตรทางด้านเคมีและเภสัช...คู่มือการตรวจสอบคำขอรับสิทธิบัตรการประดิษฐ์และอนุสิทธิบัตรทางด้านเคมีและเภสัช...
คู่มือการตรวจสอบคำขอรับสิทธิบัตรการประดิษฐ์และอนุสิทธิบัตรทางด้านเคมีและเภสัช...
 
เนื้อหาความตกลงอาเซียนด้านยาแผนโบราณและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร และภาคผนวก (ย่อ)
เนื้อหาความตกลงอาเซียนด้านยาแผนโบราณและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร และภาคผนวก (ย่อ)เนื้อหาความตกลงอาเซียนด้านยาแผนโบราณและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร และภาคผนวก (ย่อ)
เนื้อหาความตกลงอาเซียนด้านยาแผนโบราณและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร และภาคผนวก (ย่อ)
 
สถิติคดีในศาลยุติธรรมปี2556
สถิติคดีในศาลยุติธรรมปี2556สถิติคดีในศาลยุติธรรมปี2556
สถิติคดีในศาลยุติธรรมปี2556
 
เกณฑ์จริยธรรมการจัดซื้อยาและการส่งเสริมการขายยา
เกณฑ์จริยธรรมการจัดซื้อยาและการส่งเสริมการขายยาเกณฑ์จริยธรรมการจัดซื้อยาและการส่งเสริมการขายยา
เกณฑ์จริยธรรมการจัดซื้อยาและการส่งเสริมการขายยา
 
ตารางเปรียบเทียบร่างพ.ร.บ.ยา
ตารางเปรียบเทียบร่างพ.ร.บ.ยาตารางเปรียบเทียบร่างพ.ร.บ.ยา
ตารางเปรียบเทียบร่างพ.ร.บ.ยา
 
วิบากกรรม NGO
วิบากกรรม NGOวิบากกรรม NGO
วิบากกรรม NGO
 
Royal decree วิธีการเสนอเรื่องต่อคณะรัฐมนตรี
Royal decree วิธีการเสนอเรื่องต่อคณะรัฐมนตรีRoyal decree วิธีการเสนอเรื่องต่อคณะรัฐมนตรี
Royal decree วิธีการเสนอเรื่องต่อคณะรัฐมนตรี
 
เปลี่ยนแปลงระบบการตรวจประเมินGmp
เปลี่ยนแปลงระบบการตรวจประเมินGmpเปลี่ยนแปลงระบบการตรวจประเมินGmp
เปลี่ยนแปลงระบบการตรวจประเมินGmp
 
ข่าวประท้วงร่าง พ.ร.บ.ยา 9ตุลาคม2557
ข่าวประท้วงร่าง พ.ร.บ.ยา 9ตุลาคม2557ข่าวประท้วงร่าง พ.ร.บ.ยา 9ตุลาคม2557
ข่าวประท้วงร่าง พ.ร.บ.ยา 9ตุลาคม2557
 
สิทธิอุทธรณ์ฎีกาในคดีอาญาที่'ขาด'และ'เกิน'
สิทธิอุทธรณ์ฎีกาในคดีอาญาที่'ขาด'และ'เกิน'สิทธิอุทธรณ์ฎีกาในคดีอาญาที่'ขาด'และ'เกิน'
สิทธิอุทธรณ์ฎีกาในคดีอาญาที่'ขาด'และ'เกิน'
 
Fda แนวปฏิบัติตามกฎกระทรวงการขอนุญาตและการออกใบอนุญาตขายยาแผนปัจจุบัน
Fda แนวปฏิบัติตามกฎกระทรวงการขอนุญาตและการออกใบอนุญาตขายยาแผนปัจจุบันFda แนวปฏิบัติตามกฎกระทรวงการขอนุญาตและการออกใบอนุญาตขายยาแผนปัจจุบัน
Fda แนวปฏิบัติตามกฎกระทรวงการขอนุญาตและการออกใบอนุญาตขายยาแผนปัจจุบัน
 
ห้ามพระภิกษุสามเณรประกอบอาชีพเป็นหมอหรือแพทย์รักษาโรค
ห้ามพระภิกษุสามเณรประกอบอาชีพเป็นหมอหรือแพทย์รักษาโรคห้ามพระภิกษุสามเณรประกอบอาชีพเป็นหมอหรือแพทย์รักษาโรค
ห้ามพระภิกษุสามเณรประกอบอาชีพเป็นหมอหรือแพทย์รักษาโรค
 

คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุดให้ BTS ติดตั้งลิฟท์ทุกสถานี (อ.650/2557)

  • 1. คดีหมายเลขดําที่ อ. ๙๘๗/๒๕๕๒ คดีหมายเลขแดงที่ อ.๖๕๐/๒๕๕๗ ในพระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย ศาลปกครองสูงสุด วันที่ ๒๔ เดือน พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๕๕๗ นายสุภรธรรม มงคลสวัสดิ์ ที่ ๑ ผูฟองคดี นางสาวเสาวลักษณ ทองกวย ที่ ๒ นายพิเชฎฐ รักตะบุตร ที่ ๓ กรุงเทพมหานคร ที่ ๑ ผูวาราชการกรุงเทพมหานคร ที่ ๒ ผูอํานวยการสํานักการโยธา ที่ ๓ บริษัท ระบบขนสงมวลชนกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) ที่ ๔ ผูถูกฟองคดี เรื่อง คดีพิพาทเกี่ยวกับการที่หนวยงานทางปกครองหรือเจาหนาที่ของรัฐละเลยตอหนาที่ ตามที่กฎหมายกําหนดใหตองปฏิบัติ หรือปฏิบัติหนาที่ดังกลาวลาชาเกินสมควร (อุทธรณคําพิพากษา) ผูฟองคดีทั้งสามยื่นอุทธรณคําพิพากษา ในคดีหมายเลขดําที่ ๑๗๓๗/๒๕๕๐ หมายเลขแดงที่ ๑๔๗๑/๒๕๕๒ ของศาลปกครองชั้นตน (ศาลปกครองกลาง) คดีนี้ผูฟองคดีทั้งสามฟองวา ผูฟองคดีที่ ๑ ขาทั้งสองขางขาดตั้งแตกําเนิด สวนผูฟองคดีที่ ๒ และผูฟองคดีที่ ๓ ขาทั้งสองขางไมมีความรูสึกอันเกิดจากอุบัติเหตุ ระหวาง คําพิพากษา (อุทธรณ) (ต. ๒๒) /ไมสามารถ...
  • 2. ๒ ไมสามารถเคลื่อนไหวไดและเปนคนพิการตามมาตรา ๓ (ที่ถูกคือ มาตรา ๔) แหงพระราชบัญญัติ การฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ พ.ศ. ๒๕๓๔ และขอ ๑ (๓) และขอ ๔ (ข) ของกฎกระทรวง ฉบับที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๓๗) ออกตามความในพระราชบัญญัติการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ พ.ศ. ๒๕๓๔ เมื่อประมาณป พ.ศ. ๒๕๓๔ ผูถูกฟองคดีที่ ๔ ไดรับสัมปทานจากผูถูกฟองคดีที่ ๑ ใหกอสรางโครงการระบบขนสงมวลชนกรุงเทพมหานครและไดกอสรางสถานีขนสงรวม ๒๓ สถานี คือ สถานีชิดลม สถานีเพลินจิต สถานีนานา สถานีอโศก สถานีพรอมพงษ สถานีทองหลอ สถานีเอกมัย สถานีพระโขนง สถานีออนนุช สถานีสยาม สถานีราชเทวี สถานีพญาไท สถานีอนุสาวรียชัย สถานีสนามเปา สถานีอารีย สถานีสะพานควาย สถานีหมอชิต สถานีสนามกีฬาแหงชาติ สถานีราชดําริ สถานีศาลาแดง สถานีชองนนทรี สถานีสุรศักดิ์ และสถานีสะพานตากสิน ซึ่งแตละสถานีประกอบดวยที่พักผูโดยสาร ชั้นจําหนายตั๋ว ชานชาลา รางเดินรถไฟฟาซึ่งอยูสูงกวาพื้นถนนประมาณ ๕ เมตร ถึง ๗ เมตร กอสรางครอมพื้นถนน ประชาชนที่ใชบริการจะตองเดินขึ้นอาคารสถานีโดยใชบันไดขึ้นลงจากพื้นถนนดานลาง กับอาคารสถานี ซึ่งมีการกอสรางบันไดธรรมดาหรือบันไดเลื่อนโดยใชระบบไฟฟา โดยเฉลี่ย มีทางขึ้นลงสถานีละ ๔ จุด โดยมีผูถูกฟองคดีที่ ๑ ผูถูกฟองคดีที่ ๒ และผูถูกฟองคดีที่ ๓ เปนผูควบคุมใหเปนไปตามสัญญาสัมปทานและกฎหมายที่เกี่ยวของซึ่งจะตองจัดใหมี สิ่งอํานวยความสะดวกสําหรับคนพิการ ตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ กรุงเทพมหานครพ.ศ.๒๕๒๘ และพระราชบัญญัติการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ พ.ศ.๒๕๓๔ ดวย แตปรากฏวาสถานีรถไฟฟาจํานวน ๑๘ สถานี คือ สถานีชิดลม สถานีเพลินจิต สถานีนานา สถานีพรอมพงษ สถานีทองหลอ สถานีเอกมัย สถานีพระโขนง สถานีราชเทวี สถานีพญาไท สถานีอนุสาวรียชัย สถานีสนามเปา สถานีอารีย สถานีสะพานควาย สถานีสนามกีฬาแหงชาติ สถานีราชดําริ สถานีศาลาแดง สถานีสุรศักดิ์ และสถานีสะพานตากสิน ไมมีการกอสราง สิ่งอํานวยความสะดวกใหกับผูฟองคดีทั้งสามในฐานะคนพิการ หรือทุพพลภาพ ผูสูงอายุหรือคนพิการประเภทอื่นแตอยางใด สวนสถานีรถไฟฟาที่เหลืออีก ๕ สถานี คือ สถานีอโศก สถานีออนนุช สถานีชองนนทรี สถานีหมอชิต และสถานีสยาม มีการกอสราง ทางขึ้น – ลง เปนบันไดเลื่อนดวยระบบไฟฟาและมีลิฟทในบางจุด แตไมมีทางลาดในพื้นที่ ตางระดับ ไมมีแผนผังหรือปายติดประกาศทุกชนิดขนาดใหญและติดไฟใหคนสายตาเลือนราง เห็นชัดเจน ไมมีปายบอกทางชัดเจนพรอมดวยขอมูลตารางการเดินรถเปนตัวอักษรเบรลล /และตัวพิมพใหญ...
  • 3. ๓ และตัวพิมพใหญ ไมจัดทําเครื่องโทรสารสําหรับคนพิการทางการไดยินหรือสื่อความหมาย และไมมีปายอักษรวิ่งใหขอมูลพรอมประกาศโดยใชเสียง ทําใหผูฟองคดีทั้งสามและคนพิการ ทั่วไปไมไดรับความสะดวกและตองอาศัยการชวยเหลือจากประชาชนโดยทั่วไป นอกจากนี้ ผูฟองคดีทั้งสามไดรวมกันเปนคณะบุคคลที่เรียกวาคณะกรรมการอิสระเพื่อความเสมอภาค มีวัตถุประสงคเพื่อสงเสริมใหคนพิการไดมีอาชีพและมีสวนรวมในกิจกรรมของสังคม ไดเทากับคนปกติ ไดเคยรองขอใหผูถูกฟองคดีทั้งสี่ดําเนินการจัดสิ่งอํานวยความสะดวก ดังกลาวให ซึ่งผูถูกฟองคดีทั้งสี่ไดรับทราบและตกลงวาจะรวมกันสํารวจตรวจสอบและเก็บ รายละเอียด แตก็หาไดดําเนินการตามที่ผูฟองคดีทั้งสามรองขอไม ผูฟองคดีทั้งสาม ไดแจงเปนหนังสือ เขาพบหารือ และประชุมชี้แจงรวมกับผูเกี่ยวของทั้งภาครัฐและเอกชน แตผูถูกฟองคดีทั้งสี่ก็ไมไดกระทําการตามที่รองขอ ทั้งๆ ที่ผูถูกฟองคดีที่ ๑ ผูถูกฟองคดีที่ ๒ และผูถูกฟองคดีที่ ๓ มีหนาที่ตามกฎหมายโดยเฉพาะ อีกทั้งตอมาไดมีการออกกฎกระทรวง ฉบับที่ ๔(พ.ศ.๒๕๔๒)ออกตามความในพระราชบัญญัติการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการพ.ศ.๒๕๓๔ อาศัยอํานาจตามมาตรา ๑๗ (๑) และมาตรา ๒๐ แหงพระราชบัญญัติการฟนฟูสมรรถภาพ คนพิการ พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งขอ ๒ ของกฎกระทรวงดังกลาวกําหนดใหอาคารสถานีขนสงมวลชน ตองมีอุปกรณที่อํานวยความสะดวกโดยตรงแกคนพิการและคณะกรรมการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ ไดกําหนดรายละเอียดเกี่ยวกับลิฟทที่ใชวาจะตองมีความกวางของประตูไมนอยกวา๘๕ เซนติเมตร ขนาดกวางยาวไมนอยกวา ๑.๑๐ x ๑๐.๔๐ เมตร (ที่ถูกคือ ๑.๔๐ เมตร) ปุมกดเรียกลิฟท และปุมบังคับตองอยูสูงจากพื้นระหวาง ๐.๙๐ เมตร ถึง ๑.๒๐ เมตร ภายนอกลิฟทจะตองไมมี สิ่งกีดขวางเกาอี้เข็นคนพิการและภายในลิฟทใหมีราวสูงจากพื้นไมนอยกวา ๘๐ เซนติเมตร รวมทั้งมีเสียงบอกเมื่อลิฟทหยุดตามชั้นตางๆ และใหมีเสียงสัญญาณและแสงไฟเตือน เมื่อลิฟทเกิดขัดของโดยในหมวด๒ขอ๕(๓)ของระเบียบคณะกรรมการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ วาดวยมาตรฐานอุปกรณหรือสิ่งอํานวยความสะดวกโดยตรงแกคนพิการ พ.ศ. ๒๕๔๔ ไดกําหนดใหสถานีขนสงตองมีอุปกรณหรือสิ่งอํานวยความสะดวกแกคนพิการโดยตรง เชน ลิฟท ทางลาดในพื้นที่ตางระดับทุกแหง แผนผังหรือปายขนาดใหญ ปายบอกทาง เครื่องโทรสาร ทางขึ้นลงสําหรับเกาอี้คนพิการ และติดตั้งสัญลักษณคนพิการไวทั้งใน และนอกตัวรถดวย แตผูถูกฟองคดีทั้งสี่ไมไดดําเนินการในเรื่องดังกลาวแตอยางใด จึงนําคดีมาฟองตอศาลปกครอง /ขอใหศาล...
  • 4. ๔ ขอใหศาลมีคําพิพากษาหรือคําสั่ง ดังนี้ ๑. ใหผูถูกฟองคดีทั้งสี่จัดทําลิฟทที่สถานีขนสงทั้ง ๒๓ สถานี โดยมี รายละเอียดตามกฎกระทรวง ฉบับที่ ๔ (พ.ศ. ๒๕๔๒) ออกตามความในพระราชบัญญัติ การฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ พ.ศ. ๒๕๓๔ ขอ ๖ และขอ ๗ วรรคสอง และระเบียบ คณะกรรมการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการวาดวยมาตรฐานอุปกรณหรือสิ่งอํานวยความสะดวก โดยตรงแกคนพิการ พ.ศ. ๒๕๔๔ หมวด ๑ อาคาร ขอ ๔ (๖) (ก) (ข) (ค) (ง) และ (จ) ๒. ใหผูถูกฟองคดีทั้งสี่จัดทําอุปกรณสิ่งอํานวยความสะดวกที่สถานีขนสง ทั้ง ๒๓ สถานี ตามกฎกระทรวง ฉบับที่ ๔ (พ.ศ. ๒๕๔๒) ออกตามความในพระราชบัญญัติ การฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ พ.ศ. ๒๕๓๔ ขอ ๕ และตามระเบียบคณะกรรมการฟนฟู สมรรถภาพคนพิการวาดวยมาตรฐานอุปกรณหรือสิ่งอํานวยความสะดวกโดยตรง แกคนพิการ พ.ศ. ๒๕๔๔ หมวด ๒ สถานที่ ขอ ๕ (๓) (ก) (ข) (ค) (ง) (จ) และ (ฉ) และ ๓. ใหผูถูกฟองคดีทั้งสี่จัดทําสิ่งอํานวยความสะดวกบนรถไฟฟา คือ ใหจัด ที่วางสําหรับเกาอี้คนพิการใหมีความกวางไมนอยกวา ๑๒๐ เซนติเมตร และใหมีราวสูง จากพื้นไมนอยวา ๘๐ เซนติเมตร บริเวณทางขึ้นลง และติดสัญลักษณคนพิการไวทั้งใน และนอกตัวรถคันที่จัดไวสําหรับคนพิการ ตามกฎกระทรวง ฉบับที่ ๔ (พ.ศ. ๒๕๔๒) ออกตามความในพระราชบัญญัติการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ พ.ศ. ๒๕๓๔ และ ตามระเบียบคณะกรรมการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการวาดวยมาตรฐานอุปกรณหรือสิ่งอํานวย ความสะดวกโดยตรงแกคนพิการ พ.ศ. ๒๕๔๔ หมวด ๓ ยานพาหนะ ขอ ๗ (ง) และ (จ) ผูถูกฟองคดีที่ ๑ ถึงผูถูกฟองคดีที่ ๓ ใหการวา ผูถูกฟองคดีที่ ๑ ไดทําสัญญา สัมปทานโครงการระบบขนสงมวลชนกรุงเทพมหานครกับผูถูกฟองคดีที่ ๔ เมื่อวันที่ ๙ เมษายน ๒๕๓๕ ซึ่งในขณะนั้นกฎกระทรวง ฉบับที่ ๔ (พ.ศ. ๒๕๔๒) ออกตามความใน พระราชบัญญัติการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ พ.ศ. ๒๕๓๔ และระเบียบคณะกรรมการ ฟนฟูสมรรถภาพคนพิการวาดวยมาตรฐานอุปกรณหรือสิ่งอํานวยความสะดวกโดยตรงแก คนพิการ พ.ศ. ๒๕๔๔ ยังมิไดบังคับใช กฎหมายจึงไมมีผลยอนหลังใหผูถูกฟองคดีทั้งสี่ ตองปฏิบัติตาม และตามขอสัญญาสัมปทานดังกลาวก็มิไดกําหนดใหผูถูกฟองคดีที่ ๔ ตองจัดทําสิ่งอํานวยความสะดวกสําหรับคนพิการ แตเมื่อตอมามีการรองเรียนเกี่ยวกับเรื่องนี้ คณะรัฐมนตรีไดมีมติใหผูถูกฟองคดีที่ ๑ จัดทําสิ่งอํานวยความสะดวกใหแกคนพิการ ซึ่งผูถูกฟองคดีที่ ๑ ก็ไดจัดสรางลิฟทเพื่ออํานวยความสะดวกใหแกคนพิการในสถานีขนสง /จํานวน ๑๘...
  • 5. ๕ จํานวน ๑๘ สถานีแลว สวนที่ผูฟองคดีทั้งสามอางวาไดเคยรองขอตอผูถูกฟองคดีทั้งสี่ ใหจัดทําสิ่งอํานวยความสะดวกในระบบขนสงมวลชนและบริการสาธารณะเพื่อใหประชาชนหรือ คนพิการทุกกลุม ทุกเพศ ทุกวัย สามารถใชบริการรถไฟฟาโดยเสมอภาคแตผูถูกฟองคดีทั้งสี่ มิไดดําเนินการใดๆ นั้น เห็นวา หลังจากมีการรองขอแลวผูถูกฟองคดีทั้งสี่ไดจัดประชุม ครั้งสุดทายเมื่อวันที่ ๒๗ เมษายน ๒๕๔๙ ผูฟองคดีทั้งสามจึงตองฟองคดีตอศาลปกครอง ภายในระยะเวลา ๙๐ วันนับแตวันดังกลาวคือภายในวันที่ ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๔๙ การยื่นฟอง เมื่อวันที่ ๑๓ กันยายน ๒๕๕๐ จึงพนระยะเวลาตามมาตรา ๔๙ แหงพระราชบัญญัติจัดตั้ง ศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ แลว ผูถูกฟองคดีที่ ๔ ใหการวา ผูฟองคดีทั้งสามไมไดเปนคนพิการตามมาตรา ๓ (ที่ถูกคือ มาตรา ๔) แหงพระราชบัญญัติการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ พ.ศ. ๒๕๓๔ ขอ ๑ (๓) และขอ ๔ (ข) ของกฎกระทรวง ฉบับที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๓๗) ออกตามความในพระราชบัญญัติ การฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ พ.ศ. ๒๕๓๔ ผูถูกฟองคดีที่ ๔ เปนบริษัทเอกชนที่ไดรับสัมปทาน ระบบขนสงมวลชนกรุงเทพมหานครจากผูถูกฟองคดีที่ ๑ โดยจะตองเปนผูหาเงินลงทุน ในระบบขนสงดังกลาวเองตามเงื่อนไขในสัญญาสัมปทานและบริหารจัดการเองทั้งสิ้น โดยมีผูถูกฟองคดีที่ ๑ เขามาตรวจดูการบริหารจัดการตามขอกําหนดและเงื่อนไขในสัญญา สัมปทานเทานั้น ผูถูกฟองคดีที่ ๔ มิไดอยูภายใตการกํากับดูแลหรือสั่งการของผูถูกฟองคดีที่ ๑ ถึงผูถูกฟองคดีที่ ๓ผูถูกฟองคดีที่ ๔จึงมิใชหนวยงานทางปกครองตามมาตรา๓แหงพระราชบัญญัติ จัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ รวมทั้งไมไดเปนตัวแทนของ ผูถูกฟองคดีที่ ๑ ถึงผูถูกฟองคดีที่ ๓ ผูฟองคดีทั้งสามจึงไมมีอํานาจฟองผูถูกฟองคดีที่ ๔ นอกจากนี้ ศาลลมละลายกลางไดมีคําสั่งใหฟนฟูกิจการของผูถูกฟองคดีที่ ๔ เมื่อวันที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๔๙ และคําสั่งเห็นชอบดวยแผนฟนฟูกิจการตามมติที่ประชุมเจาหนี้เมื่อวันที่ ๓๑ มกราคม ๒๕๕๐ โดยมีผูถูกฟองคดีที่ ๔ เปนผูบริหารแผนตามกฎหมาย เมื่อผูถูกฟองคดีที่ ๔ อยูในระหวางการฟนฟูกิจการของศาลลมละลายกลาง คดีที่ผูฟองคดีทั้งสามฟองผูถูกฟองคดีที่ ๔ จึงไมอยูในอํานาจของศาลปกครองตามมาตรา๙วรรคสอง(๓)แหงพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและ วิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ อีกทั้งตามพระราชบัญญัติลมละลาย พุทธศักราช ๒๔๘๓ มาตรา ๙๐/๑๒ บัญญัติวา ภายใตบังคับมาตรา ๙๐/๑๓ และมาตรา ๙๐/๑๔ นับแตวันที่ ศาลมีคําสั่งรับคํารองขอไวเพื่อพิจารณาจนถึงวันครบกําหนดระยะเวลาดําเนินการตามแผน หรือวันที่ดําเนินการเปนผลสําเร็จตามแผนหรือวันที่ศาลมีคําสั่งยกคํารองขอหรือจําหนายคดี /หรือยกเลิก...
  • 6. ๖ หรือยกเลิกคําสั่งใหฟนฟูกิจการหรือยกเลิกการฟนฟูกิจการหรือพิทักษทรัพยของลูกหนี้ เด็ดขาดตามความในหมวดนี้... (๔) หามมิใหฟองลูกหนี้เปนคดีแพงเกี่ยวกับทรัพยสินของลูกหนี้ หรือเสนอขอพิพาทที่ลูกหนี้อาจตองรับผิดหรือไดรับความเสียหายใหอนุญาโตตุลาการชี้ขาด... (๙) หามมิใหลูกหนี้จําหนาย จาย โอน ใหเชา ชําระหนี้ กอหนี้หรือกระทําการใดๆ ที่กอใหเกิดภาระในทรัพยสิน นอกจากเปนการกระทําที่จําเปนเพื่อใหการดําเนินการคาตามปกติ ของลูกหนี้สามารถดําเนินตอไปได เวนแตศาลที่รับคํารองขอจะมีคําสั่งเปนอยางอื่น จึงเห็นไดวา ผูฟองคดีทั้งสามไมมีอํานาจฟองผูถูกฟองคดีที่ ๔ หรือหากมีการฟองและศาลมีคําพิพากษาแลว ก็ไมสามารถบังคับใหผูถูกฟองคดีที่ ๔ ดําเนินการตามคําขอของผูฟองคดีทั้งสามได เพราะจะทําใหเกิดภาระในทรัพยสินของผูถูกฟองคดีที่ ๔ มิใชเปนการกระทําที่จําเปนเพื่อให การดําเนินการคาตามปกติของลูกหนี้ดําเนินการตอไปได คําฟองนี้จึงขัดตอพระราชบัญญัติ ลมละลาย พุทธศักราช ๒๔๘๓ และผูถูกฟองคดีที่ ๑ กับผูถูกฟองคดีที่ ๔ ไดทําสัญญา สัมปทานโครงการระบบขนสงมวลชนกรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ ๙ เมษายน ๒๕๓๕ กอนที่กฎกระทรวง ฉบับที่ ๔ (พ.ศ. ๒๕๔๒) ออกตามความในพระราชบัญญัติการฟนฟู สมรรถภาพคนพิการ พ.ศ. ๒๕๓๔ และระเบียบคณะกรรมการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ วาดวยมาตรฐานอุปกรณหรือสิ่งอํานวยความสะดวกโดยตรงแกคนพิการ พ.ศ. ๒๕๔๔ ประกาศใชบังคับเมื่อวันที่ ๓ธันวาคม๒๕๔๒และวันที่ ๔พฤษภาคม๒๕๔๔ตามลําดับประกอบกับ ผูถูกฟองคดีที่ ๔ ไดสงมอบสถานีรถไฟฟาทั้ง ๒๓ สถานี ใหตกเปนกรรมสิทธิ์ของผูถูกฟองคดีที่ ๑ ตั้งแตวันที่ ๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๔๒ แลว การไมกอสรางสิ่งอํานวยความสะดวกตามฟอง จึงมิใชความผิดของผูถูกฟองคดีที่ ๔ อีกทั้งในสัญญาสัมปทานดังกลาวก็ไมมีขอกําหนดให ผูถูกฟองคดีที่ ๔ กอสรางลิฟทหรือสิ่งอํานวยความสะดวกใหแกคนพิการ ผูถูกฟองคดีที่ ๔ จึงไมไดละเลยตอหนาที่ตามที่กฎหมายกําหนดและตามสัญญาสัมปทาน และไมมีเหตุ ที่จะตองรับผิดตามคําขอของผูฟองคดีทั้งสาม สวนขออางที่วาผูฟองคดีทั้งสามเคยรองขอตอ ผูถูกฟองคดีทั้งสี่ใหจัดทําสิ่งอํานวยความสะดวกในระบบขนสงมวลชนเพื่อใหประชาชน คนพิการทุกกลุมสามารถใชบริการไดอยางเสมอภาค ซึ่งไดมีการประชุมเรื่องดังกลาว เมื่อวันที่ ๒๗ เมษายน ๒๕๔๙ และไดมีการหารือกันหลายครั้ง แตผูถูกฟองคดีทั้งสี่มิได ดําเนินการใดๆ จึงเปนการละเลยตอหนาที่ นั้น เมื่อผูฟองคดีทั้งสามไมไดรับคําชี้แจงจาก ผูถูกฟองคดีทั้งสี่ตั้งแตวันที่ ๒๗ เมษายน ๒๕๔๙ ผูฟองคดีทั้งสามจะตองยื่นฟอง ภายในวันที่ ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๔๙ การยื่นฟองคดีตอศาลเมื่อวันที่ ๑๓ กันยายน ๒๕๕๐ /จึงพนระยะเวลา...
  • 7. ๗ จึงพนระยะเวลาตามที่มาตรา ๔๙ แหงพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณา คดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ กําหนดไวแลว ขอใหศาลพิจารณาพิพากษายกฟองและสั่งให ผูฟองคดีทั้งสามชดใชคาธรรมเนียมและคาทนายความแทนผูถูกฟองคดีที่ ๔ ดวย ผูฟองคดีทั้งสามคัดคานคําใหการของผูถูกฟองคดีที่ ๑ ถึงผูถูกฟองคดีที่ ๓ วา เมื่อพิจารณามาตรา ๑๗ แหงพระราชบัญญัติการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ พ.ศ. ๒๕๓๔ ที่บัญญัติวาเพื่อเปนการคุมครองและสงเคราะหคนพิการ ใหรัฐมนตรีมีอํานาจออก กฎกระทรวงกําหนด(๑)ลักษณะอาคารสถานที่ ยานพาหนะหรือบริการสาธารณะอื่นที่ตองมีอุปกรณ ที่อํานวยความสะดวกโดยตรงแกคนพิการ และเหตุผลในการประกาศใชบังคับพระราชบัญญัติ ดังกลาวแลว จะเห็นไดวากฎหมายมีเจตนารมณใหคนพิการสามารถดํารงชีวิตและมีสวนรวม ในกิจกรรมของสังคมอยางเทาเทียมกับคนปกติโดยทั่วไปหรือมีความเสมอภาค ขออางที่วา กฎหมายไมมีผลยอนหลังนั้น เปนกรณีของกฎหมายอาญา แตสําหรับในกรณีของการจัดใหมี สิ่งอํานวยความสะดวกแกคนพิการนั้น เปนกรณีที่ผูถูกฟองคดีที่ ๑ ถึงผูถูกฟองคดีที่ ๓ มีหนาที่ตามกฎหมาย ทั้งกฎกระทรวงและระเบียบที่อางก็ไมไดกําหนดวา อาคาร สถานที่ หรือยานพาหนะที่กอสรางแลวจะไดรับการยกเวนไมตองจัดทําสิ่งอํานวยความสะดวก โดยตรงแกคนพิการ และการที่ผูถูกฟองคดีที่ ๑ ไดทําสัญญาสัมปทานกับผูถูกฟองคดีที่ ๔ กอนกฎกระทรวงและระเบียบดังกลาวใชบังคับ ก็หาไดมีกฎหมาย กฎกระทรวง หรือ ระเบียบขอใดยกเวนวาไมตองจัดใหมีสิ่งอํานวยความสะดวกแกคนพิการได การถือเอาวัน เริ่มตนใชบังคับตามที่กําหนดไวในกฎกระทรวงและระเบียบดังกลาว เพื่อปฏิเสธไมจัด สิ่งอํานวยความสะดวกใหคนพิการ ทั้งๆ ที่อยูในวิสัยที่จะทําได ยอมผิดจากหลักนิติธรรม และเปนการใชอํานาจทางปกครองที่ปราศจากความเมตตา รวมทั้งขัดแยงกับเจตนารมณ ของพระราชบัญญัติการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ พ.ศ. ๒๕๓๔ โดยกอนยื่นฟองคดีตอ ศาลปกครอง ผูฟองคดีทั้งสามไดเรียกรองเรื่อยมาตั้งแตป พ.ศ. ๒๕๔๘ แตผูถูกฟองคดีทั้งสี่ ไมไดดําเนินการโดยครบถวน จึงถือวาเปนการละเลยตอหนาที่อยางตอเนื่องจนถึงวันที่ ๑๓ กันยายน ๒๕๕๐ ซึ่งเปนวันฟองคดี คําฟองคดีนี้จึงไมพนกําหนดระยะเวลาการฟองคดี ตาม มาตรา ๔๙ แหงพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ อีกทั้งการฟองคดีนี้ยังเปนการคุมครองประโยชนสาธารณะ เพราะผูที่จะไดรับประโยชนคือ คนพิการทั่วประเทศซึ่งมีจํานวนประมาณ ๗๐๐,๐๐๐ คน จึงชอบที่จะยื่นฟองเมื่อใดก็ได ตามมาตรา ๕๒ วรรคหนึ่ง แหงพระราชบัญญัติดังกลาว /ผูฟองคดี...
  • 8. ๘ ผูฟองคดีทั้งสามคัดคานคําใหการของผูถูกฟองคดีที่ ๔ วา ผูฟองคดีทั้งสามเปน คนพิการ ตามมาตรา ๔ แหงพระราชบัญญัติการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ พ.ศ. ๒๕๓๔ และตามหลักเกณฑที่กําหนดไวในกฎกระทรวง ฉบับที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๓๗) ออกตามความใน พระราชบัญญัติการฟนฟูสมมรรถภาพคนพิการ พ.ศ. ๒๕๓๔ และการที่ผูถูกฟองคดีที่ ๔ ไดรับสัญญาสัมปทานจากผูถูกฟองคดีที่ ๑ ยอมทําใหผูถูกฟองคดีที่ ๔ มีอํานาจในการบํารุงรักษา ระบบขนสงมวลชนทั้งมีสิทธิในรายไดที่เกิดจากกิจการดังกลาวอันเปนกรณีที่ถือไดวาไดรับมอบหมาย ใหใชอํานาจทางปกครองหรือดําเนินกิจการทางปกครอง ผูถูกฟองคดีที่ ๔ จึงเปนหนวยงาน ทางปกครอง ตามมาตรา ๓ แหงพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ สวนกรณีศาลลมละลายกลางมีคําสั่งใหฟนฟูกิจการของผูถูกฟองคดีที่ ๔ วันที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๔๙ นั้น เมื่อคดีนี้เปนการฟองผูถูกฟองคดีที่ ๔ ตอศาลปกครองวาละเลยตอหนาที่ ตามที่กฎหมายกําหนดใหตองปฏิบัติหรือปฏิบัติหนาที่ดังกลาวลาชาเกินสมควรและขอใหจัด สิ่งอํานวยความสะดวกแกคนพิการโดยตรง มิใชการขออํานาจศาลบังคับใหผูถูกฟองคดีที่ ๔ ปฏิบัติการชําระหนี้ดวยทรัพยสินหรือใหชําระหนี้ดวยการปฏิบัติอยางหนึ่งอยางใด ตามนัยประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย และไมทําใหกระทบกระเทือนถึงทรัพยสิน ของผูถูกฟองคดีที่ ๔ ในระหวางการปฏิบัติตามแผนฟนฟูกิจการ คดีนี้จึงไมอยูภายใต พระราชบัญญัติลมละลาย พุทธศักราช ๒๔๘๓ อันจะตองหามมิใหผูฟองคดีทั้งสามฟองคดี ตอศาลปกครอง ผูถูกฟองคดีที่ ๑ ถึงผูถูกฟองคดีที่ ๓ ใหการเพิ่มเติมวา การจัดใหมีสิ่งอํานวย ความสะดวกเพื่อประโยชนแกคนพิการเพิ่มเติมจากเดิมซึ่งไดมีการกอสรางเสร็จไปแลว กอนที่จะมีกฎหมายบังคับนั้น จะตองพิจารณาถึงความเปนไปไดในทางวิศวกรรมและคํานึงถึง ผลกระทบตอโครงสรางเดิมของอาคารดวย ผูถูกฟองคดีที่ ๔ ใหการเพิ่มเติมวา แมผูถูกฟองคดีที่ ๔ เปนผูไดรับสัมปทาน จากผูถูกฟองคดีที่ ๑ แตผูถูกฟองคดีที่ ๔ ไมไดตกอยูภายใตอํานาจการบังคับบัญชาของ ผูถูกฟองคดีที่ ๑ ถึงผูถูกฟองคดีที่ ๓ และไมเคยไดรับมอบหมายใหใชอํานาจทางปกครอง จากผูถูกฟองคดีที่ ๑ ถึงผูถูกฟองคดีที่ ๓ อีกทั้งในสัญญาสัมปทานก็ไมมีขอความใด ใหอํานาจผูถูกฟองคดีที่ ๔ ใชอํานาจทางปกครองหรือดําเนินกิจการทางปกครอง และไมมี บทบัญญัติกฎหมายใดใหอํานาจผูถูกฟองคดีที่ ๑ ถึงผูถูกฟองคดีที่ ๓ มอบอํานาจใหเอกชน ใชอํานาจทางปกครองหรือดําเนินกิจการทางปกครองแทนได และหากจะตองมีการกอสรางลิฟท พรอมทั้งจัดทําอุปกรณสิ่งอํานวยความสะดวกสําหรับคนพิการตามคําขอของผูฟองคดีทั้งสามแลว /จะตองเสียคาใชจาย...
  • 9. ๙ จะตองเสียคาใชจายเปนเงินไมนอยกวา ๗๐๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท ซึ่งเปนการกอภาระใหเกิด แกทรัพยสินของผูถูกฟองคดีที่ ๔ ที่เปนลูกหนี้ฟนฟูกิจการของศาลลมละลายกลางโดยตรง ผูฟองคดีทั้งสามจึงไมอาจฟองผูถูกฟองคดีที่ ๔ ตอศาลปกครองได ผูถูกฟองคดีที่ ๔ มิไดละเลยตอหนาที่ตามที่กฎหมายกําหนดใหตองปฏิบัติเพราะทําสัญญาสัมปทานกอนกฎกระทรวง ฉบับที่ ๔ (พ.ศ. ๒๕๔๒) ออกตามความในพระราชบัญญัติการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ พ.ศ. ๒๕๓๔ และระเบียบคณะกรรมการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการวาดวยมาตรฐานอุปกรณ หรือสิ่งอํานวยความสะดวกโดยตรงแกคนพิการ พ.ศ. ๒๕๔๔ ใชบังคับ อีกทั้งตามขอ ๑๙ ของสัญญาสัมปทานไดระบุใหผูถูกฟองคดีที่ ๔ โอนกรรมสิทธิ์ในอสังหาริมทรัพยที่สรางขึ้น บนที่ดินใหแกผูถูกฟองคดีที่ ๑ ซึ่งผูถูกฟองคดีที่ ๔ ดําเนินการแลว นอกจากนี้ กฎหมาย และระเบียบดังกลาวใชบังคับกับเจาของอาคาร สถานที่ ยานพาหนะและสถานที่สาธารณะ เทานั้น เมื่อผูถูกฟองคดีที่ ๔ มิใชเจาของสถานีรถไฟฟาทั้ง ๒๓ แหง จึงไมมีหนาที่ตอง จัดทําสิ่งอํานวยความสะดวกดังกลาว และผูฟองคดีทั้งสามไดยื่นฟองผูถูกฟองคดีที่ ๔ เมื่อพนระยะเวลาเกาสิบวัน ตามมาตรา ๔๙ แหงพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและ วิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ศาลปกครองชั้นตนมีคําสั่งใหผูถูกฟองคดีที่ ๑ และผูถูกฟองคดีที่ ๒ ชี้แจง ขอเท็จจริงตามประเด็นที่ศาลปกครองชั้นตนกําหนด ซึ่งผูถูกฟองคดีที่ ๑ และผูถูกฟองคดีที่ ๒ ชี้แจงวา ในขณะที่มีการกอสรางระบบขนสงมวลชนกรุงเทพมหานคร (BTS) ซึ่งเปนการลงทุน โดยภาคเอกชนนั้น ผูถูกฟองคดีที่ ๑ ไมไดกําหนดนโยบาย แผนงาน และโครงการที่เกี่ยวของ กับคนพิการแตอยางใด แตที่มีการกอสรางลิฟทเพิ่มเติมในภายหลังรวม ๕ สถานี นั้น เปนการใชงบประมาณของผูถูกฟองคดีที่ ๑ และงบอุดหนุนจากรัฐบาลเปนเงินจํานวน ๑๗๕,๑๙๔,๕๙๐ บาท สวนการกอสรางลิฟทและสิ่งอํานวยความสะดวกใหคนพิการสําหรับ สถานีรถไฟฟาที่เหลือ ผูถูกฟองคดีที่ ๑ โดยสํานักการจราจรและขนสงและผูถูกฟองคดีที่ ๔ ไดสํารวจเบื้องตนในการหาตําแหนงลิฟทสําหรับคนพิการแลว อยูในระหวางการจัดทํา รายละเอียด รูปแบบ และขอกําหนดเพื่อขอความเห็นชอบในการดําเนินการตอไป ศาลปกครองชั้นตนพิจารณาแลวเห็นวา คดีมีประเด็นที่จะตองวินิจฉัย ดังนี้ ประเด็นที่หนึ่งผูฟองคดีทั้งสามมีสิทธิฟองผูถูกฟองคดีที่ ๔หรือไม ศาลปกครองชั้นตน เห็นวา ผูถูกฟองคดีที่ ๔ เปนผูไดรับสัมปทานโครงการระบบขนสงมวลชนกรุงเทพมหานคร (BTS) จากผูถูกฟองคดีที่ ๑ โดยเปนผูจัดใหมีและประกอบการตามโครงการดังกลาวภายใตขอกําหนด และเงื่อนไขของสัญญา โดยอาศัยอํานาจตามความในขอ ๓ (๒) และขอ ๑๑ ของประกาศ /คณะปฏิวัติ...
  • 10. ๑๐ คณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๕๘ ลงวันที่ ๒๖ มกราคม ๒๕๑๕ โดยรัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย ไดอนุญาตใหผูถูกฟองคดีที่ ๑ โดยผูถูกฟองคดีที่ ๒ เปนผูมีอํานาจควบคุมดูแล และโดยที่ โครงการดังกลาวเปนการจัดการเกี่ยวกับระบบขนสงมวลชน อันเปนการจัดทําบริการสาธารณะ ตามอํานาจหนาที่ของผูถูกฟองคดีที่ ๑ ตามมาตรา ๘๙ แหงพระราชบัญญัติระเบียบบริหาร ราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๒๘ ผูถูกฟองคดีที่ ๔ จึงเปนผูที่เขามาดําเนินการจัดทํา บริการสาธารณะในเรื่องดังกลาวแทนผูถูกฟองคดีที่ ๑ ตามสัญญาที่ไดจัดทําขึ้นนั่นเอง และโดยที่สัญญาดังกลาวเปนสัญญาสัมปทานซึ่งเปนสัญญาทางปกครองตามมาตรา ๓ แหงพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ และเปน เครื่องมือที่สําคัญในการจัดทําบริการสาธารณะของคูสัญญา จึงถือไดวาผูถูกฟองคดีที่ ๔ ไดรับมอบหมายใหดําเนินกิจการขนสงมวลชนตามสัญญาดังกลาว ซึ่งมีลักษณะของการใหบริการ ดานการขนสงอันเปนการดําเนินกิจการทางปกครอง การที่ผูฟองคดีไดมีหนังสือรองขอให ผูถูกฟองคดีที่ ๔ ดําเนินการกอสรางลิฟทและสิ่งอํานวยความสะดวกใหกับคนพิการจึงถือไดวา เปนการมีหนังสือรองขอใหผูถูกฟองคดีที่ ๑ ซึ่งเปนหนวยงานทางปกครองและผูถูกฟองคดีที่ ๔ ปฏิบัติตามอํานาจหนาที่ที่กฎหมายกําหนดดวย ในเมื่อผูถูกฟองคดีที่ ๔ รวมทั้งผูถูกฟองคดีที่ ๑ ไมไดดําเนินการตามคํารองขอ อันเปนเหตุใหผูฟองคดีทั้งสามไดรับความเดือดรอนหรือเสียหาย ผูฟองคดีทั้งสามจึงชอบที่จะฟองผูถูกฟองคดีที่ ๔ และผูถูกฟองคดีที่ ๑ รวมกันตอศาลปกครอง ตามนัยมาตรา ๙ วรรคหนึ่ง (๒) แหงพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณา คดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ได สําหรับขออางของผูถูกฟองคดีที่ ๔ ที่วา ผูถูกฟองคดีที่ ๔ กําลังอยูในระหวางการดําเนินการตามคําสั่งของศาลลมละลายกลางใหฟนฟูกิจการอยูนั้น เมื่อคดีนี้เปนกรณีที่ผูฟองคดีทั้งสามไดยื่นฟองคดีตอศาลปกครองโดยกลาวหาวาผูถูกฟองคดีที่ ๔ ละเลยตอหนาที่ตามที่กฎหมายกําหนดใหตองปฏิบัติหรือปฏิบัติหนาที่ดังกลาวลาชาเกินสมควร ตามมาตรา ๙ วรรคหนึ่ง (๒) แหงพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ มิใชเปนการฟองคดีแพง ตามมาตรา ๙๐/๑๒ แหงพระราชบัญญัติลมละลาย พุทธศักราช ๒๔๘๓ แตอยางใด ขออางของผูถูกฟองคดีที่ ๔ ในประเด็นนี้จึงไมอาจรับฟงได สวนขออางของผูถูกฟองคดีที่ ๔ ที่วา ผูฟองคดีทั้งสามมิใชคนพิการ นั้น ตามมาตรา ๓ (ที่ถูกคือ มาตรา ๔) แหงพระราชบัญญัติการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ พ.ศ. ๒๕๓๔ และขอ ๑ (๓) และขอ ๔ (ข) ของกฎกระทรวง ฉบับที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๓๗) ออกตามความใน พระราชบัญญัติการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ พ.ศ. ๒๕๓๔ ไดกําหนดวา คนพิการ หมายความวา /คนที่มีความผิด...
  • 11. ๑๑ คนที่มีความผิดปกติหรือบกพรองทางรางกาย ทางสติปญญา หรือทางจิตใจ ตามประเภท และหลักเกณฑที่กําหนดในกฎกระทรวง โดยกฎหมายดังกลาวไดกําหนดประเภทของคนพิการ ไวในกรณีตางๆ เชน การมองเห็น การไดยินหรือการสื่อความหมาย การเคลื่อนไหว พฤติกรรม สติปญญาหรือการเรียนรู เปนตน โดยในกรณีของคนพิการทางการเคลื่อนไหวนั้น ไดแก คนที่สูญเสียความสามารถในการเคลื่อนไหวมือ แขน ขา หรือลําตัว อันเนื่องมาจากแขน หรือขาขาด อัมพาตหรือออนแรง ฯลฯ ที่ทําใหไมสามารถประกอบกิจวัตรหลักในชีวิตประจําวัน หรือดํารงชีวิตเยี่ยงคนปกติได เมื่อขอเท็จจริงฟงไดวา ผูฟองคดีที่ ๑ ขาขาดทั้งสองขาง สวนผูฟองคดีที่ ๒ และผูฟองคดีที่ ๓ แมมีขาครบทั้งสองขางแตไมมีความรูสึก ซึ่งจากลักษณะ ทางกายของผูฟองคดีทั้งสามที่ปรากฏนั้นเห็นไดอยางชัดเจนวาไมสามารถประกอบกิจวัตรหลัก ในชีวิตประจําวันไดและไมสามารถเคลื่อนไหวไดตามปกติ กรณีจึงถือไดวาผูฟองคดีทั้งสาม เปนคนพิการตามหลักเกณฑที่กฎหมายกําหนดไวแลว ขออางของผูถูกฟองคดีที่ ๔ จึงไมอาจ รับฟงไดเชนกัน ประเด็นที่สอง ผูฟองคดีทั้งสามไดยื่นฟองผูถูกฟองคดีทั้งสี่ ภายในระยะเวลา ตามที่กําหนดไวในมาตรา ๔๙ แหงพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณา คดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ หรือไม ศาลปกครองชั้นตนเห็นวา กอนฟองคดีผูฟองคดีที่ ๑ ไดมีหนังสือถึงผูถูกฟองคดีที่ ๒ เพื่อขอใหมีการดําเนินการเกี่ยวกับการกอสรางลิฟทและ สิ่งอํานวยความสะดวกใหกับคนพิการมาแลวเปนลําดับ กลาวคือ ในครั้งแรกผูฟองคดีที่ ๑ ไดมีหนังสือลงวันที่ ๒๙ ธันวาคม ๒๕๔๘ ถึงผูถูกฟองคดีที่ ๒ และผูถูกฟองคดีที่ ๒ ไดจัดการประชุมเมื่อวันที่ ๒๓ มกราคม ๒๕๔๙ จากนั้นเจาหนาที่ของผูถูกฟองคดีที่ ๑ ไดมีหนังสือลงวันที่ ๑๖ กุมภาพันธ ๒๕๔๙ สงรายงานการประชุมใหผูฟองคดีที่ ๑ ทราบ ผูฟองคดีที่ ๑ จึงไดมีหนังสือลงวันที่ ๒๐ กุมภาพันธ ๒๕๔๙ ถึงผูถูกฟองคดีที่ ๒ และหนังสือ ลงวันที่ ๒๑ กุมภาพันธ ๒๕๔๙ ถึงผูถูกฟองคดีที่ ๔ เพื่อขอใหมีการปรับปรุงทางขึ้นลง สถานีรถไฟฟาบีทีเอส (BTS) อีกครั้งหนึ่ง ตอมา ผูฟองคดีที่ ๑ ไดมีหนังสือลงวันที่ ๒๘ มีนาคม ๒๕๔๙ ถึงผูถูกฟองคดีที่ ๔ โดยผูถูกฟองคดีที่ ๔ ไดจัดประชุมเมื่อวันที่ ๒๗ เมษายน ๒๕๔๙ ซึ่งหลังจากนั้น ผูฟองคดีที่ ๑ ไดมีหนังสือลงวันที่ ๒๘ พฤศจิกายน ๒๕๔๙ ถึงผูถูกฟองคดีที่ ๒ เพื่อขอใหมีการจัดสิ่งอํานวยความสะดวกในโครงการรถไฟฟาสายสีเขียวออน และสีเขียวเขม แตผูถูกฟองคดีที่ ๒ ไมไดแจงผลการพิจารณาใหผูฟองคดีที่ ๑ ทราบแตอยางใด จนกระทั่งผูฟองคดีที่ ๑ ไดมีหนังสือลงวันที่ ๕ มีนาคม ๒๕๕๐ ถึงผูถูกฟองคดีที่ ๒ ขอทราบ /ความคืบหนา...
  • 12. ๑๒ ความคืบหนาในเรื่องดังกลาวแตไมปรากฏขอเท็จจริงวาผูถูกฟองคดีทั้งสี่ไดแจงผลการพิจารณา ใหผูฟองคดีทั้งสามทราบแตอยางใด ผูฟองคดีทั้งสามจึงไดนําคดีมาฟองเมื่อวันที่ ๑๓ กันยายน ๒๕๕๐ นั้น การที่ผูฟองคดีที่ ๑ ไดมีหนังสือถึงผูถูกฟองคดีที่ ๒ ครั้งแรก เมื่อวันที่ ๒๙ ธันวาคม ๒๕๔๘ และหลังจากนั้นก็ไดมีหนังสือรองขอใหผูถูกฟองคดีทั้งสี่ดําเนินการเปนลําดับ จนกระทั่ง ครั้งหลังสุดไดมีหนังสือลงวันที่ ๕ มีนาคม ๒๕๕๐ ขอทราบผลการพิจารณา ยอมแสดงวา ผูฟองคดียังไมไดรับหนังสือชี้แจงจากผูถูกฟองคดีทั้งสี่แตอยางใด จึงตองถือวาวันดังกลาว เปนวันที่รูหรือควรรูถึงเหตุแหงการฟองคดีนั่นเอง การที่ผูฟองคดีทั้งสามไดนําคดีมาฟอง เมื่อวันที่ ๑๓ กันยายน ๒๕๕๐ จึงเปนกรณีที่ผูฟองคดีทั้งสามไดนําคดีมายื่นฟองเมื่อพน กําหนดเกาสิบวันนับแตวันที่ผูฟองคดีทั้งสามไดมีหนังสือรองขอตอหนวยงานทางปกครอง หรือเจาหนาที่ของรัฐเพื่อใหปฏิบัติหนาที่ตามที่กฎหมายกําหนดแตไมไดรับคําชี้แจงตาม มาตรา ๔๙ แหงพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ แตโดยที่การยื่นฟองคดีนี้จะเปนประโยชนแกสวนรวมคือคนพิการและผูสูงอายุโดยทั่วไป ศาลจึงสามารถรับคดีนี้ไวพิจารณาไดตามนัยมาตรา ๕๒ วรรคสอง แหงพระราชบัญญัติ ดังกลาว ขออางของผูถูกฟองคดีทั้งสี่ที่วาผูฟองคดีทั้งสามไดยื่นฟองเมื่อพนกําหนดเวลา จึงไมอาจรับฟงได ประเด็นที่สาม ผูถูกฟองคดีทั้งสี่ละเลยตอหนาที่ตามที่กฎหมายกําหนด ใหตองปฏิบัติหรือปฏิบัติหนาที่ดังกลาวลาชาเกินสมควรหรือไม ศาลปกครองชั้นตนเห็นวา มาตรา ๕๕ ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ ซึ่งมีผลบังคับ ในขณะที่เกิดขอพิพาทในคดีนี้ บัญญัติวา บุคคลซึ่งพิการหรือทุพพลภาพมีสิทธิไดรับ สิ่งอํานวยความสะดวกอันเปนสาธารณะและความชวยเหลืออื่นจากรัฐ ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ และมาตรา ๘๙ แหงพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๒๘ กําหนดใหผูถูกฟองคดีที่ ๑ มีอํานาจหนาที่ดําเนินกิจการในเขตกรุงเทพมหานคร ในหลายกรณี ซึ่งหมายความรวมถึงการจัดใหมีและบํารุงรักษาเกี่ยวกับระบบขนสงมวลชน และทําหนาที่อื่นๆ ตามที่กฎหมายระบุใหเปนอํานาจหนาที่ของผูวาราชการจังหวัด นายอําเภอ เทศบาลนคร หรือตามที่คณะรัฐมนตรี นายกรัฐมนตรี หรือรัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย มอบหมาย หรือที่กฎหมายระบุเปนหนาที่ของกรุงเทพมหานคร สวนผูถูกฟองคดีที่ ๒ นั้น มาตรา ๔๙ แหงพระราชบัญญัติดังกลาว กําหนดใหมีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้ (๑) กําหนด นโยบายและบริหารราชการกรุงเทพมหานครใหเปนไปตามกฎหมาย (๒) สั่ง อนุญาต อนุมัติ เกี่ยวกับราชการของกรุงเทพมหานคร (๓) แตงตั้งและถอดถอนรองผูวาราชการกรุงเทพมหานคร /เลขานุการ...
  • 13. ๑๓ เลขานุการผูวาราชการกรุงเทพมหานคร ผูชวยเลขานุการผูวาราชการกรุงเทพมหานคร และ แตงตั้งและถอดถอนผูทรงคุณวุฒิเปนประธานที่ปรึกษาที่ปรึกษาหรือคณะที่ปรึกษาของผูวาราชการ กรุงเทพมหานคร หรือเปนคณะกรรมการเพื่อปฏิบัติราชการใดๆ (๔) บริหารราชการตามที่ คณะรัฐมนตรี นายกรัฐมนตรี หรือรัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทยมอบหมาย (๕) วางระเบียบ เพื่อใหงานของกรุงเทพมหานครเปนไปโดยเรียบรอย (๖) รักษาการใหเปนไปตามขอบัญญัติ ของกรุงเทพมหานคร (๗) อํานาจหนาที่อื่นตามที่บัญญัติไวในพระราชบัญญัตินี้และกฎหมายอื่น และสําหรับในเรื่องลักษณะของอาคาร สถานที่ ยานพาหนะหรือบริการสาธารณะอื่นที่ตองมี อุปกรณที่อํานวยความสะดวกโดยตรงแกคนพิการนั้น มาตรา ๑๗ วรรคหนึ่ง (๑) แหง พระราชบัญญัติการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ พ.ศ. ๒๕๓๔ บัญญัติวา เพื่อเปนการคุมครอง และสงเคราะหคนพิการใหรัฐมนตรีมีอํานาจออกกฎกระทรวงกําหนดลักษณะอาคาร สถานที่ ยานพาหนะ หรือบริการสาธารณะอื่นที่ตองมีอุปกรณที่อํานวยความสะดวกโดยตรง แกคนพิการ โดยรัฐมนตรีวาการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคมไดออกกฎกระทรวง ฉบับที่ ๔ (พ.ศ. ๒๕๔๒) ออกตามความในพระราชบัญญัติการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ พ.ศ. ๒๕๓๔ เมื่อวันที่ ๓ ธันวาคม ๒๕๔๒ โดยในขอ ๒ ของกฎกระทรวงดังกลาวไดกําหนดให ลักษณะอาคารที่ตองมีอุปกรณที่อํานวยความสะดวกโดยตรงแกคนพิการ ไดแก อาคารของ สถานสงเคราะหคนพิการหรือคนชรา สถานศึกษาสําหรับคนพิการ โรงพยาบาล โรงแรม หอประชุม สถานศึกษา สถานีขนสงมวลชน และอาคารในลักษณะอื่นใดตามที่กฎหมาย วาดวยการควบคุมอาคารกําหนด และขอ ๔ ไดกําหนดใหลักษณะยานพาหนะที่ตองมี อุปกรณที่อํานวยความสะดวกโดยตรงแกคนพิการ ไดแก รถยนตสาธารณะและรถยนต บริการตามกฎหมายวาดวยรถยนต รถที่ใชในการขนสงผูโดยสารประเภทขนสงประจําทาง และไมประจําทางตามกฎหมาย รถไฟหรือรถไฟฟาตามกฎหมายวาดวยการนั้น เปนตน สําหรับอุปกรณที่อํานวยความสะดวกโดยตรงแกคนพิการใหเปนไปตามระเบียบที่ คณะกรรมการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการกําหนด เวนแตในกรณีที่กฎหมายที่ควบคุมอาคาร สถานที่ ยานพาหนะหรือบริการสาธารณะอื่น จะไดกําหนดอุปกรณที่อํานวยความสะดวก โดยตรงแกคนพิการไวโดยเฉพาะ และมีมาตรฐานไมต่ํากวาที่คณะกรรมการดังกลาวกําหนด หลังจากนั้น จึงไดมีการออกระเบียบคณะกรรมการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการวาดวย มาตรฐานอุปกรณหรือสิ่งอํานวยความสะดวกโดยตรงแกคนพิการ พ.ศ. ๒๕๔๔ โดยได ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ ๓๐ พฤษภาคม ๒๕๔๔ และมีผลใชบังคับตั้งแต วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป ระเบียบดังกลาวไดกําหนดรายละเอียด /ของอุปกรณ...
  • 14. ๑๔ ของอุปกรณหรือสิ่งอํานวยความสะดวกโดยตรงแกคนพิการที่จะตองติดตั้งในอาคาร ซึ่งประกอบดวยทางเขาสูอาคาร ทางลาด ทางเชื่อมระหวางอาคารและระเบียง ประตู บันได ลิฟท หองน้ํา ที่อาบน้ํา หองสวมและอางลางมือ สวนในยานพาหนะที่เปนรถไฟหรือรถไฟฟา ไดกําหนดใหมีอุปกรณหรือสิ่งอํานวยความสะดวกโดยตรงแกคนพิการ โดยกําหนดให ความกวางของประตูไมนอยวา ๙๐ เซนติเมตร ชานชาลากับตัวรถมีความหางไมเกิน ๗.๕ เซนติเมตร ทางเดินระหวางที่นั่งทั้งสองขางใหมีความกวางไมนอยกวา ๙๐ เซนติเมตร ทางขึ้น – ลง ใหจัดที่วางสําหรับเกาอี้เข็นคนพิการใหมีความกวางไมนอยกวา ๑๒๐ เซนติเมตร และใหมีราวจับสูงจากพื้นไมนอยกวา ๘๐ เซนติเมตร ติดสัญลักษณคนพิการไวทั้งใน และนอกตัวรถคันที่จัดไวใหสําหรับคนพิการ และมีเสียงบอกชื่อสถานีถัดไปสําหรับคนพิการ ทางการมองเห็น และมีอักษรวิ่งบอกชื่อสถานีสําหรับคนพิการทางการไดยินหรือ สื่อความหมาย จากระเบียบกฎหมายดังกลาวขางตนแสดงใหเห็นวา แมวาตามบทบัญญัติ ของรัฐธรรมนูญจะไดรับรองสิทธิของผูพิการหรือผูทุพพลภาพในการที่จะไดรับสิ่งอํานวย ความสะดวกอันเปนสาธารณะและความชวยเหลือจากรัฐก็ตาม แตการจัดใหมีสิ่งอํานวย ความสะดวกหรือความชวยเหลือเหลานั้นจะตองเปนไปตามที่กฎหมายบัญญัติดวย และ โดยที่การดําเนินการในการจัดระบบขนสงมวลชนกรุงเทพมหานคร หรือ BTS ซึ่งถือเปนการ ดําเนินการตามอํานาจหนาที่ที่กฎหมายกําหนดของผูถูกฟองคดีทั้งสี่นั้น เปนการดําเนินการ ในลักษณะสัญญาสัมปทานมาตั้งแตวันที่ ๙ เมษายน ๒๕๓๕ ซึ่งในขณะนั้นแมจะมี พระราชบัญญัติการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ พ.ศ. ๒๕๓๔ ใชบังคับ แตกฎหมายดังกลาว ไดมีเจตนารมณเพื่อเปนการสนับสนุนสงเสริมใหคนพิการไดมีโอกาสในดานตางๆ สามารถ ดํารงชีวิตประกอบอาชีพและมีสวนรวมในกิจกรรมของสังคมไดเทาเทียมกับคนปกติ โดยทั่วไป รวมทั้งใหสังคมไดมีสวนรวมในการเกื้อกูลและฟนฟูสมรรถภาพคนพิการดวย เทานั้น โดยมิไดมีการกําหนดรายละเอียดของอาคาร สถานที่ หรือยานพาหนะที่จะตองจัด ใหมีสิ่งอํานวยความสะดวกใหคนพิการเอาไวแตอยางใด อีกทั้งการดําเนินการกอสรางระบบ ขนสงมวลชนกรุงเทพมหานคร หรือ BTS นั้น จําเปนตองพิจารณาถึงปจจัยที่เกี่ยวของในอีก หลายๆ ดาน เชน ตนทุน และคาใชจายในการกอสราง รายได และผลตอบแทน เปนตน และ ในขณะเดียวกันก็จําเปนตองพิจารณาถึงขอบังคับตามที่ระเบียบกฎหมายในขณะนั้นกําหนดไวในสวน ที่เกี่ยวกับการกอสรางอาคารที่จะตองจัดใหมีสิ่งอํานวยความสะดวกใหกับคนพิการอีกดวย ทั้งนี้ เพื่อใชเปนกรอบแนวทางในการออกแบบและดําเนินการกอสรางตอไป และแมวา ระเบียบกฎหมายในขณะนั้นจะไมไดกําหนดใหมีการกอสรางสิ่งอํานวยความสะดวกใหกับ /คนพิการเอาไว...
  • 15. ๑๕ คนพิการเอาไว และหากผูถูกฟองคดีทั้งสี่จะดําเนินการจัดใหมีสิ่งอํานวยความสะดวกใหกับ คนพิการตามมาในภายหลังแลว การดําเนินการในลักษณะดังกลาวก็ไมไดขัดตอระเบียบ กฎหมายก็ตาม แตการที่จะดําเนินการเชนวานั้นไดยอมขึ้นอยูกับปจจัยในดานตางๆ เชน งบประมาณ และความมั่นคงแข็งแรงของอาคารที่จะจัดใหมีสิ่งอํานวยความสะดวกเหลานั้น การบริหารจัดการระบบขนสงมวลชน และผลกระทบที่จะเกิดขึ้นกับประชาชนผูใชบริการ เปนตน การจัดใหมีสิ่งอํานวยความสะดวกใหกับคนพิการในระบบขนสงมวลชนกรุงเทพมหานคร หรือ BTS จึงตองพิจารณาจากปจจัยดังกลาวขางตนประกอบกัน ขอเท็จจริงในสวนนี้ปรากฏวา ผูถูกฟองคดีที่ ๑ และผูถูกฟองคดีที่ ๔ ไดทําสัญญาสัมปทานระบบขนสงมวลชนเมื่อวันที่ ๙ เมษายน ๒๕๓๕ ภายใตชื่อ “ระบบขนสงมวลชนกรุงเทพมหานคร” โดยมีชื่อยอวา “BTS” ซึ่งเปนการทําสัญญากอนที่กฎกระทรวง ฉบับที่ ๔ (พ.ศ. ๒๕๔๒) ออกตามความใน พระราชบัญญัติการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ พ.ศ. ๒๕๓๔ และระเบียบคณะกรรมการ ฟนฟูสมรรถภาพคนพิการวาดวยมาตรฐานอุปกรณหรือสิ่งอํานวยความสะดวกโดยตรงแก คนพิการ พ.ศ. ๒๕๔๔ ใชบังคับ ในเมื่อการทําสัญญาดังกลาวไดกระทําขึ้นในขณะที่ไมมี ระเบียบกฎหมายกําหนดใหผูถูกฟองคดีทั้งสี่จัดใหมีสิ่งอํานวยความสะดวกแกคนพิการ ในระบบขนสงมวลชนกรุงเทพมหานคร ผูถูกฟองคดีที่ ๑ และผูถูกฟองคดีที่ ๔ ซึ่งเปนคูสัญญา และผูถูกฟองคดีที่ ๒ และผูถูกฟองคดีที่ ๓ ซึ่งเปนเจาหนาที่ของรัฐที่เกี่ยวของตามโครงการ ดังกลาวรวมถึงผูที่รับผิดชอบในการสํารวจออกแบบจึงไมอาจทราบถึงลักษณะของอาคาร สถานที่ ยานพาหนะ หรือบริการสาธารณะอื่นที่ตองจัดใหมีอุปกรณที่อํานวยความสะดวก โดยตรงแกคนพิการตามที่มาตรา ๑๗ แหงพระราชบัญญัติการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ พ.ศ. ๒๕๓๔ กําหนดไวได เนื่องจากในขณะนั้นยังไมมีการกําหนดรายละเอียดรวมทั้งชนิด และประเภทของอาคาร สถานที่ และยานพาหนะที่จะตองจัดใหมีสิ่งอํานวยความสะดวก ใหกับคนพิการนั่นเอง การที่ผูถูกฟองคดีทั้งสี่ไมจัดใหมีรวมทั้งกอสรางลิฟทและสิ่งอํานวย ความสะดวกแกคนพิการในบริเวณสถานีรถไฟฟาและบนรถไฟฟาในโครงการขนสงมวลชน กรุงเทพมหานคร (BTS) จึงเปนการปฏิบัติตามอํานาจหนาที่ตามที่ระเบียบกฎหมายในขณะนั้น ใชบังคับแลว จึงไมอาจถือไดวาผูถูกฟองคดีทั้งสี่ไดละเลยตอหนาที่ตามที่กฎหมายกําหนด ใหตองปฏิบัติหรือปฏิบัติหนาที่ดังกลาวลาชาเกินสมควร สําหรับขออางของผูฟองคดีทั้งสาม ที่วา แมวาจะไดมีการทําสัญญาสัมปทานดังกลาวกอนที่กฎกระทรวงและระเบียบดังกลาวใชบังคับ แตก็ไมมีระเบียบกฎหมายยกเวนวาผูถูกฟองคดีทั้งสี่ไมตองจัดใหมีสิ่งอํานวยความสะดวก ใหแกคนพิการ การไมจัดสิ่งอํานวยความสะดวกดังกลาวโดยถือตามวันที่ระเบียบใชบังคับ /ยอมผิดไปจาก...
  • 16. ๑๖ ยอมผิดไปจากเจตนารมณของพระราชบัญญัติการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ พ.ศ. ๒๕๓๔ ผิดหลักนิติธรรมและเปนการใชอํานาจทางปกครองที่ปราศจากความเมตตานั้น แมวาเจตนารมณ ของพระราชบัญญัติการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ พ.ศ. ๒๕๓๔ จะเปนการคุมครอง การสงเคราะห การพัฒนา และการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการโดยวิธีการตางๆ รวมทั้งใหสังคม มีสวนรวมในการเกื้อกูลและฟนฟูสมรรถภาพคนพิการก็ตาม แตบทบัญญัติในมาตรา ๑๗ แหงพระราชบัญญัติดังกลาว ไดกําหนดใหการคุมครองและการสงเคราะหคนพิการจะ ดําเนินการไดมากนอยเพียงใด จะตองใหรัฐมนตรีผูรักษาการตามพระราชบัญญัติดังกลาว ออกกฎกระทรวงเพื่อกําหนดลักษณะของอาคาร สถานที่ ยานพาหนะ หรือบริการสาธารณะอื่น ที่จะตองมีอุปกรณที่อํานวยความสะดวกโดยตรงแกคนพิการอีกครั้งหนึ่ง เนื่องจากการดําเนินการ ในกรณีดังกลาวจําเปนตองคํานึงถึงผลกระทบตอสภาพสังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรม รวมทั้งงบประมาณและคาใชจายที่เพิ่มขึ้น ตลอดจนระดับของการพัฒนาทางดานตางๆ ของประเทศโดยรวมดวย นอกจากนั้น อาคารสิ่งปลูกสรางหรือโครงการที่มีการดําเนินการ ไปกอนที่จะมีระเบียบกฎหมายดังกลาวใชบังคับโดยไมไดจัดใหมีสิ่งอํานวยความสะดวก แกคนพิการ หากจะมีการกอสรางสิ่งอํานวยความสะดวกเหลานั้นตอมาในภายหลังเพื่อให เปนไปตามเงื่อนไขของระเบียบกฎหมายที่ออกมาภายหลังที่วาจะตองจัดใหมีสิ่งอํานวย ความสะดวกใหคนพิการนั้น จําเปนตองคํานึงถึงความเปนไปไดในหลายกรณี เชน ความเปนไปได ทางวิศวกรรมวาจะมีผลกระทบตอโครงสรางอาคารสิ่งกอสรางเดิม และคาใชจายที่จะเพิ่มขึ้น อันจะสงผลกระทบตอการบริหารโครงการตามมาเชนกัน การดําเนินการของผูถูกฟองคดีทั้งสี่ ที่ไมกอสรางระบบลิฟทและสิ่งอํานวยความสะดวกใหกับคนพิการในโครงการระบบขนสง มวลชนกรุงเทพมหานคร จึงไมเปนการขัดตอเจตนารมณของพระราชบัญญัติการฟนฟู สมรรถภาพคนพิการ พ.ศ. ๒๕๓๔ หรือขัดตอหลักนิติธรรม รวมทั้งมิใชเปนการใชอํานาจ ทางปกครองโดยปราศจากความเมตตาดังที่ผูฟองคดีทั้งสามกลาวอางแตอยางใด นอกจากนั้น ยังปรากฏขอเท็จจริงดวยวา หลังจากที่ผูฟองคดีทั้งสามไดมีการรองขอใหมี การกอสรางลิฟทและสิ่งอํานวยความสะดวกแกคนพิการแลว ผูถูกฟองคดีทั้งสี่ก็ได ดําเนินการกอสรางลิฟทและสิ่งอํานวยความสะดวกใหแกคนพิการเพิ่มขึ้นในบางสถานีรวม ๕ สถานี คือ สถานีอโศก สถานีออนนุช สถานีชองนนทรี สถานีหมอชิต และสถานีสยาม ซึ่งเปนสถานีที่มีความสําคัญและมีผูโดยสารหนาแนน แสดงใหเห็นวาผูถูกฟองคดีทั้งสี่ ไดดําเนินการตามอํานาจหนาที่และเปนไปตามระเบียบที่ออกมาภายหลังเชนกัน อีกทั้ง ยังปรากฏจากคําชี้แจงของผูถูกฟองคดีที่ ๑ และผูถูกฟองคดีที่ ๒ ดวยวา สําหรับสถานี /รถไฟฟาที่เหลือ...