SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
1. Six sigma 2.Customer Relationship Management
3.SWOT 4.GST
5.Supply Chain Managemant 6.Core Value
7.Loyalty Managemant 8.KAIZEN
9.KPI 10.TQM
11.Community of Practice 12.Caree Path
13.Blueprint for Change 14.การประเมินแบบ 360 องศา
15.Balanced Scorecard 16.Core Competency
17.Storytelling 18.Economic Value Aded
19.Outsourcing 20.Customer Segment
21.QA,QC 22.Benchmarking
23.Quality of Work Life 24.บันได 8 ขั้น
QC Story
คือเครื่องมือที่ใช้จัดการปัญหาในด้านต่างๆ ที่ช่วยเพิ่มคุณของงานและสินค้าโดยเน้นเรื่องบุคลากรเป็นหลัก
QC Story มีขั้นตอนในการแก้ไขปัญหาซึ่งมี 7ขั้นตอนดังนี้
1. กาหนดหัวข้อปัญหา : จะได้มาจากการกาหนดแนวคิดของกลุ่ม เพื่อกาหนดความคาดหมายของลูกค้าสาหรับเป้าหมายคุณภาพ
2. วิเคราะห์สถานะการปัจจุบัน : ความถี่ ความรุนแรงความเป็นไปได้ในการแก้ไข
3. บ่งชี้สาเหตุของปัญหา : รู้สาเหตุปัญหาที่เกิดขึ้น ที่สามารถแก้ไขปัญหาได้ตรงจุด
4. คัดเลือกเครื่องมือหรือกิจกรรมในการแก้ปัญหา : หาเครื่องมือที่ได้ผลดีที่สุดในการแก้ไขปัญหานั้นๆ
5. นากิจกรรมไปปฎิบัติ : นากิจกรรมที่เลือกมาปฏิบัติ และทิ้งระยะการตรวจสอบผล
6. เฝ้าติดตามผล : ทาแบบสอบถามหรือดูข้อมูลสถิติย้อนหลังว่าปัญหาลดลงหรือไม่
7. การทาเป็นมาตรฐาน : ถ้าแก้ปัญหาได้ผลดี จะเอามาเป็นมาตรฐาน
แต่ถ้าใช้แล้วปัญหายังคงเดิมก็ต้องหาวิธีการแก้ปัญหาใหม่
Employee Engagement Survey
คือการประเมินความรู้สึกของบุคลากรภายในองค์กรว่าเขามีความผูกพัน ต่อองค์กรว่าอยู่ในระดับใด
พร้อมทราบถึงประเด็นที่องค์กรควรส่งเสริมและ แก้ไขปรับปรุง เพื่อให้องค์กรประสบความสาเร็จตามเป้าหมายที่ตั้งไว้
ขั้นตอนการประเมิน
1.สารวจ เราต้องทราบก่อนว่าปัจจุบันพนักงานกับองค์กรมีความผูกพันอยู่ที่เท่าไรเปรียบเสมือนกับการลดน้าหนัก เราต้องรู้ก่อนว่า
น้าหนักปัจจุบันเราเป็นเท่าไร เราจึงจะลดได้ถูกต้องและเห็นผลการเปลี่ยนแปลงเราจึงลดได้ถูกต้องและเห็นผลการเปลี่ยนแปลง
2.ตั้งเป้าหมายเมื่อเราสารวจจนทราบผลแล้วว่าเราเป็นอย่างไร มีจุดเด่น จุดด้อย อะไรบ้างในภาพรวมขององค์กรและฝ่ายต่างๆเราก็มา
ตั้งเป้าหมายร่วมกันว่าเราจะให้ค่า Engagement score ของเราควรเป็นเท่าไร ภายในระยะเวลาที่กาหนด เช่นประมาณ 6 เดือน
3.พัฒนา หลังจากนั้นเราก็ดาเนินการวางแผนพัฒนาว่าใครจะต้องทาอะไรบ้าง เพื่อให้ได้ผลตามเป้าหมายที่วางไว้
แล้วก็ดาเนินการพัฒนาองค์การพัฒนาฝ่ายต่างๆในการปฎิบัติงาน ละทากิจกรรมเพื่อให้ได้ผลตามเป้าหมาย
การสร้างความผูกพันให้เกิดขึ้นได้ต้องใช้ระยะเวลาและความต่อเนื่องเริ่มตั้งแต่การสร้างความเชื่อมั่นความไว้วางใจในองค์กรให้กับ
พนักงาน ว่าองค์กรมีพันธะสัญญาที่จริงใจในการส่งมอบชีวิตการงานที่ดีให้กับพนักงานต่อมาพนักงานต้องได้รับความเป็นธรรม
ซื่อสัตย์สุจริต การปฏิบัติดูแลเอาใจใส่ที่ดีจากองค์กรจนส่งเสริมให้มีความรู้สึกภาคภูมิใจใน การที่เป็นสมาชิก เป็นส่วนหนึ่งของ
องค์กรที่ดี และอดไม่ได้ที่จะบอกต่อความภูมิใจนี้ให้คนรอบข้างได้รับรู้ จนในที่สุด พนักงานก็จะเกิดความหลงใหลมีใจรักองค์กร มี
แรงปรารถนาภายในเป็นแรงผลักดันในการขับเคลื่อนผลงานให้องค์กร
อย่างเต็มที่สุดฝีมือ ไม่คิดที่จะย้ายไปทางานอื่นเพราะค้นพบแล้วว่านี่แหละคืองานที่ตัวเองรักไม่มีอะไรมาแทนที่ได้จะ อยู่จนเกษียณ
อุทิศตัวเพื่ออาชีพการงานตลอดไปหรือขอตายในหน้าที่เท่านั้น
Shared Service Cententers : ssc
เป็นเครื่องมือในการลดต้นทุนเนื่องจากมีเเผนงานในการดาเนินการร่วมกันจากหลายๆแผนก มีจุดมุ่งหมายเพื่อการทางานที่ซับซ้อน ทา
ให้งานนั้นมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น การทา SSC จะทาให้องค์กรมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ทาให้องค์กรนั้นประหยัดค่าใช้จ่ายมาก
ยิ่งขึ้น สามารถให้พนักงานย้ายไปทางานอย่างอื่นได้ และยังให้ความคล่องเเคล่วในการเพิ่มธุรกิจใหม่ๆที่กาลังจะเกิดขึ้นในอนาคตได้
GST (Growth Strategy Tools)
Growth Strategy Tools เป็นเครื่องมือทางการจัดการที่มุ่งเน้นไปที่การใช้ทรัพยากรให้เข้าโอกาสเพื่อให้ผลประโยชน์เติบโตมากขึ้น
Tooสามารถปรับเปลี่ยนเป้ าหมายขององค์กรและกระบวนการของธุรกิจเพื่อให้มีความท้าทายมากกว่าแบบเดิม ๆ บ่งชี้แนวโน้มของสิ่งใหม่ ๆ
ที่จะเกิดขึ้น และสร้างหรือนาธุรกิจใหม่ ๆ ที่ก่อให้เกิดผลกาไรเข้ามาเป็นธุรกิจหลัก บางครั้งอาจจาเป็นต้องกาหนดธุรกิจหลักใหม่เสียด้วยซ้าไป
เครื่องมือพวกนี้เช่น เพิ่มการลงทุนในการวิจัยพัฒนา ปรับย้ายทรัพยากรให้เหมาะสม เน้นที่การว่าจ้างหรือรักษาพนักงานมืออาชีพ เพิ่ม
ผลตอบแทนการค้นพบใหม่ ๆ รับความเสี่ยงได้มากขึ้นส่วนวิธีการของการใช้เครื่องมือนี้ที่เห็นและเข้าใจได้ง่ายๆ ก็คือ M/A
Loyalty Management Tools คือ การจัดการความจงรักภักดี
เป็นการเพิ่มรายได้และผลกาไรให้กับธุรกิจโดยการปรับปรุงการรักษาเอาไว้ซึ่งความสัมพันธ์ระหว่างลูกค้าของบริษัท พนักงานและผู้ลงทุน
ทั้งหลาย
โดยการจัดทา #Loyalty program เพื่อจะวัดและติดตามความภักดีของกลุ่มข้างต้น แล้วทาการตรวจสอบหาสาเหตุใด ๆ ที่
ก่อให้เกิดข้อบกพร่องขึ้นมา จากนั้นจึงพัฒนาแนวทางแก้ไขรวมไปถึงสนับสนุน
ให้เกิดความภักดีกลับคืนมา
#การใช้เครื่องมือนี้จึงสรุปได้ว่า เป็นการสร้างความสัมพันธ์ที่ยั่งยืนกับลูกค้า ดึงดูดและรักษาพนักงานผู้ซึ่งมีทักษะองค์ความรู้และ
ความสัมพันธ์อันยอดเยี่ยมปรับปรุงผลิตผลและลดต้นทุนอันเกิดจากสรรหาและอบรมพนักงานใหม่ใช้กลยุทธ์ในการปรับผลตอบแทนตาม
การทุ่มเทการทางานของ พนักงาน ลูกค้า ซัพพลายเออร์ และผู้ลงทุน เพื่อก่อให้เกิดวงรอบในการพัฒนาตนเองให้แข็งแกร่งขึ้นปรับปรุง
ประสิทธิภาพทางการเงินและคุณค่าที่มีต่อผู้ถือหุ้นในระยะยาวและที่สาคัญอีกอย่างก็คือ
สร้างยอดขายให้เติบโตผ่านทางการแนะนาของลูกค้าและพนักงาน
Core Value หรือ ค่านิยมหลัก เป็นอีกหนึ่งเครื่องที่ช่วยในการจัดการองค์กรให้เป็นองค์กรที่มีประสิทธิภาพสูง
เป็นความคิด ความเชื่อหลักของคนในองค์กร เป็นหลักชี้นา ที่จะต้องปลูกฝังให้เกิดขึ้นในตัวพนักงานทุกคนไม่ว่าจะอยู่ที่ไหนก็ตาม ค่านิยม
หลักจะต้องสนับสนุนวิสัยทัศน์ และลักษณะธุรกิจขององค์กร เป็นเครื่องมือที่ช่วยผลักดันให้พนักงานทุกคนในองค์กรมีความเชื่อในเรื่อง
เดียวกัน ซึ่งความเชื่อที่กาหนดขึ้นในองค์กรจะมีส่วนช่วยทาให้องค์กรประสบความสาเร็จทางธุรกิจ และบรรลุเป้ าหมายตามวิสัยทัศน์ที่องค์กร
กาหนดขึ้น เช่นสถาบันการศึกษามีค่านิยมหลักคือ การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง, โรงพยาบาลมีค่านิยมหลักคือ จิตสานึกบริการ, โรงงานมีค่านิยม
หลักคือ จิตสพนึกด้านคุณภาพ
Quality of Worklife (QWL) เป็นแนวคิดทางการบริหารที่มุ่งเน้นให้บุคลากรในองค์การทางานอย่างมีความสุข ประกอบด้วยหลัก
สาคัญ 8 ประการ คือ
1) การได้ค่าตอบแทนที่เป็นธรรมและพอเพียง
2) มีสิ่งแวดล้อมในการทางานที่สะอาด ปลอดภัย
3) การเปิดโอกาสให้พัฒนาศักยภาพของตนอย่างเต็มที่
4) ทางานแล้วเติบโตก้าวหน้า
5) มีชีวิตสังคม สังสรรค์กับชาวบ้านในหน่วยงาน
6) งานที่ทามีกฎเกณฑ์ ระเบียบ ตั้งอยู่บนพื้นฐานของกฎหมายที่เป็นธรรม เป็นที่ยอมรับ
7) มีความสมดุลระหว่างชีวิตกับการทางาน
8) มีชีวิตเพื่อสังคม ทาบุญทาทานพอสมควร
และจะทาให้องค์กร ก้าวไปสู่ HPO ได้เมื่อคนมีความสุข ก็จะตั้งใจทางาน ท้ายสุดองค์การก็ได้ประโยชน์
SWOT (SWOT Analysis)
เป็นการวิเคาระห์สภาพองค์กร หรือหน่วยงานเพื่อค้นหา จุดเด่น จุดด้อย หรือสิ่งที่อาจเป็นปัญหาสาคัญในการดาเนินงานสู่สภาพที่ต้องการใน
อนาคต SWOT เป็นตัวย่อที่มีความหมายดังนี้
- Strengths จุดแข็งหรือข้อได้เปรียบ
- Weaknesses จุดอ่อนหรือข้อเสียเปรียบ
- Opportunities โอกาสที่จะดาเนินการได้
- Threats อุปสรรค ข้อจากัด หรือปัจจัย ที่คุกคามการดาเนินงานขององค์กร
หลักการณ์สาคัญของการวิเคราะห์ SWOT สารวจจากสภาพการณ์ 2 ด้านคือ ภายในและภายนอก ดังนั้นการวิเคาระห์ SWOT จึงเรียกได้
ว่าเป็นการวิเคราะห์สภาพการณ์ เป็นการวิเคาระห์จุดแข็ง จุดอ่อน เพื่อให้รู้ตนเอง (รู้เรา) รู้จักสภาพแวดล้อม(รู้เขา) ชัดเจนและวิเคาระห์
โอกาส-อุปสรรค การวิเคาระห์ปัจจัยต่างๆ ทั้งภายนอกและภายในองค์กร ที่จะช่วยให้ผู้บริหารขององค์กรทราบถึงการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ที่
เกิดขึ้นภายนอกองค์กร ทั้งสิ่งที่ได้เกิดขึ้นและแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงในอนาคต รวมทั้งผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงเหล่านี้ที่มีต่อองค์
ธุรกิจ และจุดแข็ง จุดอ่อน และความสามารถด้านต่างๆ
Six sigma เป็นการบริหารที่มุ่งเน้นในการลดความผิดพลาด ลดความสูญเปล่า และลดการแก้ไขตัวชิ้นงานและสอนให้พนักงานรู้แนวทาง
ในการทาธุรกิจอย่างมีหลักการและจะไม่พยายามจัดการกับปัญหาแต่จะพยายามกาจัดปัญหาทิ้ง Six sigma จะดีที่สุด เมื่อทุกคนใน
องค์กรร่วมมือกันตั้งแต่ CEO ไปจนถึงบุคลากรทั่วไปในองค์กร ซึ่ง Six sigma เป็นการรวมกันระหว่างอนุภาพแห่งคน (Power of
people) อนุภาพแห่งกระบวนการ (Process Power) ซึ่งถ้าตัว Six sigma มีค่าสูงหรือมีความผันแปรมากขึ้นเท่าไร ก็
เปรียบเสมือนมีการทาข้อผิดพลาดมากขึ้นเท่านั้น ซึ่งโอกาสที่จะเกิดข้อผิดพลาดตัวนี้เรียกว่า DPMO (Defects Per Million
Oppertunities)
โดยหลักการของ Six Sigma แบ่งเป็นขั้นทั้งหมด 5 ขั้นคือ “Define – Measure – Analyze – Improve – Control”
หรือ “ชี้บ่ง – วัด –
วิเคราะห์ – ปรับปรุง – ควบคุม”
Outsourcing คืออะไร
คือ การใช้บริการจากภายนอกองค์กร เพื่อช่วยงานในบางส่วนชั่วคราวหรืองานพื้นฐานระยะยาว ธุรกิจหลายแห่งอาจต้องการพนักงาน
เพิ่มเติม เช่น นักเขียนโปรแกรม นักวิเคราะห์ระบบและเจ้าหน้าที่ทางด้านเทคนิคให้มาช่วยงานในช่วงเร่งด่วน ในระยะเวลาสั้นๆ ดังนั้นแทนที่
จะต้องเพิ่มพนักงาน อาจกระทาโดยการว่าบริษัทจัดหาคนช่วย (Contract Personnel Firm) โดยจ่ายค่าบริการเฉพาะช่วงที่
กาหนด หรืออาจติดต่อที่ปรึกษาทางด้านไอที เมื่อต้องการความชานาญเฉพาะด้าน
การ Outsource คือการที่องค์กรมอบหมายงานบางส่วนของตนให้กับบุคคลหรือองค์กรภายนอก มาดาเนินการแทน โดยผู้ว่าจ้างจะ
เป็นผู้กาหนดและควบคุมกากับทุกส่วนตั้งแต่นโยบายไปจนถึงการปฏิบัติงานในทุก ๆ ขั้นตอนของผู้รับจ้าง
การใช้เครื่องมือ Outsourcing จะส่งผลให้องค์กรเป็น HPO ได้นั้น เพราะองค์กรต้องมีการแข่งขันทางธุรกิจอยู่ตลอด เพราะฉะนั้น
การหาบุคลากรเข้ามาทางาน เป็นสิ่งที่สาคัญ เครื่องมือนี้จะช่วย ช่วยลดภาระค่าใช้จ่ายขององค์กร สามารถควบคุมต้นทุนการดาเนินงานให้
ต่าลง และช่วยองค์กรสามารถผลักภาระการลงทุนทางด้านเทคโนโลยีต่างๆ ให้กับบริษัทว่าจ้างได้
Storytelling เครื่องมือทางการจัดการ เป็นวิธีการหรือเครื่องมือประเภทหนึ่งของการจัดการความรู้ ในการดึงเอาประสบการณ์
หรือความรู้ที่อยู่ภายในของผู้เล่าออกมาเล่าให้บุคคลอื่นฟัง ผู้ฟังสามารถนาเอาประสบการณ์ หรือความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้กับการ
ทางานของตนเองได้ โดยไม่ต้องเสียเวลาเริ่มต้นในการศึกษาเรื่องนั้นๆ ใหม่
การเล่าเรื่อง ควรมีขั้นตอน ดังนี้
ตั้งหัวข้อหรือความรู้ที่ต้องการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ หรือแบ่งปันให้กับผู้ฟังในองค์กร
หาบุคคลที่เหมาะสมกับหังข้อนั้นๆ ซึ่งต้องเป็นผู้ที่มีประสบการณ์มากและสามารถร้องขอให้มาเล่าเรื่องได้ ความกระตือรือร้นและ
ความสามารถในการพูดดี คล่องแคล่วจะเป็นสิ่งที่ส่งผลให้ผู้เล่าเรื่องประสบผลสาเร็จในการเล่าเรื่อง ดังนั้น หัวข้อและผู้พูดจะต้อง
สัมพันธ์กัน
กลุ่มเป้ าหมายในการเล่าเรื่องเพื่อจะได้เชิญชวนผู้ที่มาร่วมฟัง
ดาเนินการเล่าเรื่อง บรรยากาศไม่ต้องมีพิธีการมาก อาจมีการเปลี่ยนฉาก บริการของว่าง เป็นต้น ผู้เล่าเรื่องต้องจับกลุ่มผู้ฟังกลุ่ม
เล็กๆ ที่เกิดขึ้นหลังจากจบการเล่าเรื่องแล้วเพื่อก่อให้เกิดเป็นสังคมเครือข่าย ระหว่างผู้เล่าเรื่องและผู้เข้าฟัง
ผลลัพธ์ของการเล่าเรื่อง อาจมีการนาการเล่าเรื่องออกเผยแพร่ทางวิดีโอหรือโพสต์ขึ้นเผยแพร่ทางอินทรา เน็ตเพื่อแบ่งปันให้กับ
พนักงานทั้งหมด จัดกลุ่มผู้ฟังที่มีความสนใจในหัวข้อนั้นเป็นพิเศษ โดยมีผู้เล่าเรื่องเป็นผู้นากลุ่ม
การเล่าเรื่องนั้น อาจจะกระตุ้นและเปิดโอกาสให้พนักงานมีส่วนร่วมในการเล่าเรื่องหรือในการ สนทนาด้วย การตั้งคาถามที่ดีจะช่วย
เป็นการดึงประสบการณ์ของผู้เล่าออกมาได้มาก และได้ดีตรงกับประสบการณ์ของผู้เล่าอย่างแท้จริง ผู้ที่ทาหน้าที่เป็นประธาน
อาจจะสรุปเป็นระยะๆ และผู้ฟังสามารถช่วยกันกรั่นกรองเรื่องเล่าที่เป็น tacit ให้เป็น explicit บันทึก และสามารถนาความรู้
นั้นไปประยุกต์ใช้ต่อไป
เครื่องมือทางการจัดการ
Core Competency : สมรรถนะหลัก-เป็นความเชี่ยวชาญที่เสริมให้องค์กรสามารถส่งผ่านคุณค่าเฉพาะตนไปสู่ลูกค้า สิ่ง
เหล่านี้จะฝังตัวอยู่ในองค์กร ซึ่งจะเป็นการผลักดันความได้เปรียบในการแข่งขันให้กับองค์กร ช่วยให้ขยายตลาดออกไปได้กว้าง
ขึ้น และเกิดผลประโยชน์ในการเสนอผลิตภัณฑ์ที่สอดรับกับความต้องการของลูกค้าอย่างเหมาะสม
การเข้าใจสมรรถนะหลักขององค์กรจะทาให้สามารถมุ่งเน้นการลงทุนไปที่จุดแข็งขององค์กรซึ่งทาให้แตกต่างจากคู่แข่ง และ
สามารถกระจายสมรรถนะหลักนั้นไปทั่วทั้งองค์กร
วัตถุประสงค์ของเครื่องมือนี้ก็เพื่อ
1. ตัดสินใจในการเคลื่อนย้ายทรัพยากรไปใช้งาน
2. สร้างตลาดใหม่ ๆ และเข้าสู่ตลาดเกิดใหม่ได้เร็ว
3. ตัดสินใจในการ outsource การเข้าร่วมเป็นพันธมิตรกับผู้อื่นได้ง่าย
4. เพิ่มภาพลักษณ์ของบริษัทและสร้างความภักดีให้เกิดขึ้นกับลูกค้า
ขั้นตอนการดาเนินการจะเริ่มจาก
1. แยกแยะความสามารถหลักออกมา
2. เปรียบเทียบกับองค์กรอื่น ๆประเภทเดียวกัน
3. ทาความเข้าใจว่าความสามารถอะไรที่ให้คุณค่าที่แท้จริงกับลูกค้า
4. กาหนดแนวทางให้กับองค์กรในการสร้างขีดความสามารถ
5. สนับสนุนการสื่อสารและการมีส่วนร่วมในการสร้างความสามารถหลักทั่วทั้งองค์กร
6. รักษาจุดแข็งหลักเอาไว้ ไม่ว่าผู้บริหารจะขยายหรือกาหนดธุรกิจใหม่ก็ตาม
7. IT จะไปสนับสนุนการเรียนรู้ต่าง ๆ (เช่น E-Training, E-Learning )
Balanced Scorecard :BSC หมายถึง เครื่องมือที่ทาหน้าที่เปลี่ยนพันธกิจและกลยุทธ์ ใช้ในการ
วัดผลการปฏิบัติงาน
BSC ประกอบด้วย มุมมอง4 ด้านของการวัด คือ ด้านการเงิน ด้านลูกค้า ด้านกระบวนการ และด้านการ
เรียนรู้และการเติบโต
ด้านการเงิน:ใช้ในเรื่องเกี่ยวกับการเพิ่มรายได้ การลดต้นทุน
ด้านลูกค้า:หัวใจอยู่ที่การเข้าใจลูกค้า การดึงดูดลูกค้าใหม่ให้เข้ามาใช้สินค้าบริการ การรักษา
ความสัมพันธ์กับลูกค้าที่มีอยู่ให้ยืนยาว
ด้านกระบวนการ:เป็นการวัดที่ดูถึงความสมบูรณ์ของกระบวนการทางานภายในองค์การ เป็นการพัฒนา
ปรับปรุงกระบวนการทางานเพื่อสร้างคุณค่าให้แก่ลูกค้าขององค์การ
ด้านการเรียนรู้และการเติบโต:เป็นการวัดองค์ประกอบพื้นฐานของ 3 มุมมองแรก เป็นการลงทุนเพื่อ
อนาคตและเป็นประโยชน์ในระยะยาว
(Blueprint for Change)
การจัดทาข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง ให้มุ่งเน้น การบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม โดยคานึงถึงการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้
ส่วนเสีย ไม่ว่าจะเป็นประชาชนผู้รับบริการ ข้าราชการ พนักงาน หรือสังคมส่วนรวม โดยใช้เทคนิคของ Balanced
Scorecard มาต่อยอด เพื่อให้ทุกคนในองค์กรมุ่งเน้นที่กลยุทธ์เป็นหลักและใช้หลักการอื่น
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง (Blueprint for Change) หมายถึง การวางแผนการดาเนินการต่าง ๆ ที่จะลดผลกระทบที่
เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลง และสนับสนุนให้เกิดการปรับตัวและการยอมรับ พร้อมทั้งสร้างศักยภาพใหม่ ๆ เพื่อรองรับการ
เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นตามเป้ าหมายเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารราชการให้เกิดความพร้อมในการสนับสนุนและผลักดัน
ให้ยุทธศาสตร์ของส่วนราชการเกิดผลทางปฏิบัติ เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงใน 3 ประเด็น คือ การปรับปรุงประสิทธิภาพ การ
พัฒนาคุณภาพ และการเสริมสร้างสมรรถนะองค์กร
กระบวนการในการจัดทาข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง แบ่งเป็น 3 ขั้นตอน
ส่วนที่ 1 การคัดเลือกประเด็น
ส่วนที่ 2 การวิเคราะห์ข้อมูลในปัจจุบัน
2.1 การวิเคราะห์กระบวนงานในปัจจุบัน
2.2 การวิเคราะห์ศักยภาพขององค์กรและบุคลากร
ส่วนที่ 3 การจัดทาข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงในประเด็นของ...
3.1 ขั้นตอน กระบวนงาน
3.2 บุคลากร เช่น เพิ่มขีดสรรถนะ ความสามารถในการทางาน
3.3 เทคโนโลยี การนาเทคโนโลยีมาช่วยให้การทางานหรือการบริการประชาชนมีประสิทธิภาพ
3.4 การจัดแบ่งส่วนงาน เพื่อไม่ให้เป็นอุปสรรคต่อการทางาน
การประเมินแบบ 360 องศาคืออะไร ?
บริษัทหรือองค์กรต่างๆมีความจาเป็นที่จะต้องมีเครื่องมือวัดการทางานของบุคลากรที่มีพื้นฐานมาจากพฤติกรรมการทางานจริง
ๆ การประเมินโดยผู้บังคับบัญชาหรือหัวหน้างานเพียงคนเดียวอาจไม่เพียงพอต่อการสะท้อนให้เห็นถึงการทางานรอบด้านได้
การประเมินแบบ 360 องศา จึงเป็นเครื่องมืออย่างหนึ่งที่ช่วยประเมินการทางานได้อย่างรอบด้าน
การประเมิน 360 องศา เป็นเครื่องมือทางการบริหารทรัพยากรบุคคล ที่ใช้ในการประเมินความสามารถ คุณลักษณะ
พฤติกรรม หรือ Competency” ของพนักงาน รูปแบบการประเมินแบบ 360 องศา เป็นการประเมินที่ครบวงจร โดยอาศัย
ผู้เกี่ยวข้องกับพนักงานที่ถูกประเมินได้อย่างรอบด้าน ทั้งผู้บังคับบัญชา ผู้ใต้บังคับบัญชาเพื่อนผู้ร่วมงาน และพนักงานผู้ถูก
ประเมินได้ทาการประเมินตนเองอีกด้วย
ประโยชน์ประเมิน 360 องศา
1. ทาให้ได้ทัศนะที่หลากหลายในการประเมินบุคคลมากยิ่งขึ้น และถือเป็นการเปิดโอกาสให้มีการวิพากษ์วิจารณ์เชิงสร้างสรรค์
ทั้งยังเป็นการชี้ให้เห็นจุดบกพร่อง และการระบุจุดเด่นของตนอีกด้วย
2. ประโยชน์ต่อการปรับปรุงภาวะผู้นาของผู้รับการประเมินและพร้อมทั้งการปรับปรุงระดับความพึงพอใจของผู้ได้รับข้อมูล
ย้อนกลับ
3. การสร้างการมีส่วนร่วมระหว่างพนักงานที่ร่วมกิจกรรมในการประเมิน และสร้างความสัมพันธ์ระหว่างพนักงานกับ
ผู้บังคับบัญชาอีกด้วย ทาให้มีการสื่อสารที่ดี มีความเชื่อมั่นระหว่างกัน เกิดความร่วมแรงร่วมใจกัน ทั้งยังสร้างจิตสานึกในการ
มองประโยชน์ส่วนรวมร่วมกันมากขึ้น
สรุปว่าการประเมินแบบ 360 องศา จะทาให้พนักงานได้ทราบข้อมูล feedbace ของตัวเองเพื่อนาไปพัฒนาและปรับปรุง
ความสามารถของพนักงานเพื่อให้ผลงานดีขึ้น โดยการประเมินจากหลายช่องทางเพื่อทาให้พนักงานมีข้อมูลที่มากพอและ
น่าเชื่อถือได้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือความสามารถของตนเองให้ดีขึ้น เพื่อให้ได้ตามมาตรฐานที่บริษัทกาหนดไว้ อันจะ
ส่งผลให้องค์กรประสบผลสาเร็จและมีประสิทธิภาพมากที่สุด
CoP (Community of Practice) หรือชุมชนนักปฏิบัติ คือ การรวมตัวกันแบบไม่เป็นทางการ เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับการ
ทางาน ปัญหาที่เจอ นาความรู้ที่ได้มาพัฒนาปรับปรุงระบบงาน พัฒนาบุคลากรในองค์การให้มีการทางานที่ดีขึ้น ....ฉะนั้น CoP นามาสร้าง
HPO ได้โดยเน้นเรื่องคนเป็นหลัก เมื่อทีมงานในองค์การมีความสามารถสูง จะเป็นผู้ขับเคลื่อนความสาเร็จขององค์การให้เป็นไปตาม
เป้ าหมาย ทั้งด้านการบริการและการบริหาร มีระบบกระบวนการบริหารจัดการภายในที่เป็นมาตรฐาน ส่งผลให้มีผลงานที่โดดเด่น สร้างความ
พึงพอใจและครองใจลูกค้าให้มีอยู่อย่างต่อเนื่อง มีผลตอบแทนทางธุรกิจที่ดี_และสุดท้ายนาพาองค์การให้ก้าวไปสู่การปรับตัวและการแข่งขัน
ต่อโลกสมัยใหม่ได้ :
Career Path. เส้นทางก้าวหน้าและการเติบโตในสายอาชีพ
พนักงานเมื่อเข้ามาปฏิบัติงานในองค์กรทาให้องค์กร สามารถวางแผนการสรรหาการพัฒนาความรู้ทักษะมีส่วนในการสร้างขวัญกาลังใจ
รักษาคนเก่งและดีไว้ในองค์กร คนเป็นทรัพยากรที่มีค่าที่สุดพนักงานควรได้รับโอกาสก้าวหน้าและเติบโตในสายอาชีพ เช่น การเลื่อนขั้นหรือ
เลื่อนตาแหน่งพนักงานจะทาให้พนักงานมีความรับผิดชอบที่สูงขึ้นมีแรงจูงใจในการทางานทาให้พนักงานมีศักยภาพในการปฎิบัติงานสูง การ
นา Career Path มาใช้ในองค์กรจะส่งผลให้องค์กรเป็น HPO??
เมื่อองค์กรมีการนาCareer Path ไปใช้ในองค์กรจะทาให้พนักงานมั่นใจว่าองค์กรสามารถสร้างความก้าวหน้าในสายอาชีพได้ พนักงานก็
จะมีแรงจูงใจในการทางานและจะพัฒนาผลงานคุณสมบัติของตนเองให้โดดเด่นมากขึ้นองค์กรมีก็จะมีคนเก่งและคนดีเพิ่มมากขึ้น จึงทาให้
องค์กรเป็นองค์ที่มีระบบและมาตรฐานมีผลการปฏิบัติงานที่โดดเด่นและครองใจลูกค้าอย่างต่อเนื่อง เน้นการพัฒนาผลงาน/ทีมงานเพื่อ
ขับเคลื่อนองค์กรให้ได้รับการยอมรับและเป็น HPO อย่างต่อเนื่อง
TQM (Total Quality Management) เป็นระบบบริหารคุณภาพที่มุ่งเน้นการให้ความสาคัญสูงสุดต่อลูกค้าภายใต้
ความร่วมมือของพนักงานทั่วทั้งองค์กรที่จะปรับปรุงงานอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้สามารถตอบสนองต่อความต้องการได้TQMจึง
เป็นแนวทางที่หลายองค์กรนามาใช้ปรับปรุงงานระบบTQMเป็นระบบที่มองภาพรวมทั้งองค์กรระบบนี้ลูกค้าจะเป็นผู้กาหนด
มาตรฐานหรือความต้องการเป็นระบบที่ปรับปรุงการวางแผนการจัดองค์กรและการทาความเข้าใจในกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับแต่ละ
บุคคลในแต่ละระดับเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพให้มีความยืดหยุ่นเพื่อที่จะสามารถแข่งขันได้TQMเป็นระบบที่สามารถนาไปใช้
ได้กับทุกองค์กรประสิทธิภาพของการจัดองค์กรในระบบนี้ขึ้นอยู่กับการปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ของทุกคนในการนาองค์กรไปสู่
เป้ าหมาย
การนาTQMมาประยุกต์ปฏิบัติเพื่อให้เกิดองค์การประสิทธิภาพสูง ดังนี้
1. ภาวะผู้นา 2.ข้อมูลสารสนเทศและการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศ
3.การวางแผนคุณภาพเชิงกลยุทธ์
4. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
5. การจัดกระบวนการคุณภาพ
6.คุณภาพและผลการดาเนินงาน
การนาTQMไปประยุกต์ใช้ในองค์การให้เกิดผลนั้น ต้องมีการดาเนินงานอย่างต่อเนื่อง และเป็นสิ่งที่คุ้มค่ามากหากองค์การ
สามารถดาเนินงานเพื่อสร้างTQMให้เกิดขึ้นในองค์การได้
ประโยชน์ในการนา TQM มาใช้ในองค์กร
คือ การพัฒนาบุคลากรให้สามารถใช้ศักยภาพของตนเองได้อย่างเต็มที่ด้วยการมีส่วนร่วมในการปรับปรุงคุณภาพของสินค้าหรือ
บริการ อันจะทาให้คุณภาพชีวิต ของพนักงานทุกคนดียิ่งขึ้นเรื่อยๆ อย่างต่อเนื่อง ทาให้การดาเนินงานขององค์กรสูงขึ้น โดย
สินค้าหรือบริการมีคุณภาพสูงขึ้นของเสียเป็นศูนย ออกแบบผลิตภัณฑ์ได้น่าสนใจมากขึ้น บริการหรือส่งของได้เร็วขึ้นลดต้นทุน
ด้านการผลิต และพนักงานทุกคนมีส่วนร่วนร่วมในการทางาน จะทาให้องค์กรเป็นองค์กรประสิทธิภาพสูงได้

More Related Content

Viewers also liked

Giao trinh-autocad-2007-pham van hau
Giao trinh-autocad-2007-pham van hauGiao trinh-autocad-2007-pham van hau
Giao trinh-autocad-2007-pham van hauDUNGZIDAN
 
Leadership Presentation for NAPP 2014
Leadership Presentation for NAPP 2014Leadership Presentation for NAPP 2014
Leadership Presentation for NAPP 2014Gavin Clark
 
Introduction to Search Marketing - Search Engine Optimisation
Introduction to Search Marketing - Search Engine OptimisationIntroduction to Search Marketing - Search Engine Optimisation
Introduction to Search Marketing - Search Engine OptimisationRhys Downard
 
Narrative photo writing task term 4
Narrative photo writing task term 4Narrative photo writing task term 4
Narrative photo writing task term 4Gavin Clark
 
Javascript session june 2013 (iii) jquery json
Javascript session june 2013 (iii) jquery   jsonJavascript session june 2013 (iii) jquery   json
Javascript session june 2013 (iii) jquery jsonabksharma
 

Viewers also liked (9)

Giao trinh-autocad-2007-pham van hau
Giao trinh-autocad-2007-pham van hauGiao trinh-autocad-2007-pham van hau
Giao trinh-autocad-2007-pham van hau
 
Leadership Presentation for NAPP 2014
Leadership Presentation for NAPP 2014Leadership Presentation for NAPP 2014
Leadership Presentation for NAPP 2014
 
Introduction to Search Marketing - Search Engine Optimisation
Introduction to Search Marketing - Search Engine OptimisationIntroduction to Search Marketing - Search Engine Optimisation
Introduction to Search Marketing - Search Engine Optimisation
 
Tuusula 1.10.2016
Tuusula 1.10.2016Tuusula 1.10.2016
Tuusula 1.10.2016
 
Narrative photo writing task term 4
Narrative photo writing task term 4Narrative photo writing task term 4
Narrative photo writing task term 4
 
HIV &AIDS
HIV &AIDSHIV &AIDS
HIV &AIDS
 
Javascript session june 2013 (iii) jquery json
Javascript session june 2013 (iii) jquery   jsonJavascript session june 2013 (iii) jquery   json
Javascript session june 2013 (iii) jquery json
 
Avikalp
AvikalpAvikalp
Avikalp
 
Maglevv
MaglevvMaglevv
Maglevv
 

Similar to toos

คำอธิบายเกณฑ์รายหัวข้อ 2018 criteria item commentary
 คำอธิบายเกณฑ์รายหัวข้อ 2018 criteria item commentary คำอธิบายเกณฑ์รายหัวข้อ 2018 criteria item commentary
คำอธิบายเกณฑ์รายหัวข้อ 2018 criteria item commentarymaruay songtanin
 
Organization measurement
Organization measurementOrganization measurement
Organization measurementKan Yuenyong
 
เกณฑ์ TQA Criteria 2014 -2015 หมวด 1,2,4 - PMK internal assessor 3
เกณฑ์ TQA Criteria 2014 -2015 หมวด 1,2,4 - PMK internal assessor 3  เกณฑ์ TQA Criteria 2014 -2015 หมวด 1,2,4 - PMK internal assessor 3
เกณฑ์ TQA Criteria 2014 -2015 หมวด 1,2,4 - PMK internal assessor 3 maruay songtanin
 
คำอธิบายเกณฑ์รายหัวข้อ 2016 criteria category and item commentary
คำอธิบายเกณฑ์รายหัวข้อ 2016 criteria category and item commentary คำอธิบายเกณฑ์รายหัวข้อ 2016 criteria category and item commentary
คำอธิบายเกณฑ์รายหัวข้อ 2016 criteria category and item commentary maruay songtanin
 
รายงานความยั่งยืน 2560
รายงานความยั่งยืน 2560รายงานความยั่งยืน 2560
รายงานความยั่งยืน 2560Taungza Brotherbears
 
การนำยุทธศาสตร์ไปปฏิบัติ Strategy implementation
การนำยุทธศาสตร์ไปปฏิบัติ Strategy implementation การนำยุทธศาสตร์ไปปฏิบัติ Strategy implementation
การนำยุทธศาสตร์ไปปฏิบัติ Strategy implementation maruay songtanin
 
การพัฒนาคุณภาพงานอย่างต่อเนื่อง
การพัฒนาคุณภาพงานอย่างต่อเนื่องการพัฒนาคุณภาพงานอย่างต่อเนื่อง
การพัฒนาคุณภาพงานอย่างต่อเนื่องCuproperty
 
การทำให้สำเร็จ Execution premium
การทำให้สำเร็จ Execution premium การทำให้สำเร็จ Execution premium
การทำให้สำเร็จ Execution premium maruay songtanin
 
Communication และ km jan55
 Communication และ km jan55 Communication และ km jan55
Communication และ km jan55Nithimar Or
 
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการ
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการบทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการ
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
Developing high professional
Developing high professionalDeveloping high professional
Developing high professional1clickidea
 
บริหารเวลา
บริหารเวลาบริหารเวลา
บริหารเวลาkullasab
 
SEPA Cat 7 table of expected results ver 2
SEPA Cat 7 table of expected results ver 2SEPA Cat 7 table of expected results ver 2
SEPA Cat 7 table of expected results ver 2Areté Partners
 

Similar to toos (20)

คำอธิบายเกณฑ์รายหัวข้อ 2018 criteria item commentary
 คำอธิบายเกณฑ์รายหัวข้อ 2018 criteria item commentary คำอธิบายเกณฑ์รายหัวข้อ 2018 criteria item commentary
คำอธิบายเกณฑ์รายหัวข้อ 2018 criteria item commentary
 
Organization measurement
Organization measurementOrganization measurement
Organization measurement
 
Sub report update 2561
Sub report update 2561Sub report update 2561
Sub report update 2561
 
เกณฑ์ TQA Criteria 2014 -2015 หมวด 1,2,4 - PMK internal assessor 3
เกณฑ์ TQA Criteria 2014 -2015 หมวด 1,2,4 - PMK internal assessor 3  เกณฑ์ TQA Criteria 2014 -2015 หมวด 1,2,4 - PMK internal assessor 3
เกณฑ์ TQA Criteria 2014 -2015 หมวด 1,2,4 - PMK internal assessor 3
 
คำอธิบายเกณฑ์รายหัวข้อ 2016 criteria category and item commentary
คำอธิบายเกณฑ์รายหัวข้อ 2016 criteria category and item commentary คำอธิบายเกณฑ์รายหัวข้อ 2016 criteria category and item commentary
คำอธิบายเกณฑ์รายหัวข้อ 2016 criteria category and item commentary
 
Sub report update 2560
Sub report update 2560 Sub report update 2560
Sub report update 2560
 
Sustainable Report 2560
Sustainable Report 2560Sustainable Report 2560
Sustainable Report 2560
 
รายงานความยั่งยืน 2560
รายงานความยั่งยืน 2560รายงานความยั่งยืน 2560
รายงานความยั่งยืน 2560
 
8-kpi
8-kpi8-kpi
8-kpi
 
การนำยุทธศาสตร์ไปปฏิบัติ Strategy implementation
การนำยุทธศาสตร์ไปปฏิบัติ Strategy implementation การนำยุทธศาสตร์ไปปฏิบัติ Strategy implementation
การนำยุทธศาสตร์ไปปฏิบัติ Strategy implementation
 
Sustainable 2561
Sustainable 2561Sustainable 2561
Sustainable 2561
 
ocjee
ocjeeocjee
ocjee
 
การพัฒนาคุณภาพงานอย่างต่อเนื่อง
การพัฒนาคุณภาพงานอย่างต่อเนื่องการพัฒนาคุณภาพงานอย่างต่อเนื่อง
การพัฒนาคุณภาพงานอย่างต่อเนื่อง
 
การทำให้สำเร็จ Execution premium
การทำให้สำเร็จ Execution premium การทำให้สำเร็จ Execution premium
การทำให้สำเร็จ Execution premium
 
Chapter(1)
Chapter(1)Chapter(1)
Chapter(1)
 
Communication และ km jan55
 Communication และ km jan55 Communication และ km jan55
Communication และ km jan55
 
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการ
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการบทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการ
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการ
 
Developing high professional
Developing high professionalDeveloping high professional
Developing high professional
 
บริหารเวลา
บริหารเวลาบริหารเวลา
บริหารเวลา
 
SEPA Cat 7 table of expected results ver 2
SEPA Cat 7 table of expected results ver 2SEPA Cat 7 table of expected results ver 2
SEPA Cat 7 table of expected results ver 2
 

toos

  • 1. 1. Six sigma 2.Customer Relationship Management 3.SWOT 4.GST 5.Supply Chain Managemant 6.Core Value 7.Loyalty Managemant 8.KAIZEN 9.KPI 10.TQM 11.Community of Practice 12.Caree Path 13.Blueprint for Change 14.การประเมินแบบ 360 องศา 15.Balanced Scorecard 16.Core Competency 17.Storytelling 18.Economic Value Aded 19.Outsourcing 20.Customer Segment 21.QA,QC 22.Benchmarking 23.Quality of Work Life 24.บันได 8 ขั้น
  • 2. QC Story คือเครื่องมือที่ใช้จัดการปัญหาในด้านต่างๆ ที่ช่วยเพิ่มคุณของงานและสินค้าโดยเน้นเรื่องบุคลากรเป็นหลัก QC Story มีขั้นตอนในการแก้ไขปัญหาซึ่งมี 7ขั้นตอนดังนี้ 1. กาหนดหัวข้อปัญหา : จะได้มาจากการกาหนดแนวคิดของกลุ่ม เพื่อกาหนดความคาดหมายของลูกค้าสาหรับเป้าหมายคุณภาพ 2. วิเคราะห์สถานะการปัจจุบัน : ความถี่ ความรุนแรงความเป็นไปได้ในการแก้ไข 3. บ่งชี้สาเหตุของปัญหา : รู้สาเหตุปัญหาที่เกิดขึ้น ที่สามารถแก้ไขปัญหาได้ตรงจุด 4. คัดเลือกเครื่องมือหรือกิจกรรมในการแก้ปัญหา : หาเครื่องมือที่ได้ผลดีที่สุดในการแก้ไขปัญหานั้นๆ 5. นากิจกรรมไปปฎิบัติ : นากิจกรรมที่เลือกมาปฏิบัติ และทิ้งระยะการตรวจสอบผล 6. เฝ้าติดตามผล : ทาแบบสอบถามหรือดูข้อมูลสถิติย้อนหลังว่าปัญหาลดลงหรือไม่ 7. การทาเป็นมาตรฐาน : ถ้าแก้ปัญหาได้ผลดี จะเอามาเป็นมาตรฐาน แต่ถ้าใช้แล้วปัญหายังคงเดิมก็ต้องหาวิธีการแก้ปัญหาใหม่
  • 3. Employee Engagement Survey คือการประเมินความรู้สึกของบุคลากรภายในองค์กรว่าเขามีความผูกพัน ต่อองค์กรว่าอยู่ในระดับใด พร้อมทราบถึงประเด็นที่องค์กรควรส่งเสริมและ แก้ไขปรับปรุง เพื่อให้องค์กรประสบความสาเร็จตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ ขั้นตอนการประเมิน 1.สารวจ เราต้องทราบก่อนว่าปัจจุบันพนักงานกับองค์กรมีความผูกพันอยู่ที่เท่าไรเปรียบเสมือนกับการลดน้าหนัก เราต้องรู้ก่อนว่า น้าหนักปัจจุบันเราเป็นเท่าไร เราจึงจะลดได้ถูกต้องและเห็นผลการเปลี่ยนแปลงเราจึงลดได้ถูกต้องและเห็นผลการเปลี่ยนแปลง 2.ตั้งเป้าหมายเมื่อเราสารวจจนทราบผลแล้วว่าเราเป็นอย่างไร มีจุดเด่น จุดด้อย อะไรบ้างในภาพรวมขององค์กรและฝ่ายต่างๆเราก็มา ตั้งเป้าหมายร่วมกันว่าเราจะให้ค่า Engagement score ของเราควรเป็นเท่าไร ภายในระยะเวลาที่กาหนด เช่นประมาณ 6 เดือน 3.พัฒนา หลังจากนั้นเราก็ดาเนินการวางแผนพัฒนาว่าใครจะต้องทาอะไรบ้าง เพื่อให้ได้ผลตามเป้าหมายที่วางไว้ แล้วก็ดาเนินการพัฒนาองค์การพัฒนาฝ่ายต่างๆในการปฎิบัติงาน ละทากิจกรรมเพื่อให้ได้ผลตามเป้าหมาย การสร้างความผูกพันให้เกิดขึ้นได้ต้องใช้ระยะเวลาและความต่อเนื่องเริ่มตั้งแต่การสร้างความเชื่อมั่นความไว้วางใจในองค์กรให้กับ พนักงาน ว่าองค์กรมีพันธะสัญญาที่จริงใจในการส่งมอบชีวิตการงานที่ดีให้กับพนักงานต่อมาพนักงานต้องได้รับความเป็นธรรม ซื่อสัตย์สุจริต การปฏิบัติดูแลเอาใจใส่ที่ดีจากองค์กรจนส่งเสริมให้มีความรู้สึกภาคภูมิใจใน การที่เป็นสมาชิก เป็นส่วนหนึ่งของ องค์กรที่ดี และอดไม่ได้ที่จะบอกต่อความภูมิใจนี้ให้คนรอบข้างได้รับรู้ จนในที่สุด พนักงานก็จะเกิดความหลงใหลมีใจรักองค์กร มี แรงปรารถนาภายในเป็นแรงผลักดันในการขับเคลื่อนผลงานให้องค์กร อย่างเต็มที่สุดฝีมือ ไม่คิดที่จะย้ายไปทางานอื่นเพราะค้นพบแล้วว่านี่แหละคืองานที่ตัวเองรักไม่มีอะไรมาแทนที่ได้จะ อยู่จนเกษียณ อุทิศตัวเพื่ออาชีพการงานตลอดไปหรือขอตายในหน้าที่เท่านั้น
  • 4. Shared Service Cententers : ssc เป็นเครื่องมือในการลดต้นทุนเนื่องจากมีเเผนงานในการดาเนินการร่วมกันจากหลายๆแผนก มีจุดมุ่งหมายเพื่อการทางานที่ซับซ้อน ทา ให้งานนั้นมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น การทา SSC จะทาให้องค์กรมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ทาให้องค์กรนั้นประหยัดค่าใช้จ่ายมาก ยิ่งขึ้น สามารถให้พนักงานย้ายไปทางานอย่างอื่นได้ และยังให้ความคล่องเเคล่วในการเพิ่มธุรกิจใหม่ๆที่กาลังจะเกิดขึ้นในอนาคตได้
  • 5. GST (Growth Strategy Tools) Growth Strategy Tools เป็นเครื่องมือทางการจัดการที่มุ่งเน้นไปที่การใช้ทรัพยากรให้เข้าโอกาสเพื่อให้ผลประโยชน์เติบโตมากขึ้น Tooสามารถปรับเปลี่ยนเป้ าหมายขององค์กรและกระบวนการของธุรกิจเพื่อให้มีความท้าทายมากกว่าแบบเดิม ๆ บ่งชี้แนวโน้มของสิ่งใหม่ ๆ ที่จะเกิดขึ้น และสร้างหรือนาธุรกิจใหม่ ๆ ที่ก่อให้เกิดผลกาไรเข้ามาเป็นธุรกิจหลัก บางครั้งอาจจาเป็นต้องกาหนดธุรกิจหลักใหม่เสียด้วยซ้าไป เครื่องมือพวกนี้เช่น เพิ่มการลงทุนในการวิจัยพัฒนา ปรับย้ายทรัพยากรให้เหมาะสม เน้นที่การว่าจ้างหรือรักษาพนักงานมืออาชีพ เพิ่ม ผลตอบแทนการค้นพบใหม่ ๆ รับความเสี่ยงได้มากขึ้นส่วนวิธีการของการใช้เครื่องมือนี้ที่เห็นและเข้าใจได้ง่ายๆ ก็คือ M/A
  • 6. Loyalty Management Tools คือ การจัดการความจงรักภักดี เป็นการเพิ่มรายได้และผลกาไรให้กับธุรกิจโดยการปรับปรุงการรักษาเอาไว้ซึ่งความสัมพันธ์ระหว่างลูกค้าของบริษัท พนักงานและผู้ลงทุน ทั้งหลาย โดยการจัดทา #Loyalty program เพื่อจะวัดและติดตามความภักดีของกลุ่มข้างต้น แล้วทาการตรวจสอบหาสาเหตุใด ๆ ที่ ก่อให้เกิดข้อบกพร่องขึ้นมา จากนั้นจึงพัฒนาแนวทางแก้ไขรวมไปถึงสนับสนุน ให้เกิดความภักดีกลับคืนมา #การใช้เครื่องมือนี้จึงสรุปได้ว่า เป็นการสร้างความสัมพันธ์ที่ยั่งยืนกับลูกค้า ดึงดูดและรักษาพนักงานผู้ซึ่งมีทักษะองค์ความรู้และ ความสัมพันธ์อันยอดเยี่ยมปรับปรุงผลิตผลและลดต้นทุนอันเกิดจากสรรหาและอบรมพนักงานใหม่ใช้กลยุทธ์ในการปรับผลตอบแทนตาม การทุ่มเทการทางานของ พนักงาน ลูกค้า ซัพพลายเออร์ และผู้ลงทุน เพื่อก่อให้เกิดวงรอบในการพัฒนาตนเองให้แข็งแกร่งขึ้นปรับปรุง ประสิทธิภาพทางการเงินและคุณค่าที่มีต่อผู้ถือหุ้นในระยะยาวและที่สาคัญอีกอย่างก็คือ สร้างยอดขายให้เติบโตผ่านทางการแนะนาของลูกค้าและพนักงาน
  • 7. Core Value หรือ ค่านิยมหลัก เป็นอีกหนึ่งเครื่องที่ช่วยในการจัดการองค์กรให้เป็นองค์กรที่มีประสิทธิภาพสูง เป็นความคิด ความเชื่อหลักของคนในองค์กร เป็นหลักชี้นา ที่จะต้องปลูกฝังให้เกิดขึ้นในตัวพนักงานทุกคนไม่ว่าจะอยู่ที่ไหนก็ตาม ค่านิยม หลักจะต้องสนับสนุนวิสัยทัศน์ และลักษณะธุรกิจขององค์กร เป็นเครื่องมือที่ช่วยผลักดันให้พนักงานทุกคนในองค์กรมีความเชื่อในเรื่อง เดียวกัน ซึ่งความเชื่อที่กาหนดขึ้นในองค์กรจะมีส่วนช่วยทาให้องค์กรประสบความสาเร็จทางธุรกิจ และบรรลุเป้ าหมายตามวิสัยทัศน์ที่องค์กร กาหนดขึ้น เช่นสถาบันการศึกษามีค่านิยมหลักคือ การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง, โรงพยาบาลมีค่านิยมหลักคือ จิตสานึกบริการ, โรงงานมีค่านิยม หลักคือ จิตสพนึกด้านคุณภาพ
  • 8. Quality of Worklife (QWL) เป็นแนวคิดทางการบริหารที่มุ่งเน้นให้บุคลากรในองค์การทางานอย่างมีความสุข ประกอบด้วยหลัก สาคัญ 8 ประการ คือ 1) การได้ค่าตอบแทนที่เป็นธรรมและพอเพียง 2) มีสิ่งแวดล้อมในการทางานที่สะอาด ปลอดภัย 3) การเปิดโอกาสให้พัฒนาศักยภาพของตนอย่างเต็มที่ 4) ทางานแล้วเติบโตก้าวหน้า 5) มีชีวิตสังคม สังสรรค์กับชาวบ้านในหน่วยงาน 6) งานที่ทามีกฎเกณฑ์ ระเบียบ ตั้งอยู่บนพื้นฐานของกฎหมายที่เป็นธรรม เป็นที่ยอมรับ 7) มีความสมดุลระหว่างชีวิตกับการทางาน 8) มีชีวิตเพื่อสังคม ทาบุญทาทานพอสมควร และจะทาให้องค์กร ก้าวไปสู่ HPO ได้เมื่อคนมีความสุข ก็จะตั้งใจทางาน ท้ายสุดองค์การก็ได้ประโยชน์
  • 9. SWOT (SWOT Analysis) เป็นการวิเคาระห์สภาพองค์กร หรือหน่วยงานเพื่อค้นหา จุดเด่น จุดด้อย หรือสิ่งที่อาจเป็นปัญหาสาคัญในการดาเนินงานสู่สภาพที่ต้องการใน อนาคต SWOT เป็นตัวย่อที่มีความหมายดังนี้ - Strengths จุดแข็งหรือข้อได้เปรียบ - Weaknesses จุดอ่อนหรือข้อเสียเปรียบ - Opportunities โอกาสที่จะดาเนินการได้ - Threats อุปสรรค ข้อจากัด หรือปัจจัย ที่คุกคามการดาเนินงานขององค์กร หลักการณ์สาคัญของการวิเคราะห์ SWOT สารวจจากสภาพการณ์ 2 ด้านคือ ภายในและภายนอก ดังนั้นการวิเคาระห์ SWOT จึงเรียกได้ ว่าเป็นการวิเคราะห์สภาพการณ์ เป็นการวิเคาระห์จุดแข็ง จุดอ่อน เพื่อให้รู้ตนเอง (รู้เรา) รู้จักสภาพแวดล้อม(รู้เขา) ชัดเจนและวิเคาระห์ โอกาส-อุปสรรค การวิเคาระห์ปัจจัยต่างๆ ทั้งภายนอกและภายในองค์กร ที่จะช่วยให้ผู้บริหารขององค์กรทราบถึงการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ที่ เกิดขึ้นภายนอกองค์กร ทั้งสิ่งที่ได้เกิดขึ้นและแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงในอนาคต รวมทั้งผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงเหล่านี้ที่มีต่อองค์ ธุรกิจ และจุดแข็ง จุดอ่อน และความสามารถด้านต่างๆ
  • 10. Six sigma เป็นการบริหารที่มุ่งเน้นในการลดความผิดพลาด ลดความสูญเปล่า และลดการแก้ไขตัวชิ้นงานและสอนให้พนักงานรู้แนวทาง ในการทาธุรกิจอย่างมีหลักการและจะไม่พยายามจัดการกับปัญหาแต่จะพยายามกาจัดปัญหาทิ้ง Six sigma จะดีที่สุด เมื่อทุกคนใน องค์กรร่วมมือกันตั้งแต่ CEO ไปจนถึงบุคลากรทั่วไปในองค์กร ซึ่ง Six sigma เป็นการรวมกันระหว่างอนุภาพแห่งคน (Power of people) อนุภาพแห่งกระบวนการ (Process Power) ซึ่งถ้าตัว Six sigma มีค่าสูงหรือมีความผันแปรมากขึ้นเท่าไร ก็ เปรียบเสมือนมีการทาข้อผิดพลาดมากขึ้นเท่านั้น ซึ่งโอกาสที่จะเกิดข้อผิดพลาดตัวนี้เรียกว่า DPMO (Defects Per Million Oppertunities) โดยหลักการของ Six Sigma แบ่งเป็นขั้นทั้งหมด 5 ขั้นคือ “Define – Measure – Analyze – Improve – Control” หรือ “ชี้บ่ง – วัด – วิเคราะห์ – ปรับปรุง – ควบคุม”
  • 11. Outsourcing คืออะไร คือ การใช้บริการจากภายนอกองค์กร เพื่อช่วยงานในบางส่วนชั่วคราวหรืองานพื้นฐานระยะยาว ธุรกิจหลายแห่งอาจต้องการพนักงาน เพิ่มเติม เช่น นักเขียนโปรแกรม นักวิเคราะห์ระบบและเจ้าหน้าที่ทางด้านเทคนิคให้มาช่วยงานในช่วงเร่งด่วน ในระยะเวลาสั้นๆ ดังนั้นแทนที่ จะต้องเพิ่มพนักงาน อาจกระทาโดยการว่าบริษัทจัดหาคนช่วย (Contract Personnel Firm) โดยจ่ายค่าบริการเฉพาะช่วงที่ กาหนด หรืออาจติดต่อที่ปรึกษาทางด้านไอที เมื่อต้องการความชานาญเฉพาะด้าน การ Outsource คือการที่องค์กรมอบหมายงานบางส่วนของตนให้กับบุคคลหรือองค์กรภายนอก มาดาเนินการแทน โดยผู้ว่าจ้างจะ เป็นผู้กาหนดและควบคุมกากับทุกส่วนตั้งแต่นโยบายไปจนถึงการปฏิบัติงานในทุก ๆ ขั้นตอนของผู้รับจ้าง การใช้เครื่องมือ Outsourcing จะส่งผลให้องค์กรเป็น HPO ได้นั้น เพราะองค์กรต้องมีการแข่งขันทางธุรกิจอยู่ตลอด เพราะฉะนั้น การหาบุคลากรเข้ามาทางาน เป็นสิ่งที่สาคัญ เครื่องมือนี้จะช่วย ช่วยลดภาระค่าใช้จ่ายขององค์กร สามารถควบคุมต้นทุนการดาเนินงานให้ ต่าลง และช่วยองค์กรสามารถผลักภาระการลงทุนทางด้านเทคโนโลยีต่างๆ ให้กับบริษัทว่าจ้างได้
  • 12. Storytelling เครื่องมือทางการจัดการ เป็นวิธีการหรือเครื่องมือประเภทหนึ่งของการจัดการความรู้ ในการดึงเอาประสบการณ์ หรือความรู้ที่อยู่ภายในของผู้เล่าออกมาเล่าให้บุคคลอื่นฟัง ผู้ฟังสามารถนาเอาประสบการณ์ หรือความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้กับการ ทางานของตนเองได้ โดยไม่ต้องเสียเวลาเริ่มต้นในการศึกษาเรื่องนั้นๆ ใหม่ การเล่าเรื่อง ควรมีขั้นตอน ดังนี้ ตั้งหัวข้อหรือความรู้ที่ต้องการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ หรือแบ่งปันให้กับผู้ฟังในองค์กร หาบุคคลที่เหมาะสมกับหังข้อนั้นๆ ซึ่งต้องเป็นผู้ที่มีประสบการณ์มากและสามารถร้องขอให้มาเล่าเรื่องได้ ความกระตือรือร้นและ ความสามารถในการพูดดี คล่องแคล่วจะเป็นสิ่งที่ส่งผลให้ผู้เล่าเรื่องประสบผลสาเร็จในการเล่าเรื่อง ดังนั้น หัวข้อและผู้พูดจะต้อง สัมพันธ์กัน กลุ่มเป้ าหมายในการเล่าเรื่องเพื่อจะได้เชิญชวนผู้ที่มาร่วมฟัง ดาเนินการเล่าเรื่อง บรรยากาศไม่ต้องมีพิธีการมาก อาจมีการเปลี่ยนฉาก บริการของว่าง เป็นต้น ผู้เล่าเรื่องต้องจับกลุ่มผู้ฟังกลุ่ม เล็กๆ ที่เกิดขึ้นหลังจากจบการเล่าเรื่องแล้วเพื่อก่อให้เกิดเป็นสังคมเครือข่าย ระหว่างผู้เล่าเรื่องและผู้เข้าฟัง ผลลัพธ์ของการเล่าเรื่อง อาจมีการนาการเล่าเรื่องออกเผยแพร่ทางวิดีโอหรือโพสต์ขึ้นเผยแพร่ทางอินทรา เน็ตเพื่อแบ่งปันให้กับ พนักงานทั้งหมด จัดกลุ่มผู้ฟังที่มีความสนใจในหัวข้อนั้นเป็นพิเศษ โดยมีผู้เล่าเรื่องเป็นผู้นากลุ่ม การเล่าเรื่องนั้น อาจจะกระตุ้นและเปิดโอกาสให้พนักงานมีส่วนร่วมในการเล่าเรื่องหรือในการ สนทนาด้วย การตั้งคาถามที่ดีจะช่วย เป็นการดึงประสบการณ์ของผู้เล่าออกมาได้มาก และได้ดีตรงกับประสบการณ์ของผู้เล่าอย่างแท้จริง ผู้ที่ทาหน้าที่เป็นประธาน อาจจะสรุปเป็นระยะๆ และผู้ฟังสามารถช่วยกันกรั่นกรองเรื่องเล่าที่เป็น tacit ให้เป็น explicit บันทึก และสามารถนาความรู้ นั้นไปประยุกต์ใช้ต่อไป
  • 13. เครื่องมือทางการจัดการ Core Competency : สมรรถนะหลัก-เป็นความเชี่ยวชาญที่เสริมให้องค์กรสามารถส่งผ่านคุณค่าเฉพาะตนไปสู่ลูกค้า สิ่ง เหล่านี้จะฝังตัวอยู่ในองค์กร ซึ่งจะเป็นการผลักดันความได้เปรียบในการแข่งขันให้กับองค์กร ช่วยให้ขยายตลาดออกไปได้กว้าง ขึ้น และเกิดผลประโยชน์ในการเสนอผลิตภัณฑ์ที่สอดรับกับความต้องการของลูกค้าอย่างเหมาะสม การเข้าใจสมรรถนะหลักขององค์กรจะทาให้สามารถมุ่งเน้นการลงทุนไปที่จุดแข็งขององค์กรซึ่งทาให้แตกต่างจากคู่แข่ง และ สามารถกระจายสมรรถนะหลักนั้นไปทั่วทั้งองค์กร วัตถุประสงค์ของเครื่องมือนี้ก็เพื่อ 1. ตัดสินใจในการเคลื่อนย้ายทรัพยากรไปใช้งาน 2. สร้างตลาดใหม่ ๆ และเข้าสู่ตลาดเกิดใหม่ได้เร็ว 3. ตัดสินใจในการ outsource การเข้าร่วมเป็นพันธมิตรกับผู้อื่นได้ง่าย 4. เพิ่มภาพลักษณ์ของบริษัทและสร้างความภักดีให้เกิดขึ้นกับลูกค้า ขั้นตอนการดาเนินการจะเริ่มจาก 1. แยกแยะความสามารถหลักออกมา 2. เปรียบเทียบกับองค์กรอื่น ๆประเภทเดียวกัน 3. ทาความเข้าใจว่าความสามารถอะไรที่ให้คุณค่าที่แท้จริงกับลูกค้า 4. กาหนดแนวทางให้กับองค์กรในการสร้างขีดความสามารถ 5. สนับสนุนการสื่อสารและการมีส่วนร่วมในการสร้างความสามารถหลักทั่วทั้งองค์กร 6. รักษาจุดแข็งหลักเอาไว้ ไม่ว่าผู้บริหารจะขยายหรือกาหนดธุรกิจใหม่ก็ตาม 7. IT จะไปสนับสนุนการเรียนรู้ต่าง ๆ (เช่น E-Training, E-Learning )
  • 14. Balanced Scorecard :BSC หมายถึง เครื่องมือที่ทาหน้าที่เปลี่ยนพันธกิจและกลยุทธ์ ใช้ในการ วัดผลการปฏิบัติงาน BSC ประกอบด้วย มุมมอง4 ด้านของการวัด คือ ด้านการเงิน ด้านลูกค้า ด้านกระบวนการ และด้านการ เรียนรู้และการเติบโต ด้านการเงิน:ใช้ในเรื่องเกี่ยวกับการเพิ่มรายได้ การลดต้นทุน ด้านลูกค้า:หัวใจอยู่ที่การเข้าใจลูกค้า การดึงดูดลูกค้าใหม่ให้เข้ามาใช้สินค้าบริการ การรักษา ความสัมพันธ์กับลูกค้าที่มีอยู่ให้ยืนยาว ด้านกระบวนการ:เป็นการวัดที่ดูถึงความสมบูรณ์ของกระบวนการทางานภายในองค์การ เป็นการพัฒนา ปรับปรุงกระบวนการทางานเพื่อสร้างคุณค่าให้แก่ลูกค้าขององค์การ ด้านการเรียนรู้และการเติบโต:เป็นการวัดองค์ประกอบพื้นฐานของ 3 มุมมองแรก เป็นการลงทุนเพื่อ อนาคตและเป็นประโยชน์ในระยะยาว
  • 15.
  • 16. (Blueprint for Change) การจัดทาข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง ให้มุ่งเน้น การบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม โดยคานึงถึงการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย ไม่ว่าจะเป็นประชาชนผู้รับบริการ ข้าราชการ พนักงาน หรือสังคมส่วนรวม โดยใช้เทคนิคของ Balanced Scorecard มาต่อยอด เพื่อให้ทุกคนในองค์กรมุ่งเน้นที่กลยุทธ์เป็นหลักและใช้หลักการอื่น ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง (Blueprint for Change) หมายถึง การวางแผนการดาเนินการต่าง ๆ ที่จะลดผลกระทบที่ เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลง และสนับสนุนให้เกิดการปรับตัวและการยอมรับ พร้อมทั้งสร้างศักยภาพใหม่ ๆ เพื่อรองรับการ เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นตามเป้ าหมายเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารราชการให้เกิดความพร้อมในการสนับสนุนและผลักดัน ให้ยุทธศาสตร์ของส่วนราชการเกิดผลทางปฏิบัติ เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงใน 3 ประเด็น คือ การปรับปรุงประสิทธิภาพ การ พัฒนาคุณภาพ และการเสริมสร้างสมรรถนะองค์กร กระบวนการในการจัดทาข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง แบ่งเป็น 3 ขั้นตอน ส่วนที่ 1 การคัดเลือกประเด็น ส่วนที่ 2 การวิเคราะห์ข้อมูลในปัจจุบัน 2.1 การวิเคราะห์กระบวนงานในปัจจุบัน 2.2 การวิเคราะห์ศักยภาพขององค์กรและบุคลากร ส่วนที่ 3 การจัดทาข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงในประเด็นของ... 3.1 ขั้นตอน กระบวนงาน 3.2 บุคลากร เช่น เพิ่มขีดสรรถนะ ความสามารถในการทางาน 3.3 เทคโนโลยี การนาเทคโนโลยีมาช่วยให้การทางานหรือการบริการประชาชนมีประสิทธิภาพ 3.4 การจัดแบ่งส่วนงาน เพื่อไม่ให้เป็นอุปสรรคต่อการทางาน
  • 17. การประเมินแบบ 360 องศาคืออะไร ? บริษัทหรือองค์กรต่างๆมีความจาเป็นที่จะต้องมีเครื่องมือวัดการทางานของบุคลากรที่มีพื้นฐานมาจากพฤติกรรมการทางานจริง ๆ การประเมินโดยผู้บังคับบัญชาหรือหัวหน้างานเพียงคนเดียวอาจไม่เพียงพอต่อการสะท้อนให้เห็นถึงการทางานรอบด้านได้ การประเมินแบบ 360 องศา จึงเป็นเครื่องมืออย่างหนึ่งที่ช่วยประเมินการทางานได้อย่างรอบด้าน การประเมิน 360 องศา เป็นเครื่องมือทางการบริหารทรัพยากรบุคคล ที่ใช้ในการประเมินความสามารถ คุณลักษณะ พฤติกรรม หรือ Competency” ของพนักงาน รูปแบบการประเมินแบบ 360 องศา เป็นการประเมินที่ครบวงจร โดยอาศัย ผู้เกี่ยวข้องกับพนักงานที่ถูกประเมินได้อย่างรอบด้าน ทั้งผู้บังคับบัญชา ผู้ใต้บังคับบัญชาเพื่อนผู้ร่วมงาน และพนักงานผู้ถูก ประเมินได้ทาการประเมินตนเองอีกด้วย ประโยชน์ประเมิน 360 องศา 1. ทาให้ได้ทัศนะที่หลากหลายในการประเมินบุคคลมากยิ่งขึ้น และถือเป็นการเปิดโอกาสให้มีการวิพากษ์วิจารณ์เชิงสร้างสรรค์ ทั้งยังเป็นการชี้ให้เห็นจุดบกพร่อง และการระบุจุดเด่นของตนอีกด้วย 2. ประโยชน์ต่อการปรับปรุงภาวะผู้นาของผู้รับการประเมินและพร้อมทั้งการปรับปรุงระดับความพึงพอใจของผู้ได้รับข้อมูล ย้อนกลับ 3. การสร้างการมีส่วนร่วมระหว่างพนักงานที่ร่วมกิจกรรมในการประเมิน และสร้างความสัมพันธ์ระหว่างพนักงานกับ ผู้บังคับบัญชาอีกด้วย ทาให้มีการสื่อสารที่ดี มีความเชื่อมั่นระหว่างกัน เกิดความร่วมแรงร่วมใจกัน ทั้งยังสร้างจิตสานึกในการ มองประโยชน์ส่วนรวมร่วมกันมากขึ้น สรุปว่าการประเมินแบบ 360 องศา จะทาให้พนักงานได้ทราบข้อมูล feedbace ของตัวเองเพื่อนาไปพัฒนาและปรับปรุง ความสามารถของพนักงานเพื่อให้ผลงานดีขึ้น โดยการประเมินจากหลายช่องทางเพื่อทาให้พนักงานมีข้อมูลที่มากพอและ น่าเชื่อถือได้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือความสามารถของตนเองให้ดีขึ้น เพื่อให้ได้ตามมาตรฐานที่บริษัทกาหนดไว้ อันจะ ส่งผลให้องค์กรประสบผลสาเร็จและมีประสิทธิภาพมากที่สุด
  • 18. CoP (Community of Practice) หรือชุมชนนักปฏิบัติ คือ การรวมตัวกันแบบไม่เป็นทางการ เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับการ ทางาน ปัญหาที่เจอ นาความรู้ที่ได้มาพัฒนาปรับปรุงระบบงาน พัฒนาบุคลากรในองค์การให้มีการทางานที่ดีขึ้น ....ฉะนั้น CoP นามาสร้าง HPO ได้โดยเน้นเรื่องคนเป็นหลัก เมื่อทีมงานในองค์การมีความสามารถสูง จะเป็นผู้ขับเคลื่อนความสาเร็จขององค์การให้เป็นไปตาม เป้ าหมาย ทั้งด้านการบริการและการบริหาร มีระบบกระบวนการบริหารจัดการภายในที่เป็นมาตรฐาน ส่งผลให้มีผลงานที่โดดเด่น สร้างความ พึงพอใจและครองใจลูกค้าให้มีอยู่อย่างต่อเนื่อง มีผลตอบแทนทางธุรกิจที่ดี_และสุดท้ายนาพาองค์การให้ก้าวไปสู่การปรับตัวและการแข่งขัน ต่อโลกสมัยใหม่ได้ :
  • 19. Career Path. เส้นทางก้าวหน้าและการเติบโตในสายอาชีพ พนักงานเมื่อเข้ามาปฏิบัติงานในองค์กรทาให้องค์กร สามารถวางแผนการสรรหาการพัฒนาความรู้ทักษะมีส่วนในการสร้างขวัญกาลังใจ รักษาคนเก่งและดีไว้ในองค์กร คนเป็นทรัพยากรที่มีค่าที่สุดพนักงานควรได้รับโอกาสก้าวหน้าและเติบโตในสายอาชีพ เช่น การเลื่อนขั้นหรือ เลื่อนตาแหน่งพนักงานจะทาให้พนักงานมีความรับผิดชอบที่สูงขึ้นมีแรงจูงใจในการทางานทาให้พนักงานมีศักยภาพในการปฎิบัติงานสูง การ นา Career Path มาใช้ในองค์กรจะส่งผลให้องค์กรเป็น HPO?? เมื่อองค์กรมีการนาCareer Path ไปใช้ในองค์กรจะทาให้พนักงานมั่นใจว่าองค์กรสามารถสร้างความก้าวหน้าในสายอาชีพได้ พนักงานก็ จะมีแรงจูงใจในการทางานและจะพัฒนาผลงานคุณสมบัติของตนเองให้โดดเด่นมากขึ้นองค์กรมีก็จะมีคนเก่งและคนดีเพิ่มมากขึ้น จึงทาให้ องค์กรเป็นองค์ที่มีระบบและมาตรฐานมีผลการปฏิบัติงานที่โดดเด่นและครองใจลูกค้าอย่างต่อเนื่อง เน้นการพัฒนาผลงาน/ทีมงานเพื่อ ขับเคลื่อนองค์กรให้ได้รับการยอมรับและเป็น HPO อย่างต่อเนื่อง
  • 20. TQM (Total Quality Management) เป็นระบบบริหารคุณภาพที่มุ่งเน้นการให้ความสาคัญสูงสุดต่อลูกค้าภายใต้ ความร่วมมือของพนักงานทั่วทั้งองค์กรที่จะปรับปรุงงานอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้สามารถตอบสนองต่อความต้องการได้TQMจึง เป็นแนวทางที่หลายองค์กรนามาใช้ปรับปรุงงานระบบTQMเป็นระบบที่มองภาพรวมทั้งองค์กรระบบนี้ลูกค้าจะเป็นผู้กาหนด มาตรฐานหรือความต้องการเป็นระบบที่ปรับปรุงการวางแผนการจัดองค์กรและการทาความเข้าใจในกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับแต่ละ บุคคลในแต่ละระดับเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพให้มีความยืดหยุ่นเพื่อที่จะสามารถแข่งขันได้TQMเป็นระบบที่สามารถนาไปใช้ ได้กับทุกองค์กรประสิทธิภาพของการจัดองค์กรในระบบนี้ขึ้นอยู่กับการปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ของทุกคนในการนาองค์กรไปสู่ เป้ าหมาย การนาTQMมาประยุกต์ปฏิบัติเพื่อให้เกิดองค์การประสิทธิภาพสูง ดังนี้ 1. ภาวะผู้นา 2.ข้อมูลสารสนเทศและการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศ 3.การวางแผนคุณภาพเชิงกลยุทธ์ 4. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 5. การจัดกระบวนการคุณภาพ 6.คุณภาพและผลการดาเนินงาน การนาTQMไปประยุกต์ใช้ในองค์การให้เกิดผลนั้น ต้องมีการดาเนินงานอย่างต่อเนื่อง และเป็นสิ่งที่คุ้มค่ามากหากองค์การ สามารถดาเนินงานเพื่อสร้างTQMให้เกิดขึ้นในองค์การได้ ประโยชน์ในการนา TQM มาใช้ในองค์กร คือ การพัฒนาบุคลากรให้สามารถใช้ศักยภาพของตนเองได้อย่างเต็มที่ด้วยการมีส่วนร่วมในการปรับปรุงคุณภาพของสินค้าหรือ บริการ อันจะทาให้คุณภาพชีวิต ของพนักงานทุกคนดียิ่งขึ้นเรื่อยๆ อย่างต่อเนื่อง ทาให้การดาเนินงานขององค์กรสูงขึ้น โดย สินค้าหรือบริการมีคุณภาพสูงขึ้นของเสียเป็นศูนย ออกแบบผลิตภัณฑ์ได้น่าสนใจมากขึ้น บริการหรือส่งของได้เร็วขึ้นลดต้นทุน ด้านการผลิต และพนักงานทุกคนมีส่วนร่วนร่วมในการทางาน จะทาให้องค์กรเป็นองค์กรประสิทธิภาพสูงได้