SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 21
01 ภาษาไทย.
การสอบคัดเลือกนักเรียนในเขตพัฒนาภาคเหนือเพื่อ
เข้าศึกษาในมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
มหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยเอกชน ปีการศึกษา
2551
ข้อสอบวิชา 01 ภาษาไทย
สอบวันเสาร์ที่ 15 ธันวาคม พ.ศ.
2550 เวลา 12.30 – 14.30 น.
ชื่อ – นามสกุล...................................................................................เลขที่นั่ง
สอบ..................................................
คำาอธิบาย
1. ข้อสอบฉบับนี้มีทั้งหมด 100 ข้อ รวม 21 หน้า
2. ข้อสอบฉบับนี้มีคะแนนเต็ม 100 คะแนน
3. การตอบข้อสอบ ให้ตอบลงในกระดาษคำาตอบเท่านั้น
4. ข้อสอบทุกข้อเป็นข้อสอบแบบเลือกตอบ แต่ละข้อจะมีคำาตอบให้เลือก 4 คำา
ตอบ คือ 1, 2, 3, 4, ให้พิจารณา
เลือกคำาตอบที่เห็นว่า ถูกต้องที่สุดหรือเหมาะสมที่สุดเพียงคำาตอบเดียวแล้ว
ใช้ดินสอดำา 2B หรือดำากว่าระบายใน วงกลมที่ต้องการในกระดาษคำาตอบ
ดังตัวอย่าง
ตัวอย่าง
(0) ข้อใดคือพยัญชนะไทยลำาดับ
สุดท้าย
1. อ
2. ฮ
3. ห
4. ฬ
การตอบ
ข้อนี้ คำาตอบที่ถูกคือ ตัวเลือก 2
จึงไปตอบตัวเลือกที่ 2 ในกระดาษ
คำาตอบ ดังนี้
5. ถ้าต้องการเปลี่ยนคำาตอบให้ใช้ยางลบ ลบให้สะอาด แล้วจึงระบายวงกลม
ใหม่ที่ต้องการ
6. ห้ามนำาข้อสอบและกระดาษคำาตอบออกจากห้องสอบโดยเด็ดขาด
7. ก่อนตอบข้อสอบให้ผู้เข้าสอบเขียน ชื่อและเลขที่นั่งสอบให้สมบูรณ์ลงใน
กระดาษคำาตอบ
เมื่ออ่านเข้าใจดีแล้ว ให้ลงมือทำาข้อสอบได้
QUOTA CMU’ 51.
01 ภาษาไทย.
(1)
01 ภาษาไทย.
ข้อสอบฉบับนี้ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สงวนสิทธิ์ตาม
กฎหมาย
ข้อสอบคัดเลือกนักเรียนเข้าศึกษาต่อในมหาวิทยาลัย
เชียงใหม่
วิชา 01 ภาษาไทย ปีการศึกษา 2551
1. ข้อใดมีเสียงพยัญชนะควบกลำ้ามากที่สุด
1. ครอบจักรวาล วิกฤตการณ์ 2. ปริศนาอักษรไขว้
คฤหบดี
3. พระราชกฤษฎีกา พลานามัย 4. มาตรฐานเครื่องยนต์
ปริยัติธรรม
2. ข้อใดมีเสียงวรรณยุกต์ครบ 5 เสียง
1. อุตสาหกรรมเกษตรภายในประเทศ 2. ผลสำารวจ
ทรัพยากรธรรมชาติ
3. สาเหตุการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ 4. มูลนิธิวิทยาศาสตร์
ภาคกลาง
3. ในข้อความต่อไปนี้ คำาที่มีความสั้น – ยาวของเสียงสระไม่ตรงกับรูปสระมี
กี่คำา
“วันเสาร์ตอนเช้า แดงจะนำาผลไม้ไปเยี่ยมนาย บ้านท่านอยู่ริมนำ้า ทาง
ทิศใต้ของวัดโบราณ”
1. 3 2. 4 3. 5 4. 6
อ่านข้อความต่อไปนี้แล้วตอบคำาถามข้อ 4 – 5
“ที่พักที่มีพื้นที่จำากัดเช่นห้องเช่า อาจมีปัญหาการจัดเก็บหนังสือและ
นิตยสารต่าง ๆ ผู้ที่อยู่อาศัย จึงต้องมีกลวิธีในการจัดมุมอ่านหนังสือให้เหมาะ
สม อาจพยายามหามุมที่ถูกใจสำาหรับนอนหรือนั่งอ่าน หนังสือ....”
4. พยางค์สุดท้ายของคำาหรือกลุ่มคำาที่ขีดเส้นใต้มีพยางค์ตายกี่พยางค์
1. 1 2. 2 3. 3 4. 4
5. คำาที่ขีดเส้นใต้เป็นคำาประสมกี่คำา
1. 3 2. 4 3. 5 4. 6
QUOTA CMU’ 51.
01 ภาษาไทย.
(2)
01 ภาษาไทย.
อ่านข้อความต่อไปนี้แล้วตอบคำาถามข้อ 6 - 7
“พืชตระกูลป๊อปปี้ซึ่งเกี่ยวข้องกับฝิ่น ซึ่งเป็นสารเสพติดนั้นมีมากมาย
หลายพันธุ์ ดอกป๊อปปี้ที่ประชาชนทั่วไปรู้จักเป็นดอกป๊อปปี้สีแดงเป็น
สัญลักษณ์ของทหารผ่านศึกเป็นการระลึกถึงทหารฝ่ายสัมพันธมิตรใน
สงครามโลก
ครั้งที่ 1 ที่ต้องสูญเสียชีวิตไปในการรบที่ท้องทุ่งทางตอนใต้ของประเทศ
เบลเยี่ยม ซึ่งกำาลังมีดอกป๊อปปี้สีแดงบานสะพรั่งเต็มท้องทุ่ง ที่ประเทศญี่ปุ่น
ป๊อปปี้กำาลังเป็นวัชพืชที่ทำาให้เจ้าหน้าที่สาธารณสุขที่ดูแลเรื่องยาเสพติดต้อง
ปวดเศียรเวียนเกล้า”
6. คำาที่ขีดเส้นใต้เป็นคำาซ้อนเพื่อความหมายกี่คำา
1. 3 2. 4 3. 5 4. 6
7. คำาที่ขีดเส้นใต้เป็นคำาสมาสกี่คำา
1. 3 2. 4 3. 5 4. 6
8. ข้อความต่อไปนี้มีคำากริยากี่คำา
“หมีขาวมีถิ่นกำาเนิดบริเวณคาบสมุทรอาร์กติกรอบ ๆ ขั้วโลกเหนือ ทั้ง
ฝั่งประเทศรัสเซีย สแกนดิเนเวีย และทวีปอเมริกาเหนือ”
1. 1 2. 2 3. 3 4. 4
อ่านข้อความต่อไปนี้แล้วตอบคำาถามข้อ 9 - 11
“ป๊อปปี้เป็นไม้เมืองหนาวที่สามารถขึ้นและขยายพันธุ์ได้ง่ายตาม
ธรรมชาติ ในช่วงฤดูใบไม้ผลิเมื่อเริ่มได้รับนำ้าฝน เมล็ดของมันที่
กระจัดกระจายอยู่ในดิน ก็จะงอกงามและให้ดอกบานเต็มท้องทุ่งในเวลาไม่กี่
เดือนจึงนิยมปลูกเป็นไม้ประดับ...”
9. คำาที่ขีดเส้นใต้เป็นคำาวิเศษณ์กี่คำา
1. 1 2. 2 3. 3 4. 4
10. คำาที่ขีดเส้นใต้เป็นคำาบุพบทกี่คำา
1. 1 2. 2 3. 3 4. 4
11. คำาที่ขีดเส้นใต้เป็นคำาสันธานกี่คำา
1. 1 2. 2 3. 3 4. 4
12. ข้อใดเป็นประโยค
1. บริษัทผู้ผลิตยาแก้หวัดลดไข้สำาหรับเด็กเล็ก
2. โรงงานนำ้าตาลเขตอำาเภอเมืองขยายกิจการ
3. สำานักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ
4. โครงการเพื่อสำารวจแหล่งทรัพยากรธรรมชาติใต้ทะเล
QUOTA CMU’ 51.
01 ภาษาไทย.
(3)
01 ภาษาไทย.
13. ข้อใดเป็นประโยคความเดียว
1. สมุนไพรหมากจองช่วยเสริมภูมิคุ้มกันของร่างกาย
2. รัฐบาลพยายามเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันทางธุรกิจกับต่างประเทศ
3. บริษัทรถยนต์ทุกบริษัทเร่งผลิตรถประหยัดนำ้ามัน
4. คณะอุตสาหกรรมเกษตรได้จัดงานมหกรรมบรรจุภัณฑ์
14. ประโยคใดมีโครงสร้าง “ประธาน + กริยา + กริยา” อย่างชัดเจนที่สุด
1. ปลาร้าดิบอันตราย 2. รถยนต์ใหม่แพง
3. ขนมสาลี่นุ่มหอม 4. กล้วยไม้จิ๋วสวย
15. ประโยคใดมีโครงสร้างต่างจากข้ออื่น
1. ธนาคารพัฒนาบริการประชาชน 2. เลขานุการจดรายงาน
การปฏิบัติงาน
3. สมาคมเลื่อนประชุมสมาชิก 4. เยาวชนร่วมสรุป
ปัญหาสังคม
16. ประโยคใดมีโครงสร้างต่างจากข้ออื่น
1. นำ้าเซาะดินถล่ม 2. สุนัขไล่แมวหนี
3. ฝนตกถนนลื่น 4. พี่ชนน้องหกล้ม
17. ประธานของคำากริยาที่ขีดเส้นใต้ในข้อใดไม่ใช่ “ที่นี่”
1. ที่นี่รับสมัครพนักงาน 2. ที่นี่รับตกแต่งสวน
3. ที่นี่รับขนย้ายของ 4. ที่นี่รับซื้อของเก่า
18. ข้อใดไม่มีส่วนขยายกริยา
1. รถประจำาทางขึ้นราคาค่าโดยสารตามมติคณะกรรมการ
2. กัปตันของเครื่องบินผ่านการเป็นนักบินที่สองนานแปดปี
3. มหาวิทยาลัยในอิสราเอลซื้อหุ่นยนต์พนักงานต้อนรับมาจากญี่ปุ่น
4. ผู้บริโภคเปรียบเทียบราคาสินค้าทางการเกษตรของชุมชน
19. ข้อความที่ขีดเส้นใต้ในข้อใดเป็นกรรมของคำากริยา 2 คำา อย่างชัดเจน
ที่สุด
1. กลุ่มพิทักษ์สิทธิผู้บริโภคตรวจพบสารตะกั่วปริมาณสูงในลิปสติก
2. นักวิจัยของโรงพยาบาลอังกฤษค้นพบสารต้านมะเร็งลำาไส้ในขมิ้น
3. สมาชิกชมรมพืชสมุนไพรนัดพบกลุ่มเกษตรกรที่ศูนย์สุขภาพ
4. นักโบราณคดีขุดพบภาพวาดโบราณบริเวณตอนเหนือของซีเรีย
20. คำาคู่ใดอาจมีความหมายต่างกัน
1. จุนเจือ เจือจุน 2. พัวพัน พันพัว
QUOTA CMU’ 51.
01 ภาษาไทย.
(4)
01 ภาษาไทย.
3. กลิ้งกลอก กลอกกลิ้ง 4. เชยชม ชมเชย
21. คำาที่ขีดเส้นใต้ในข้อใดมีความหมายต่างจากความหมายในพจนานุกรม
มากที่สุด
1. เขาเป็นคนมีสี 2. เขาเป็นคนมีเงิน
3. เขาเป็นคนมีฝีมือ 4. เขาเป็นคนมีมารยาท
22. คำาที่ขีดเส้นใต้คู่ใดมีความหมายเกี่ยวข้องกันต่างจากคู่อื่น
1. อาหารนี้ รสชาติอร่อยนะ 2. ฤดูหนาวนี้ ดอกไม้
สวยนะ
3. แมวตัวนี้ สมองไวนะ 4. เด็กคนนี้ ความสามารถสูง
นะ
23. ราชาศัพท์ข้อใดผิด
1. คณะบุคคลทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายรถเข็นไฟฟ้าอัตโนมัติแด่พระบาท
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
2. คณะแพทย์ผู้ถวายการรักษาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ถวายการ
ทดสอบพระกล้ามเนื้อพระวรกาย
3. วันที่ 5 ธันวาคม ศกนี้ จะมีการจัดพื้นที่ให้ประชาชนเข้าเฝ้าทูล
ละอองธุลีพระบาทรับเสด็จฯ พระบาท
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
4. พระอาการโดยทั่วไปของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวดีขึ้น เป็นที่
พอใจของคณะแพทย์ฯ
เสวยพระกระยาหารได้มากขึ้น
24. ข้อใดใช้คำากริยาไม่เหมาะสม
1. เขาพูดหว่านล้อมให้เพื่อนตกลงซื้อที่ดินของเขา
2. เขาพูดเปรยขึ้นมาท่ามกลางผองเพื่อนว่าเขาจะไปทำามาหากินต่างแดน
3. เขาพูดโผงผางไม่เกรงใจใครทำาให้คนหลายคนไม่ชอบเขา
4. เขาพูดอ้อนวอนให้คนในสังคมหันมาสามัคคีกันเพื่อสันติสุขของชาติ
25. ข้อใดใช้สำานวนผิด
1. วัยรุ่นเกเร 2 กลุ่มกำาลังยกพวกตีกันอยู่หน้าหมู่บ้าน เหตุการณ์หน้าสิ่ว
หน้าขวานเช่นนี้อย่าปล่อยให้เด็ก ๆ ไปหน้าหมู่บ้านตอนนี้นะ
2. พระเอกกำาลังต่อสู้กับโจร ยังไม่แพ้ชนะกัน เหตุการณ์กำาลังเข้าไต้เข้า
ไฟ ภาพยนตร์โทรทัศน์เรื่องนี้ก็จบตอนไปเสียก่อน ต้องคอยดูต่อวันศุกร์
หน้า
3. แดงประกาศในที่ประชุมชาวบ้านว่าตนเองเก่งกล้า สามารถปราบโจรที่
กำาลังก่อความเดือดร้อนแก่ชาวบ้านในหมู่บ้านขณะนี้ได้ แต่ที่จริงแดงไม่
สามารถทำาได้ กล่าวได้ว่าการพูดของแดงเป็นเพียงหมาเห่า ใบตองแห้ง
เท่านั้น
QUOTA CMU’ 51.
01 ภาษาไทย.
(5)
01 ภาษาไทย.
4. เขาเป็นสมาชิกพรรคการเมือง 2 พรรคซึ่งมีนโยบายต่างกัน เพื่อว่า
ในอนาคตถ้าพรรคใดมีความรุ่งเรืองทางการเมืองน้อยกว่าก็จะผละจาก
พรรคนั้นไปสังกัดอีกพรรคหนึ่ง การกระทำาเช่นนี้เรียกว่าเหยียบเรือสอง
แคม
อ่านข้อความต่อไปนี้ แล้วตอบคำาถามข้อ 26 - 29
“ในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 15 ได้เริ่มมีการปฏิรูประบบกฎหมาย
จารีตประเพณี เนื่องจากกฎหมายที่เกิดจากคำาพิพากษาของศาลนั้นเป็นสิ่งที่
ค่อนข้างจะตายตัว เมื่อเวลาล่วงเลยไปสังคมก็ย่อมเปลี่ยนไป โดยเฉพาะใน
ระยะนั้นสังคมอังกฤษได้เปลี่ยนไปจากเดิมมาก เริ่มมีการพัฒนาการค้าการ
พาณิชย์ จึงทำาให้เกิดปัญหาที่ว่าศาลไม่อาจจะหากฎหมายมาใช้ในการตัดสิน
คดีให้เกิดความยุติธรรมได้ ความยุติธรรมในสมัยหนึ่งนั้นอาจจะไม่ยุติธรรมใน
อีกสมัยหนึ่งก็ได้”
26. ข้อใดเป็นประโยคใจความสำาคัญ
1. กฎหมายที่เกิดจากคำาพิพากษาของศาลนั้นเป็นสิ่งที่ค่อนข้างจะตายตัว
2. ความยุติธรรมในสมัยหนึ่งนั้นอาจจะไม่ยุติธรรมในอีกสมัยหนึ่งก็ได้
3. ช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 15 ได้เริ่มมีการปฏิรูประบบกฎหมายจารีต
ประเพณี
4. เมื่อเวลาล่วงเลยไปสังคมก็ย่อมเปลี่ยนไปโดยเฉพาะในสังคมอังกฤษ
27. ข้อใดเป็นวิธีการเสนอข้อมูลของผู้เขียน
1. กล่าวถึงผลก่อนสาเหตุ 2. ให้รายละเอียดก่อนสรุปท้าย
3. อธิบายความแล้วตามด้วยวินิจ 4. ชี้ถึงปัญหาพร้อม
แจกแจงที่มา
28. ข้อใดไม่ใช่วิธีการขยายความของผู้เขียน
1. ยกตัวอย่าง 2. แสดงเหตุและผล
3. แสดงรายละเอียด 4. จำากัดความคิด
29. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
1. เวลาสามารถเปลี่ยนแปลงทุกสิ่ง 2. ปัญหาอยู่ที่คำาพิพากษาล้า
สมัย
3. ประเทศอังกฤษจำาเป็นต้องปฏิรูปกฎหมาย 4. เมื่อสังคมเปลี่ยน
กฎหมายก็ต้องเปลี่ยน
อ่านข้อความต่อไปนี้ แล้วตอบคำาถามข้อ 30 - 34
เกล้ากระผมคือศิษย์ชื่อทิดร้าย เออเอ็งหายหน้าไปอยู่ไหนหวา
รับประทานเคราะห์กรรมต้องจำาลา ไปอยู่ป่าสวนเรือกกิน
เผือกมัน
QUOTA CMU’ 51.
01 ภาษาไทย.
(6)
01 ภาษาไทย.
เออเอ็งค่อยวัฒนาฤาหาหือ หายหน้าชื่อกูคิดว่าเอ็ง
อาสัญ
ที่จนมีรับประทานก็ปานกัน ด้วยผมนั้นเลขชาตาเป็น
กาลี
ได้แต่ส้มหมากหยาบหยาบมากราบเท้า เป็นของชาวคนขัดน่าบัดสี
ถ้าแม้นคล่องต้องตำาราชาตาดี คงจะมีของถวายหลาย
ชนิด
30. บุรุษที่สองในคำาประพันธ์นี้ตรงกับข้อใด
1. ครูผู้ทรงคุณอันประเสริฐ 2. กษัตริย์ผู้เป็นเลิศทุกสถาน
3. พระสงฆ์ผู้ทรงศีลสมาทาน 4. ขุนนางว่าราชการ
ของแผ่นดิน
31. คำาที่ขีดเส้นใต้หมายถึงข้อใด
1. อาชีพ 2. ชุมชน 3. วิถีชีวิต 4.
ฐานะ
32. ข้อใดเป็นวิธีการนำาเสนอของกวี
1. ให้ตัวละครพูดโต้ตอบกัน 2. ใช้ภาษาสนทนาระดับชาว
บ้าน
3. เลือกคำาศัพท์สามัญที่ใช้กันทั่วไป 4. สร้างฉากประกอบ
เหมาะกับเนื้อเรื่อง
33. ข้อใดเป็นทัศนะของตัวละคร
1. ชื่อไม่เป็นมงคลย่อมนำาพาชีวิตให้ตกตำ่า 2. ใช้ภาษา
สนทนาระดับชาวบ้าน
3. เลือกคำาศัพท์สามัญที่ใช้กันทั่วไป 4. สร้างฉากประกอบ
เหมาะกับเนื้อเรื่อง
34. คำาประพันธ์นี้มีคุณค่าน้อยที่สุดในด้านใด
1. การสร้างจินตนาการ 2. ความไพเราะของคำา
และเสียง
3. ภาพสะท้อนทางสังคม 4. การเรียบเรียงตาม
ฉันทลักษณ์
อ่านข้อความต่อไปนี้ แล้วตอบคำาถามข้อ 35 – 37
“ความหิวกำาเนิดขึ้นก่อนความอิ่ม ในเวลาซึ่งพอเหมาะมันทำาให้อาหาร
ทุกชนิดเลิศรสกว่าปกติ สำาหรับเวลาซึ่งยาวนานกว่านั้น คนหิวอาจกลายเป็น
ขโมย เป็นฆาตกรหรืออาจก่อวินาศกรรมใหญ่หลวง เพื่อน่องไก่สักชิ้น คนจร
รู้จักความหิวดี เริ่มแรกคือทุกข์อันไม่จบสิ้น ต่อมากลายเป็นเพื่อนซึ่งสนิทสนม
คุ้นเคยและแยกจากกันประเดี๋ยวประด๋าวเท่านั้น”
35. ข้อใดเป็นความคิดของผู้เขียน
QUOTA CMU’ 51.
01 ภาษาไทย.
(7)
01 ภาษาไทย.
1. ความหิวเป็นสิ่งที่น่ากลัว 2. ความหิวทำาให้อาหารอร่อย
ขึ้น
3. ความหิวไม่เข้าใครออกใคร 4. ความหิวเป็นเพื่อน
ของคนยาก
36. ข้อใดไม่ใช่วิธีการส่งสารของผู้เขียน
1. ยกตัวอย่าง 2. ลำาดับความ 3. เปรียบเทียบ
4. ผูกเงื่อนไข
37. คำาคู่ใดไม่มีความสัมพันธ์โดยตรงกับความหิว
1. เวลา พฤติกรรม 2. โอกาส ความทุกข์
3. ความอร่อย อาหาร 4. ความรู้สึก คนโซ
38. คำาประพันธ์ต่อไปนี้มีโวหารภาพพจน์กี่แห่ง
คราวนั้นเมื่อตามไปกลางป่า หน้าดำาเหมือนหนึ่ง
ทามินหม้อไหม้
ชนะความงามหน้าดังเทียนชัย เขาฉุดไปเหมือนลงทะเล
ลึก
1. 2 2. 3 4. 4 4. 5
อ่านข้อความต่อไปนี้ แล้วตอบคำาถามข้อ 39 - 42
ดื่มดำ่านำ้าหินซับ
ตามได้จับกบกุ้งหอย
ผักกูดกำาน้อยน้อย
กับดอกเห็ดเลือกเด็ดมา
เรียงหินสามเส้าไว้
ก้มเป่าไฟเตรียมหุงหา
ตั้งหม้อรอเวลา
ร่วมอิ่มหนำาในคำ่าคืน
39. ข้อใดไม่ปรากฏในบทกวี
1. วิธีชีวิต 2. ธรรมชาติ 3. ความรื่นรมย์
4. ความสิ้นหวัง
40. กวีใช้โวหารชนิดใด
QUOTA CMU’ 51.
01 ภาษาไทย.
(8)
01 ภาษาไทย.
1. บรรยาย 2. พรรณนา 3. อุปมา
4. สาธก
41. ข้อใดเป็นการวิจารณ์
1. กล่าวถึงอาหารที่หาได้ตามชนบท
2. ให้ภาพการใช้ชีวิตที่เรียบง่ายของคนพื้นถิ่น
3. สร้างจินตนาการจากการใช้คำาสามัญแต่สื่ออารมณ์
4. แสดงความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับธรรมชาติ
42. จากคำาประพันธ์ข้างต้น ข้อใดอนุมานความได้บริบูรณ์
1. ผู้หญิงกับภาระหน้าที่ 2. ชีวิตประจำาวันของ
ชาวบ้านป่า
3. ความสุขอยู่ที่ความพอใจ 4. ความงาม ความสุนทรีย์และ
ชีวิต
อ่านข้อความต่อไปนี้ แล้วตอบคำาถามข้อ 43 - 44
“ผู้มีปัญญามักไม่ประมาท เมื่อคนส่วนมากพากันประมาท และตื่นเมื่อ
คนส่วนมากพากันหลับอยู่ เขาจึงทิ้งช่วงคนเหล่านั้นไปไกล เหมือนม้าฝีเท้า
เร็ววิ่งเลยม้าแกลบฉะนั้น”
43. คำาที่ขีดเส้นใต้หมายถึงข้อใด
1. ม้ากินแกลบ 2. ม้าพันธุ์เล็ก 3. ม้าแข่ง 4. ม้าพันธุ์
เทศ
44. ข้อใดกล่าวถูกต้อง
1. ผู้มีปัญญามักตื่นตัวตลอดเวลา 2. ผู้มีปัญญามีความ
สามารถในการแข่งขัน
3. ผู้มีปัญญาพลิกวิกฤตเป็นโอกาส 4. ผู้มีปัญญาไตร่ตรองอย่าง
รอบคอบเสมอ
อ่านข้อความต่อไปนี้ แล้วตอบคำาถามข้อ 45 - 46
อันช่างหม้อตีหม้อไม่หวังฉาน ตีเอางานงามใช้มิให้หนา
ดั่งอาจารย์ตีศิษย์ให้วิทยา มิใช่ว่าจะประหารให้ไป
อบาย
45. ข้อใดเป็นเจตนาของผู้แต่ง
1. เปรียบให้เข้าใจ 2. ให้ข้อคิด 3. แสดงทัศนะ
4. โน้มน้าวใจ
46. คำาที่ขีดเส้นใต้มีความหมายตรงกับข้อใด
1. แตก 2. บุบ 3. ร้าว 4.
บิ่น
QUOTA CMU’ 51.
01 ภาษาไทย.
(9)
01 ภาษาไทย.
47. บทกวีต่อไปนี้มีข้อบกพร่องด้านใด
อย่าให้เหมือนใบศรีที่เบิกขวัญ
พอเสร็จพลันเป็นใบตองนะน้องเอ๋ย
ถนอมหน่อยอย่าลอยร้างไปอย่างเคย
เก็บไว้เชยเมื่อชำ้าเช็ดนำ้าตา
1. จังหวะ 2. สัมผัส 3. คำา
4. วรรณยุกต์
48. ข้อใดเป็นส่วนสรุปของเรียงความ
1. ความงาม ความปิติเร่งเร้าพลังแห่งการสร้างสรรค์ คุณค่าทางจิตใจ
เป็นรากฐานแห่งชีวิตที่แท้
2. ความรักทำาให้มนุษย์มีความสัมพันธ์กับสรรพสิ่งรอบตัว ไม่คับแคบ ไม่
หมกมุ่นอยู่กับตนเอง
3. การเขียนแบบสร้างสรรค์จึงมีความหมายตรงกันข้ามกับการเขียนที่มุ่ง
ประโยชน์ทางวิชาการดังกล่าวข้างต้น
4. ความริเริ่มใหม่จึงขึ้นอยู่กับเจตนาของเจ้าของผลงาน เจตนาจริงเช่นนี้
นำาไปสู่งานเขียนสร้างสรรค์ที่ผู้เขียนภาคภูมิใจได้
49. การอ่านในข้อใดช่วยให้เข้าใจบทประพันธ์นี้
โอ้ตอเอ๋ยตอแหลตอแต่หลัง
คิดจะตั้งตอแน่ต้องแต่ต้น
ไม่มีตอต่อมีไต้ตอไล่ชน
อย่าทำาตนเป็นตอล่อไต้เลย
1. อ่านตีความ 2. อ่านแปลความ
3. อ่านถอดความ 4. อ่านเก็บความ
50. คำาว่า “ไล่เข้ามา” ในข้อความต่อไปนี้ หมายถึงข้อใด
“วันนี้คงจะพูดอะไรไม่ได้มาก เพราะเวลาไล่เข้ามาทุกทีแล้ว จึงขอพูด
ประเด็นสำาคัญ ๆ สักสองประเด็นเท่านั้น”
1. เหลือน้อย 2. ตามมาติดๆ 3. รุกอย่างรวดเร็ว
4. ไม่ทิ้งห่าง
อ่านข้อความต่อไปนี้แล้วตอบคำาถามข้อ 51 – 52
“ความยากจนเป็นปัญหาเรื้อรังที่ไม่เคยแก้ได้จริง ช่องว่างระหว่างคนจน
กับคนรวยยิ่งห่างมากขึ้นนำาไปสู่ปัญหาทางจิตใจ สังคม และการเมือง ทำาให้
บ้านเมืองวิกฤตมากขึ้น รัฐบาลหน้าต้องแก้ปัญหาให้ได้อย่างจริงจังและถาวร
อันที่จริงผู้นำาชาวบ้านจำานวนหนึ่งร่วมกับองค์กรพัฒนาเอกชน นักวิชาการ
และข้าราชการบางส่วนรู้แล้วจากการปฏิบัติว่า การแก้ความยากจนที่แท้จริง
และถาวรทำาอย่างไร รัฐบาลควรเรียนจากบุคคลเหล่านี้อย่างจริงจัง แล้วนำามา
ทำานโยบายและยุทธศาสตร์ขับเคลื่อนให้เกิดขึ้นทั้งประเทศ วิธีการคือส่งเสริม
ให้ชุมชนทำาวิจัยเรื่องของชุมชนเอง อันนำาไปสู่การปรับเปลี่ยนวิถีการผลิตและ
การบริโภคที่เรียกว่าเกิดวิสาหกิจชุมชน ชุมชนที่สามารถวิจัยเรื่องของตัวเอง
QUOTA CMU’ 51.
01 ภาษาไทย.
(10)
01 ภาษาไทย.
ได้และพัฒนาวิสาหกิจชุมชนจะเกิดการพัฒนาอย่างบูรณาการทั้งทางเศรษฐกิจ
จิตใจ สังคม วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม การศึกษาและสุขภาพ พร้อมกันไป
เป็นชุมชนที่มีเศรษฐกิจพอเพียงและยั่งยืน”
51. รัฐบาลหน้าต้องแก้ไขปัญหาให้ได้อย่างจริงจัง “ปัญหา” ในที่นี้หมาย
ถึงข้อใด
1. ปัญหาความยากจน 2. ปัญหาบ้านเมืองเกิด
วิกฤต
3. ปัญหาการพัฒนาสังคมให้ยั่งยืน 4. ปัญหาทางจิตใจ สังคมและ
การเมือง
52. ข้อใดคือจุดมุ่งหมายของข้อความข้างต้น
1. แสดงความคิดเห็นวิพากษ์วิจารณ์รัฐบาล
2. ให้ข้อเสนอแนะวิธีการแก้ไขปัญหาความยากจน
3. เสนอแนวพัฒนาชุมชนแบบเศรษฐกิจพอเพียงและยั่งยืน
4. เสนอแนะให้มีการส่งเสริมให้ชุมชนทำาวิจัยเรื่องของชุมชนเอง
อ่านข้อความต่อไปนี้แล้วตอบคำาถามข้อ 53 -54
(1) ปัจจุบันรัฐบาลพม่าได้ควบคุมไม่ให้เกษตรกรเพิ่มจำานวนแพปลูกพืช
ในนำ้า (2) เป็นเพราะว่านำ้าในทะเลสาบเริ่มมีคุณภาพไม่ดี (3)
สิ่งแวดล้อมเริ่มจะเสียหายเนื่องจากเกษตรกรมีการใช้สารเคมีมากขึ้น
(4) นอกจากนั้น เกษตรกรยังทิ้งผลผลิตที่เสียหรือไม่ได้ขนาดตามที่ตลาด
ต้องการลงในทะเลสาปลอยเป็นแพ
(5) ประกอบกับทะเลสาบอินเลเป็นแหล่งนำ้าจืดที่จำาเป็นสำาหรับอุปโภคบริโภค
ของประชาชนในรัฐฉานตอนล่างเกือบครึ่งหนึ่ง (6) หากปล่อยให้
เกษตรกรเพิ่มจำานวนแพปลูกมากขึ้นก็จะเกิดผลเสียหายอย่างรุนแรงในอนาคต
53. ข้อใดเป็นประโยคใจความสำาคัญของข้อความข้างต้น
1. (1) 2. (2) 3.(3) 4. (6)
54. ข้อความข้างต้นมีวิธีการเขียนแบบใด
1. สาธก 2. บรรยาย 3. พรรณนา 4. อธิบาย
อ่านข้อความต่อไปนี้แล้วตอบคำาถามข้อ 55 – 56
“ก่อนลงทุน ดูให้ดีว่า สินค้าที่เราจะทำานั้น เราถนัดมากน้อยแค่ไหน
ถ้าไม่ถนัด แม้จะมีคำาแนะนำาดี ก็ไปไม่รอด ทุกกิจการต้องเริ่มจากสิ่งที่เรา
ถนัด ขอเพียงอดทน และใช้หลักการตลาด พยายามศึกษาตลาดที่เราเล็งไว้
ตั้งแต่ มีคนมากไหม มีคนในช่วงอายุต่าง ๆ เท่าไหร่ เขาเดินทางอย่างไร
QUOTA CMU’ 51.
01 ภาษาไทย.
(11)
01 ภาษาไทย.
กลับบ้านกี่โมง เหล่านี้เป็นข้อมูลที่เราจะนำามาใช้พัฒนาสินค้า กำาหนดราคา
ขาย กำาหนดจุดที่วางขายได้อย่างตรงกลุ่มเป้าหมาย”
55. ข้อความข้างต้นนี้ตรงกับหลักการพูดข้อใด
1. การเตรียมพร้อม 2. การวิเคราะห์ผู้ฟัง
3. การรู้จักกาลเทศะ 4. การจัดกำาหนดเป้าหมาย
56. ข้อความข้างต้นมีลักษณะการพูดแบบใด
1. เป็นทางการ 2. กึ่งทางการ
3. เป็นกันเอง 4. เป็นการสนทนา
อ่านข้อความต่อไปนี้แล้วตอบคำาถามข้อ 57 - 59
“วันแรกที่ผมไปออกงาน ผมขายไม่ได้เลย ทางทีมงานผู้จัดงาน ก็
สงสัยว่า อร่อยอย่างนี้ ทำาไมขายไม่ได้ ผมตอบไม่ได้ เพราะไม่รู้เหมือนกัน
รู้แต่ว่า ความสำาเร็จไม่ได้มาในวันเดียว หากแต่ต้องใช้เวลา ผมไม่ท้อยัง
พยายามขายต่อไป และเชื่อว่าน่าจะต้องมีจุดเปลี่ยน ซึ่งจุดเปลี่ยนของผมก็คือ
ได้ขึ้นเวที และพูดถึงลูกชิ้นตัวนี้พร้อมกับมีให้ชิม เท่านั้นแหละ พอลงจากเวที
ผมแทบจะเดินเข้าร้านตัวเองไม่ได้ เพราะลูกค้าเยอะมาก”
57. ข้อใดคือจุดมุ่งหมายของผู้พูด
1. ให้คติว่ากว่าธุรกิจจะสำาเร็จได้ต้องให้เวลา
2. บอกวิธีการทำาธุรกิจให้ประสบความสำาเร็จไม่ยาก
3. ให้แง่คิดว่าความพยายามอยู่ที่ไหน ความสำาเร็จอยู่ที่นั่น
4. บอกว่าธุรกิจไปไม่ได้ถ้าไม่มีการโฆษณาประชาสัมพันธ์
58. ผู้พูดขายสินค้าอะไร
1. อาหาร 2. ผลไม้ 3. ลูกชิ้น
4. ของอร่อย
59. นำ้าเสียงของผู้พูดเป็นอย่างไร
1. โอ้อวด 2. ภูมิใจ 3. ถ่อมตัว 4.
เรียบเฉย
60. ข้อใดเป็นอุปสรรคของการสื่อสารมากที่สุด
1. ผู้ฟังไม่เห็นตัวผู้พูด 2. ผู้พูดพูดเสียงดังเกิน
ไป
3. อากาศในห้องประชุมร้อนมาก 4. มีเสียงดังจากข้างนอก
มารบกวนขณะฟัง
61. ข้อใดเป็นการพูดแบบเป็นทางการ
1. ราคานำ้ามันยังคงพุ่งสูงขึ้นต่อไป และถึงระดับ 96 เหรียญดอลลาร์
สหรัฐต่อบาร์เรลแล้ว ในไม่ช้าคงจะถึงและผ่านระดับ 100 เหรียญ
QUOTA CMU’ 51.
01 ภาษาไทย.
(12)
01 ภาษาไทย.
ดอลลาร์สหรัฐต่อบาร์เรล เกินความคาดหมายของคนทั้งหลายทั้งปวงไป
อย่างแทบไม่น่าเชื่อ
2. ถึงวันนี้ก็ยังไม่เห็นมีหน้าไหนที่ออกมาแนะนำาคนไทย หรือบอกล่าวให้
คนไทยได้รับรู้กันว่า หากราคานำ้ามันเป็นเช่นนี้แล้วจะทำากันอย่างไรต่อ
ไป หรือให้ก้มหน้าก้มตายอมรับความฉิบหายวายวอดกันตาปริบ ๆ
3. วันนี้มีข่าวว่า พรรคการเมืองใหญ่สามพรรคปฏิเสธแผนการที่จะให้มี
การสร้างโรงงานไฟฟ้านิวเคลียร์ขึ้นในประเทศไทย ซึ่งไม่อยากจะบอก
ว่าเป็นพรรคการเมืองไหนกันบ้าง จะทำาให้เกิดความได้เปรียบเสียเปรียบ
ในการเลือกตั้งอันไม่บังควร
4. นักค้านำ้ามันและนักค้าก๊าซก็จะกอบโกยแสวงหาประโยชน์กันอย่าง
สนุกสนานต่อไป ดังที่เห็นๆ กันอยู่ในขณะนี้แล้วว่า บรรดานักค้านำ้ามัน
และนักค้าก๊าซต่างรำ่ารวยล้นดินล้นฟ้ามหาศาลไปถึงไหนต่อไหนกันแล้ว
62. ข้อใดเป็นการพูดเพื่อโน้มน้าวใจ
1. เราก็เห็นอยู่แล้วว่าเกือบทุกพรรคสับสนอลหม่าน ผู้สมัครอาจจะเปลี่ยน
พรรคจนกระทั่งวินาทีสุดท้ายของวันสมัคร
2. ผมเองไม่เห็นด้วยกับการบังคับให้สังกัดพรรค แต่เมื่อมีกฎหมาย มีการ
กำาหนดขั้นตอนและเงื่อนไขของความเป็นประชาธิปไตยภายในพรรค ก็
ควรจะปฏิบัติโดยเคร่งครัด
3. นี่มิใช่ระบบพรรคการเมืองที่ถูกต้อง แต่เป็นแก๊งเลือกตั้งที่มีสิทธิประมูล
ซื้ออำานาจรัฐ อันเป็นการขัดกับความสงบเรียบร้อยและเจตนารมณ์ของ
กฎหมายและประชาธิปไตย
4. เพื่อมิให้การตัดสินใจภายในพรรคตกอยู่ใต้อำานาจเงินและอำาเภอใจของ
ผู้นำาแบบเผด็จการ จะต้องมีการประชุมใหญ่ที่แท้จริง สิทธิของสาขา
พรรคและผู้สมัครต้องได้รับความนับถืออย่างถูกต้อง
63. ข้อใดเป็นการพูดที่ใช้ภาษาผิดระดับ
1. ระบบการศึกษาแบบรวมศูนย์อำานาจที่ส่งเสริมการแข่งขันทางการศึกษา
ในทุกระดับอย่างที่ประเทศไทยมีอยู่เป็นอยู่นี้ มีแต่ส่งเสริมให้คนเห็นแก่
ตัวมากยิ่งขึ้น
2. พ่อแม่จะสนใจการศึกษาของบุตรธิดาตนเอง พยายามเลือกสรรสิ่งที่คิด
ที่เชื่อว่าดีที่สุดให้แก่ลูก ไม่ว่าสิ่งนั้นจะต้องแลกมาด้วยการซื้อหาติด
สินบนสักเท่าไร
3. ไม่มีใครสนใจการจัดการศึกษาของท้องถิ่น เพราะระบบไม่เปิดโอกาส
ไม่ส่งเสริม ซึ่งก็เป็นจุดเริ่มต้นของการไม่สนใจส่วนรวม
4. ผู้คนที่ถูกหล่อหลอมขึ้นมาในลักษณะนี้จะมีลักษณะวูบวาบฉาบฉวย
ทางการเมือง ไม่เข้าไปมีส่วนร่วมในทุกระดับด้วยถือว่าธุระไม่ใช่
QUOTA CMU’ 51.
01 ภาษาไทย.
(13)
01 ภาษาไทย.
64. ข้อใดเป็นการพูดเพื่อชี้แจงข้อเท็จจริง
1. นักโบราณคดีค่อย ๆ บรรจงเคลื่อนย้ายพระศพมัมมีฟาโรห์ ออกจากหีบ
ศพหินแบบโบราณ ที่ประดับตกแต่งไว้อย่างงดงาม มาไว้ในตู้กระจกที่มี
การควบคุมอุณหภูมิภายในเป็นอย่างดี
2. นักโบราณคดีเปิดเผยว่า มัมมีต้องเผชิญกับความร้อน ความชื้น และ
แบคทีเรียต่าง ๆ ที่นักท่องเที่ยวจำานวนมากนำาเข้ามา ขณะเยี่ยมชมหลุม
ฝังศพกษัตริย์ในแต่ละปี
3. หลุมศพของฟาโรห์ประดับประดาไปด้วยทอง ตรงกลางของหลุมศพ
ปกคลุมไปด้วยเครื่องราง เพชรนิลจินดา และใบหน้าของพระองค์สวม
หน้ากากทองคำา
4. ร่างกายของฟาโรห์ได้รับการประกอบขึ้นใหม่และส่งกลับไปยังโลงศพ
หินเดิมในอีก 1 ปี ถัดมา และเพิ่งจะได้รับการเคลื่อนย้ายอีก 3 ครั้ง
ในช่วงไม่กี่ปีมานี้เอง เพื่อเอกซเรย์ตรวจสอบเพิ่มเติม
อ่านข้อความต่อไปนี้แล้วตอบคำาถามข้อ 65 - 66
(1) พลังงานนิวเคลียร์เป็นพลังงานชนิดหนึ่งที่ต้นทุนตำ่า และมีอานุภาพ
มากมายมหาศาล (2) สามารถนำาไป
ใช้ได้ทั้งสองทางคือทั้งในทางสันติและในทางการทหาร (3) ในทางสันติ
นั้น มีการนำาพลังงานนิวเคลียร์ไปใช้ในกิจการมากหลายซึ่งไม่ใช่เป็นกิจการ
ทำาลายล้างมวลมนุษย์ (4) แต่เป็นกิจการที่สร้างสรรค์และอำานวยประโยชน์
สุขแก่มวลมนุษย์ (5) ส่วนในทางการทหารนั้น ก็มีการใช้พลังงานนิวเคลียร์
ไปประกอบขึ้นเป็นอาวุธเรียกว่าอาวุธนิวเคลียร์ (6) ไม่ว่าเป็นไปในรูป
จรวดหรือขีปนาวุธ หรือระเบิดที่ใช้พลังงานนิวเคลียร์ประกอบเข้าเป็นอาวุธ
ก็ตาม
65. ข้อใดเป็นความคิดหลักของข้อความข้างต้น
1. (1) 2. (2) 3. (3) 4.
(5)
66. ข้อใดเป็นส่วนขยายความคิดหลักของข้อความข้างต้น
1. (1) – (2) – (3) – (4) 2. (2) – (3) – (4) – (5)
3. (3) – (4) – (5) – (6) 4. (5) – (6) – (1) – (2)
67. ข้อใดเป็นการวางเค้าโครงการพูดข้างต้น
1. อธิบายประเด็นให้เข้าใจง่าย 2. ให้ความหมายประเด็น
หลัก
3. ยกส่วนขยายและสรุปด้วยประเด็นหลัก 4. ยกประเด็นหลักและ
ให้เหตุผลประกอบ
อ่านข้อความต่อไปนี้แล้วตอบคำาถามข้อ 68 - 69
“ในภาวะหนึ่งที่ชุมชนของเราได้ผ่านเรื่องดี ๆ มาด้วยกัน มันก็จะส่งผล
ให้คนในชุมชนของเรารู้จักกันมากขึ้น จากแต่ก่อนที่ไม่ค่อยรู้จักกันเลย ก็
QUOTA CMU’ 51.
01 ภาษาไทย.
(14)
01 ภาษาไทย.
เริ่มมารู้จักมักคุ้นกัน คนที่ย้ายมาอยู่ใหม่ก็เริ่มรู้สึกว่าตัวเองเป็นส่วนหนึ่งของ
ชุมชน ระยะหลังยังมีการจัดกิจกรรมตรวจสุขภาพให้คนในชุมชนฟรี โดยคุณ
หมอที่เพิ่งเข้ามาเป็นสมาชิกชุมชนเดียวกันกับเรา มีการพาเด็ก ๆ ไปดูนก ซึ่ง
นำามาสู่จิตสำานึกรักสิ่งแวดล้อมในที่สุด”
68. ข้อใดคือเจตนาของผู้พูด
1. เล่าให้เห็นสภาพของชุมชนที่ดี 2. บอกประวัติพัฒนาการ
ของชุมชน
3. แสดงให้เห็นความสามัคคีของชุมชน 4. เน้นเรื่องจิตสำานึกรัก
สิ่งแวดล้อมของชุมชน
69. ข้อความข้างต้นเป็นโวหารแบบใด
1. พรรณนา 2. อธิบาย 3. สาธก 4.
บรรยาย
อ่านข้อความต่อไปนี้แล้วตอบคำาถามข้อ 70 - 71
“เมื่อหน้าที่การงานในความรับผิดชอบส่งผลทั้งต่อตนเอง หน่วยงานที่
สังกัด รวมไปถึงชีวิตของผู้โดยสาร การพัฒนาตัวเองของวิศวกรอากาศยาน
จึงเป็นเรื่องสำาคัญ วิศวกรอากาศยานที่ดีต้องคิดเสมอว่าเราทำางานบนความ
ปลอดภัยของชีวิตคน ต้องตัดสินใจทุกอย่างบนพื้นฐานความปลอดภัยและคุ้ม
ค่า เพราะฉะนั้นเราต้องมีความใฝ่รู้ แสวงหาความรู้เพิ่มเติมตลอดเวลา อย่าง
ทุกวันนี้ผมจะเปิดเว็บไซต์ของผู้ผลิตเครื่องยนต์เพื่อหาข้อมูลและศึกษากรณี
การเสียแบบต่าง ๆ ของเครื่องยนต์ที่เคยเกิดขึ้นกับสายการบินอื่น ๆ เพื่อ
วางแผนป้องกันเรื่องแบบนี้ถึงจะไม่มีใครบังคับให้ทำา แต่ผมมองว่ามันเป็นเรื่อง
ที่เราควรต้องใส่ใจ ที่สำาคัญ มันไม่ใช่แค่ดีกับอาชีพการงาน แต่ยังดีต่อชีวิต
ผู้โดยสารในความรับผิดชอบของเราด้วย”
70. ข้อใดไม่สามารถอนุมานได้จากข้อความข้างต้น
1. ผู้พูดเป็นคนอุทิศตนเพื่อสังคม 2. ผู้พูดเป็นคนมี
มนุษยธรรมและจิตใจดี
3. ผู้พูดมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่สูง 4. ผู้พูดสนใจพัฒนางาน
และตนเองอยู่เสมอ
71. ข้อใดเป็นสาระสำาคัญของข้อความข้างต้น
1. ความรับผิดชอบต่องานเป็นเรื่องสำาคัญ 2. การพัฒนาตนเองเป็น
เรื่องสำาคัญ
3. ความปลอดภัยของชีวิตและความคุ้มค่า 4. ความปลอดภัย
ของผู้โดยสารต้องมาก่อน
อ่านข้อความต่อไปนี้แล้วตอบคำาถามข้อ 72 - 76
QUOTA CMU’ 51.
01 ภาษาไทย.
(15)
01 ภาษาไทย.
“การทำางานเป็นเหมือนการลงเรือขับเคลื่อนไปยังเป้าหมาย เป็นภารกิจ
ที่ไม่มีเส้นทางชัดเจน ธรรมะจัดสรรให้ต้องไปสู่เป้าหมาย คือการผลักดัน
พัฒนาระบบงาน ซึ่งไม่ใช่เรื่องง่าย ลำาพังแค่สภาพของคลื่นลมปกติก็มี
อุปสรรคอยู่พอสมควร กว่าจะขับเคลื่อนให้ได้ระยะจึงต้องใช้ความอดทนอย่าง
ยิ่ง”
72. สาระสำาคัญคือข้อใด
1. อุปสรรคของการทำางานให้ก้าวหน้าทั้งระบบ
2. การทำางานให้ก้าวหน้าทั้งระบบไม่ใช่เรื่องง่าย
3. การทำางานให้ก้าวหน้าทั้งระบบต้องอาศัยความทรหด
4. ครรลองของความอดทนในการทำางานให้ก้าวหน้าทั้งระบบ
73. ข้อความนี้จัดเป็นงานเขียนประเภทใด
1. บทความวิจารณ์ 2. บทความแนะแนวทาง
3. บทความวิชาการ 4. บทความแสดงความคิดเห็น
74. ข้อใดไม่ใช่เจตนาของผู้เขียน
1. การซ่อนนัย 2. การใช้ภาษาธรรม
3. การใช้สัญลักษณ์ 4. การใช้ความเปรียบ
75. “ธรรมะ” หมายถึงข้อใด
1. ความจริง 2. คุณความดี 3. บุญกรรม
4. ผลสรุป
76. “สภาพของคลื่นลม” ไม่น่าจะอนุมานถึงข้อใด
1. ผู้ร่วมงาน 2. ประชาชนทั่วไป
3. คณะรัฐมนตรี 4. นโยบายการเมือง
อ่านข้อความต่อไปนี้แล้วตอบคำาถามข้อ 77 – 78
(1) การใช้ศัพท์ที่ดูเหมือนจะขลังหรือโก้หรู ไม่ได้แสดงภูมิรู้ของผู้พูดผู้เขียน
หากใช้คำาหรือศัพท์นั้นผิดความหมาย แต่กลับเป็นการแสดงความไม่รู้
(เขลา) เป็นผู้ตามการพูดผิดเขียนผิดต่างหาก
(2) เวลาผ่านมากว่า 5 ปีแล้ว รัฐบาล หน่วยงานราชการต่าง ๆ เช่น
สำานักนายกรัฐมนตรี สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย รวมถึง
นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี ข้าราชการระดับสูงทั้งในปัจจุบันและอดีต ก็ยัง
ใช้คำา “วาระแห่งชาติ” ในภาษาเขียนทางราชการและภาษาพูดตลอดมา
ซึ่งเป็นการใช้คำาสื่อความหมายผิด
(3) หากผู้พูดผู้เขียนไม่ชอบคำา “ระเบียบวาระแห่งชาติ” ไม่ว่าจะด้วยเหตุใด
ก็อาจใช้คำาธรรมดาที่เข้าใจง่าย เช่น “ภารกิจแห่งชาติ” “งานสำาคัญ
แห่งชาติ” “งานลำาดับแรกแห่งชาติ” ซึ่งสื่อความหมายได้ตรง ถูกต้อง
QUOTA CMU’ 51.
01 ภาษาไทย.
(16)
01 ภาษาไทย.
(ชาวบ้านในชนบทเข้าใจหรือไม่ว่า “วาระแห่งชาติ” “วาระประชาชน”
หมายความว่าอะไร) จะใช้คำาผิดสื่อความหมายผิดอยู่ทำาไม
(4) ทุกวันนี้ไม่ว่าเรื่องอะไร สำาคัญมากน้อยเพียงไร รัฐบาลและหน่วย
ราชการก็นิยมจะตั้งหรือผลักดันให้เป็น “วาระแห่งชาติ” กันจนเฝือ แต่ทั้ง
รัฐบาลและหน่วยราชการเหล่านั้นรู้หรือไม่ว่า กำาลังพูดหรือเขียนอะไรอยู่
ท่านต้อง
การสื่อความหมายว่าอย่างไร ท่านรู้หรือไม่ว่า “วาระแห่งชาติ”
หมายความว่า หรือแปลเป็นไทยว่าอย่างไร
77. ข้อใดควรเป็นส่วนเปิดเรื่อง
1. (1) 2. (2) 3. (3) 4.(4)
78. นำ้าเสียงของผู้เขียนเป็นเช่นใด
1. เสียดสี 2. ประชดประชัน 3. แดกดัน 4.
กระทบกระเทียบ
79. ข้อใดมีคำาเลียนเสียงธรรมชาติมากกว่าข้ออื่น
1. เงียบสงัดวัดวาในราตรี เสียงเป็ดผีหวี่หวีดจังหรีดเรียง
2. หริ่งหริ่งเรื่อยเฉื่อยชื่นสะอื้นอก สำาเนียงนกแสกแถกแสกแสก
เสียง
3. เสียงแมงมุมอุ้มไข่มาใต้เตียง ตีอกเพียงผึงผึงตะลึงฟัง
4. ฝ่ายเสียงหนูมูสิกกิกกิกร้อง เสียวสยองยามยินถวิลหวัง
80. ข้อใดกล่าวถึงเวลาต่างจากข้ออื่น
1. อ้างว้างกับนำ้าค้างที่กลางไพร 2. เพลายอแสงมาสู่สมัย
3. เมื่อพระลบว้าเหว่หิมวา 4. แสงสายัณห์ย้อยระยับกับ
วนา
81. ข้อใดกล่าวถึงศิลปะต่างจากข้ออื่น
1. พระธาตุทองสูงสล้างหว่างวิหาร แลโอฬารเยี่ยมยิ่งบนสิงขร
2. กุฏิหอช่อฟ้าสง่างอน งามบัญชรลงรักประจักษ์ตา
3. ที่ผนังมีพุทธประวัติ ให้สีชัดโดดเด่นทั้งเส้นสาย
4. ศาลารายแลไปให้เปล่าดาย ดูเรียบง่ายสงบงามตามเวลา
82. ข้อใดใช้วิธีประเมินค่าต่างจากข้ออื่น
1. ชมโฉมระเด่นกับโฉมตรู งามดูดั่งแก้วกับสุวรรณ
2. บ้างว่าเหมือนอสัญแดหวา กับนางเทพธิดากระยาหงัน
3. บ้างว่าเหมือนสุริยากับพระจันทร์ ถ้าได้ครองกันจะสมควร
4. สมทั้งรูปทรงแลยศศักดิ์ เสียดายนักพระมาคิดหักหวน
83. ข้อใดแสดงถึงการประเมินค่า
QUOTA CMU’ 51.
01 ภาษาไทย.
(17)
01 ภาษาไทย.
1. ที่หน้าโบสถ์มียักษ์ยืนรักษา ดูหน้าตากราดเกรี้ยวเขี้ยวขาว
อ่อน
2. มีสองตนตนละข้างริมทางจร คล้ายยักษ์ตอนเตี้ยตำ่ากรำาแดด
ลม
3. ไม่ใหญ่โตเหมือนวัดโพธิ์และวัดแจ้ง แต่ถ้าแข่งศิลปะจะเหมาะสม
4. ทั้งส่วนสัดตัดต่อก็กลึงกลม เรื่องจะข่มกันได้นั้นไม่มี
84. ข้อใดแสดงถึงการปลงใจ
1. สิ้นแผ่นดินสิ้นนามตามเสด็จ ต้องเที่ยวเตร็ดเตร่หาที่อาศัย
2. สิ้นแผ่นดินขอให้สิ้นชีวิตบ้าง อย่ารู้ร้างบงกชบทศรี
3. สิ้นแผ่นดินสิ้นรสสุคนธา วาสนาเราก็สิ้นเหมือนกลิ่นสุคนธ์
4. สิ้นแผ่นดินสิ้นยศถดถอยศักดิ์ ที่เคยรักก็กลับร้างเหลือหมาง
หมอง
85. ความเปรียบในข้อใดแสดงให้เห็นถึงวิถีชีวิตของคนไทย
1. มาเที่ยวเล่นเห็นหินบนดินโขด เดี่ยวสันโดษดังสำาลีไม่มีหมอง
2. แม้มีคู่ชูชิดสนิทนุ่ม เหมือนห่อหุ้มผ้าทิพย์สักสิบผืน
3. โอ้ชาตินี้มีกรรมแสนลำาบาก เหมือนนกพรากพลัดรังไร้ฝั่งฝา
4. ถึงโพเตี้ยโพตำ่าเหมือนคำากล่าว แต่โตราวสามอ้อมเท่าพ้อมสาน
86. ข้อใดแสดงถึงการสืบทอดขนบวรรณคดี
1. ครั้นเวลารุ่งแจ้งแสงอุไร อรไทพลิกฟื้นตื่นนิทรา
2. แสงทองผ่องทั่วสากล สุริยนเยี่ยมยอดยุคันธร
3. เสียงดุเหว่าเว้าแว่วแจ้วพนา สาลิกาพลอดเพรียกเรียกร้อง
4. นกหลากพรรณหลายก่ายกอง แซ่ซ้องบินเหียนเวียนวน
87. ข้อใดแสดงถึงค่านิยม
1. เวลายิ้มหวานหยดฉันจดจำา กายเธอตำ่าแต่ก็พอเหมาะดี
2. อยากให้สาวน้อยจ้องมองตัวบ้าง จึงแกล้งขว้างเศษไม้ใส่มวยผม
3. เธอสวมเสื้อเชียงใหม่วิไลลักษณ์มีลายปักดอกแดงสุกแสงสี
4. เหมือนว่าเธอมีที่มุ่งหมาย จึงแต่งกายนุ่งห่มให้คมสัน
88. ข้อใดแสงถึงการจัดระเบียบทางสังคม
1. ถึงตลาดปากนำ้าโพดูโก้หลาย ตึกค้าขายแน่นขนัดเขาจัดสรร
2. ถึงที่ตีตั๋วมีรั้วกั้น เข้าคิวกันโค้งคดเกือบหมดหวัง
3. ถึงฝายหลวงห้วงนำ้าอันฉำ่าใส หลังเขื่อนใหญ่เอียงเอนซีเมนต์
ถม
4. ถึงลับแลแลลิ่ววิวสะอาด ทั้งอากาศก็ดีเป็นที่หนึ่ง
89. ข้อใดมีวิธีเล่าเรื่องต่างจากข้ออื่น
QUOTA CMU’ 51.
01 ภาษาไทย.
(18)
01 ภาษาไทย.
1. ลูบไล้สุคนธ์ปนปรุง ดมดูกลิ่นฟุ้งหอมฉำ่า
หยิบภูษามาทรงแล้วลูบคลำา ยกทองท้องชำ้าชอบพระทัย
2. แล้วชวนองค์พงศ์กษัตริย์ขัติยา เสด็จมาพระโรงรัตน์ชัชวาล
จึงบอกให้น้องเจ้าเข้าสรงชล ในมณฑลมุรธากระยาสนาน
3. ลูกก็แลดูแม่แม่ดูลูก ต่างพันผูกเพียงว่าเลือดตาไหล
สะอื้นรำ่าอำาลาด้วยอาลัย แล้วแข็งใจจากนางตามทางมา
4. เห็นสายหยุดหยุดยืนค่อยชื่นจิต พี่ยิ่งคิดถึงนุชที่สุดหมาย
ได้หยุดชมหยุดเชยเคยสบาย ทั้งหยุดก่ายหยุดกอดแม่ยอดรัก
90. ข้อใดไม่ใช่ขนบของนิราศ
1. ปางอโศกใครไม่โศกพี่โศกจัด โทมนัสกลัดใจในไพรเขียว
เดิมปางโศกโศกยิ่งโศกจริงเจียว ตั้งตาเหลียวหานางมากลางไพร
2. ดุกชะโดเทโพทั้งตะเพียน สวายเวียนว่ายหาปลากระหมัน
อีกปลาหมอรอรักษาปลาไส้ตัน ปลานวลจันทร์คิดนวลเจ้ายิ่ง
เศร้าใจ
3. น่าเอ็นดูรู้ดีอารีอารอบ ทำาความชอบช่วยพยุงให้สูงศักดิ์
มาบรรลัยไปยังกำาลังรัก สงสารนักนางพรำ่ารำ่าโศกี
4. อันวิสัยในโลกโชคมนุษย์ ไม่สิ้นสุดเรื่องรักสมัครสมาน
ขอฝากจิตพิสมัยอาลัยลาน ไว้วิมานในกระดาษที่วาดเอย
91. คำาที่ขีดเส้นใต้ในข้อใดไม่ใช่การสร้างสำานวนโวหารของกวี
1. นำ้าตกพรายสุหร่ายแก้ว ปฐมกัลป์ 2. พลันอุษาโยคเริ่มแย้ม
วิสูตรสรวง
3. พฤกษาสง่าเสกสรร ส่วยทิพย์ 4. สวยป่วยปาก
เป็นใบ้ นิ่งไข้สุนทรีย์
92. ข้อใดแสดงถึงแรงบันดาลใจต่างจากข้ออื่น
1. เวลาคำ่านำ้าเค็มก็พร่างพร่าง แวมสว่างวาววับระยับฉาย
2. ครั้นยามยลต้นลำาพูดูหิ่งห้อย เหมือนเพชรพลอยพรายพร่าง
สว่างไสว
3. เสลารายพรายพริบระยิบระยับ ดูแวววับดังจะพรากจากไพหาร
4. ดูแดนดาวเปล่าเปลี่ยวเสียวสะดุ้งจนจวนรุ่งรางรางสว่างไสว
93. ข้อใดไม่มีสัมผัสเลือน
1. จันทร์แรมแจ่มเวิ้งหาว ลมโลมเร้าแมกมิ่งไม้
2. งามเลิศแล้วโลกมนุษย์ วิสุทธิ์ดุจฟากฟ้าฝากฝัน
3. อัญเชิญชวนมวลแมน จบแว่นแคว้นแมนสรวงสวรรค์
4. ศิขรชะง่อนเงื้อมฟ้า เดือนดาริกามาชะอ้อน
94. โคลงบาทใดเล่นสัมผัสได้ซับซ้อนที่สุด
QUOTA CMU’ 51.
01 ภาษาไทย.
(19)
01 ภาษาไทย.
1. อ้อมพรายฝันคลื่นเพ้อ ภาษา 2. แลดาวเดือนดาษห้อง
เวหา
3. พฤกษาสูงเสียดไม้ เสยเมฆ 4. นางแย้มดุจแม่แย้ม
ไรทนต์
95. ข้อใดมีสัมผัสแบบ “ลมหวนป่วนกระซิบ เมฆสั่ง”
1. ตะวันฉายร่ายมนตร์ใน เพลงหนึ่ง 2. วูบไวใฝ่กระสัน โศก
เปล่า
3. เจียระไนไรทรายอนันต์ นวลนิ่ม 4. นาทีนี่ชีวัน เกิดว่าง
96. โคลงบาทใดกินนัยความหมายได้กว้างที่สุด
1. หวานวิหคเหินเกริ่นร้อง ระงมดง 2. นกหกจับแมกไม้
เรียงรัน
3. ระวังไพรเพรียกพรำ่าพร้อง ระวังพฤกษ์ 4. กาจับกาฝาก
ต้น ตุมกา
อ่านคำาประพันธ์ต่อไปนี้แล้วตอบคำาถามข้อ 97 - 98
เสื้อแสงแต่งประกวดกันหนักหนา สร้อยตาบเต็มประดาน่า
ฉิบหาย
เพราะมั่งมีศรีศุขสนุกสบาย ไม่ร้อนรนขวนขวาย
เหมือนก่อนกาล
97. ข้อใดเป็นนำ้าเสียงของกวี
1. ชื่นชม 2. ลำาพอง 3. ประชด 4. เสียดสี
98. ข้อใดเป็นจุดเด่นของคำาประพันธ์
1. การสรรคำา 2. จังหวะกลอนสมำ่าเสมอ
3. พลังอารมณ์ 4. การเล่นสัมผัสในแพรวพราว
99. ข้อใดแสดงถึงปณิธานของกวี
1. ใดผิดเชอญช่วยรื้อ รอนเสีย 2. สารสยามภาค
พร้อง กลกานท นี้ฤา
ใดชอบกาลเชอญเกลา กล่าวเข้า คือคู่มาลาสวรรค ช่อ
ช้อย
3. เปนสร้อยโสภิศพ้น อุปรมา 4. จงคงคู่กัลปา
ยืนโยค
โสรมสรวงศิรธิรางค เวี่ยไว้ หายแผ่นดินฟ้าไหม้
อย่าหาย
100. ข้อความต่อนี้เป็นคำาประพันธ์ชนิดใด
QUOTA CMU’ 51.
01 ภาษาไทย.
(20)
01 ภาษาไทย.
“เดินทางไปต่อสู้ใต้แผ่นฟ้าบนภูเขาอันตรายรอบตัว เรานักรบแก่กรำา
สงคราม ปัง...เสียงปืนก้องน่าเกรงขามน่ากลัวทุกทุกยามทุกทุก
ย่าน...อันตราย”
1. กาพย์ฉบัง 2. กาพย์ขับไม้
3. กาพย์ยานี 4. กาพย์สุรางคนางค์
QUOTA CMU’ 51.
01 ภาษาไทย.
(21)

Mais conteúdo relacionado

Semelhante a ภาษาไทย

Random 120201220241-phpapp01
Random 120201220241-phpapp01Random 120201220241-phpapp01
Random 120201220241-phpapp01Bigbang' Gri
 
ข้อสอบโควตา มช วิชาภาษาไทย ปี 2551
ข้อสอบโควตา มช วิชาภาษาไทย ปี 2551ข้อสอบโควตา มช วิชาภาษาไทย ปี 2551
ข้อสอบโควตา มช วิชาภาษาไทย ปี 2551Atthaphon45614
 
ข้อสอบ ภาษาไทย
ข้อสอบ ภาษาไทย ข้อสอบ ภาษาไทย
ข้อสอบ ภาษาไทย zweetiiz
 
01 ภาษาไทย
01 ภาษาไทย01 ภาษาไทย
01 ภาษาไทยWiranchana Tama
 
1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า
1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า
1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้าKruthai Kidsdee
 
โควต้า มช. 51 -ภาษาไทย.
โควต้า มช. 51 -ภาษาไทย.โควต้า มช. 51 -ภาษาไทย.
โควต้า มช. 51 -ภาษาไทย.Tortortor Gozillaa
 
แบบรายงานผลการปฏิบัติงานและพัฒนาตนเองของกมลรัตน์ ฉิมพาลี
แบบรายงานผลการปฏิบัติงานและพัฒนาตนเองของกมลรัตน์ ฉิมพาลีแบบรายงานผลการปฏิบัติงานและพัฒนาตนเองของกมลรัตน์ ฉิมพาลี
แบบรายงานผลการปฏิบัติงานและพัฒนาตนเองของกมลรัตน์ ฉิมพาลีกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Sasikarn Baibou
 
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่องกรณีตัวอย่าง ม.3แท้งลูก
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่องกรณีตัวอย่าง ม.3แท้งลูกใบกิจกรรมที่ 1 เรื่องกรณีตัวอย่าง ม.3แท้งลูก
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่องกรณีตัวอย่าง ม.3แท้งลูกtassanee chaicharoen
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอมAreeya Palee
 
พัฒนาหลักสูตร ศูนย์กลุ่ม
พัฒนาหลักสูตร ศูนย์กลุ่มพัฒนาหลักสูตร ศูนย์กลุ่ม
พัฒนาหลักสูตร ศูนย์กลุ่มkanidta vatanyoo
 

Semelhante a ภาษาไทย (20)

Random 120201220241-phpapp01
Random 120201220241-phpapp01Random 120201220241-phpapp01
Random 120201220241-phpapp01
 
01 ภาษาไทย
01 ภาษาไทย01 ภาษาไทย
01 ภาษาไทย
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
thai51
thai51thai51
thai51
 
QUOTA CMU '52
QUOTA CMU '52QUOTA CMU '52
QUOTA CMU '52
 
ข้อสอบโควตา มช วิชาภาษาไทย ปี 2551
ข้อสอบโควตา มช วิชาภาษาไทย ปี 2551ข้อสอบโควตา มช วิชาภาษาไทย ปี 2551
ข้อสอบโควตา มช วิชาภาษาไทย ปี 2551
 
Thai51
Thai51Thai51
Thai51
 
ข้อสอบ ภาษาไทย
ข้อสอบ ภาษาไทย ข้อสอบ ภาษาไทย
ข้อสอบ ภาษาไทย
 
tgggrb
tgggrbtgggrb
tgggrb
 
01 ภาษาไทย
01 ภาษาไทย01 ภาษาไทย
01 ภาษาไทย
 
1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า
1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า
1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า
 
โควต้า มช. 51 -ภาษาไทย.
โควต้า มช. 51 -ภาษาไทย.โควต้า มช. 51 -ภาษาไทย.
โควต้า มช. 51 -ภาษาไทย.
 
ภาษาไทย โควตา51
ภาษาไทย โควตา51ภาษาไทย โควตา51
ภาษาไทย โควตา51
 
Work1
Work1Work1
Work1
 
แบบรายงานผลการปฏิบัติงานและพัฒนาตนเองของกมลรัตน์ ฉิมพาลี
แบบรายงานผลการปฏิบัติงานและพัฒนาตนเองของกมลรัตน์ ฉิมพาลีแบบรายงานผลการปฏิบัติงานและพัฒนาตนเองของกมลรัตน์ ฉิมพาลี
แบบรายงานผลการปฏิบัติงานและพัฒนาตนเองของกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
01 ภาษาไทย
01 ภาษาไทย01 ภาษาไทย
01 ภาษาไทย
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่องกรณีตัวอย่าง ม.3แท้งลูก
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่องกรณีตัวอย่าง ม.3แท้งลูกใบกิจกรรมที่ 1 เรื่องกรณีตัวอย่าง ม.3แท้งลูก
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่องกรณีตัวอย่าง ม.3แท้งลูก
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
พัฒนาหลักสูตร ศูนย์กลุ่ม
พัฒนาหลักสูตร ศูนย์กลุ่มพัฒนาหลักสูตร ศูนย์กลุ่ม
พัฒนาหลักสูตร ศูนย์กลุ่ม
 

Mais de Pukkawin Ngamdee

ความรู้เรื่อง Blog
ความรู้เรื่อง Blogความรู้เรื่อง Blog
ความรู้เรื่อง BlogPukkawin Ngamdee
 
สังคมศึกษา
สังคมศึกษาสังคมศึกษา
สังคมศึกษาPukkawin Ngamdee
 
ข้อสอบ O-NET วิชาสังคมศึกษา ชั้น ม.6
ข้อสอบ O-NET วิชาสังคมศึกษา ชั้น ม.6ข้อสอบ O-NET วิชาสังคมศึกษา ชั้น ม.6
ข้อสอบ O-NET วิชาสังคมศึกษา ชั้น ม.6Pukkawin Ngamdee
 
ใบงานที่ 1 แบบสำรวจและประวัติ
ใบงานที่ 1 แบบสำรวจและประวัติใบงานที่ 1 แบบสำรวจและประวัติ
ใบงานที่ 1 แบบสำรวจและประวัติPukkawin Ngamdee
 

Mais de Pukkawin Ngamdee (9)

ความรู้เรื่อง Blog
ความรู้เรื่อง Blogความรู้เรื่อง Blog
ความรู้เรื่อง Blog
 
สังคมศึกษา
สังคมศึกษาสังคมศึกษา
สังคมศึกษา
 
วิทย์1-55
วิทย์1-55วิทย์1-55
วิทย์1-55
 
Eng มช.
Eng มช.Eng มช.
Eng มช.
 
Math cmu 56 3.4
Math cmu 56 3.4Math cmu 56 3.4
Math cmu 56 3.4
 
Math cmu 56 1.2
Math cmu 56 1.2Math cmu 56 1.2
Math cmu 56 1.2
 
Math cmu 56 1 2
Math cmu 56 1 2Math cmu 56 1 2
Math cmu 56 1 2
 
ข้อสอบ O-NET วิชาสังคมศึกษา ชั้น ม.6
ข้อสอบ O-NET วิชาสังคมศึกษา ชั้น ม.6ข้อสอบ O-NET วิชาสังคมศึกษา ชั้น ม.6
ข้อสอบ O-NET วิชาสังคมศึกษา ชั้น ม.6
 
ใบงานที่ 1 แบบสำรวจและประวัติ
ใบงานที่ 1 แบบสำรวจและประวัติใบงานที่ 1 แบบสำรวจและประวัติ
ใบงานที่ 1 แบบสำรวจและประวัติ
 

ภาษาไทย

  • 1. 01 ภาษาไทย. การสอบคัดเลือกนักเรียนในเขตพัฒนาภาคเหนือเพื่อ เข้าศึกษาในมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยเอกชน ปีการศึกษา 2551 ข้อสอบวิชา 01 ภาษาไทย สอบวันเสาร์ที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2550 เวลา 12.30 – 14.30 น. ชื่อ – นามสกุล...................................................................................เลขที่นั่ง สอบ.................................................. คำาอธิบาย 1. ข้อสอบฉบับนี้มีทั้งหมด 100 ข้อ รวม 21 หน้า 2. ข้อสอบฉบับนี้มีคะแนนเต็ม 100 คะแนน 3. การตอบข้อสอบ ให้ตอบลงในกระดาษคำาตอบเท่านั้น 4. ข้อสอบทุกข้อเป็นข้อสอบแบบเลือกตอบ แต่ละข้อจะมีคำาตอบให้เลือก 4 คำา ตอบ คือ 1, 2, 3, 4, ให้พิจารณา เลือกคำาตอบที่เห็นว่า ถูกต้องที่สุดหรือเหมาะสมที่สุดเพียงคำาตอบเดียวแล้ว ใช้ดินสอดำา 2B หรือดำากว่าระบายใน วงกลมที่ต้องการในกระดาษคำาตอบ ดังตัวอย่าง ตัวอย่าง (0) ข้อใดคือพยัญชนะไทยลำาดับ สุดท้าย 1. อ 2. ฮ 3. ห 4. ฬ การตอบ ข้อนี้ คำาตอบที่ถูกคือ ตัวเลือก 2 จึงไปตอบตัวเลือกที่ 2 ในกระดาษ คำาตอบ ดังนี้ 5. ถ้าต้องการเปลี่ยนคำาตอบให้ใช้ยางลบ ลบให้สะอาด แล้วจึงระบายวงกลม ใหม่ที่ต้องการ 6. ห้ามนำาข้อสอบและกระดาษคำาตอบออกจากห้องสอบโดยเด็ดขาด 7. ก่อนตอบข้อสอบให้ผู้เข้าสอบเขียน ชื่อและเลขที่นั่งสอบให้สมบูรณ์ลงใน กระดาษคำาตอบ เมื่ออ่านเข้าใจดีแล้ว ให้ลงมือทำาข้อสอบได้ QUOTA CMU’ 51. 01 ภาษาไทย. (1)
  • 2. 01 ภาษาไทย. ข้อสอบฉบับนี้ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สงวนสิทธิ์ตาม กฎหมาย ข้อสอบคัดเลือกนักเรียนเข้าศึกษาต่อในมหาวิทยาลัย เชียงใหม่ วิชา 01 ภาษาไทย ปีการศึกษา 2551 1. ข้อใดมีเสียงพยัญชนะควบกลำ้ามากที่สุด 1. ครอบจักรวาล วิกฤตการณ์ 2. ปริศนาอักษรไขว้ คฤหบดี 3. พระราชกฤษฎีกา พลานามัย 4. มาตรฐานเครื่องยนต์ ปริยัติธรรม 2. ข้อใดมีเสียงวรรณยุกต์ครบ 5 เสียง 1. อุตสาหกรรมเกษตรภายในประเทศ 2. ผลสำารวจ ทรัพยากรธรรมชาติ 3. สาเหตุการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ 4. มูลนิธิวิทยาศาสตร์ ภาคกลาง 3. ในข้อความต่อไปนี้ คำาที่มีความสั้น – ยาวของเสียงสระไม่ตรงกับรูปสระมี กี่คำา “วันเสาร์ตอนเช้า แดงจะนำาผลไม้ไปเยี่ยมนาย บ้านท่านอยู่ริมนำ้า ทาง ทิศใต้ของวัดโบราณ” 1. 3 2. 4 3. 5 4. 6 อ่านข้อความต่อไปนี้แล้วตอบคำาถามข้อ 4 – 5 “ที่พักที่มีพื้นที่จำากัดเช่นห้องเช่า อาจมีปัญหาการจัดเก็บหนังสือและ นิตยสารต่าง ๆ ผู้ที่อยู่อาศัย จึงต้องมีกลวิธีในการจัดมุมอ่านหนังสือให้เหมาะ สม อาจพยายามหามุมที่ถูกใจสำาหรับนอนหรือนั่งอ่าน หนังสือ....” 4. พยางค์สุดท้ายของคำาหรือกลุ่มคำาที่ขีดเส้นใต้มีพยางค์ตายกี่พยางค์ 1. 1 2. 2 3. 3 4. 4 5. คำาที่ขีดเส้นใต้เป็นคำาประสมกี่คำา 1. 3 2. 4 3. 5 4. 6 QUOTA CMU’ 51. 01 ภาษาไทย. (2)
  • 3. 01 ภาษาไทย. อ่านข้อความต่อไปนี้แล้วตอบคำาถามข้อ 6 - 7 “พืชตระกูลป๊อปปี้ซึ่งเกี่ยวข้องกับฝิ่น ซึ่งเป็นสารเสพติดนั้นมีมากมาย หลายพันธุ์ ดอกป๊อปปี้ที่ประชาชนทั่วไปรู้จักเป็นดอกป๊อปปี้สีแดงเป็น สัญลักษณ์ของทหารผ่านศึกเป็นการระลึกถึงทหารฝ่ายสัมพันธมิตรใน สงครามโลก ครั้งที่ 1 ที่ต้องสูญเสียชีวิตไปในการรบที่ท้องทุ่งทางตอนใต้ของประเทศ เบลเยี่ยม ซึ่งกำาลังมีดอกป๊อปปี้สีแดงบานสะพรั่งเต็มท้องทุ่ง ที่ประเทศญี่ปุ่น ป๊อปปี้กำาลังเป็นวัชพืชที่ทำาให้เจ้าหน้าที่สาธารณสุขที่ดูแลเรื่องยาเสพติดต้อง ปวดเศียรเวียนเกล้า” 6. คำาที่ขีดเส้นใต้เป็นคำาซ้อนเพื่อความหมายกี่คำา 1. 3 2. 4 3. 5 4. 6 7. คำาที่ขีดเส้นใต้เป็นคำาสมาสกี่คำา 1. 3 2. 4 3. 5 4. 6 8. ข้อความต่อไปนี้มีคำากริยากี่คำา “หมีขาวมีถิ่นกำาเนิดบริเวณคาบสมุทรอาร์กติกรอบ ๆ ขั้วโลกเหนือ ทั้ง ฝั่งประเทศรัสเซีย สแกนดิเนเวีย และทวีปอเมริกาเหนือ” 1. 1 2. 2 3. 3 4. 4 อ่านข้อความต่อไปนี้แล้วตอบคำาถามข้อ 9 - 11 “ป๊อปปี้เป็นไม้เมืองหนาวที่สามารถขึ้นและขยายพันธุ์ได้ง่ายตาม ธรรมชาติ ในช่วงฤดูใบไม้ผลิเมื่อเริ่มได้รับนำ้าฝน เมล็ดของมันที่ กระจัดกระจายอยู่ในดิน ก็จะงอกงามและให้ดอกบานเต็มท้องทุ่งในเวลาไม่กี่ เดือนจึงนิยมปลูกเป็นไม้ประดับ...” 9. คำาที่ขีดเส้นใต้เป็นคำาวิเศษณ์กี่คำา 1. 1 2. 2 3. 3 4. 4 10. คำาที่ขีดเส้นใต้เป็นคำาบุพบทกี่คำา 1. 1 2. 2 3. 3 4. 4 11. คำาที่ขีดเส้นใต้เป็นคำาสันธานกี่คำา 1. 1 2. 2 3. 3 4. 4 12. ข้อใดเป็นประโยค 1. บริษัทผู้ผลิตยาแก้หวัดลดไข้สำาหรับเด็กเล็ก 2. โรงงานนำ้าตาลเขตอำาเภอเมืองขยายกิจการ 3. สำานักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ 4. โครงการเพื่อสำารวจแหล่งทรัพยากรธรรมชาติใต้ทะเล QUOTA CMU’ 51. 01 ภาษาไทย. (3)
  • 4. 01 ภาษาไทย. 13. ข้อใดเป็นประโยคความเดียว 1. สมุนไพรหมากจองช่วยเสริมภูมิคุ้มกันของร่างกาย 2. รัฐบาลพยายามเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันทางธุรกิจกับต่างประเทศ 3. บริษัทรถยนต์ทุกบริษัทเร่งผลิตรถประหยัดนำ้ามัน 4. คณะอุตสาหกรรมเกษตรได้จัดงานมหกรรมบรรจุภัณฑ์ 14. ประโยคใดมีโครงสร้าง “ประธาน + กริยา + กริยา” อย่างชัดเจนที่สุด 1. ปลาร้าดิบอันตราย 2. รถยนต์ใหม่แพง 3. ขนมสาลี่นุ่มหอม 4. กล้วยไม้จิ๋วสวย 15. ประโยคใดมีโครงสร้างต่างจากข้ออื่น 1. ธนาคารพัฒนาบริการประชาชน 2. เลขานุการจดรายงาน การปฏิบัติงาน 3. สมาคมเลื่อนประชุมสมาชิก 4. เยาวชนร่วมสรุป ปัญหาสังคม 16. ประโยคใดมีโครงสร้างต่างจากข้ออื่น 1. นำ้าเซาะดินถล่ม 2. สุนัขไล่แมวหนี 3. ฝนตกถนนลื่น 4. พี่ชนน้องหกล้ม 17. ประธานของคำากริยาที่ขีดเส้นใต้ในข้อใดไม่ใช่ “ที่นี่” 1. ที่นี่รับสมัครพนักงาน 2. ที่นี่รับตกแต่งสวน 3. ที่นี่รับขนย้ายของ 4. ที่นี่รับซื้อของเก่า 18. ข้อใดไม่มีส่วนขยายกริยา 1. รถประจำาทางขึ้นราคาค่าโดยสารตามมติคณะกรรมการ 2. กัปตันของเครื่องบินผ่านการเป็นนักบินที่สองนานแปดปี 3. มหาวิทยาลัยในอิสราเอลซื้อหุ่นยนต์พนักงานต้อนรับมาจากญี่ปุ่น 4. ผู้บริโภคเปรียบเทียบราคาสินค้าทางการเกษตรของชุมชน 19. ข้อความที่ขีดเส้นใต้ในข้อใดเป็นกรรมของคำากริยา 2 คำา อย่างชัดเจน ที่สุด 1. กลุ่มพิทักษ์สิทธิผู้บริโภคตรวจพบสารตะกั่วปริมาณสูงในลิปสติก 2. นักวิจัยของโรงพยาบาลอังกฤษค้นพบสารต้านมะเร็งลำาไส้ในขมิ้น 3. สมาชิกชมรมพืชสมุนไพรนัดพบกลุ่มเกษตรกรที่ศูนย์สุขภาพ 4. นักโบราณคดีขุดพบภาพวาดโบราณบริเวณตอนเหนือของซีเรีย 20. คำาคู่ใดอาจมีความหมายต่างกัน 1. จุนเจือ เจือจุน 2. พัวพัน พันพัว QUOTA CMU’ 51. 01 ภาษาไทย. (4)
  • 5. 01 ภาษาไทย. 3. กลิ้งกลอก กลอกกลิ้ง 4. เชยชม ชมเชย 21. คำาที่ขีดเส้นใต้ในข้อใดมีความหมายต่างจากความหมายในพจนานุกรม มากที่สุด 1. เขาเป็นคนมีสี 2. เขาเป็นคนมีเงิน 3. เขาเป็นคนมีฝีมือ 4. เขาเป็นคนมีมารยาท 22. คำาที่ขีดเส้นใต้คู่ใดมีความหมายเกี่ยวข้องกันต่างจากคู่อื่น 1. อาหารนี้ รสชาติอร่อยนะ 2. ฤดูหนาวนี้ ดอกไม้ สวยนะ 3. แมวตัวนี้ สมองไวนะ 4. เด็กคนนี้ ความสามารถสูง นะ 23. ราชาศัพท์ข้อใดผิด 1. คณะบุคคลทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายรถเข็นไฟฟ้าอัตโนมัติแด่พระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว 2. คณะแพทย์ผู้ถวายการรักษาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ถวายการ ทดสอบพระกล้ามเนื้อพระวรกาย 3. วันที่ 5 ธันวาคม ศกนี้ จะมีการจัดพื้นที่ให้ประชาชนเข้าเฝ้าทูล ละอองธุลีพระบาทรับเสด็จฯ พระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว 4. พระอาการโดยทั่วไปของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวดีขึ้น เป็นที่ พอใจของคณะแพทย์ฯ เสวยพระกระยาหารได้มากขึ้น 24. ข้อใดใช้คำากริยาไม่เหมาะสม 1. เขาพูดหว่านล้อมให้เพื่อนตกลงซื้อที่ดินของเขา 2. เขาพูดเปรยขึ้นมาท่ามกลางผองเพื่อนว่าเขาจะไปทำามาหากินต่างแดน 3. เขาพูดโผงผางไม่เกรงใจใครทำาให้คนหลายคนไม่ชอบเขา 4. เขาพูดอ้อนวอนให้คนในสังคมหันมาสามัคคีกันเพื่อสันติสุขของชาติ 25. ข้อใดใช้สำานวนผิด 1. วัยรุ่นเกเร 2 กลุ่มกำาลังยกพวกตีกันอยู่หน้าหมู่บ้าน เหตุการณ์หน้าสิ่ว หน้าขวานเช่นนี้อย่าปล่อยให้เด็ก ๆ ไปหน้าหมู่บ้านตอนนี้นะ 2. พระเอกกำาลังต่อสู้กับโจร ยังไม่แพ้ชนะกัน เหตุการณ์กำาลังเข้าไต้เข้า ไฟ ภาพยนตร์โทรทัศน์เรื่องนี้ก็จบตอนไปเสียก่อน ต้องคอยดูต่อวันศุกร์ หน้า 3. แดงประกาศในที่ประชุมชาวบ้านว่าตนเองเก่งกล้า สามารถปราบโจรที่ กำาลังก่อความเดือดร้อนแก่ชาวบ้านในหมู่บ้านขณะนี้ได้ แต่ที่จริงแดงไม่ สามารถทำาได้ กล่าวได้ว่าการพูดของแดงเป็นเพียงหมาเห่า ใบตองแห้ง เท่านั้น QUOTA CMU’ 51. 01 ภาษาไทย. (5)
  • 6. 01 ภาษาไทย. 4. เขาเป็นสมาชิกพรรคการเมือง 2 พรรคซึ่งมีนโยบายต่างกัน เพื่อว่า ในอนาคตถ้าพรรคใดมีความรุ่งเรืองทางการเมืองน้อยกว่าก็จะผละจาก พรรคนั้นไปสังกัดอีกพรรคหนึ่ง การกระทำาเช่นนี้เรียกว่าเหยียบเรือสอง แคม อ่านข้อความต่อไปนี้ แล้วตอบคำาถามข้อ 26 - 29 “ในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 15 ได้เริ่มมีการปฏิรูประบบกฎหมาย จารีตประเพณี เนื่องจากกฎหมายที่เกิดจากคำาพิพากษาของศาลนั้นเป็นสิ่งที่ ค่อนข้างจะตายตัว เมื่อเวลาล่วงเลยไปสังคมก็ย่อมเปลี่ยนไป โดยเฉพาะใน ระยะนั้นสังคมอังกฤษได้เปลี่ยนไปจากเดิมมาก เริ่มมีการพัฒนาการค้าการ พาณิชย์ จึงทำาให้เกิดปัญหาที่ว่าศาลไม่อาจจะหากฎหมายมาใช้ในการตัดสิน คดีให้เกิดความยุติธรรมได้ ความยุติธรรมในสมัยหนึ่งนั้นอาจจะไม่ยุติธรรมใน อีกสมัยหนึ่งก็ได้” 26. ข้อใดเป็นประโยคใจความสำาคัญ 1. กฎหมายที่เกิดจากคำาพิพากษาของศาลนั้นเป็นสิ่งที่ค่อนข้างจะตายตัว 2. ความยุติธรรมในสมัยหนึ่งนั้นอาจจะไม่ยุติธรรมในอีกสมัยหนึ่งก็ได้ 3. ช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 15 ได้เริ่มมีการปฏิรูประบบกฎหมายจารีต ประเพณี 4. เมื่อเวลาล่วงเลยไปสังคมก็ย่อมเปลี่ยนไปโดยเฉพาะในสังคมอังกฤษ 27. ข้อใดเป็นวิธีการเสนอข้อมูลของผู้เขียน 1. กล่าวถึงผลก่อนสาเหตุ 2. ให้รายละเอียดก่อนสรุปท้าย 3. อธิบายความแล้วตามด้วยวินิจ 4. ชี้ถึงปัญหาพร้อม แจกแจงที่มา 28. ข้อใดไม่ใช่วิธีการขยายความของผู้เขียน 1. ยกตัวอย่าง 2. แสดงเหตุและผล 3. แสดงรายละเอียด 4. จำากัดความคิด 29. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง 1. เวลาสามารถเปลี่ยนแปลงทุกสิ่ง 2. ปัญหาอยู่ที่คำาพิพากษาล้า สมัย 3. ประเทศอังกฤษจำาเป็นต้องปฏิรูปกฎหมาย 4. เมื่อสังคมเปลี่ยน กฎหมายก็ต้องเปลี่ยน อ่านข้อความต่อไปนี้ แล้วตอบคำาถามข้อ 30 - 34 เกล้ากระผมคือศิษย์ชื่อทิดร้าย เออเอ็งหายหน้าไปอยู่ไหนหวา รับประทานเคราะห์กรรมต้องจำาลา ไปอยู่ป่าสวนเรือกกิน เผือกมัน QUOTA CMU’ 51. 01 ภาษาไทย. (6)
  • 7. 01 ภาษาไทย. เออเอ็งค่อยวัฒนาฤาหาหือ หายหน้าชื่อกูคิดว่าเอ็ง อาสัญ ที่จนมีรับประทานก็ปานกัน ด้วยผมนั้นเลขชาตาเป็น กาลี ได้แต่ส้มหมากหยาบหยาบมากราบเท้า เป็นของชาวคนขัดน่าบัดสี ถ้าแม้นคล่องต้องตำาราชาตาดี คงจะมีของถวายหลาย ชนิด 30. บุรุษที่สองในคำาประพันธ์นี้ตรงกับข้อใด 1. ครูผู้ทรงคุณอันประเสริฐ 2. กษัตริย์ผู้เป็นเลิศทุกสถาน 3. พระสงฆ์ผู้ทรงศีลสมาทาน 4. ขุนนางว่าราชการ ของแผ่นดิน 31. คำาที่ขีดเส้นใต้หมายถึงข้อใด 1. อาชีพ 2. ชุมชน 3. วิถีชีวิต 4. ฐานะ 32. ข้อใดเป็นวิธีการนำาเสนอของกวี 1. ให้ตัวละครพูดโต้ตอบกัน 2. ใช้ภาษาสนทนาระดับชาว บ้าน 3. เลือกคำาศัพท์สามัญที่ใช้กันทั่วไป 4. สร้างฉากประกอบ เหมาะกับเนื้อเรื่อง 33. ข้อใดเป็นทัศนะของตัวละคร 1. ชื่อไม่เป็นมงคลย่อมนำาพาชีวิตให้ตกตำ่า 2. ใช้ภาษา สนทนาระดับชาวบ้าน 3. เลือกคำาศัพท์สามัญที่ใช้กันทั่วไป 4. สร้างฉากประกอบ เหมาะกับเนื้อเรื่อง 34. คำาประพันธ์นี้มีคุณค่าน้อยที่สุดในด้านใด 1. การสร้างจินตนาการ 2. ความไพเราะของคำา และเสียง 3. ภาพสะท้อนทางสังคม 4. การเรียบเรียงตาม ฉันทลักษณ์ อ่านข้อความต่อไปนี้ แล้วตอบคำาถามข้อ 35 – 37 “ความหิวกำาเนิดขึ้นก่อนความอิ่ม ในเวลาซึ่งพอเหมาะมันทำาให้อาหาร ทุกชนิดเลิศรสกว่าปกติ สำาหรับเวลาซึ่งยาวนานกว่านั้น คนหิวอาจกลายเป็น ขโมย เป็นฆาตกรหรืออาจก่อวินาศกรรมใหญ่หลวง เพื่อน่องไก่สักชิ้น คนจร รู้จักความหิวดี เริ่มแรกคือทุกข์อันไม่จบสิ้น ต่อมากลายเป็นเพื่อนซึ่งสนิทสนม คุ้นเคยและแยกจากกันประเดี๋ยวประด๋าวเท่านั้น” 35. ข้อใดเป็นความคิดของผู้เขียน QUOTA CMU’ 51. 01 ภาษาไทย. (7)
  • 8. 01 ภาษาไทย. 1. ความหิวเป็นสิ่งที่น่ากลัว 2. ความหิวทำาให้อาหารอร่อย ขึ้น 3. ความหิวไม่เข้าใครออกใคร 4. ความหิวเป็นเพื่อน ของคนยาก 36. ข้อใดไม่ใช่วิธีการส่งสารของผู้เขียน 1. ยกตัวอย่าง 2. ลำาดับความ 3. เปรียบเทียบ 4. ผูกเงื่อนไข 37. คำาคู่ใดไม่มีความสัมพันธ์โดยตรงกับความหิว 1. เวลา พฤติกรรม 2. โอกาส ความทุกข์ 3. ความอร่อย อาหาร 4. ความรู้สึก คนโซ 38. คำาประพันธ์ต่อไปนี้มีโวหารภาพพจน์กี่แห่ง คราวนั้นเมื่อตามไปกลางป่า หน้าดำาเหมือนหนึ่ง ทามินหม้อไหม้ ชนะความงามหน้าดังเทียนชัย เขาฉุดไปเหมือนลงทะเล ลึก 1. 2 2. 3 4. 4 4. 5 อ่านข้อความต่อไปนี้ แล้วตอบคำาถามข้อ 39 - 42 ดื่มดำ่านำ้าหินซับ ตามได้จับกบกุ้งหอย ผักกูดกำาน้อยน้อย กับดอกเห็ดเลือกเด็ดมา เรียงหินสามเส้าไว้ ก้มเป่าไฟเตรียมหุงหา ตั้งหม้อรอเวลา ร่วมอิ่มหนำาในคำ่าคืน 39. ข้อใดไม่ปรากฏในบทกวี 1. วิธีชีวิต 2. ธรรมชาติ 3. ความรื่นรมย์ 4. ความสิ้นหวัง 40. กวีใช้โวหารชนิดใด QUOTA CMU’ 51. 01 ภาษาไทย. (8)
  • 9. 01 ภาษาไทย. 1. บรรยาย 2. พรรณนา 3. อุปมา 4. สาธก 41. ข้อใดเป็นการวิจารณ์ 1. กล่าวถึงอาหารที่หาได้ตามชนบท 2. ให้ภาพการใช้ชีวิตที่เรียบง่ายของคนพื้นถิ่น 3. สร้างจินตนาการจากการใช้คำาสามัญแต่สื่ออารมณ์ 4. แสดงความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับธรรมชาติ 42. จากคำาประพันธ์ข้างต้น ข้อใดอนุมานความได้บริบูรณ์ 1. ผู้หญิงกับภาระหน้าที่ 2. ชีวิตประจำาวันของ ชาวบ้านป่า 3. ความสุขอยู่ที่ความพอใจ 4. ความงาม ความสุนทรีย์และ ชีวิต อ่านข้อความต่อไปนี้ แล้วตอบคำาถามข้อ 43 - 44 “ผู้มีปัญญามักไม่ประมาท เมื่อคนส่วนมากพากันประมาท และตื่นเมื่อ คนส่วนมากพากันหลับอยู่ เขาจึงทิ้งช่วงคนเหล่านั้นไปไกล เหมือนม้าฝีเท้า เร็ววิ่งเลยม้าแกลบฉะนั้น” 43. คำาที่ขีดเส้นใต้หมายถึงข้อใด 1. ม้ากินแกลบ 2. ม้าพันธุ์เล็ก 3. ม้าแข่ง 4. ม้าพันธุ์ เทศ 44. ข้อใดกล่าวถูกต้อง 1. ผู้มีปัญญามักตื่นตัวตลอดเวลา 2. ผู้มีปัญญามีความ สามารถในการแข่งขัน 3. ผู้มีปัญญาพลิกวิกฤตเป็นโอกาส 4. ผู้มีปัญญาไตร่ตรองอย่าง รอบคอบเสมอ อ่านข้อความต่อไปนี้ แล้วตอบคำาถามข้อ 45 - 46 อันช่างหม้อตีหม้อไม่หวังฉาน ตีเอางานงามใช้มิให้หนา ดั่งอาจารย์ตีศิษย์ให้วิทยา มิใช่ว่าจะประหารให้ไป อบาย 45. ข้อใดเป็นเจตนาของผู้แต่ง 1. เปรียบให้เข้าใจ 2. ให้ข้อคิด 3. แสดงทัศนะ 4. โน้มน้าวใจ 46. คำาที่ขีดเส้นใต้มีความหมายตรงกับข้อใด 1. แตก 2. บุบ 3. ร้าว 4. บิ่น QUOTA CMU’ 51. 01 ภาษาไทย. (9)
  • 10. 01 ภาษาไทย. 47. บทกวีต่อไปนี้มีข้อบกพร่องด้านใด อย่าให้เหมือนใบศรีที่เบิกขวัญ พอเสร็จพลันเป็นใบตองนะน้องเอ๋ย ถนอมหน่อยอย่าลอยร้างไปอย่างเคย เก็บไว้เชยเมื่อชำ้าเช็ดนำ้าตา 1. จังหวะ 2. สัมผัส 3. คำา 4. วรรณยุกต์ 48. ข้อใดเป็นส่วนสรุปของเรียงความ 1. ความงาม ความปิติเร่งเร้าพลังแห่งการสร้างสรรค์ คุณค่าทางจิตใจ เป็นรากฐานแห่งชีวิตที่แท้ 2. ความรักทำาให้มนุษย์มีความสัมพันธ์กับสรรพสิ่งรอบตัว ไม่คับแคบ ไม่ หมกมุ่นอยู่กับตนเอง 3. การเขียนแบบสร้างสรรค์จึงมีความหมายตรงกันข้ามกับการเขียนที่มุ่ง ประโยชน์ทางวิชาการดังกล่าวข้างต้น 4. ความริเริ่มใหม่จึงขึ้นอยู่กับเจตนาของเจ้าของผลงาน เจตนาจริงเช่นนี้ นำาไปสู่งานเขียนสร้างสรรค์ที่ผู้เขียนภาคภูมิใจได้ 49. การอ่านในข้อใดช่วยให้เข้าใจบทประพันธ์นี้ โอ้ตอเอ๋ยตอแหลตอแต่หลัง คิดจะตั้งตอแน่ต้องแต่ต้น ไม่มีตอต่อมีไต้ตอไล่ชน อย่าทำาตนเป็นตอล่อไต้เลย 1. อ่านตีความ 2. อ่านแปลความ 3. อ่านถอดความ 4. อ่านเก็บความ 50. คำาว่า “ไล่เข้ามา” ในข้อความต่อไปนี้ หมายถึงข้อใด “วันนี้คงจะพูดอะไรไม่ได้มาก เพราะเวลาไล่เข้ามาทุกทีแล้ว จึงขอพูด ประเด็นสำาคัญ ๆ สักสองประเด็นเท่านั้น” 1. เหลือน้อย 2. ตามมาติดๆ 3. รุกอย่างรวดเร็ว 4. ไม่ทิ้งห่าง อ่านข้อความต่อไปนี้แล้วตอบคำาถามข้อ 51 – 52 “ความยากจนเป็นปัญหาเรื้อรังที่ไม่เคยแก้ได้จริง ช่องว่างระหว่างคนจน กับคนรวยยิ่งห่างมากขึ้นนำาไปสู่ปัญหาทางจิตใจ สังคม และการเมือง ทำาให้ บ้านเมืองวิกฤตมากขึ้น รัฐบาลหน้าต้องแก้ปัญหาให้ได้อย่างจริงจังและถาวร อันที่จริงผู้นำาชาวบ้านจำานวนหนึ่งร่วมกับองค์กรพัฒนาเอกชน นักวิชาการ และข้าราชการบางส่วนรู้แล้วจากการปฏิบัติว่า การแก้ความยากจนที่แท้จริง และถาวรทำาอย่างไร รัฐบาลควรเรียนจากบุคคลเหล่านี้อย่างจริงจัง แล้วนำามา ทำานโยบายและยุทธศาสตร์ขับเคลื่อนให้เกิดขึ้นทั้งประเทศ วิธีการคือส่งเสริม ให้ชุมชนทำาวิจัยเรื่องของชุมชนเอง อันนำาไปสู่การปรับเปลี่ยนวิถีการผลิตและ การบริโภคที่เรียกว่าเกิดวิสาหกิจชุมชน ชุมชนที่สามารถวิจัยเรื่องของตัวเอง QUOTA CMU’ 51. 01 ภาษาไทย. (10)
  • 11. 01 ภาษาไทย. ได้และพัฒนาวิสาหกิจชุมชนจะเกิดการพัฒนาอย่างบูรณาการทั้งทางเศรษฐกิจ จิตใจ สังคม วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม การศึกษาและสุขภาพ พร้อมกันไป เป็นชุมชนที่มีเศรษฐกิจพอเพียงและยั่งยืน” 51. รัฐบาลหน้าต้องแก้ไขปัญหาให้ได้อย่างจริงจัง “ปัญหา” ในที่นี้หมาย ถึงข้อใด 1. ปัญหาความยากจน 2. ปัญหาบ้านเมืองเกิด วิกฤต 3. ปัญหาการพัฒนาสังคมให้ยั่งยืน 4. ปัญหาทางจิตใจ สังคมและ การเมือง 52. ข้อใดคือจุดมุ่งหมายของข้อความข้างต้น 1. แสดงความคิดเห็นวิพากษ์วิจารณ์รัฐบาล 2. ให้ข้อเสนอแนะวิธีการแก้ไขปัญหาความยากจน 3. เสนอแนวพัฒนาชุมชนแบบเศรษฐกิจพอเพียงและยั่งยืน 4. เสนอแนะให้มีการส่งเสริมให้ชุมชนทำาวิจัยเรื่องของชุมชนเอง อ่านข้อความต่อไปนี้แล้วตอบคำาถามข้อ 53 -54 (1) ปัจจุบันรัฐบาลพม่าได้ควบคุมไม่ให้เกษตรกรเพิ่มจำานวนแพปลูกพืช ในนำ้า (2) เป็นเพราะว่านำ้าในทะเลสาบเริ่มมีคุณภาพไม่ดี (3) สิ่งแวดล้อมเริ่มจะเสียหายเนื่องจากเกษตรกรมีการใช้สารเคมีมากขึ้น (4) นอกจากนั้น เกษตรกรยังทิ้งผลผลิตที่เสียหรือไม่ได้ขนาดตามที่ตลาด ต้องการลงในทะเลสาปลอยเป็นแพ (5) ประกอบกับทะเลสาบอินเลเป็นแหล่งนำ้าจืดที่จำาเป็นสำาหรับอุปโภคบริโภค ของประชาชนในรัฐฉานตอนล่างเกือบครึ่งหนึ่ง (6) หากปล่อยให้ เกษตรกรเพิ่มจำานวนแพปลูกมากขึ้นก็จะเกิดผลเสียหายอย่างรุนแรงในอนาคต 53. ข้อใดเป็นประโยคใจความสำาคัญของข้อความข้างต้น 1. (1) 2. (2) 3.(3) 4. (6) 54. ข้อความข้างต้นมีวิธีการเขียนแบบใด 1. สาธก 2. บรรยาย 3. พรรณนา 4. อธิบาย อ่านข้อความต่อไปนี้แล้วตอบคำาถามข้อ 55 – 56 “ก่อนลงทุน ดูให้ดีว่า สินค้าที่เราจะทำานั้น เราถนัดมากน้อยแค่ไหน ถ้าไม่ถนัด แม้จะมีคำาแนะนำาดี ก็ไปไม่รอด ทุกกิจการต้องเริ่มจากสิ่งที่เรา ถนัด ขอเพียงอดทน และใช้หลักการตลาด พยายามศึกษาตลาดที่เราเล็งไว้ ตั้งแต่ มีคนมากไหม มีคนในช่วงอายุต่าง ๆ เท่าไหร่ เขาเดินทางอย่างไร QUOTA CMU’ 51. 01 ภาษาไทย. (11)
  • 12. 01 ภาษาไทย. กลับบ้านกี่โมง เหล่านี้เป็นข้อมูลที่เราจะนำามาใช้พัฒนาสินค้า กำาหนดราคา ขาย กำาหนดจุดที่วางขายได้อย่างตรงกลุ่มเป้าหมาย” 55. ข้อความข้างต้นนี้ตรงกับหลักการพูดข้อใด 1. การเตรียมพร้อม 2. การวิเคราะห์ผู้ฟัง 3. การรู้จักกาลเทศะ 4. การจัดกำาหนดเป้าหมาย 56. ข้อความข้างต้นมีลักษณะการพูดแบบใด 1. เป็นทางการ 2. กึ่งทางการ 3. เป็นกันเอง 4. เป็นการสนทนา อ่านข้อความต่อไปนี้แล้วตอบคำาถามข้อ 57 - 59 “วันแรกที่ผมไปออกงาน ผมขายไม่ได้เลย ทางทีมงานผู้จัดงาน ก็ สงสัยว่า อร่อยอย่างนี้ ทำาไมขายไม่ได้ ผมตอบไม่ได้ เพราะไม่รู้เหมือนกัน รู้แต่ว่า ความสำาเร็จไม่ได้มาในวันเดียว หากแต่ต้องใช้เวลา ผมไม่ท้อยัง พยายามขายต่อไป และเชื่อว่าน่าจะต้องมีจุดเปลี่ยน ซึ่งจุดเปลี่ยนของผมก็คือ ได้ขึ้นเวที และพูดถึงลูกชิ้นตัวนี้พร้อมกับมีให้ชิม เท่านั้นแหละ พอลงจากเวที ผมแทบจะเดินเข้าร้านตัวเองไม่ได้ เพราะลูกค้าเยอะมาก” 57. ข้อใดคือจุดมุ่งหมายของผู้พูด 1. ให้คติว่ากว่าธุรกิจจะสำาเร็จได้ต้องให้เวลา 2. บอกวิธีการทำาธุรกิจให้ประสบความสำาเร็จไม่ยาก 3. ให้แง่คิดว่าความพยายามอยู่ที่ไหน ความสำาเร็จอยู่ที่นั่น 4. บอกว่าธุรกิจไปไม่ได้ถ้าไม่มีการโฆษณาประชาสัมพันธ์ 58. ผู้พูดขายสินค้าอะไร 1. อาหาร 2. ผลไม้ 3. ลูกชิ้น 4. ของอร่อย 59. นำ้าเสียงของผู้พูดเป็นอย่างไร 1. โอ้อวด 2. ภูมิใจ 3. ถ่อมตัว 4. เรียบเฉย 60. ข้อใดเป็นอุปสรรคของการสื่อสารมากที่สุด 1. ผู้ฟังไม่เห็นตัวผู้พูด 2. ผู้พูดพูดเสียงดังเกิน ไป 3. อากาศในห้องประชุมร้อนมาก 4. มีเสียงดังจากข้างนอก มารบกวนขณะฟัง 61. ข้อใดเป็นการพูดแบบเป็นทางการ 1. ราคานำ้ามันยังคงพุ่งสูงขึ้นต่อไป และถึงระดับ 96 เหรียญดอลลาร์ สหรัฐต่อบาร์เรลแล้ว ในไม่ช้าคงจะถึงและผ่านระดับ 100 เหรียญ QUOTA CMU’ 51. 01 ภาษาไทย. (12)
  • 13. 01 ภาษาไทย. ดอลลาร์สหรัฐต่อบาร์เรล เกินความคาดหมายของคนทั้งหลายทั้งปวงไป อย่างแทบไม่น่าเชื่อ 2. ถึงวันนี้ก็ยังไม่เห็นมีหน้าไหนที่ออกมาแนะนำาคนไทย หรือบอกล่าวให้ คนไทยได้รับรู้กันว่า หากราคานำ้ามันเป็นเช่นนี้แล้วจะทำากันอย่างไรต่อ ไป หรือให้ก้มหน้าก้มตายอมรับความฉิบหายวายวอดกันตาปริบ ๆ 3. วันนี้มีข่าวว่า พรรคการเมืองใหญ่สามพรรคปฏิเสธแผนการที่จะให้มี การสร้างโรงงานไฟฟ้านิวเคลียร์ขึ้นในประเทศไทย ซึ่งไม่อยากจะบอก ว่าเป็นพรรคการเมืองไหนกันบ้าง จะทำาให้เกิดความได้เปรียบเสียเปรียบ ในการเลือกตั้งอันไม่บังควร 4. นักค้านำ้ามันและนักค้าก๊าซก็จะกอบโกยแสวงหาประโยชน์กันอย่าง สนุกสนานต่อไป ดังที่เห็นๆ กันอยู่ในขณะนี้แล้วว่า บรรดานักค้านำ้ามัน และนักค้าก๊าซต่างรำ่ารวยล้นดินล้นฟ้ามหาศาลไปถึงไหนต่อไหนกันแล้ว 62. ข้อใดเป็นการพูดเพื่อโน้มน้าวใจ 1. เราก็เห็นอยู่แล้วว่าเกือบทุกพรรคสับสนอลหม่าน ผู้สมัครอาจจะเปลี่ยน พรรคจนกระทั่งวินาทีสุดท้ายของวันสมัคร 2. ผมเองไม่เห็นด้วยกับการบังคับให้สังกัดพรรค แต่เมื่อมีกฎหมาย มีการ กำาหนดขั้นตอนและเงื่อนไขของความเป็นประชาธิปไตยภายในพรรค ก็ ควรจะปฏิบัติโดยเคร่งครัด 3. นี่มิใช่ระบบพรรคการเมืองที่ถูกต้อง แต่เป็นแก๊งเลือกตั้งที่มีสิทธิประมูล ซื้ออำานาจรัฐ อันเป็นการขัดกับความสงบเรียบร้อยและเจตนารมณ์ของ กฎหมายและประชาธิปไตย 4. เพื่อมิให้การตัดสินใจภายในพรรคตกอยู่ใต้อำานาจเงินและอำาเภอใจของ ผู้นำาแบบเผด็จการ จะต้องมีการประชุมใหญ่ที่แท้จริง สิทธิของสาขา พรรคและผู้สมัครต้องได้รับความนับถืออย่างถูกต้อง 63. ข้อใดเป็นการพูดที่ใช้ภาษาผิดระดับ 1. ระบบการศึกษาแบบรวมศูนย์อำานาจที่ส่งเสริมการแข่งขันทางการศึกษา ในทุกระดับอย่างที่ประเทศไทยมีอยู่เป็นอยู่นี้ มีแต่ส่งเสริมให้คนเห็นแก่ ตัวมากยิ่งขึ้น 2. พ่อแม่จะสนใจการศึกษาของบุตรธิดาตนเอง พยายามเลือกสรรสิ่งที่คิด ที่เชื่อว่าดีที่สุดให้แก่ลูก ไม่ว่าสิ่งนั้นจะต้องแลกมาด้วยการซื้อหาติด สินบนสักเท่าไร 3. ไม่มีใครสนใจการจัดการศึกษาของท้องถิ่น เพราะระบบไม่เปิดโอกาส ไม่ส่งเสริม ซึ่งก็เป็นจุดเริ่มต้นของการไม่สนใจส่วนรวม 4. ผู้คนที่ถูกหล่อหลอมขึ้นมาในลักษณะนี้จะมีลักษณะวูบวาบฉาบฉวย ทางการเมือง ไม่เข้าไปมีส่วนร่วมในทุกระดับด้วยถือว่าธุระไม่ใช่ QUOTA CMU’ 51. 01 ภาษาไทย. (13)
  • 14. 01 ภาษาไทย. 64. ข้อใดเป็นการพูดเพื่อชี้แจงข้อเท็จจริง 1. นักโบราณคดีค่อย ๆ บรรจงเคลื่อนย้ายพระศพมัมมีฟาโรห์ ออกจากหีบ ศพหินแบบโบราณ ที่ประดับตกแต่งไว้อย่างงดงาม มาไว้ในตู้กระจกที่มี การควบคุมอุณหภูมิภายในเป็นอย่างดี 2. นักโบราณคดีเปิดเผยว่า มัมมีต้องเผชิญกับความร้อน ความชื้น และ แบคทีเรียต่าง ๆ ที่นักท่องเที่ยวจำานวนมากนำาเข้ามา ขณะเยี่ยมชมหลุม ฝังศพกษัตริย์ในแต่ละปี 3. หลุมศพของฟาโรห์ประดับประดาไปด้วยทอง ตรงกลางของหลุมศพ ปกคลุมไปด้วยเครื่องราง เพชรนิลจินดา และใบหน้าของพระองค์สวม หน้ากากทองคำา 4. ร่างกายของฟาโรห์ได้รับการประกอบขึ้นใหม่และส่งกลับไปยังโลงศพ หินเดิมในอีก 1 ปี ถัดมา และเพิ่งจะได้รับการเคลื่อนย้ายอีก 3 ครั้ง ในช่วงไม่กี่ปีมานี้เอง เพื่อเอกซเรย์ตรวจสอบเพิ่มเติม อ่านข้อความต่อไปนี้แล้วตอบคำาถามข้อ 65 - 66 (1) พลังงานนิวเคลียร์เป็นพลังงานชนิดหนึ่งที่ต้นทุนตำ่า และมีอานุภาพ มากมายมหาศาล (2) สามารถนำาไป ใช้ได้ทั้งสองทางคือทั้งในทางสันติและในทางการทหาร (3) ในทางสันติ นั้น มีการนำาพลังงานนิวเคลียร์ไปใช้ในกิจการมากหลายซึ่งไม่ใช่เป็นกิจการ ทำาลายล้างมวลมนุษย์ (4) แต่เป็นกิจการที่สร้างสรรค์และอำานวยประโยชน์ สุขแก่มวลมนุษย์ (5) ส่วนในทางการทหารนั้น ก็มีการใช้พลังงานนิวเคลียร์ ไปประกอบขึ้นเป็นอาวุธเรียกว่าอาวุธนิวเคลียร์ (6) ไม่ว่าเป็นไปในรูป จรวดหรือขีปนาวุธ หรือระเบิดที่ใช้พลังงานนิวเคลียร์ประกอบเข้าเป็นอาวุธ ก็ตาม 65. ข้อใดเป็นความคิดหลักของข้อความข้างต้น 1. (1) 2. (2) 3. (3) 4. (5) 66. ข้อใดเป็นส่วนขยายความคิดหลักของข้อความข้างต้น 1. (1) – (2) – (3) – (4) 2. (2) – (3) – (4) – (5) 3. (3) – (4) – (5) – (6) 4. (5) – (6) – (1) – (2) 67. ข้อใดเป็นการวางเค้าโครงการพูดข้างต้น 1. อธิบายประเด็นให้เข้าใจง่าย 2. ให้ความหมายประเด็น หลัก 3. ยกส่วนขยายและสรุปด้วยประเด็นหลัก 4. ยกประเด็นหลักและ ให้เหตุผลประกอบ อ่านข้อความต่อไปนี้แล้วตอบคำาถามข้อ 68 - 69 “ในภาวะหนึ่งที่ชุมชนของเราได้ผ่านเรื่องดี ๆ มาด้วยกัน มันก็จะส่งผล ให้คนในชุมชนของเรารู้จักกันมากขึ้น จากแต่ก่อนที่ไม่ค่อยรู้จักกันเลย ก็ QUOTA CMU’ 51. 01 ภาษาไทย. (14)
  • 15. 01 ภาษาไทย. เริ่มมารู้จักมักคุ้นกัน คนที่ย้ายมาอยู่ใหม่ก็เริ่มรู้สึกว่าตัวเองเป็นส่วนหนึ่งของ ชุมชน ระยะหลังยังมีการจัดกิจกรรมตรวจสุขภาพให้คนในชุมชนฟรี โดยคุณ หมอที่เพิ่งเข้ามาเป็นสมาชิกชุมชนเดียวกันกับเรา มีการพาเด็ก ๆ ไปดูนก ซึ่ง นำามาสู่จิตสำานึกรักสิ่งแวดล้อมในที่สุด” 68. ข้อใดคือเจตนาของผู้พูด 1. เล่าให้เห็นสภาพของชุมชนที่ดี 2. บอกประวัติพัฒนาการ ของชุมชน 3. แสดงให้เห็นความสามัคคีของชุมชน 4. เน้นเรื่องจิตสำานึกรัก สิ่งแวดล้อมของชุมชน 69. ข้อความข้างต้นเป็นโวหารแบบใด 1. พรรณนา 2. อธิบาย 3. สาธก 4. บรรยาย อ่านข้อความต่อไปนี้แล้วตอบคำาถามข้อ 70 - 71 “เมื่อหน้าที่การงานในความรับผิดชอบส่งผลทั้งต่อตนเอง หน่วยงานที่ สังกัด รวมไปถึงชีวิตของผู้โดยสาร การพัฒนาตัวเองของวิศวกรอากาศยาน จึงเป็นเรื่องสำาคัญ วิศวกรอากาศยานที่ดีต้องคิดเสมอว่าเราทำางานบนความ ปลอดภัยของชีวิตคน ต้องตัดสินใจทุกอย่างบนพื้นฐานความปลอดภัยและคุ้ม ค่า เพราะฉะนั้นเราต้องมีความใฝ่รู้ แสวงหาความรู้เพิ่มเติมตลอดเวลา อย่าง ทุกวันนี้ผมจะเปิดเว็บไซต์ของผู้ผลิตเครื่องยนต์เพื่อหาข้อมูลและศึกษากรณี การเสียแบบต่าง ๆ ของเครื่องยนต์ที่เคยเกิดขึ้นกับสายการบินอื่น ๆ เพื่อ วางแผนป้องกันเรื่องแบบนี้ถึงจะไม่มีใครบังคับให้ทำา แต่ผมมองว่ามันเป็นเรื่อง ที่เราควรต้องใส่ใจ ที่สำาคัญ มันไม่ใช่แค่ดีกับอาชีพการงาน แต่ยังดีต่อชีวิต ผู้โดยสารในความรับผิดชอบของเราด้วย” 70. ข้อใดไม่สามารถอนุมานได้จากข้อความข้างต้น 1. ผู้พูดเป็นคนอุทิศตนเพื่อสังคม 2. ผู้พูดเป็นคนมี มนุษยธรรมและจิตใจดี 3. ผู้พูดมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่สูง 4. ผู้พูดสนใจพัฒนางาน และตนเองอยู่เสมอ 71. ข้อใดเป็นสาระสำาคัญของข้อความข้างต้น 1. ความรับผิดชอบต่องานเป็นเรื่องสำาคัญ 2. การพัฒนาตนเองเป็น เรื่องสำาคัญ 3. ความปลอดภัยของชีวิตและความคุ้มค่า 4. ความปลอดภัย ของผู้โดยสารต้องมาก่อน อ่านข้อความต่อไปนี้แล้วตอบคำาถามข้อ 72 - 76 QUOTA CMU’ 51. 01 ภาษาไทย. (15)
  • 16. 01 ภาษาไทย. “การทำางานเป็นเหมือนการลงเรือขับเคลื่อนไปยังเป้าหมาย เป็นภารกิจ ที่ไม่มีเส้นทางชัดเจน ธรรมะจัดสรรให้ต้องไปสู่เป้าหมาย คือการผลักดัน พัฒนาระบบงาน ซึ่งไม่ใช่เรื่องง่าย ลำาพังแค่สภาพของคลื่นลมปกติก็มี อุปสรรคอยู่พอสมควร กว่าจะขับเคลื่อนให้ได้ระยะจึงต้องใช้ความอดทนอย่าง ยิ่ง” 72. สาระสำาคัญคือข้อใด 1. อุปสรรคของการทำางานให้ก้าวหน้าทั้งระบบ 2. การทำางานให้ก้าวหน้าทั้งระบบไม่ใช่เรื่องง่าย 3. การทำางานให้ก้าวหน้าทั้งระบบต้องอาศัยความทรหด 4. ครรลองของความอดทนในการทำางานให้ก้าวหน้าทั้งระบบ 73. ข้อความนี้จัดเป็นงานเขียนประเภทใด 1. บทความวิจารณ์ 2. บทความแนะแนวทาง 3. บทความวิชาการ 4. บทความแสดงความคิดเห็น 74. ข้อใดไม่ใช่เจตนาของผู้เขียน 1. การซ่อนนัย 2. การใช้ภาษาธรรม 3. การใช้สัญลักษณ์ 4. การใช้ความเปรียบ 75. “ธรรมะ” หมายถึงข้อใด 1. ความจริง 2. คุณความดี 3. บุญกรรม 4. ผลสรุป 76. “สภาพของคลื่นลม” ไม่น่าจะอนุมานถึงข้อใด 1. ผู้ร่วมงาน 2. ประชาชนทั่วไป 3. คณะรัฐมนตรี 4. นโยบายการเมือง อ่านข้อความต่อไปนี้แล้วตอบคำาถามข้อ 77 – 78 (1) การใช้ศัพท์ที่ดูเหมือนจะขลังหรือโก้หรู ไม่ได้แสดงภูมิรู้ของผู้พูดผู้เขียน หากใช้คำาหรือศัพท์นั้นผิดความหมาย แต่กลับเป็นการแสดงความไม่รู้ (เขลา) เป็นผู้ตามการพูดผิดเขียนผิดต่างหาก (2) เวลาผ่านมากว่า 5 ปีแล้ว รัฐบาล หน่วยงานราชการต่าง ๆ เช่น สำานักนายกรัฐมนตรี สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย รวมถึง นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี ข้าราชการระดับสูงทั้งในปัจจุบันและอดีต ก็ยัง ใช้คำา “วาระแห่งชาติ” ในภาษาเขียนทางราชการและภาษาพูดตลอดมา ซึ่งเป็นการใช้คำาสื่อความหมายผิด (3) หากผู้พูดผู้เขียนไม่ชอบคำา “ระเบียบวาระแห่งชาติ” ไม่ว่าจะด้วยเหตุใด ก็อาจใช้คำาธรรมดาที่เข้าใจง่าย เช่น “ภารกิจแห่งชาติ” “งานสำาคัญ แห่งชาติ” “งานลำาดับแรกแห่งชาติ” ซึ่งสื่อความหมายได้ตรง ถูกต้อง QUOTA CMU’ 51. 01 ภาษาไทย. (16)
  • 17. 01 ภาษาไทย. (ชาวบ้านในชนบทเข้าใจหรือไม่ว่า “วาระแห่งชาติ” “วาระประชาชน” หมายความว่าอะไร) จะใช้คำาผิดสื่อความหมายผิดอยู่ทำาไม (4) ทุกวันนี้ไม่ว่าเรื่องอะไร สำาคัญมากน้อยเพียงไร รัฐบาลและหน่วย ราชการก็นิยมจะตั้งหรือผลักดันให้เป็น “วาระแห่งชาติ” กันจนเฝือ แต่ทั้ง รัฐบาลและหน่วยราชการเหล่านั้นรู้หรือไม่ว่า กำาลังพูดหรือเขียนอะไรอยู่ ท่านต้อง การสื่อความหมายว่าอย่างไร ท่านรู้หรือไม่ว่า “วาระแห่งชาติ” หมายความว่า หรือแปลเป็นไทยว่าอย่างไร 77. ข้อใดควรเป็นส่วนเปิดเรื่อง 1. (1) 2. (2) 3. (3) 4.(4) 78. นำ้าเสียงของผู้เขียนเป็นเช่นใด 1. เสียดสี 2. ประชดประชัน 3. แดกดัน 4. กระทบกระเทียบ 79. ข้อใดมีคำาเลียนเสียงธรรมชาติมากกว่าข้ออื่น 1. เงียบสงัดวัดวาในราตรี เสียงเป็ดผีหวี่หวีดจังหรีดเรียง 2. หริ่งหริ่งเรื่อยเฉื่อยชื่นสะอื้นอก สำาเนียงนกแสกแถกแสกแสก เสียง 3. เสียงแมงมุมอุ้มไข่มาใต้เตียง ตีอกเพียงผึงผึงตะลึงฟัง 4. ฝ่ายเสียงหนูมูสิกกิกกิกร้อง เสียวสยองยามยินถวิลหวัง 80. ข้อใดกล่าวถึงเวลาต่างจากข้ออื่น 1. อ้างว้างกับนำ้าค้างที่กลางไพร 2. เพลายอแสงมาสู่สมัย 3. เมื่อพระลบว้าเหว่หิมวา 4. แสงสายัณห์ย้อยระยับกับ วนา 81. ข้อใดกล่าวถึงศิลปะต่างจากข้ออื่น 1. พระธาตุทองสูงสล้างหว่างวิหาร แลโอฬารเยี่ยมยิ่งบนสิงขร 2. กุฏิหอช่อฟ้าสง่างอน งามบัญชรลงรักประจักษ์ตา 3. ที่ผนังมีพุทธประวัติ ให้สีชัดโดดเด่นทั้งเส้นสาย 4. ศาลารายแลไปให้เปล่าดาย ดูเรียบง่ายสงบงามตามเวลา 82. ข้อใดใช้วิธีประเมินค่าต่างจากข้ออื่น 1. ชมโฉมระเด่นกับโฉมตรู งามดูดั่งแก้วกับสุวรรณ 2. บ้างว่าเหมือนอสัญแดหวา กับนางเทพธิดากระยาหงัน 3. บ้างว่าเหมือนสุริยากับพระจันทร์ ถ้าได้ครองกันจะสมควร 4. สมทั้งรูปทรงแลยศศักดิ์ เสียดายนักพระมาคิดหักหวน 83. ข้อใดแสดงถึงการประเมินค่า QUOTA CMU’ 51. 01 ภาษาไทย. (17)
  • 18. 01 ภาษาไทย. 1. ที่หน้าโบสถ์มียักษ์ยืนรักษา ดูหน้าตากราดเกรี้ยวเขี้ยวขาว อ่อน 2. มีสองตนตนละข้างริมทางจร คล้ายยักษ์ตอนเตี้ยตำ่ากรำาแดด ลม 3. ไม่ใหญ่โตเหมือนวัดโพธิ์และวัดแจ้ง แต่ถ้าแข่งศิลปะจะเหมาะสม 4. ทั้งส่วนสัดตัดต่อก็กลึงกลม เรื่องจะข่มกันได้นั้นไม่มี 84. ข้อใดแสดงถึงการปลงใจ 1. สิ้นแผ่นดินสิ้นนามตามเสด็จ ต้องเที่ยวเตร็ดเตร่หาที่อาศัย 2. สิ้นแผ่นดินขอให้สิ้นชีวิตบ้าง อย่ารู้ร้างบงกชบทศรี 3. สิ้นแผ่นดินสิ้นรสสุคนธา วาสนาเราก็สิ้นเหมือนกลิ่นสุคนธ์ 4. สิ้นแผ่นดินสิ้นยศถดถอยศักดิ์ ที่เคยรักก็กลับร้างเหลือหมาง หมอง 85. ความเปรียบในข้อใดแสดงให้เห็นถึงวิถีชีวิตของคนไทย 1. มาเที่ยวเล่นเห็นหินบนดินโขด เดี่ยวสันโดษดังสำาลีไม่มีหมอง 2. แม้มีคู่ชูชิดสนิทนุ่ม เหมือนห่อหุ้มผ้าทิพย์สักสิบผืน 3. โอ้ชาตินี้มีกรรมแสนลำาบาก เหมือนนกพรากพลัดรังไร้ฝั่งฝา 4. ถึงโพเตี้ยโพตำ่าเหมือนคำากล่าว แต่โตราวสามอ้อมเท่าพ้อมสาน 86. ข้อใดแสดงถึงการสืบทอดขนบวรรณคดี 1. ครั้นเวลารุ่งแจ้งแสงอุไร อรไทพลิกฟื้นตื่นนิทรา 2. แสงทองผ่องทั่วสากล สุริยนเยี่ยมยอดยุคันธร 3. เสียงดุเหว่าเว้าแว่วแจ้วพนา สาลิกาพลอดเพรียกเรียกร้อง 4. นกหลากพรรณหลายก่ายกอง แซ่ซ้องบินเหียนเวียนวน 87. ข้อใดแสดงถึงค่านิยม 1. เวลายิ้มหวานหยดฉันจดจำา กายเธอตำ่าแต่ก็พอเหมาะดี 2. อยากให้สาวน้อยจ้องมองตัวบ้าง จึงแกล้งขว้างเศษไม้ใส่มวยผม 3. เธอสวมเสื้อเชียงใหม่วิไลลักษณ์มีลายปักดอกแดงสุกแสงสี 4. เหมือนว่าเธอมีที่มุ่งหมาย จึงแต่งกายนุ่งห่มให้คมสัน 88. ข้อใดแสงถึงการจัดระเบียบทางสังคม 1. ถึงตลาดปากนำ้าโพดูโก้หลาย ตึกค้าขายแน่นขนัดเขาจัดสรร 2. ถึงที่ตีตั๋วมีรั้วกั้น เข้าคิวกันโค้งคดเกือบหมดหวัง 3. ถึงฝายหลวงห้วงนำ้าอันฉำ่าใส หลังเขื่อนใหญ่เอียงเอนซีเมนต์ ถม 4. ถึงลับแลแลลิ่ววิวสะอาด ทั้งอากาศก็ดีเป็นที่หนึ่ง 89. ข้อใดมีวิธีเล่าเรื่องต่างจากข้ออื่น QUOTA CMU’ 51. 01 ภาษาไทย. (18)
  • 19. 01 ภาษาไทย. 1. ลูบไล้สุคนธ์ปนปรุง ดมดูกลิ่นฟุ้งหอมฉำ่า หยิบภูษามาทรงแล้วลูบคลำา ยกทองท้องชำ้าชอบพระทัย 2. แล้วชวนองค์พงศ์กษัตริย์ขัติยา เสด็จมาพระโรงรัตน์ชัชวาล จึงบอกให้น้องเจ้าเข้าสรงชล ในมณฑลมุรธากระยาสนาน 3. ลูกก็แลดูแม่แม่ดูลูก ต่างพันผูกเพียงว่าเลือดตาไหล สะอื้นรำ่าอำาลาด้วยอาลัย แล้วแข็งใจจากนางตามทางมา 4. เห็นสายหยุดหยุดยืนค่อยชื่นจิต พี่ยิ่งคิดถึงนุชที่สุดหมาย ได้หยุดชมหยุดเชยเคยสบาย ทั้งหยุดก่ายหยุดกอดแม่ยอดรัก 90. ข้อใดไม่ใช่ขนบของนิราศ 1. ปางอโศกใครไม่โศกพี่โศกจัด โทมนัสกลัดใจในไพรเขียว เดิมปางโศกโศกยิ่งโศกจริงเจียว ตั้งตาเหลียวหานางมากลางไพร 2. ดุกชะโดเทโพทั้งตะเพียน สวายเวียนว่ายหาปลากระหมัน อีกปลาหมอรอรักษาปลาไส้ตัน ปลานวลจันทร์คิดนวลเจ้ายิ่ง เศร้าใจ 3. น่าเอ็นดูรู้ดีอารีอารอบ ทำาความชอบช่วยพยุงให้สูงศักดิ์ มาบรรลัยไปยังกำาลังรัก สงสารนักนางพรำ่ารำ่าโศกี 4. อันวิสัยในโลกโชคมนุษย์ ไม่สิ้นสุดเรื่องรักสมัครสมาน ขอฝากจิตพิสมัยอาลัยลาน ไว้วิมานในกระดาษที่วาดเอย 91. คำาที่ขีดเส้นใต้ในข้อใดไม่ใช่การสร้างสำานวนโวหารของกวี 1. นำ้าตกพรายสุหร่ายแก้ว ปฐมกัลป์ 2. พลันอุษาโยคเริ่มแย้ม วิสูตรสรวง 3. พฤกษาสง่าเสกสรร ส่วยทิพย์ 4. สวยป่วยปาก เป็นใบ้ นิ่งไข้สุนทรีย์ 92. ข้อใดแสดงถึงแรงบันดาลใจต่างจากข้ออื่น 1. เวลาคำ่านำ้าเค็มก็พร่างพร่าง แวมสว่างวาววับระยับฉาย 2. ครั้นยามยลต้นลำาพูดูหิ่งห้อย เหมือนเพชรพลอยพรายพร่าง สว่างไสว 3. เสลารายพรายพริบระยิบระยับ ดูแวววับดังจะพรากจากไพหาร 4. ดูแดนดาวเปล่าเปลี่ยวเสียวสะดุ้งจนจวนรุ่งรางรางสว่างไสว 93. ข้อใดไม่มีสัมผัสเลือน 1. จันทร์แรมแจ่มเวิ้งหาว ลมโลมเร้าแมกมิ่งไม้ 2. งามเลิศแล้วโลกมนุษย์ วิสุทธิ์ดุจฟากฟ้าฝากฝัน 3. อัญเชิญชวนมวลแมน จบแว่นแคว้นแมนสรวงสวรรค์ 4. ศิขรชะง่อนเงื้อมฟ้า เดือนดาริกามาชะอ้อน 94. โคลงบาทใดเล่นสัมผัสได้ซับซ้อนที่สุด QUOTA CMU’ 51. 01 ภาษาไทย. (19)
  • 20. 01 ภาษาไทย. 1. อ้อมพรายฝันคลื่นเพ้อ ภาษา 2. แลดาวเดือนดาษห้อง เวหา 3. พฤกษาสูงเสียดไม้ เสยเมฆ 4. นางแย้มดุจแม่แย้ม ไรทนต์ 95. ข้อใดมีสัมผัสแบบ “ลมหวนป่วนกระซิบ เมฆสั่ง” 1. ตะวันฉายร่ายมนตร์ใน เพลงหนึ่ง 2. วูบไวใฝ่กระสัน โศก เปล่า 3. เจียระไนไรทรายอนันต์ นวลนิ่ม 4. นาทีนี่ชีวัน เกิดว่าง 96. โคลงบาทใดกินนัยความหมายได้กว้างที่สุด 1. หวานวิหคเหินเกริ่นร้อง ระงมดง 2. นกหกจับแมกไม้ เรียงรัน 3. ระวังไพรเพรียกพรำ่าพร้อง ระวังพฤกษ์ 4. กาจับกาฝาก ต้น ตุมกา อ่านคำาประพันธ์ต่อไปนี้แล้วตอบคำาถามข้อ 97 - 98 เสื้อแสงแต่งประกวดกันหนักหนา สร้อยตาบเต็มประดาน่า ฉิบหาย เพราะมั่งมีศรีศุขสนุกสบาย ไม่ร้อนรนขวนขวาย เหมือนก่อนกาล 97. ข้อใดเป็นนำ้าเสียงของกวี 1. ชื่นชม 2. ลำาพอง 3. ประชด 4. เสียดสี 98. ข้อใดเป็นจุดเด่นของคำาประพันธ์ 1. การสรรคำา 2. จังหวะกลอนสมำ่าเสมอ 3. พลังอารมณ์ 4. การเล่นสัมผัสในแพรวพราว 99. ข้อใดแสดงถึงปณิธานของกวี 1. ใดผิดเชอญช่วยรื้อ รอนเสีย 2. สารสยามภาค พร้อง กลกานท นี้ฤา ใดชอบกาลเชอญเกลา กล่าวเข้า คือคู่มาลาสวรรค ช่อ ช้อย 3. เปนสร้อยโสภิศพ้น อุปรมา 4. จงคงคู่กัลปา ยืนโยค โสรมสรวงศิรธิรางค เวี่ยไว้ หายแผ่นดินฟ้าไหม้ อย่าหาย 100. ข้อความต่อนี้เป็นคำาประพันธ์ชนิดใด QUOTA CMU’ 51. 01 ภาษาไทย. (20)
  • 21. 01 ภาษาไทย. “เดินทางไปต่อสู้ใต้แผ่นฟ้าบนภูเขาอันตรายรอบตัว เรานักรบแก่กรำา สงคราม ปัง...เสียงปืนก้องน่าเกรงขามน่ากลัวทุกทุกยามทุกทุก ย่าน...อันตราย” 1. กาพย์ฉบัง 2. กาพย์ขับไม้ 3. กาพย์ยานี 4. กาพย์สุรางคนางค์ QUOTA CMU’ 51. 01 ภาษาไทย. (21)