SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 19
1.สรุปสาระสำาคัญเกี่ยวกับ
ความหมายของเทคโนโลยี
และสื่อการศึกษา พร้อมทั้ง
เปรียบเทียบพัฒนาการทาง
เทคโนโลยีทางการศึกษาใน
ช่วงยุคต่างๆ?
1.สรุปสาระสำาคัญเกี่ยวกับ
ความหมายของเทคโนโลยี
และสื่อการศึกษา พร้อมทั้ง
เปรียบเทียบพัฒนาการทาง
เทคโนโลยีทางการศึกษาใน
ช่วงยุคต่างๆ?
"เทคโนโลยีทางการศึกษาคือการนำาแนวความคิดที่
เป็นระบบไปใช้ในการออกแบบ  ดำาเนินการ  และ
ประเมินกระบวนการเรียนการสอนทั้งกระบวนการในรูป
ของวัตถุประสงค์เฉพาะ  ซึ่งมีพื้นฐานมาจากผลการวิจัย
เกี่ยวกับการเรียนรู้และการสื่อความหมายของมนุษย์
เรา  อีกทั้งนำาเอาทรัพยากรมนุษย์และทรัพยากรอื่น ๆ
มาผสมผสานกัน ทั้งนี้เพื่อก่อให้เกิดประสิทธิภาพของ
การเรียนรู้ที่สูงยิ่งขึ้น"
ความหมาย
การนำาเทคโนโลยีมาใช้ใน
การพัฒนาระบบการศึกษาให้มี
ประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น เรียกว่า
เทคโนโลยีการศึกษา
(Educational Technology)
ทั้งนี้เพื่อมุ่งเน้นให้การดาเนิน
การจัดการศึกษา ซึ่งเป็นหลักที่
สาคัญในการพัฒนาประเทศเป็น
ไปอย่างมีประสิทธิภาพ
ชาวกรีกโบราณ  ได้ใช้วัสดุในการสอน
ประวัติศาสตร์ และหน้าที่พลเมือง  ด้วยการแสดงละครเพื่อ
สร้างเจตคติทางจรรยาและการเมือง  ใช้ดนตรีเพื่อสร้าง
อารมณ์  โดยเฉพาะอย่างยิ่งการศึกษาของชาวกรีก  และ
โรมันโบราณ  ยังได้ยำ้าถึงความสำาคัญของการศึกษานอก
สถานที่ด้วย  การสอนศิลปวิจักษ์  ในสมัยนั้นได้ใช้รูปปั้น 
และแกะสลักช่วยสอนแล้ว  คนสำาคัญ ๆ ของกรีกและโรมัน
สมัยนั้น  ต่างเห็นความสำาคัญของทัศนวัสดุในการสอน 
ว่าทัศนวัสดุช่วยการปาฐกถาได้มาก
เพลโต นักปราชญ์ชาวกรีก
ได้ยำ้าถึงความสำาคัญของคำาพูดที่ใช้
กันนั้นว่า เมื่อพูดไปแล้วอะไรเป็น
ความหมายที่อยู่เบื้องหลังสิ่งนั้น จึง
ได้กระตุ้นให้ใช้วัตถุประกอบเพื่อ
ช่วยให้เข้าใจได้ดีขึ้น
              โจฮันน์ อะมอส คอมินิอุส
(Johannes Amos comenius ค.ศ. 1592 - 
1670)     เป็นผู้ที่พยายามใช้วัตถุ สิ่งของช่วย
ในการสอนอย่างจริงจังจนได้รับเกียรติว่า
  เป็นบิดาแห่งโสตทัศนศึกษา ท่านมีแนวคิด
  ในเรื่องวิธีการสอนใหม่ โดยได้ยำ้าความ
       สำาคัญของสิ่งของ ของจริง ในการสอน
         ธอร์นไดค์ นักจิตวิทยาการศึกษาชาว
  อเมริกัน ที่ใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ทางการศึกษาประกอบหลักการทาง
  จิตวิทยา เขาได้เริ่มสร้างห้องทดลองทาง
  จิตวิทยาเกี่ยวกับสัตว์ ในชณะที่เขายังเป็น
       นักศึกษาอยู่ เขาได้ออกแบบสื่อการสอน
เพื่อให้ตอบสนองเรื่องความแตกต่าง
  ระหว่างบุคคล โดยเฉพาะอย่างยิ่งการสอน
แบบโปรแกรมจึงได้ชื่อว่าเป็นคนแรกที่
ริเริ่มเทคโนโลยีการศึกษาแนวใหม่
              บี เอฟ สกินเนอร์ เป็นผู้ใช้
แนวคิดใหม่ทางจิตวิทยาเกี่ยวกับสิ่ง
เร้าและผลตอบสนองโดยคำานึงถึง
    ธรรมชาติ ของมนุษย์ และเป็นผู้ที่
  คิดเครื่องช่วยสอน ได้เป็นผลสำาเร็จ
  เป็นคนแรก แนวคิดทางเทคโนโลยี
  การศึกษาปัจจุบัน ได้รากฐานมา
จากแนวความคิดของสกินเนอร์เป็น
ส่วนมาก
2.จำาแนกองค์ประกอบขอบข่าย
ของเทคโนโลยีทางการศึกษา
ว่ามีความสำาคัญต่อการจัดการ
ศึกษาในยุคปัจจุบันอย่างไร?
2.จำาแนกองค์ประกอบขอบข่าย
ของเทคโนโลยีทางการศึกษา
ว่ามีความสำาคัญต่อการจัดการ
ศึกษาในยุคปัจจุบันอย่างไร?
3.Educational Technology
และ Instructional Technology
มีความหมายเหมือนหรือแตก
ต่างกันอย่างไร?
3.Educational Technology
และ Instructional Technology
มีความหมายเหมือนหรือแตก
ต่างกันอย่างไร?
ยุคสมัยก่อนนักการศึกษาจะใช้ทั้ง 2 คำา คือ
Educational Technology และ Instructional
Technology โดยกลุ่มคนที่ใช้คำาว่า Instructional
Technology เห็นว่า มีเหตุผล 2 ประการที่ควรเรียก
ประการแรกคำานี้สามารถอธิบายบทบาทหน้าที่ของ
เทคโนโลยีการศึกษาได้ดีกว่า ประการที่ 2 เห็นว่าหากใช้
คำาว่า Educational Technologyจะมุ่งเน้นแต่การศึกษา
ในโรงเรียนมากกว่า แต่ Instructional Technology จะ
เน้นการฝึกฝนตามสถานการณ์ด้วย
Knirk และ Gustafson เห็นว่า Instructional
Technology จะเกี่ยวกับปัญหาการเรียนการสอน ขณะ
ที่ Educational Technology จะมีความหมายกว้างเกิน
ไปและจำากัดกรอบเฉพาะหลักเกณฑ์การศึกษาเท่านั้น
ขณะที่กลุ่มสนับสนุนให้ใช้คำาว่า Educational
Technology ชี้แจงว่า Instructional Technology เป็น
แค่ส่วนหนึ่งของ Educational Technology ซึ่ง
Educational Technology จะครอบคลุมถึงการเรียนรู้
ในสภาพแวดล้อมที่หลากหลายกว่า ส่วน Instructional
Technology จะมีความหมายแค่สภาพแวดล้อมใน
โรงเรียนเท่านั้น
ในปี 1977 สมาคมการศึกษาเทคโนโลยีระหว่าง
ประเทศ(AECT) ได้ให้คำาจำากัดความระหว่าง
Educational Technology และ Instructional
Technology และ Technology in Education ว่า
Educational Technology จะใช้เป็นส่วนหนึ่ง
ของ Education ซึ่งเกี่ยวกับการแก้ไขปัญหาการ
เรียนรู้ผ่านกระบวนการที่ซับซ้อนและสัมพันธ์กัน โดย
จำากัดการเรียนรู้ผ่านทางสื่อมวลชน ระบบสนับสนุน
การเรียนการสอนและระบบการจัดการเท่านั้น
Technology in Education หมายถึง การใช้
เทคโนโลยีที่สนับสนุนระบบการศึกษา ขณะที่
Instructional Technology จะเป็นส่วนหนึ่งของ
Educational Technology ซึ่งใช้หลักการเรียนที่มีจุด
ประสงค์และการควบคุมอย่างเป็นระบบ
ต่อมาในปี 1977เทคโนโลยีการศึกษามีความหมาย
เพียงอย่างเดียว คือนำาทุกคำาที่กล่าวถึงในข้างต้นมารวม
กัน จึงได้ความหมายว่า เทคโนโลยีการศึกษาคือการใช้
กระบวนการของเทคโนโลยีและอุปกรณ์เพื่อแก้ปัญหา
การเรียนการสอนและการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพมาก
ยิ่งขึ้น
4.การประยุกต์ความรู้เกี่ยวกับ
เทคโนโลยีทางการศึกษามาใช้
แก้ปัญหาเกี่ยวกับการเรียนรู้ใน
ยุคปฏิรูปการเรียนรู้อย่างเป็น
รูปธรรมได้อย่างไร?
4.การประยุกต์ความรู้เกี่ยวกับ
เทคโนโลยีทางการศึกษามาใช้
แก้ปัญหาเกี่ยวกับการเรียนรู้ใน
ยุคปฏิรูปการเรียนรู้อย่างเป็น
รูปธรรมได้อย่างไร?
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เป็นปัจจัย
สำาคัญตัวหนึ่งที่เอื้อให้การจัดการความรู้ประสบความสำาเร็จ
(สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ, 2547) ความก้าวหน้าทาง
ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร โดยเฉพาะ
อินเทอร์เน็ตและอินทราเน็ตเป็นแรงผลักดันสำาคัญที่ช่วย
ให้การแลกเปลี่ยนความรู้สามารถทำาได้ง่ายขึ้นนอกจากนี้
ระบบฐานข้อมูลที่ทันสมัยก็มีส่วนช่วยให้การจัดการความรู้
มีประสิทธิภาพมากขึ้น สมชาย นำาประเสริฐชัย (2549) ได้
จำาแนกเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่เกี่ยวข้อง
และมีบทบาทในการจัดการความรู้ออกเป็น 3 รูปแบบคือ
1.เทคโนโลยีการสื่อสาร (Communication
Technology) ช่วยให้บุคลากรสามารถเข้าถึงความรู้ต่างๆ
ได้ง่ายขึ้น สะดวกขึ้น รวมทั้งสามารถติดต่อสื่อสารกับผู้
เชี่ยวชาญในสาขาต่างๆ ค้นหาข้อมูล สารสนเทศและความ
รู้ที่ต้องการได้ผ่านทางเครือข่ายอินทราเน็ต เอ็กซ์ตราเน็ต
หรืออินเทอร์เน็ต
2.เทคโนโลยีสนับสนุนการทำางานร่วมกัน
(Collaboration Technology) ช่วยให้สามารถประสา
นการทำางานได้อย่างมีประสิทธภาพ ลดอุปสรรคในเรื่อง
ของระยะทาง ตัวอย่างเช่น โปรแกรมกลุ่ม groupware
ต่างๆ หรือระบบ Screen Sharing เป็นต้น
3.เทคโนโลยีในการจัดเก็บ (Storage technology)
ช่วยในการจัดเก็บและจัดการความรู้ต่างๆ
นางสาวชวิศา สุริยะงาม รหัส
553050066-1
นางสาวปรางค์แก้ว แก้วอุดร รหัส
553050298-0
นางสาวปาริฉัตร ลิลำ้า รหัส 553050300-9

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้lalidawan
 
Introduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medieIntroduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medieThamonwan Kottapan
 
Chapter 1 innovation technology and educational media
Chapter 1 innovation technology and  educational mediaChapter 1 innovation technology and  educational media
Chapter 1 innovation technology and educational mediaKanpirom Trangern
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ06
เทคโนโลยีสารสนเทศ06เทคโนโลยีสารสนเทศ06
เทคโนโลยีสารสนเทศ06Poo-Chom Siriwut
 
Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้Prakaidao Suebwong
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา sec.3
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา sec.3เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา sec.3
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา sec.3Waenika Boon-arsa
 
บทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้Nichaya100376
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารThamonwan Kottapan
 
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอน
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอนการพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอน
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอนDrsek Sai
 
Introduction to technologies and educational media chapter1
Introduction to technologies and educational media chapter1Introduction to technologies and educational media chapter1
Introduction to technologies and educational media chapter1boomakung
 
Media&tech2learn 003 - Part 3
Media&tech2learn 003 - Part 3Media&tech2learn 003 - Part 3
Media&tech2learn 003 - Part 3Kittipun Udomseth
 
Chapter 6
Chapter 6Chapter 6
Chapter 6Zhao Er
 

Mais procurados (16)

บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
Introduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medieIntroduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medie
 
Chapter 1 innovation technology and educational media
Chapter 1 innovation technology and  educational mediaChapter 1 innovation technology and  educational media
Chapter 1 innovation technology and educational media
 
ใหม่
ใหม่ใหม่
ใหม่
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ06
เทคโนโลยีสารสนเทศ06เทคโนโลยีสารสนเทศ06
เทคโนโลยีสารสนเทศ06
 
Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา sec.3
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา sec.3เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา sec.3
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา sec.3
 
บทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
Chapter 6
Chapter 6Chapter 6
Chapter 6
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอน
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอนการพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอน
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอน
 
บทท 6
บทท   6บทท   6
บทท 6
 
Introduction to technologies and educational media chapter1
Introduction to technologies and educational media chapter1Introduction to technologies and educational media chapter1
Introduction to technologies and educational media chapter1
 
Media&tech2learn 003 - Part 3
Media&tech2learn 003 - Part 3Media&tech2learn 003 - Part 3
Media&tech2learn 003 - Part 3
 
Chapter 6
Chapter 6Chapter 6
Chapter 6
 

Destaque

How the world is accepting jive
How the world is accepting jiveHow the world is accepting jive
How the world is accepting jiveNVISH Solutions
 
Lean Analytics: A short summary
Lean Analytics: A short summaryLean Analytics: A short summary
Lean Analytics: A short summaryJan König
 
The Six Highest Performing B2B Blog Post Formats
The Six Highest Performing B2B Blog Post FormatsThe Six Highest Performing B2B Blog Post Formats
The Six Highest Performing B2B Blog Post FormatsBarry Feldman
 
The Outcome Economy
The Outcome EconomyThe Outcome Economy
The Outcome EconomyHelge Tennø
 

Destaque (7)

As leis gestálticas
As leis gestálticasAs leis gestálticas
As leis gestálticas
 
How the world is accepting jive
How the world is accepting jiveHow the world is accepting jive
How the world is accepting jive
 
JIve 360 by InKat
JIve 360 by InKatJIve 360 by InKat
JIve 360 by InKat
 
Inkat social crm v2.0
Inkat social crm v2.0Inkat social crm v2.0
Inkat social crm v2.0
 
Lean Analytics: A short summary
Lean Analytics: A short summaryLean Analytics: A short summary
Lean Analytics: A short summary
 
The Six Highest Performing B2B Blog Post Formats
The Six Highest Performing B2B Blog Post FormatsThe Six Highest Performing B2B Blog Post Formats
The Six Highest Performing B2B Blog Post Formats
 
The Outcome Economy
The Outcome EconomyThe Outcome Economy
The Outcome Economy
 

Semelhante a บทที่1

Introduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medieIntroduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medieKanatip Sriwarom
 
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้Aon Onuma
 
เทคโนโลย นว ตกรรม และส__อการศ_กษา (1)
เทคโนโลย นว ตกรรม และส__อการศ_กษา (1)เทคโนโลย นว ตกรรม และส__อการศ_กษา (1)
เทคโนโลย นว ตกรรม และส__อการศ_กษา (1)siri123001
 
Introduction to technologies and educational media chapter1
Introduction to technologies and educational media chapter1Introduction to technologies and educational media chapter1
Introduction to technologies and educational media chapter1boomakung
 
ความหมาย
ความหมายความหมาย
ความหมายAoi Aoily
 
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1lalidawan
 
ขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
ขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
ขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาapostrophe0327
 
งานที่จะส่งจริงๆนะจ้ะ
งานที่จะส่งจริงๆนะจ้ะงานที่จะส่งจริงๆนะจ้ะ
งานที่จะส่งจริงๆนะจ้ะOopip' Orranicha
 
สมรรถนะครูเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในศตวรรษที่ 21
สมรรถนะครูเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในศตวรรษที่ 21สมรรถนะครูเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในศตวรรษที่ 21
สมรรถนะครูเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในศตวรรษที่ 21nanza
 
Sattakamol mind mapping
Sattakamol mind mappingSattakamol mind mapping
Sattakamol mind mappingSattakamon
 
Sattakamon mind mapping
Sattakamon mind mappingSattakamon mind mapping
Sattakamon mind mappingSattakamon
 

Semelhante a บทที่1 (20)

เทคโนโลย นว ตกรรมและส__อการศ_กษา
เทคโนโลย นว ตกรรมและส__อการศ_กษาเทคโนโลย นว ตกรรมและส__อการศ_กษา
เทคโนโลย นว ตกรรมและส__อการศ_กษา
 
Introduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medieIntroduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medie
 
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
เทคโนโลย นว ตกรรม และส__อการศ_กษา (1)
เทคโนโลย นว ตกรรม และส__อการศ_กษา (1)เทคโนโลย นว ตกรรม และส__อการศ_กษา (1)
เทคโนโลย นว ตกรรม และส__อการศ_กษา (1)
 
Chapter15630505256
Chapter15630505256Chapter15630505256
Chapter15630505256
 
Introduction technologies sec 4
Introduction technologies sec 4Introduction technologies sec 4
Introduction technologies sec 4
 
Introduction to technologies and educational media chapter1
Introduction to technologies and educational media chapter1Introduction to technologies and educational media chapter1
Introduction to technologies and educational media chapter1
 
ความหมาย
ความหมายความหมาย
ความหมาย
 
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1
 
งาน
งานงาน
งาน
 
ขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
ขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
ขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
 
Part1 math sec.2
Part1 math sec.2Part1 math sec.2
Part1 math sec.2
 
เทคโนโลยี นวัตกรรมและการสื่อสาร
เทคโนโลยี นวัตกรรมและการสื่อสารเทคโนโลยี นวัตกรรมและการสื่อสาร
เทคโนโลยี นวัตกรรมและการสื่อสาร
 
Sattakamon
SattakamonSattakamon
Sattakamon
 
งานที่จะส่งจริงๆนะจ้ะ
งานที่จะส่งจริงๆนะจ้ะงานที่จะส่งจริงๆนะจ้ะ
งานที่จะส่งจริงๆนะจ้ะ
 
241203 ed-math
241203 ed-math241203 ed-math
241203 ed-math
 
สมรรถนะครูเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในศตวรรษที่ 21
สมรรถนะครูเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในศตวรรษที่ 21สมรรถนะครูเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในศตวรรษที่ 21
สมรรถนะครูเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในศตวรรษที่ 21
 
Sattakamol mind mapping
Sattakamol mind mappingSattakamol mind mapping
Sattakamol mind mapping
 
Mind mapping
Mind mappingMind mapping
Mind mapping
 
Sattakamon mind mapping
Sattakamon mind mappingSattakamon mind mapping
Sattakamon mind mapping
 

Mais de Pari Za

บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7Pari Za
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8Pari Za
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8Pari Za
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8Pari Za
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6Pari Za
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5Pari Za
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4Pari Za
 
บทที่3
บทที่3บทที่3
บทที่3Pari Za
 
บทที่ 3
บทที่  3บทที่  3
บทที่ 3Pari Za
 
บทที่ 4
บทที่  4บทที่  4
บทที่ 4Pari Za
 
สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2Pari Za
 
สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2Pari Za
 
สถานการณ์ปัญหา บทที่ 2
สถานการณ์ปัญหา บทที่ 2สถานการณ์ปัญหา บทที่ 2
สถานการณ์ปัญหา บทที่ 2Pari Za
 
สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2Pari Za
 
สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2Pari Za
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1Pari Za
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2Pari Za
 

Mais de Pari Za (17)

บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่3
บทที่3บทที่3
บทที่3
 
บทที่ 3
บทที่  3บทที่  3
บทที่ 3
 
บทที่ 4
บทที่  4บทที่  4
บทที่ 4
 
สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2
 
สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2
 
สถานการณ์ปัญหา บทที่ 2
สถานการณ์ปัญหา บทที่ 2สถานการณ์ปัญหา บทที่ 2
สถานการณ์ปัญหา บทที่ 2
 
สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2
 
สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 

บทที่1