SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 173
Baixar para ler offline
คูมือครู	แผนการ	 ัดการเรียน	 ู้
                                     จ           ร

    การอาชีพ ม. 4–6
                           ชั้นÁั¸ยÁÈÖกÉา»‚ที่ 4–6
             กลุมสาระการเรียนรูการ	านอาชีพ	 ละเทคโนโลยี
                              ้ ง        แ
       ตามหลั¡สÙตรแ¡น¡ลา§¡ารÈÖ¡Éา¢ัéนพืéน°าน พØ·ธÈั¡ราช 2551




• ออกแบบการเรียนรู โดยใชมาตรฐานการเรียนรู และตัวชี้วัดชวงชั้นเปนเปาหมาย
• ออกแบบการจัดการเรียนรู โดยเนนผูเรียนเปนศูนยกลาง
• ใชแนวคิด Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรูตาง ๆ อยางหลากหลาย
• ออกแบบการเรียนรูเพ�อพัฒนาสมรรถนะสำคัญของนักเรียนในการส�อสาร การคิด
  การแกปญหา การใชทักษะชีวิต และการใชเทคโนโลยี
• แบงแผนการจัดการเรียนรูเปนรายชั่วโมง สะดวกในการใช
• มีองคประกอบครบถวนตามแนวทางการจัดทำแผนการจัดการเรียนรูของสถานศึกษา
• นำไปพัฒนาเปนผลงานทางวิชาการเพ�อเล�อนวิทยฐานะได
คูมือ	 รู	แผนการ	 ัดการเรียน	 ู้
      ค          จ           ร

การอาชีพ ม. 4–6
ชั้นÁั¸ยÁÈÖกÉา»‚ที่ 4–6
กลมสาระการเรยนรการงาน	 าชพ	 ละเทคโนโลยี
    ุ        ี ู้      อ ี แ
ตามหลั¡สÙตรแ¡น¡ลา§¡ารÈÖ¡Éา¢ัéนพืéน°าน พØ·ธÈั¡ราช 2551
               ʧǹÅÔ¢ÊÔ·¸ÔìµÒÁ¡®ËÁÒÂ
B
           ī
               ËŒÒÁÅÐàÁÔ´ ·Ó«éÓ ´Ñ´á»Å§ à¼Âá¾Ã‹
               ʋǹ˹Öè§Ê‹Ç¹ã´ àÇŒ¹áµ‹¨Ðä´ŒÃѺ͹ØÞÒµ

คณะผู้เขียน
   อรุณี​ลิมศิริ​กศ.บ.,​กศ.ม.​​ทรงสิทธิ์​เจริญสุข​ค.อ.บ.​
คณะบรรณาธิการ
   สุระ​ดามาพงษ์​กศ.บ.,​กศ.ม.​​​สุดารัตน์​อุนเมือง​วท.บ.,​วท.ม.​​สกุนา​หนูแก้ว​วท.บ.​

พิมพ์ครั้งที่หนึ่ง	© ¾.È. 2552

ISBN 978-974-18-5875-0
พิมพ์ที่	บริษัท	โรงพิมพ์วั²นาพานิช	จำกัด		​นายเริงชัย​จงพิพัฒนสุข​กรรมการผู้จัดการ



สือการเรียนรู	กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี	ม.	ต้น–ม.	ปลาย	ตามหลักสูตรแกน	 ลางÏ	2551
  ่          ้                 ้                                                    ก

•	หนังสือเรียน	(Èธ.	อนุญาต)	•	แบบ½ƒกทักษะ	•	©บับสมบูรณ์แบบ	•	แผนÏ	(CD)
  ระดับมัธยมÈึกษาตอนต้น
  หนังสือเรียน–แบบฝึกทักษะ–ฉบับสมบูรณ์แบบ–แผนฯ​(CD)​การงานอาชีพและเทคโนโลยี	ม.	1	เลม	1 ............................. อรุณี​ลิมศิริ​และคณะ
  หนังสือเรียน–แบบฝึกทักษะ–ฉบับสมบูรณ์แบบ–แผนฯ​(CD)​การงานอาชีพและเทคโนโลยี	ม.	1	เลม	2 ............................. อรุณี​ลิมศิริ​และคณะ
  หนังสือเรียน–แบบฝึกทักษะ–ฉบับสมบูรณ์แบบ–แผนฯ​(CD)​การงานอาชีพและเทคโนโลยี	ม.	2	เลม	1 ............................. อรุณี​ลิมศิริ​และคณะ
  หนังสือเรียน–แบบฝึกทักษะ–ฉบับสมบูรณ์แบบ–แผนฯ​(CD)​การงานอาชีพและเทคโนโลยี	ม.	2	เลม	2 ............................. อรุณี​ลิมศิริ​และคณะ
  หนังสือเรียน–แบบฝึกทักษะ–ฉบับสมบูรณ์แบบ–แผนฯ​(CD)​การงานอาชีพและเทคโนโลยี	ม.	3	เลม	1 ............................. อรุณี​ลิมศิริ​และคณะ
  หนังสือเรียน–แบบฝึกทักษะ–ฉบับสมบูรณ์แบบ–แผนฯ​(CD)​การงานอาชีพและเทคโนโลยี	ม.	3	เลม	2 ............................. อรุณี​ลิมศิริ​และคณะ
  หนังสือเรียน–แบบฝึกทักษะ–ฉบับสมบูรณ์แบบ–แผนฯ​(CD)​เทคโนโลยีสารสนเทÈ	ม.	1–2–3 .....................ผศ.​ดร.อำนวย​เดช​ ัยศรี​และคณะ
                                                                                                                            ช

  ระดับมัธยมÈึกษาตอนปลาย
  หนังสือเรียน–แบบฝึกทักษะ–ฉบับสมบูรณ์แบบ–แผนฯ​(CD)​การดำรงชีวิตและครอบครัว	ม.	4–6 ........................ดร.อมรรัตน์​เจริญชัย​และคณะ
  หนังสือเรียน–แบบฝึกทักษะ–ฉบับสมบูรณ์แบบ–แผนฯ​(CD)​การออกแบบและเทคโนโลยี	ม.	4–6 ............................. วิไล​ ักษณ์​ชูชวย​และคณะ
                                                                                                                           ล
  หนังสือเรียน–แบบฝึกทักษะ–ฉบับสมบูรณ์แบบ–แผนฯ​(CD)​การÍาชี¾ Á. 4–6 ............................................... ดร.มณกาญจน์​ทองใย​และคณะ
  หนังสือเรียน–แบบฝึกทักษะ–ฉบับสมบูรณ์แบบ–แผนฯ​(CD)​เทคโนโลยีสารสนเทÈ	ม.	4 ..............................ผศ.​ดร.อำนวย​เดช​ ัยศรี​และคณะ
                                                                                                                                 ช
  หนังสือเรียน–แบบฝึกทักษะ–ฉบับสมบูรณ์แบบ–แผนฯ​(CD)​เทคโนโลยีสารสนเทÈ	ม.	5 ..............................ผศ.​ดร.อำนวย​เดช​ ัยศรี​และคณะ
                                                                                                                                 ช
  หนังสือเรียน–แบบฝึกทักษะ–ฉบับสมบูรณ์แบบ–แผนฯ​(CD)​เทคโนโลยีสารสนเทÈ	ม.	6 ..............................ผศ.​ดร.อำนวย​เดช​ ัยศรี​และคณะ
                                                                                                                                 ช
คำนำ
          คูมือครู​ แผนการจัดการเรียนรู้​ การอาชีพ​ม.​4–6​เลมนี้เป็นสื่อการเรียนรู้ที่จัดทำขึ้นเพื่อใช้เป็น​
แนวทางในการจัดการเรียนรู้โดยยึดหลักการออกแบบการจัดการเรียนรู้แบบ​Backward​Design​ที่เน้น​
ผูเ้ รียนเป็นศูนย์กลาง​(Child-Centered)​ตามหลักการยึดผูเ้ รียนเป็นสำคัญ​สงเสริมให้นกเรียนมีสวนรวม
                                                                                           ั          
ในกิจกรรมและกระบวนการเรียนรู​สามารถสร้างองค์ความรูได้ดวยตนเอง​ทังเป็นรายบุคคลและรายกลุม​
                                    ้                      ้ ้               ้                              
โดยครูมีบทบาทหน้าที่เอื้ออำนวยความสะดวกให้นักเรียนประสบผลสำเร็จ​สนับสนุนให้นักเรียนมีโอกาส
ฝึกปฏิบัติงานทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียน​ สามารถเชื่อมโยงความรู้ในกลุมสาระการเรียน​ ู้อื่น​ๆ        ร
ได้ในเชิงบูรณาการด้วยวิธีการที่หลากหลาย​ เน้นกระบวนการคิดวิเคราะห์​ สังเคราะห์​ และสามารถ
สร้างองค์ความรู้ได้ด้วยตนเอง​ ทำให้นักเรียนได้รับการพัฒนาสมรรถนะสำคัญและคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ตามที่หลักสูตรกำหนด​นำไปสูการอยูรวมกันในสังคมอยางสันติสุข
​       การจัดทำคูมอครู​แผนการจัดการเรียนรู​การอาชีพ​ม.​4–6​เลมนได้จดทำตามหลักสูตรแกนกลาง​
                    ื                        ้                     ​ ี้ ั
การศึกษาขั้นพื้นฐาน​พุทธศักราช​2551​ซึ่งครอบคลุมสาระมาตรฐานการเรียนรู้​ ​ าระ​ ี่​ 4​การอาชีพ
                                                                                ส ท
ภายในเลมได้นำเสนอแผนการจัดการเรียนรูเ้ ป็นรายชัวโมงตามหนวยการเรียนรู​ เพือให้ครูนำไปใช้ในการ​
                                                  ่                         ้ ่
จัดการเรียนรู้ได้สะดวกยิ่งขึ้น​ นอกจากนี้​ แตละหนวยการเรียนรู้ยังมีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
ทั้ง​3​ด้าน​ได้แก​ด้านความรู้​ด้านคุณธรรม​จริยธรรม​และคานิยม​และ​ ้านทักษะ/กระบวนการ​ทำให้​
                                                                        ด
ทราบผลการเรียนรู้แตละหนวยการเรียนรู้ของผู้เรียนได้ทันที
​      คูมือครู​แผนการจัดการเรียนรู้​นำเสนอเนื้อหาแบงเป็น​3​ตอน​คือ​
       ตอนที	 1	คำชีแจงการจัดแผนการจัดการเรียนรู	 ประกอบด้วยแนวทางการใช้แผนการจัดการเรียนรู้​
              ่      ้                             ้
สัญลักษณ์ลักษณะกิจกรรมการเรียนรู้​การออกแบบการจัดการเรียนรู้แบบ​Backward​Design​(BwD)​
เทคนิคและวิธีการจัดการเรียนรู้–การวัดและประเมินผลการเรียนรู้​ ตารางวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้
และตัวชีวดชวงชัน​และโครงสร้างการแบงเวลารายชัวโมงในการจัดการเรียนรู้​
        ้ั       ้                               ่
       ตอนที่	2	แผนการจัดการเรียนรู้	 ได้เสนอแนะแนวทางการจัดการเรียนรู้แตละหนวยการเรียนรู้​
ในสื่อการเรียนรู้​ สมบูรณ์แบบ​ และหนังสือเรียน​ โดยมีผังมโนทัศน์เป้าหมายการเรียนรู้และขอบขาย
ภาระงาน​ผังการออกแบบการจัดการเรียนรู้​ และแบงเป็นแผนยอยรายชั่วโมง​ซึ่งแผนการจัดการเรียนรู้
แตละแผนมีองค์ประกอบครบถ้วนตามแนวทางการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ของสถานศึกษา
ตอนที่	3	เอกสาร/ความรู้เสริมสำหรับครู	ประกอบด้วยแบบทดสอบตาง​ๆ​ได้แก​แบบทดสอบ​
กอนเรียนและหลังเรียน​แบบทดสอบปลายภาคเรียน​แบบประเมินผลงาน​แบบประเมินพฤติกรรม​และ​
คุณลักษณะ​ ันพึงประสงค์ด้านตาง​ๆ​ของนักเรียน​และความรู้เสริมสำหรับครู​ซึ่งบันทึกลงในซีดี​(CD)​
             อ
เพื่ออำนวยความสะดวกให้แกครูหรือผู้สอน
​      คูมือครู​ แผนการจัดการเรียนรู้​ การอาชีพ​ม.​4–6​เลมนี้ได้ออกแบบการเรียนรู้ด้วยเทคนิคและ
วิธีการสอนอยางหลากหลาย​ หวังวาจะเป็นประโยชน์ตอการนำไปประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนรู้ให้
เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมของนักเรียนตอไป
                                                                     คณะ	 ู้จัดทำ
                                                                        ผ
สารบัญ
    ตอนที่ 1 คำชี้แจงการจัดแผนการจัดการเรียนรู ............................................. 1
        1.​แนวทางการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ ........................................................................... 2
​       2.​สัญลักษณ์ลักษณะกิจกรรมการเรียนรู้ ......................................................................... 5
​       3.​การออกแบบการจัดการเรียนรู้แบบ​Backward​Design​(BwD)..................................... 6​
​       4.​เทคนิคและวิธีการจัดการเรียนรู้–การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ................................17
​       5.​ตารางวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดชวงชั้น .................................................19
​       6.​โครงสร้างการแบงเวลารายชั่วโมงในการจัดการเรียนรู้ ..................................................20

    ตอนที่ 2 แผนการจัดการเรียนรู .................................................................. 21
หนวยการเรียนรู้ที่	1	เปดโลกอาชีพ.............................................................................22
        n​ผังมโนทัศน์เป้าหมายการเรียนรู้และขอบขายภาระงาน .................................................22
        n​ผังการออกแบบการจัดการเรียนรู้ ..............................................................................23
        แผนการจัดการเรียนรู้ที่		1​​อาชีพรับจ้าง......................................................................25
        แผนการจัดการเรียนรู้ที่		2	 อาชีพอิสระ .......................................................................28
        แผนการจัดการเรียนรู้ที่		3	​แนวทางในการประกอบธุรกิจ .............................................31
หนวยการเรียนรู้ที่	2	เส้นทางสูงานอาชีพ ......................................................................35
        n​ผังมโนทัศน์เป้าหมายการเรียนรู้และขอบขายภาระงาน .................................................35
        n​ผังการออกแบบการจัดการเรียนรู้ ..............................................................................36
        แผนการจัดการเรียนรู้ที่		4​​การเตรียมตัวประกอบอาชีพ ...............................................39
        แผนการจัดการเรียนรู้ที่		5​​การตัดสินใจเลือกอาชีพ .....................................................43
        แผนการจัดการเรียนรู้ที่		6​​การสมัครงาน ...................................................................46
        แผนการจัดการเรียนรู้ที่		7	​การสัมภาษณ์งาน ..............................................................49
        แผนการจัดการเรียนรู้ที่		8	​การปฏิบัติตนในการประกอบอาชีพ......................................52
หนวยการเรียนรู้ที่	3	เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ.......................................................55
        n​ผังมโนทัศน์เป้าหมายการเรียนรู้และขอบขายภาระงาน .................................................55
        n​ผังการออกแบบการจัดการเรียนรู้ ..............................................................................56
        แผนการจัดการเรียนรู้ที่		9	​ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีเพื่อการทำงาน ..................58
        แผนการจัดการเรียนรู้ที่	10​​เทคโนโลยีที่ใช้ในการทำงานอาชีพ .......................................61
        แผนการจัดการเรียนรู้ที่	11​​ปฏิบัติการใช้เทคโนโลยีเพื่อการทำงาน .................................64​
หนวยการเรียนรู้ที่	4	ประสบการณ์วิชาชีพ.....................................................................67
       n​ผังมโนทัศน์เป้าหมายการเรียนรู้และขอบขายภาระงาน .........................................67
       n​​ ังการออกแบบการจัดการเรียนรู้ .....................................................................68
         ผ
       แผนการจัดการเรียนรู้ที่	12	การทำงานในการดำรงชีวิตสูงานอาชีพ ..........................71
       แผนการจัดการเรียนรู้ที่	13​ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการจำลองอาชีพ ...........................75
      	แผนการจัดการเรียนรู้ที่	14	วางแผนการจำลองอาชีพ.............................................79
       แผนการจัดการเรียนรู้ที่	15​ปฏิบัติการจำลองอาชีพ ...............................................83
       แผนการจัดการเรียนรู้ที่	16 ¡ิจ¡รรมอาชีพ ...........................................................87
       แผนการจัดการเรียนรู้ที่	17	โครงงานอาชีพ ...........................................................90
หนวยการเรียนรู้ที่	5	คุณธรรม	จริยธรรม	และคานิยมในการทำงาน ............................94
     n ผังมโนทัศน์เป้าหมายการเรียนรู้และขอบขายภาระงาน .........................................94
     n ผังการออกแบบการจัดการเรียนรู้......................................................................95
     แผนการจัดการเรียนรู้ที่	18​คุณธรรมและจริยธรรมสำหรับผู้ประกอบอาชีพ..............98
     แผนการจัดการเรียนรู้ที่	19​จรรยาบรรณวิชาชีพ .................................................101
     แผนการจัดการเรียนรู้ที่	20​คานิยมในการทำงาน ................................................104
ตอนที่ 1
     คำชี้แจงการจัดแผนการจัดการเรียนรู
                    แผนการจั การเรยน
กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี
                    การงานอาชี
2     คูมือ​ รู​แผนการ​ ัดการ​รียน​ ู้​การอาชีพ​ม.​4–6
             ค          จ เ ร

  1. แนวทางการใชแผนการจัดการเรียนรู
​        คูมือครู​ แผนการจัดการเรียนรู้​ การอาชีพ​ เลมนี้จัดทำขึ้นเพื่อเป็นแนวทางให้ครูใช้ประกอบการ
จัดการเรียนรู้กลุมสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี​ ชั้นมัธยมศึกษาป‚ที่​ 4–6​ ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน​ พุทธศักราช​ 2551​ ซึ่ง​ ารแบงหนวยการเรียนรู้สำหรับจัดทำแผนการ
                                                           ก
จัดการเรียนรู้รายชั่วโมงใน​ ูมือครู​ แผนการ​ ัดการ​รียน​ ู้เลม​ ี้​ บงเนื้อหา​ป็น​ 5​ หนวย​ สามารถใช้
                              ค                จ เ ร นแ                         เ
ควบคูกบสือการเรียนรู​การอาชีพ​สมบูรณ์แบบ​ชันมัธยมศึกษาป‚ท​4–6​และหนังสือเรียน​รายวิชาพืนฐาน​
       ั ่               ้                       ้                  ี่                              ้
การอาชีพ​ชั้นมัธยมศึกษาป‚ที่​4–6​ประกอบด้วยหนวยการเรียนรู้​ดังนี้
         หนวยการเรียนรู้ที่	1	เปิดโลกอาชีพ
         หนวยการเรียนรู้ที่	2​เส้นทางสูงานอาชีพ
         หนวยการเรียนรู้ที่	3	เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
         หนวยการเรียนรู้ที่	4​ประสบการณ์วิชาชีพ
         หนวยการเรียนรู้ที่	5	คุณธรรม​จริยธรรม​และคานิยมในการทำงาน
​        แผนการจัดการเรียนรู้นี้ได้นำเสนอรายละเอียดไว้ครบถ้วนตามแนวทางการจัดทำแผนการจัดการ
เรียนรูของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน​โดยออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนให้นกเรียน​
       ้                                      ้ ้                                                  ั
ได้พัฒนาองค์ความรู้​ สมรรถนะสำคัญ​ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ไว้อยางครบถ้วนตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน​ พุทธศักราช​ 2551​ ซึ่งครูควรศึกษาแผนการจัดการเรียนรู้นี้ให้ละเอียด
เพื่อปรับใช้ให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อม​สถานการณ์​และสภาพของนักเรียน
​        ในแตละหนวยการเรียนรู้จะแบงแผนการจัดการเรียนรู้ออกเป็นรายชั่วโมง​ซึ่งมีจำนวนชั่วโมงมาก
น้อยไมเทากันขึ้นอยูกับความยาวของเนื้อหาสาระ​และในแตละหนวยการเรียนรู้มีองค์ประกอบดังนี้
         1.	ผังมโนทัÈน์เป‡าหมายการเรียนรู้และขอบขายภาระงาน​ แสดงขอบขายเนื้อหาการจัดการ
เรียนรู้ที่ครอบคลุมความรู้​คุณธรรม​จริยธรรม​คานิยม​ทักษะ/กระบวนการ​และภาระงาน/ชิ้นงาน
         2.	กรอบแนวคิดการออกแบบการจัดการเรียนรู้	BwD	(Backward​Design​Template)​เป็นผัง
แสดงแนวคิดในการจัดการเรียนรู้ของแตละหนวยการเรียนรู้​แบงเป็น​3​ขั้น​ได้แก
              ขั้นที่	1	ผลลัพธ์ปลายทางที่ต้องการให้เกิดขึ้นกับนักเรียน
                       ​
              ขั้นที่	2	ภาระงานและการประเมินผลการเรียนรู้ซึ่งเป็นหลักฐานที่แสดงวานักเรียนมีผลการ
                       ​
เรียนรู้ตามที่กำหนดไว้อยางแท้จริง
              ขั้นที่	3	แผนการจัดการเรียนรู้จะระบุวาในหนวยการเรียนรู้นี้แบงเป็นแผนการจัดการเรียนรู้
                       ​
กี่แผน​และแตละแผนใช้เวลาในการจัดกิจกรรมกี่ชั่วโมง
         3.	แผนการจัดการเรียนรู้	 เป็นแผนการจัดการเรียนร้ตามกรอบแนวคิดการออกแบบการจัดการ​
                                                                ู
เรียนรู้แบบ​BwD​ประกอบด้วย
              3.1	ชื่อแผนการจัดการเรียนรู้​ ประกอบด้วยลำดับที่ของแผน​ ชื่อแผน​ และเวลาเรียน​ เชน​
แผนการจัดการเรียนรู้ที่​1​เรื่อง​อาชีพ​ ับจ้าง​เวลา​2​ชั่วโมง
                                         ร
              3.2	สาระสำคัญ​ เป็นความคิดรวบยอดของเนื้อหาที่นำมาจัดการเรียนรู้ในแตละแผนการ
จัดการเรียนรู้
คูมือ​ รู แผนการ​ ัดการ​รียน​ ู้ การอาชีพ ม. 4–6
                                                            ค          จ เ ร                              3
		 3.3	ตัวชี้วัดชวงชั้น เป็นตัวชี้วัดที่ใช้ตรวจสอบนักเรียนหลังจากเรียนจบเนื้อหาที่นำเสนอใน
แต่ละแผนการจัดการเรียนรู้นั้น ๆ ซึ่งสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ของหลักสูตร
		 3.4	จุดประสงค์การเรียนรู้ เป็นส่วนทีบอกจุดมุงหมายทีตองการให้เกิดขึนกับนักเรียนภายหลัง
                                                  ่           ่      ่ ้            ้
จากการเรียนจบในแต่ละแผน ทั้งในด้านความรู้ (K) ด้านคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม (A) ​ ละ              แ
ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) ซึ่งสอดคล้องสัมพันธ์กับตัวชี้วัดชวงชั้นและเนื้อหาในแผนการจัดการ
เรียนรู้นั้น ๆ
		 3.5	การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ เป็นการตรวจสอบผลการจัดการเรียนรู้ว่า หลังจาก
จัดการเรียนรู้ในแต่ละแผนการจัดการเรียนรู้แล้ว นักเรียนมีพัฒนาการ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตาม
เป้าหมายที่คาดหวังไว้หรือไม่  และมีสิ่งที่จะต้องได้รับการพัฒนา ปรับปรุง หรือส่งเสริมในด้านใดบ้าง
ดังนั้น ในแต่ละแผนการจัดการเรียนรู้จึงได้ออกแบบวิธีการและเครื่องมือในการวัดและประเมินผล
การเรียนรู้ด้านต่าง ๆ ของนักเรียนไว้อย่างหลากหลาย เช่น การทำแบบทดสอบ การตอบคำถามสั้น ๆ
การตรวจผลงาน การสังเกตพฤติกรรมทั้งที่เป็นรายบุคคลและรายกลุม เป็นต้น โดยเน้นการปฏิบัติให้
                                                                         ่
สอดคล้องและเหมาะสมกับตัวชี้วัดและมาตรฐานการเรียนรู้
		 วิธีการและเครื่องมือในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้เหล่านี้ ครูสามารถนำไปใช้ประเมิน
นักเรียนได้ทั้งในระหว่างการจัดการเรียนรู้และการทำกิจกรรมต่าง ๆ ตลอดจนการนำความรู้ไปใช้ในชีวิต
ประจำวัน
		 3.6	สาระการเรียนรู้ เป็นหัวข้อย่อยที่นำมาจัดการเรียนรู้ในแต่ละแผนการจัดการเรียนรู้ ซึ่ง
สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้แกนกลาง
		 3.7	แนวทางบูรณาการ เป็นการเสนอแนะแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในเรื่องที่เรียน
ของแต่ละแผนให้เชือมโยงสัมพันธ์กนกับสาระการเรียนรูอน ๆ ได้แก่ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์
                   ่                  ั                ้ ื่
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ และภาษาต่างประเทศ เพื่อให้การ
เรียนรู้สอดคล้องและครอบคลุมสถานการณ์จริง
		 3.8	กระบวนการจัดการเรียนรู้ เป็นการเสนอแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในเนื้อหา
แต่ละเรือง โดยใช้แนวคิดและทฤษฎีการเรียนรูตาง ๆ ตามความเหมาะสม ทังนีเ้ พือให้ครูนำไปใช้ประโยชน์
         ่                                    ้ ่                            ้ ่
ในการวางแผนการจัดการเรียนรูได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึงกระบวนการจัดการเรียนรูประกอบด้วย 5 ขัน
                                    ้                       ่                          ้              ้
ได้แก่
				ขั้นที่ 1 ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
				ขั้นที่ 2 ขั้นสอน
				ขั้นที่ 3 ขั้นสรุป
				ขั้นที่ 4 ขั้นฝึกฝนนักเรียน
				ขั้นที่ 5 ขั้นนำไปใช้
		 3.9	กิจกรรมเสนอแนะ เป็นกิจกรรมสำหรับให้นักเรียนได้พัฒนาเพิ่มเติมในด้านต่ าง ๆ
นอกเหนือจากทีได้จดการเรียนรูมาแล้วในชัวโมงเรียน กิจกรรมเสนอแนะมี 2 ลักษณะ คือ กิจกรรมสำหรับ
                 ่ ั              ้        ่
กลุม​ นใจ​ ิเศษ​ จัด​ห​ กผู้ที่มีความสามารถพิเศษและต้องการศึกษาค้นคว้าในเนื้อหานั้น ๆ ให้ลึกซึ้ง
      ส พ            ใ แ
กว้างขวางยิ่งขึ้น และกิจกรรมสำหรับฝก​ ักษะ​พิ่มเติม จัด​ห​ ก​ ูที่​ องการเรียนรู้ให้ครบตามเป้าหมาย
                                          ท เ                   ใ แ ผ ต
ซึ่งมีลักษณะเป็นการซ่อมเสริมความรู้ให้แก่นักเรียน
4     คูมือ​ รู แผนการ​ ัดการ​รียน​ ู้ การอาชีพ ม. 4–6
             ค          จ เ ร

		 3.10	สือ/แหล่งการเรียนรู้ เป็นรายชือสือการเรียนรูทกประเภททีใช้ในการจัดการเรียนรู้ ซึงมีทง
                 ่                          ่ ่            ้ ุ       ่                  ่ ั้
สื่อธรรมชาติ สื่อสิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ และสื่อบุคคล เช่น หนังสือ เอกสารความรู้ รูปภาพ
เครือข่ายอินเทอร์เน็ต วีดิทัศน์ ปราชญ์ชาวบ้าน เป็นต้น
		 3.11	บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ เป็นส่วนที่ให้ครูบันทึกผลการจัดการเรียนรู้ว่าประสบความ
สำเร็จหรือไม่  มีปัญหาหรืออุปสรรคอะไรเกิดขึ้นบ้าง ได้แก้ไขปัญหาและอุปสรรคนั้นอย่างไร และข้อ
เสนอแนะสำหรับการจัดการเรียนรู้ครั้งต่อไป
	       นอกจากนี้ยังอำนวยความสะดวกให้ครู โดยจัดทำแบบทดสอบ แบบประเมินผลพฤติกรรม
ด
​ านต่าง ๆ และความรู้เสริมสำหรับครูบันทึกลงในซีดี (CD) ประกอบด้วย
	          	1.	แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน เป็นแบบทดสอบเพือใช้วดและประเมินผลนักเรียน
                                                                    ่ ั
ก่อนการจัดการเรียนรู้และหลังการจัดการเรียนรู้
	          	2.	แบบทดสอบปลาย​ าคเรียน เป็นแบบทดสอบเพื่อใช้วัดและประเมินผลการเรียนรู้ปลาย​
                                   ภ
ภาคเรียน ซึ่งประเมินผล 3 ด้าน ได้แก่
			1)	ด้านความรู้ มีแบบทดสอบทั้งที่เป็นแบบปรนัยและอัตนัย
			2)	ด้านคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม เป็นตารางการประเมิน
			3)	ด้านทักษะ/กระบวนการ เป็นตารางการประเมิน
	          	3.	แบบประเมินผลการจัดกิจกรรมต่าง ๆ เช่น แบบประเมินผลงาน แบบบันทึกความรู้
	          	4.	ความรู้เสริมสำหรับครู เป็นการนำเสนอความรู้ในเรื่องต่าง ๆ แก่ครู เช่น
			1)	หลักการจัดทำแฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) และวิธีการคัดเลือกผลงานเพื่อเก็บใน
แฟ้มสะสมผลงาน
			2)	ความรู้เรื่องโครงงาน
		 5.	แบบฟอร์มโครงสร้างแผนการจัดการเรียนรู้ ทีออกแบบการจัดการเรียนรูแบบ Backward
                                                            ่                     ้
Design ครูควรศึกษาแผนการจัดการเรียนร้เู พ่อเตรียมการสอนอย่างมีประสิทธิภาพและจัดกิจกรรมให้
                                              ื
นักเรียนได้พัฒนาครบทุกสมรรถนะสำคัญที่กำหนดไว้ในหลักสูตร กล่าวคือ สมรรถนะในการสื่อสาร
การคิด การแก้ปัญหา การใช้ทักษะชีวิต และการใช้เทคโนโลยี รวมถึงคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตาม
หลักสูตรและกิจกรรมเสนอแนะเพื่อ​ ารเรียน​ ูเพิ่มเติมให้เต็มตามศักยภาพของนักเรียนแต่ละคน ซึ่งได้
                                     ก     ร
กำหนดไว้ในแผนการจัดการเรียนรู้นี้แล้ว
	      นอกจากนี้ ครู​ ังสามารถปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับสภาพความพร้อมของ
                    ย
นักเรียน และสถานการณ์เฉพาะหน้า ซึ่งจะใช้เป็นผลงานเพื่อเลื่อนวิทยฐานะได้ แผนการจัดการเรียนรู้นี้
ได้อำนวยความสะดวกให้ครู โดยจัดพิมพ์โครงสร้างแผนการจัดการเรียนรู้ที่ออกแบบการจัดการเรียนรู้
แบบ Backward Design ให้ครูเพิ่มเติมเฉพาะส่วนที่ครูปรับปรุงเองไว้ด้วยแล้ว​
คูมือ​ รู​แผนการ​ ัดการ​รียน​ ู้​การอาชีพ​ม.​4–6
                                                               ค          จ เ ร                              5

      2. สัญลักษณลักษณะกิจกรรมการเรียนรู
​       สัญลักษณ์ลักษณะกิจกรรมการเรียนรู้เป็นเครื่องหมายที่ปรากฏอยูในสื่อการเรียน​ ู้​ การ​ าชีพ​
                                                                                  ร        ​
                                                                                           อ
สมบูรณ์แบบ​และ​ บบฝึกทักษะ​รายวิชาพื้นฐาน​การ​ าชีพทุกเลม​โดยกำหนดสัญลักษณ์กำกับกิจกรรม
                  แ                               อ
การเรียนรูไว้ทกกิจกรรม​ เพือชวยให้ครูและนักเรียนทราบลักษณะที่ต้องการเน้นของกิจกรรมนั้น​ๆ​ เพื่อ
           ้ ุ             ่
ที่จะจัดกิจกรรมให้บรรลุเป้าหมาย​สัญลักษณ์ลักษณะกิจกรรมการเรียนรู้มีดังนี้​
        1. ÊÑÞÅѡɳËÅÑ¡¢Í§¡ÅØ‹ÁÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ¡ÒçҹÍÒªÕ¾áÅÐà·¤â¹âÅÂÕ

               โครงงาน​ ​ป็น​ ิจกรรม​ ี่​ ุง​ ัฒนาการ​ ิด​​ าร​ าง​ ผน​​ ละ​ าร​ ก้ปัญหา
                        เ ก         ทม พ              ค ก ว แ แ ก แ

            การ	 ั²นา	 ระบวนการ	 ิด​ เป็น​ ิจกรรม​ ี่​ ำหนด​ห้​ ักเรียน​ด้​ช้​ ระบวนการ​ ิด​พื่อ​
                 พ ก                  ค          ก       ทก ใ น        ไ ใ ก           ค เ
​       ​ ​ เพิ่มพูน​ ักษะ​ าร​ ิด​ ้าน​ าง​​ ​​ อง​ น​อง
                    ท ก ค ด ต ๆข ต เ
            การ	 ระยุกต์	ช้	น	 ีวิต	 ระจำวัน​ ​ป็น​ ิจกรรม​ ี่​ ำหนด​ห้​ ักเรียน​ ำ​ วามรู้​ ละ​ ักษะ​
               ป         ใ ใ ช ป              เ ก          ทก       ใ น         นค แ ท
​       ​ ​ ไป​ช้​ ก้ปัญหา​น​ ถานการณ์​ ริง​น​ ีวิต​ ระจำวัน
              ใแ          ใ ส           จ ใ ช ป
            การ	 ฏิบัติ	 ริง/	 ƒก	 ักษะ​ ​ป็น​ ิจกรรม​ ี่​ ำหนด​ห้​ ักเรียน​ด้​ ึก​ ฏิบัติ​พื่อ​ห้​กิด​
                ป จ ½ ท                   เ ก           ทก      ใ น        ไ ฝ ป เ ใ เ
​       ​ ​ ทักษะ​ ึ่ง​ ะ​ วย​ห้การ​รียนรู้​ป็นไปตาม​ป้าหมาย​ ละ​กิด​ วาม​ข้า​จ​ ี่​ งทน
                 ซจช ใ เ                    เ        เ       แ เ ค เ ใ ทค
            ความคิด	 ร้างสรรค์​ เป็น​ ิจกรรม​ ี่​ ำหนด​ห้​ ักเรียน​ด้​ ัฒนา​ วามคิด​ ร้างสรรค์​
                    ส                   ก         ทก         ใ น        ไ พ ค             ส
​       ​ ​ ลักษณะ​ าง​ ​ ​ ​ด้​ ก​ ​ วามคิด​ ิเริ่ม​ ​ วาม​ ลอง​น​ าร​ ิด​ ความยืดหยุน​นการคิด
                   ต ๆ ไ แ ค                  ร ค ค ใ ก ค                                  ใ
​​​     ​ ​ และ​ วามคิดละเอียดลออ
                ค
           2. ÊÑÞÅѡɳàÊÃÔÁ¢Í§¡ÅØ‹ÁÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ¡ÒçҹÍÒªÕ¾áÅÐà·¤â¹âÅÂÕ
            การ	 ำประโยชน์	 ห้	 ังคม​ ​ป็น​ ิจกรรม​ ี่​ ำหนด​ห้​ ักเรียน​ ำ​ วามรู้​ป​ ฏิบัติ​น​ าร​
               ท             ใ ส       เ ก              ทก      ใ น          นค ไ ป ใ ก
​       ​ ​ ทำประโยชน์​ ก​ วนรวม​​พื่อ​ห้​ ยูรวม​ ัน​น​ ังคม​ ยาง​ ี​ วาม​ ุข
                      แ ส          เ ใ อ            ก ใ ส อ มค ส
            การ	 ึกษา	 ้นคว้า/	 ืบค้น​ ​ป็น​ ิจกรรม​ ี่​ ำหนด​ห้​ ักเรียน​ ึกษา​ ้นคว้า​ รือ​ ืบค้น
                È ค             ส           เ ก            ทก       ใ น           ศ ค  ห ส
​       ​ ​ ข้อมูล​ าก​ หลง​ ารเรียนรู้​ าง​​ ​​พื่อ​ ร้าง​ งค์ความรู้​ ้วย​ น​อง
                  จ แ ก                 ต ๆเ ส อ                        ด ต เ

            การ	 ำรวจ​ เป็น​ ิจกรรม​ ี่​ ำหนด​ห้​ ักเรียน​ ำรวจ​ ละรวบรวม​ ้อมูล​พื่อ​ ำมา​ ึกษา
                ส            ก         ทก        ใ น          ส แ                  ข เ น ศ
​       ​ ​ วิเคราะห์​ าเหตุ​​ า​ ล​​ ละ​ รุป​ ้อมูล​​พื่อ​ห้​กิด​ งค์ความรู้​ ้วย​ น​อง
                     ห       หผ แ ส ข                เ ใ เ อ                 ด ต เ

            การ	 ังเกต​ เป็น​ ิจกรรม​ ี่​ ำหนด​ห้​ ักเรียน​ ู้จัก​ ังเกต​ ิ่ง​ ี่​ ้องการ​รียนรู้​ น​ ามารถ
                ส             ก         ทก      ใ น        ร ส ส ทต                      เ       จ ส
​       ​ ​ สร้าง​ งค์ความรู้​ด้​ ยาง​ป็นระบบ​ ละ​ ี​หตุผล​ ​
                 อ           ไ อ เ            แ มเ         ​            ​
6     คูมือ​ รู​แผนการ​ ัดการ​รียน​ ู้​การอาชีพ​ม.​4–6
                ค          จ เ ร


                  ทักษะ	 าร	 ูด​​ป็น​ ิจกรรม​ ี่​ ำหนด​ห้นักเรียน​ด้​ ัฒนา​ ักษะ​ าร​ ูด​ ระเภท​ าง​​ ​​
                       ก พ เ ก              ทก        ใ          ไ พ ท ก พ ป                   ต ๆ

             	 ิจกรรม	 ำหรับ	 ลุม	 ิเÈษ​ ​ป็น​ ิจกรรม​ ำหรับ​ห้​ ักเรียน​ช้​ ัฒนาการ​รียนรู้​พื่อ​
             ก        ส      ก พ            เ ก       ส      ใ น         ใ พ         เ       เ
​        ​ ​ เติมเต็ม​ ักยภาพ​ าร​รียนรู้​ อง​ น​อง
                     ศ       ก เ         ข ต เ

             กิจกรรม	 ำหรับ	 อม	สริม​ ​ป็น​ ิจกรรม​ ำหรับ​ห้​ ักเรียน​ช้​รียน​ อม​สริม​พื่อ​ห้​กิด​
                     ส       ซ เ               เ ก ส      ใ น         ใ เ ซ เ เ ใ เ
​        ​ ​ การ​รียนรู้​ ามตัว​ ี้​ ัดชวงชั้น
                 เ      ต ชว


    3. การออกแบบการจัดการเรียนรูแบบ Backward Design (BwD)
​           การ​ ัดการ​รียนรู้​ รือ​ าร​ อน​ป็นงาน​ ี่​ รู​ ุกคน​ ้อง​ช้​ ลวิธี​ าง​ๆ​ มากมาย​พื่อให้​ ักเรียน
                 จ        เ      ห ก ส เ                        ทค ท ต ใ ก ต                                           เ         น
สนใจ​ ี่จะ​รียนรู้​ ละ​กิดผล​ ามที่​ รู​ าดหวัง​ การ​ ัดการ​รียนรู้​ ัด​ป็น​ าสตร์​ ี่​ ้อง​ช้​ วามรู้
          ท เ             แ เ          ต ค ค                              จ          เ       จ เ ศ                    ทต ใ ค
ความ​ ามารถ​ ลอดจน​ ระสบการณ์​ ยาง​ าก​ ครู​ างคน​ าจจะ​ ะเลย​รื่อง​ อง​ าร​ อกแบบ​ าร​ ัด
         ส             ต       ป                อ ม                   บ       อ ล เ ข ก อ                                          ก จ
การ​รียนรู้​ รือ​ าร​ อกแบบ​ าร​ อน​ซึ่ง​ป็นงาน​ ี่​ รู​ ะ​ ้อง​ ำ​ อน​ าร​ขียน​ ผนการ​ ัดการ​รียนรู้
       เ        ห ก อ               ก ส               เ          ทค จ ต ท ก ก เ แ                                   จ เ
	           การ	 อกแบบ	 าร	 ัดการ	รียนรู้	 ำ	 ยางไร	ทำไม	 ึง	 ้อง	 อกแบบ	 าร	 ัดการ	รียนรู้
                 อ          ก จ เ                ทอ                      จต อ                  ก จ เ
​           ครู​ ุกคน​ าน​ าร​ ึกษา​ ละ​ด้​รียนรู้​กี่ยวกับ​ าร​ อกแบบ​ ารจัดการ​รียนรู้​ าแล้ว​ ในอดีต​ าร
                ท ผ ก ศ แ ไ เ                                เ        ก อ                ก              เ          ม                    ก
ออกแบบการจัดการ​รียนรูจะ​ริมต้นจาก​ าร​ ำหนด​ ดประสงค์การ​รียนรู​การ​ างแผนการ​ ดการ​รียนรู้​
                         ​ เ      ​ เ่ ​ ก ก
                                  ้                                 จุ               ​ เ          ้ ว                     จั เ
การ​ ำเนินการ​ ดการ​รียนรู​และ​ าร​ ดและ​ ระเมินผลการเรียน​​ปัจจุบนการ​รียนรูได้มการเปลียนแปลง​
      ด               จั เ ้ ก วั ​ ป                               ​                รู้     ั ​ เ ​ ​​           ้ ี          ่
ไปตาม​ ภาพแวดล้อม​เศรษฐกิจ​และ​ ังคม​รวมทั้ง​ าร​ปลี่ยนแปลง​ ้าน​ ิทยาศาสตร์​ ละ​ทคโนโลยี​ ี่​
            ส                                     ส                    ก เ                  ด ว                       แ เ                 ท
เข้ามา​ ี​ ทบาท​ อ​ าร​ ึกษาของ​ ักเรียน​ซึ่ง​ ักเรียน​ ามารถ​รียนรู้​ด้​ าก​ ื่อ​ ละ​ หลงการ​รียนรู้​ าง​ๆ​
         มบ             ตก ​ ศ           น                   น        ส        เ          ไ จ สแ แ                         เ        ต
ที่​ ี​ ยู​ อบตัว​ ดังนั้น​ าร​ อกแบบ​ าร​ ัดการ​รียนรู้​ ึง​ป็น​ ระบวนการ​ ำคัญ​ ี่​ รู​ ำเป็นต้อง​ ำเนินการ​
   มอ ร                      ก อ             ก จ เ                   จเ ก                     ส ทค จ                         ด
ให้​หมาะสมกับ​ ักยภาพ​ อง​ ักเรียน​ ตละคน
    เ                   ศ       ข น            แ
​           วิก​ ินส์​ ละ​ มกไท​ นักการ​ ึกษา​ าวอเมริกัน​ด้​สนอ​ นวคิด​กี่ยวกับ​ าร​ อกแบบ​ าร​ ัดการ
                ก แ แ                         ศ ช                       ไ เ แ               เ               ก อ              ก จ
เรียนรู้​ ที่​ขา​รียกวา​ Backward​ Design​ ซึ่ง​ป็นการ​ อกแบบ​ าร​ ัดการ​รียนรู้​ ี่​ รู​ ะ​ ้อง​ ำหนด
                เ เ                                              เ         อ             ก จ             เ         ทค จ ต ก
ผลลัพธ์​ ลายทาง​ ี่​ ้องการ​ห้​กิด​ ึ้นกับ​ ักเรียน​ อน​ โดย​ขา​ ั้งสอง​ห้​ ื่อวา​ ความ​ข้าใจ​ ี่​ งทน​
              ป           ทต         ใ เ ข น                        ก             เ ท             ใ ช                    เ ทค
(Enduring​ Understandings)​ เมื่อ​ ำหนด​ วาม​ข้าใจ​ ี่​ งทน​ด้​ ล้ว​ ครู​ ะ​ ้อง​ อก​ห้​ด้​ า
                                                   ก             ค เ ทค ไ แ                                    จ ต บ ใ ไ ว
ความ​ข้าใจ​ คงทนของ​ กเรียน​ เ​กิดจาก​ ะไร​นักเรียน​ ะ​ อง​ หรือแสดง​ ฤติกรรม​ ะไร​ าง​ครูมหรือ​
         เ ท​      ี่         นั        นี้ ​ อ                           จ ต้ ม​ ​ พ ี                             อ บ้            ​​ี
ใช้​ ิธีการ​ ัด​ ะไร​ ้าง​ ี่จะ​ อกวา​ ักเรียน​ ี​ รือ​ สดง​ ฤติกรรม​หลานั้น​ ล้ว​ จากนั้น​ รู​ ึง​ ึกถึง​ ิธีการ​
    ว ว อ บ ท บ น                                      มห แ พ                        เ          แ                    คจน ว
จัดการ​รียนรู้​ ี่จะ​ ำให้​ ักเรียน​กิด​ วาม​ข้าใจ​ ี่​ งทน​ อไป
            เ         ท ท น             เ ค เ ทค ต
	           แนวคิด	Backward	Design
​           Backward​Design​เป็นการ​ อกแบบ​ าร​ ดการ​รียนรูทใช้ผลลัพธ์ปลายทาง​ป็นหลัก​​ซึงผลลัพธ์
                                             อ               ก จั เ             ​​ ​
                                                                                ้ ี่              ​              เ            ่​
ปลาย​ างนี้ ​ ะ​กิ ด ​ ึ้ น กั บ ​ ั ก เรี ย น​ ็ ต  อ เมื่ อ ​ บ​ น ว ย​ าร​รี ย นรู ้ ​ ทั้ ง นี้ ​ รู ​ ะ​ ้ อ ง​ อกแบบ​ าร​ ั ด
           ท จ เ ข น                          ก                จ ห ก เ                                ค จ ต อ                     ก จ
การ​รียนรู้​ โดย​ช้​ รอบ​ วามคิด​ ี่​ป็น​หตุ​ป็นผล​ ละ​ ี​ วาม​ ัมพันธ์กัน​ จากนั้น​ ึง​ ะ​ งมือ​ขียน​ ผน
       เ                 ใก ค               ทเ เ เ                 แ มค ส                                      จจล เ แ
การ​ ัดการ​รียนรู้​ขยาย​ ายละเอียด​พิ่ม​ติมให้​ ี​ ุณภาพ​ ละ​ ระสิทธิภาพ​ อไป
       จ เ                     ร              เ เ               มค         แ ป                        ต
คูมือ​ รู แผนการ​ ัดการ​รียน​ ู้ การอาชีพ ม. 4–6
                                                                ค          จ เ ร                              7
	        กรอบ​ วามคิด​ ลัก​ อง​ าร​ อกแบบ​ าร​ ัดการ​รียนรู ​ Backward Design มี​ ั้นตอน​ ลัก​
               ค     ห ข ก อ             ก จ        เ                            ข       ห
ที่​ ำคัญ 3 ขั้น คือ
   ส
	       ขั้น​ ี่ 1	กำหนด​ ลลัพธ​ ลายทาง​ ี่​ องการ​ห​กิด​ ึ้นกับ​ ักเรียน
            ท             ผ         ป        ทต        ใ เ ข น
	       ขั้น​ ี่ 2	กำหนด​ าระ​าน​ ละ​ าร​ ระเมิน​ ลการเรียน​ ู​ ึ่ง​ปน​ ลักฐาน​ ี่​ สดงวา​ ักเรียนมี​ ล
            ท             ภ ง แ ก ป                  ผ               รซ เ ห          ทแ       น               ผ
การเรียน​ ู​ ามที่​ ำหนด​ว​ ยาง​ ทจริง
           รต ก            ไอ แ
	       ขั้น​ ี่ 3	วางแผนการ​ ัดการ​รียนรู
            ท                   จ เ
	       ขั้น​ ี่ 1 กำหนด​ ลลัพธ​
             ท            ผ           ปลายทาง​ ตองการ​ห​ ด​ ึ้นกับ​ ักเรียน
                                              ที่​     ใ เกิ ข น
	       กอน​ ี่จะ​ ำหนด​ ลลัพธ​ ลายทาง​ ี่​ องการ​ห​กิด​ ึ้นกับ​ ักเรียน​ ั้น ครู​ วร​ อบ​ ำ​ ามสำคัญ​
                ท ก        ผ          ป        ทต       ใ เ ข น              น        ค ต คถ
ตอไปนี้
	       –	นักเรียน​ วร​ ะ​ ีความรู ความ​ขาใจ และ​ ามารถ​ ำ​ ิ่ง​ด​ด​ าง
                      ค จม                   เ          ส         ทสใ ไ บ
	       –	เนือหา​ าระ​ด​ าง​ ​ ​ วาม​ ำคัญตอ​ าร​ ราง​ วาม​ขาใจ​ อง​ กเรียน​ และ​ วาม​ขาใจที​ งทน
                ้ ส ใ บ ทมค ส   ่ี ี              ก ส ค เ ข นั                          ค เ            ค
                                                                                                        ่
(Enduring Understandings) ที่​ รู​ องการ​ ัดการ​รียนรู​ห​ ก​ ักเรียน​ ี​ ะไร​ าง
                                       คต         จ เ         ใ แ น         มอ บ
	       เมื่อ​ ะ​ อบ​ ำ​ าม​ ำคัญ​ ังกลาว​ างตน ให​ รู​ ึกถึง​ปาหมาย​ อง​ าร​ ึกษา มาตรฐานการเรียนรู​
             จต คถ ส ด                       ข        คน เ                ข ก ศ
ดาน​นื้อหา​ ะดับชาติ​ ี่​ รากฏ​ ยู​น​ ลักสูตรแกนกลาง​ าร​ ึกษา​ ั้น​ ื้นฐาน พุทธศักราช 2551 รวมทั้ง
    เ        ร          ทป อ ใ ห                           ก ศ ข พ
มาตรฐาน​ าร​รียนรู​ ะดับ​ขต​ ื้นที่​ าร​ ึกษาหรือ​ องถิ่น
            ก เ        ร เ พ ก ศ                     ท
	       การ​ บ​ วนความ​ าดหวัง​ อง​ ลักสูตร​ กนก​ างการ​ ึกษา​ ั้น​ ื้นฐาน เนื่องจาก​ าตรฐาน​ ตละ​
             ท ท            ค          ข ห         แ ล            ศ ข พ                     ม             แ
ระดับ​ ะ​ ีความ​ ัมพันธกับ​นื้อหา​ าระ​ าง ๆ ซึ่ง​ ี​ วาม​ ตกตาง​ ดหลั่น​ ัน​ป ดวย​หตุนี้​ ั้น​ ี่ 1 ของ
      จม           ส          เ         ส ต          มค แ              ล      ก ไ        เ ข ท
Backward Design ครู​ ึง​ อง​ ัด​ ำดับ​ วาม​ ำคัญ​ ละ​ลือก​ ลลัพธ​ ลายทาง​ อง​ ักเรียน ซึ่ง​ปน​
                            จต จ ล ค ส แ เ ผ                                 ป         ข น                  เ
ผลการเรียน​ ู​ ี่เกิด​ าก​ วาม​ขาใจ​ ี่​ งทน​ อไป
                รท จ ค เ ทค ต
	      ความ​ขาใจ​ ี่​ งทน​ อง​ ักเรียน
           เ ทค ข น
	      ความ​ขาใจ​ ี่​ งทน​ ือ​ ะไร ความ​ขาใจ​ ี่​ งทน​ปน​ วามรู​ ี่​ ึกซึ้ง ไดแก ความคิด​ วบยอด
           เ ทค ค อ                         เ ทค เ ค ทล                                           ร
ความ​ ัมพันธ  และ​ ลักการ​ อง​นื้อหา​ ละ​ ิชา​ ี่​ ักเรียน​รียนรู  หรือ​ ลาว​ ีกนัยหนึ่ง​ปน​ วามรู​ ี่​ ิง
      ส               ห        ข เ       แ ว ทน            เ             ก อ               เ ค ทอ
​นื้อหา ความรู​ ี้​กิด​ าก​ าร​ ะสม​ อมูล​ าง ๆ ของ​ ักเรียน ​ ละ​ปน​ งคความรู​ ี่​ ักเรียน​ รางขึ้น​
เ              นเ จ ก ส ข ต                             น        แ เ อ                 ทน          ส
ดวย​ น​อง
     ต เ
	       การ​ขียน​ วาม​ขาใจ​ ี่​ งทน​น​ าร​ อกแบบ​ าร​ ัดการ​รียนรู
            เ ค เ ทค ใ ก อ                           ก จ เ
	       ถา​ วาม​ขาใจ​ ี่​ งทน​ มายถึงสาระสำคัญ​ อง​ ิ่ง​ ี่จะ​รียนรู​ ลว ครู​ วร​ ะ​ ูวา​ าระสำคัญ
           ค เ ทค ห                                 ข สท เ             แ        ค จร ส
หมายถึง​ ะไร คำ​ า สาระสำคัญ มาจาก​ ำ​ า Concept ซึ่ง​ ักการ​ ึกษา​ อง​ทย​ ปลเปน​ าษาไทย​ า
         อ         ว                        คว                น ศ ข ไ แ                       ภ        ว
สาระสำคัญ ความคิด​ วบยอด มโนทัศน มโน​ ติ และ​ ังกัป ซึ่ง​ าร​ขียน​ ผนการ​ ัดการ​รียนรู​ ิยม​ช​
                      ร                         ม      ส         ก เ แ             จ เ            น ใ
คำ​ า สาระสำคัญ
  ว
	       สาระสำคัญเ​ปนขอความ​ แสดง​ กนหรือเ​ปาหมาย​กียวกับเ​รือง​ด​รือง​ นึง เพือใหไดขอสรุปรวม​
                       ​       ท​ แ ​
                                  ี่                     เ ่       ่ ใ เ ่ ห ่ ่ ​ ​                ​
และ​ อ​ ตกตาง​กี่ยวกับ​รื่อง​ด​รื่อง​ นึ่ง โดย​ าจ​ รอบคลุม​ อเท็จจริง กฎ ทฤษฎี ประเด็น และ
     ข แ         เ         เ ใ เ ห               อ ค           ข
การ​ รุป​ าระสำคัญ​ ละ​ อความ​ ี่​ ี​ ักษณะ​ วบยอด​ ยาง​ ื่น
   ส ส               แ ข          ทมล         ร      อ อ
	       ประเภท​ อง​ าระสำคัญ
                ข ส
	       1.	ระดับ​ วาง (Broad Concept)
                 ก
	       2.	ระดับ​ าร​ ำไปใช (Operative Concept หรือ Functional Concept)
                 ก น
8   คูมือ​ รู แผนการ​ ัดการ​รียน​ ู้ การอาชีพ ม. 4–6
              ค          จ เ ร

	       ตัวอยาง​ าระสำคัญ​ ะดับ​ วาง
                 ส           ร ก
	       – 	 ารสร้างสิ่งของเครื่องใช้ควรสร้างตามขั้นตอนของกระบวนการเทคโนโลยี
           ก
	       ตัวอยาง​ าระสำคัญ​ ะดับการ​ ำไปใช
                 ส           ร         น
	       –	การ​ ราง​ งของ​ครืองใชควร​ ราง​ าม​ นตอน​ อง​ ระบวนการ​ทคโนโลยี ไดแก กำหนดปญหา
               ส สิ่ เ ่ ​ ส ต ขั้                     ข ก             เ
หรือ​ วาม​ องการ รวบรวม​ อมูล เลือก​ ิธีการ​ กปญหา ออกแบบ​ ละ​ ฏิบัติ ประเมิน และ​ รับปรุง
     ค ต                       ข           ว แ                      แ ป                     ป
ห พ
​ รือ​ ัฒนา
	       แนว​ างการ​ขียน​ าระสำคัญ
             ท      เ ส
	       1.	ให​ขียน​ าระสำคัญ​ อง​ ุก​รื่​ ง โดย​ ยก​ปน​ อ ​ (จำนวน​ อ​ อง​ าระสำคัญ​ ะ​ทากับ
               เ ส               ข ท เอ           แ เ ข ๆ                ข ข ส             จเ
จำนวน​รื่อง)
        เ
	       2.	การ​ขียน​ าระสำคัญ​ ี่​ ี​ วร​ปน​ าระสำคัญ​ ะดับ​ าร​ ำไปใช
                เ ส              ทดค เ ส              ร ก น
	       3.	สาระสำคัญ​ อง​ รอบคลุม​ ระเด็น​ ำคัญ​ รบถวน เพราะ​ าก​ าด​ วน​ด​ป​ ลวจะ​ ำให
                        ต ค              ป      ส ค                    ห ข ส ใ ไ แ             ท
นักเรียน​ ับ​ าระสำคัญ​ ี่​ ิด​ป​ ันที
          ร ส           ทผ ไ ท
	       4.	การ​ขียน​ าระสำคัญ​ ี่จะ​ห​ รอบคลุม​ ระเด็น​ ำคัญ​ ิธีการ​ นึ่ง​ ือ การ​ขียน​ ผนผังสาระ
                เ ส               ท ใ ค           ป       ส ว ห ค                  เ แ
สำคัญ
	       ตัวอยาง​ าร​ขียน​ ผนผัง​ าระสำคัญ
                ก เ แ           ส

                                                             ความหมายของ​ าชีพ​ ับจาง
                                                                                อ ร
                                             อาชีพรับจาง
                                                  ​             ขด ข
                                                                ​ อ​ ีและ​ อเสียของ​ าชีพ​ ับจาง
                                                                                     อ ร
                                                             ต
                                                             ​ ัวอยาง​ าชีพ​ ับจาง
                                                                        อ ร

          ประเภท​ อง​ าชีพ
                ข อ

                                                             ค
                                                             ​ วามหมายของ​ าชีพ​ ิสระ
                                                                                อ อ
                                              อาชีพอิสระ
                                                   ​            ขด ข
                                                                ​ อ​ ีและ​ อเสียของ​ าชีพ​ ิสระ
                                                                                     อ อ
                                                              ต
                                                              ​ ัวอยาง​ าชีพ​ ิสระ
                                                                         อ อ


	     สาระสำคัญ​ อง​ ระเภท​ อง​ าชีพ: ประเภท​ อง​ าชีพแบง​ปน 2 ประเภท ไดแก อาชีพรับจาง
                   ข ป      ข อ                 ข อ           เ
และ​ าชีพ​​ สระ
    อ อิ
	     5.	การ​ขียน​ าระสำคัญ​กี่ยวกับ​รื่อง​ด​ วร​ขียน​ ักษณะเดน​ ี่​ องเห็น​ด​ รือ​ ึกได​ อกมา​ปน​
               เ ส           เ       เ ใ ค เ ล                    ทม        ไ ห น อ              เ
ขอ ๆ แลว​ ำแนก​ ักษณะ​หลานั้น​ปน​ ักษณะ​ ำเพาะ​ ละ​ ักษณะ​ ระกอบ
           จ      ล    เ        เ ล         จ       แ ล         ป
	     6.	การ​ขียน​ อความ​ เ​ปนสาระสำคัญ ควร​ชภาษา​ มการ​ ดเกลา​ ยาง​   เลียง​ ำ​ มความหมาย
               เ ข      ที่ ​                 ใ ​ ท​ ​ ขั
                                                         ี่ ี         อ ดี ่ ค ท​ ี      ี่
กำกวม​ รือ​ ุมเฟอย
      ห ฟ
คูมือ​ รู แผนการ​ ัดการ​รียน​ ู้ การอาชีพ ม. 4–6
                                                           ค          จ เ ร                              9
	       ตัวอยาง​ าร​ขียน​ าระสำคัญ เรื่อง สำนัก​าน​ ัตโนมัติ
                ก เ ส                           ง อ
               สำนักงานอัตโนมัติ                        ลักษณะจำเพาะ                  ลักษณะ​ ระกอบ
                                                                                            ป
    ประหยัด​บประมา​ ​ า​ช​ าย
           ง      ณค ใ จ                                        –                             3
    เ
    ​พิ่มประสิทธิภาพ​นการ​ ำ​าน
                    ใ ทง                                        3                              –
    ช ใ ผบ ส
    ​ วย​ห​ ู​ ริหาร​ ามารถ​ ัดสินใจ​ด
                              ต        ไ
    ถูกตอง​ ละ​ วดเร็ว​
            แ ร                                                 3
                                                                ​                              –

    หนวยงาน​ ละ​ ำนัก​าน​ ีภาพลักษณ​ ี
            แ ส ง ม                  ด                          3
                                                                ​                              –

	       สาระสำคัญของสำนักงานอัตโนมัติ: สำนักงานอัตโนมัติมีประโยชน์หลายอย่าง ได้แก่  ประหยัด
งบประมาณค่าใช้จ่าย เพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน ช่วยให้ผู้บริหารสามารถตัดสินใจได้อย่างรวดเร็ว
ทำให้หน่วยงานและสำนักงานมีภาพลักษณ์ดี
	       ขั้นที่ 2 กำหนดภาระงานและการประเมินผลการเรียนรู้ซึ่งเป็นหลักฐานที่แสดงว่านักเรียนมี
ผลการเรียนรู้ตามที่กำหนดไว้อย่างแท้จริง
	       เมือครูกำหนดผลลัพธ์ปลายทางทีตองการให้เกิดขึนกับนักเรียนแล้ว ก่อนทีจะดำเนินการขันต่อไป
           ่                            ่ ้           ้                     ่            ้
ขอให้ครูตอบคำถามสำคัญต่อไปนี้​
	       –	นักเรียนมีพฤติกรรมหรือแสดงออกในลักษณะใด จึงทำให้ครูทราบว่า นักเรียนบรรลุผลลัพธ์
ปลายทางตามที่กำหนดไว้แล้ว
	       –	ครูมีหลักฐานหรือใช้วิธีการใดที่สามารถระบุได้ว่า นักเรียนมีพฤติกรรมหรือแสดงออกตาม
ผลลัพธ์ปลายทางที่กำหนดไว้
	       การออกแบบการจัดการเรียนรู้ตามหลักการ Backward Design เน้นให้ครูรวบรวมหลักฐานการ
วัดและประเมินผลการเรียนรู้ที่จำเป็นและมีหลักฐานเพียงพอที่จะกล่ าวได้ว่า การจัดการเรียนรู้ทำให้
นักเรียนเกิดผลสัมฤทธิ์แล้ว ไม่ใช่เรียนแค่ให้จบตามหลักสูตรหรือเรียนตามชุดของกิจกรรมการเรียนรู้ที่
ครูกำหนดไว้เท่านั้น วิธีการ Backward Design ต้องการกระตุ้นให้ครูคิดล่วงหน้าว่า ครูควรจะกำหนด
และรวบรวมหลักฐานเชิงประจักษ์อะไรบ้างก่อนที่จะออกแบบหน่วยการเรียนรู้ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
หลักฐานดังกล่าวควรจะเป็นหลักฐานที่สามารถใช้เป็นข้อมูลย้อนกลับที่มีประโยชน์สำหรับนักเรียนและ
ครูได้เป็นอย่างดี นอกจากนี้ครูควรใช้วิธีการวัดและประเมินผลแบบต่อเนื่องอย่างไม่เป็นทางการและเป็น
ทางการ ตลอดระยะเวลาที่ครูจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้แก่นักเรียน ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดที่ต้องการให้
ครูทำการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เรียกว่า สอนไปวัดผลไป
	       จึงกล่าวได้วา ขันนีครูควรนึกถึงพฤติกรรมหรือการแสดงออกของนักเรียน โดยพิจารณาจากผลงาน
                    ่ ้ ้
หรือชิ้นงานที่เป็นหลักฐานเชิงประจักษ์  ซึ่งแสดงให้เห็นว่านักเรียนเกิดผลลัพธ์ปลายทางตามเกณฑ์ที่
กำหนดไว้แล้ว และเกณฑ์ทใช้ประเมินควรเป็นเกณฑ์คณภาพในรูปของมิตคณภาพ (Rubrics) อย่างไรก็ตาม
                            ี่                     ุ                ิ ุ
ครูอาจจะมีหลักฐานหรือใช้วธการอืน ๆ เช่น การทดสอบก่อนและหลังเรียน การสัมภาษณ์ การศึกษาค้นคว้า
                               ิี ่
การฝึกปฏิบัติขณะเรียนรู้ประกอบด้วยก็ได้
10     คูมือ​ รู แผนการ​ ัดการ​รียน​ ู้ การอาชีพ ม. 4–6
             ค          จ เ ร

	      การกำหนดภาระงานและการประเมินผลการเรียนรู้ซึ่งเป็นหลักฐานที่แสดงว่านักเรียนมีผล
การเรียนรู้ตามผลลัพธ์ปลายทางที่กำหนดไว้แล้ว
	      หลังจากทีครูได้กำหนดผลลัพธ์ปลายทางทีตองการให้เกิดขึนกับนักเรียนแล้ว ครูควรกำหนดภาระ
                    ่                            ่ ้             ้
งานและวิธีการประเมินผลการเรียนรู้  ซึ่งเป็นหลักฐานที่แสดงว่านักเรียนมีผลการเรียนรู้ตามผลลัพธ์
ปลายทางที่กำหนดไว้แล้ว
	      ภาระงาน หมายถึง งานหรือกิจกรรมที่กำหนดให้นักเรียนปฏิบัติ เพื่อให้บรรลุตามจุดประสงค์
การเรียนรู้/ตัวชี้วัด​ วงชั้น/มาตรฐานการเรียนรู้ที่กำหนดไว้  ลักษณะสำคัญของงานจะต้องเป็นงานที่
                       ช
สอดคล้องกับ​ าร​ ฏิบัติจริงในชีวิตประจำวัน เป็นเหตุการณ์จริงมากกว่ากิจกรรมที่จำลองขึ้นเพื่อใช้ใน
                ก ป
การทดสอบ ซึ่งเรียกว่า งานที่ปฏิบัติเป็นงานที่มีความหมายต่อนักเรียน (Meaningful Task) นอกจากนี้
งานและกิจกรรมจะต้องมีขอบเขตทีชดเจน  สอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู/ตัวชีวดชวงชัน/มาตรฐาน
                                     ่ั                                    ้ ้ั        ้ ​
การเรียนรู้ที่ต้องการให้เกิดขึ้นกับนักเรียน
	      ทั้งนี้เมื่อได้ภาระงานครบถ้วนตามที่ต้องการแล้ว ครูจะต้องนึกถึงวิธีการและเครื่องมือที่จะใช้วัด
และประเมินผลการเรียนรู้ของนักเรียนซึ่งมีอยู่มากมายหลายประเภท ครูจะต้องเลือกให้เหมาะสมกับ
ภาระงานที่นักเรียนปฏิบัติ
	      ตัวอย่างภาระงานเรื่อง เทคโน​ลยีที่ใชเพื่อการ​ ำ​ าน​ าชีพ รวมทั้งการกำหนดวิธีการวัดและ
                                         โ             ทง อ
ประเมินผลการเรียนรู้ของนักเรียน (ดังตาราง)
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานSAKANAN ANANTASOOK
 
ปัญหาการศึกษา
ปัญหาการศึกษาปัญหาการศึกษา
ปัญหาการศึกษาพัน พัน
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการsomdetpittayakom school
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงWareerut Hunter
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆNaphachol Aon
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4Thanawut Rattanadon
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานPhongsak Kongkham
 
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1พัน พัน
 
8)หน่วยที่ 8 การเงิน การธนาคารppt
8)หน่วยที่ 8 การเงิน การธนาคารppt8)หน่วยที่ 8 การเงิน การธนาคารppt
8)หน่วยที่ 8 การเงิน การธนาคารpptapple_clubx
 
ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศsomdetpittayakom school
 
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียนเฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียนTong Thitiphong
 
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นสรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นTook Took Rachataporn
 
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดโครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดพัน พัน
 
ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1peter dontoom
 
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนkrupornpana55
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพณัฐะ หิรัญ
 

Mais procurados (20)

ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
 
ปัญหาการศึกษา
ปัญหาการศึกษาปัญหาการศึกษา
ปัญหาการศึกษา
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
 
วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 
หน่วย 1
หน่วย 1หน่วย 1
หน่วย 1
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
 
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
 
8)หน่วยที่ 8 การเงิน การธนาคารppt
8)หน่วยที่ 8 การเงิน การธนาคารppt8)หน่วยที่ 8 การเงิน การธนาคารppt
8)หน่วยที่ 8 การเงิน การธนาคารppt
 
ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
 
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียนเฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
 
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นสรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
 
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดโครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
 
ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1
 
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
 
1111111111111111111
11111111111111111111111111111111111111
1111111111111111111
 
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
 

Semelhante a แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ

แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.4-6
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.4-6แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.4-6
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.4-6sompriaw aums
 
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.1-3
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.1-3แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.1-3
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.1-3sompriaw aums
 
แผนการสอนอาเซียน ม.1-3
แผนการสอนอาเซียน ม.1-3แผนการสอนอาเซียน ม.1-3
แผนการสอนอาเซียน ม.1-3sompriaw aums
 
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6Napadon Yingyongsakul
 
หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1
หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1
หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1Bhayubhong
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2Jiramet Ponyiam
 
พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3New Nan
 
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษKobwit Piriyawat
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานkruthai40
 
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-609 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6Nutsara Mukda
 
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วย
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วยการออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วย
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วยMuBenny Nuamin
 
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุดแบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุดKrupol Phato
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยJutamart Bungthong
 

Semelhante a แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ (20)

แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.4-6
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.4-6แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.4-6
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.4-6
 
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.1-3
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.1-3แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.1-3
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.1-3
 
แผนการสอนอาเซียน ม.1-3
แผนการสอนอาเซียน ม.1-3แผนการสอนอาเซียน ม.1-3
แผนการสอนอาเซียน ม.1-3
 
แผนการสอนอาเชี่ยนศึกษา ม.1 3
แผนการสอนอาเชี่ยนศึกษา ม.1 3แผนการสอนอาเชี่ยนศึกษา ม.1 3
แผนการสอนอาเชี่ยนศึกษา ม.1 3
 
00 ต้นฉบับ แผน อาเซียนศึกษา ม.4 6
00 ต้นฉบับ แผน อาเซียนศึกษา ม.4 600 ต้นฉบับ แผน อาเซียนศึกษา ม.4 6
00 ต้นฉบับ แผน อาเซียนศึกษา ม.4 6
 
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
 
01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word
 
หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1
หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1
หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
 
พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3
 
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
 
คู่มือวัดผล 51
คู่มือวัดผล 51คู่มือวัดผล 51
คู่มือวัดผล 51
 
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-609 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
 
ตัวอย่างแผนเศรษฐกิจพอเพียง
ตัวอย่างแผนเศรษฐกิจพอเพียงตัวอย่างแผนเศรษฐกิจพอเพียง
ตัวอย่างแผนเศรษฐกิจพอเพียง
 
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วย
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วยการออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วย
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วย
 
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุดแบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
 
Learning by project
Learning by projectLearning by project
Learning by project
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 

แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ

  • 1. คูมือครู แผนการ ัดการเรียน ู้ จ ร การอาชีพ ม. 4–6 ชั้นÁั¸ยÁÈÖกÉา»‚ที่ 4–6 กลุมสาระการเรียนรูการ านอาชีพ ละเทคโนโลยี  ้ ง แ ตามหลั¡สÙตรแ¡น¡ลา§¡ารÈÖ¡Éา¢ัéนพืéน°าน พØ·ธÈั¡ราช 2551 • ออกแบบการเรียนรู โดยใชมาตรฐานการเรียนรู และตัวชี้วัดชวงชั้นเปนเปาหมาย • ออกแบบการจัดการเรียนรู โดยเนนผูเรียนเปนศูนยกลาง • ใชแนวคิด Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรูตาง ๆ อยางหลากหลาย • ออกแบบการเรียนรูเพ�อพัฒนาสมรรถนะสำคัญของนักเรียนในการส�อสาร การคิด การแกปญหา การใชทักษะชีวิต และการใชเทคโนโลยี • แบงแผนการจัดการเรียนรูเปนรายชั่วโมง สะดวกในการใช • มีองคประกอบครบถวนตามแนวทางการจัดทำแผนการจัดการเรียนรูของสถานศึกษา • นำไปพัฒนาเปนผลงานทางวิชาการเพ�อเล�อนวิทยฐานะได
  • 2. คูมือ รู แผนการ ัดการเรียน ู้ ค จ ร การอาชีพ ม. 4–6 ชั้นÁั¸ยÁÈÖกÉา»‚ที่ 4–6 กลมสาระการเรยนรการงาน าชพ ละเทคโนโลยี ุ ี ู้ อ ี แ ตามหลั¡สÙตรแ¡น¡ลา§¡ารÈÖ¡Éา¢ัéนพืéน°าน พØ·ธÈั¡ราช 2551 ʧǹÅÔ¢ÊÔ·¸ÔìµÒÁ¡®ËÁÒ B ī ËŒÒÁÅÐàÁÔ´ ·Ó«éÓ ´Ñ´á»Å§ à¼Âá¾Ã‹ ʋǹ˹Öè§Ê‹Ç¹ã´ àÇŒ¹áµ‹¨Ðä´ŒÃѺ͹ØÞÒµ คณะผู้เขียน อรุณี​ลิมศิริ​กศ.บ.,​กศ.ม.​​ทรงสิทธิ์​เจริญสุข​ค.อ.บ.​ คณะบรรณาธิการ สุระ​ดามาพงษ์​กศ.บ.,​กศ.ม.​​​สุดารัตน์​อุนเมือง​วท.บ.,​วท.ม.​​สกุนา​หนูแก้ว​วท.บ.​ พิมพ์ครั้งที่หนึ่ง © ¾.È. 2552 ISBN 978-974-18-5875-0 พิมพ์ที่ บริษัท โรงพิมพ์วั²นาพานิช จำกัด ​นายเริงชัย​จงพิพัฒนสุข​กรรมการผู้จัดการ สือการเรียนรู กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. ต้น–ม. ปลาย ตามหลักสูตรแกน ลางÏ 2551 ่ ้  ้ ก • หนังสือเรียน (Èธ. อนุญาต) • แบบ½ƒกทักษะ • ©บับสมบูรณ์แบบ • แผนÏ (CD) ระดับมัธยมÈึกษาตอนต้น หนังสือเรียน–แบบฝึกทักษะ–ฉบับสมบูรณ์แบบ–แผนฯ​(CD)​การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เลม 1 ............................. อรุณี​ลิมศิริ​และคณะ หนังสือเรียน–แบบฝึกทักษะ–ฉบับสมบูรณ์แบบ–แผนฯ​(CD)​การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เลม 2 ............................. อรุณี​ลิมศิริ​และคณะ หนังสือเรียน–แบบฝึกทักษะ–ฉบับสมบูรณ์แบบ–แผนฯ​(CD)​การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 2 เลม 1 ............................. อรุณี​ลิมศิริ​และคณะ หนังสือเรียน–แบบฝึกทักษะ–ฉบับสมบูรณ์แบบ–แผนฯ​(CD)​การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 2 เลม 2 ............................. อรุณี​ลิมศิริ​และคณะ หนังสือเรียน–แบบฝึกทักษะ–ฉบับสมบูรณ์แบบ–แผนฯ​(CD)​การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 3 เลม 1 ............................. อรุณี​ลิมศิริ​และคณะ หนังสือเรียน–แบบฝึกทักษะ–ฉบับสมบูรณ์แบบ–แผนฯ​(CD)​การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 3 เลม 2 ............................. อรุณี​ลิมศิริ​และคณะ หนังสือเรียน–แบบฝึกทักษะ–ฉบับสมบูรณ์แบบ–แผนฯ​(CD)​เทคโนโลยีสารสนเทÈ ม. 1–2–3 .....................ผศ.​ดร.อำนวย​เดช​ ัยศรี​และคณะ ช ระดับมัธยมÈึกษาตอนปลาย หนังสือเรียน–แบบฝึกทักษะ–ฉบับสมบูรณ์แบบ–แผนฯ​(CD)​การดำรงชีวิตและครอบครัว ม. 4–6 ........................ดร.อมรรัตน์​เจริญชัย​และคณะ หนังสือเรียน–แบบฝึกทักษะ–ฉบับสมบูรณ์แบบ–แผนฯ​(CD)​การออกแบบและเทคโนโลยี ม. 4–6 ............................. วิไล​ ักษณ์​ชูชวย​และคณะ ล หนังสือเรียน–แบบฝึกทักษะ–ฉบับสมบูรณ์แบบ–แผนฯ​(CD)​การÍาชี¾ Á. 4–6 ............................................... ดร.มณกาญจน์​ทองใย​และคณะ หนังสือเรียน–แบบฝึกทักษะ–ฉบับสมบูรณ์แบบ–แผนฯ​(CD)​เทคโนโลยีสารสนเทÈ ม. 4 ..............................ผศ.​ดร.อำนวย​เดช​ ัยศรี​และคณะ ช หนังสือเรียน–แบบฝึกทักษะ–ฉบับสมบูรณ์แบบ–แผนฯ​(CD)​เทคโนโลยีสารสนเทÈ ม. 5 ..............................ผศ.​ดร.อำนวย​เดช​ ัยศรี​และคณะ ช หนังสือเรียน–แบบฝึกทักษะ–ฉบับสมบูรณ์แบบ–แผนฯ​(CD)​เทคโนโลยีสารสนเทÈ ม. 6 ..............................ผศ.​ดร.อำนวย​เดช​ ัยศรี​และคณะ ช
  • 3. คำนำ คูมือครู​ แผนการจัดการเรียนรู้​ การอาชีพ​ม.​4–6​เลมนี้เป็นสื่อการเรียนรู้ที่จัดทำขึ้นเพื่อใช้เป็น​ แนวทางในการจัดการเรียนรู้โดยยึดหลักการออกแบบการจัดการเรียนรู้แบบ​Backward​Design​ที่เน้น​ ผูเ้ รียนเป็นศูนย์กลาง​(Child-Centered)​ตามหลักการยึดผูเ้ รียนเป็นสำคัญ​สงเสริมให้นกเรียนมีสวนรวม ั  ในกิจกรรมและกระบวนการเรียนรู​สามารถสร้างองค์ความรูได้ดวยตนเอง​ทังเป็นรายบุคคลและรายกลุม​ ้ ้ ้ ้  โดยครูมีบทบาทหน้าที่เอื้ออำนวยความสะดวกให้นักเรียนประสบผลสำเร็จ​สนับสนุนให้นักเรียนมีโอกาส ฝึกปฏิบัติงานทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียน​ สามารถเชื่อมโยงความรู้ในกลุมสาระการเรียน​ ู้อื่น​ๆ ร ได้ในเชิงบูรณาการด้วยวิธีการที่หลากหลาย​ เน้นกระบวนการคิดวิเคราะห์​ สังเคราะห์​ และสามารถ สร้างองค์ความรู้ได้ด้วยตนเอง​ ทำให้นักเรียนได้รับการพัฒนาสมรรถนะสำคัญและคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ตามที่หลักสูตรกำหนด​นำไปสูการอยูรวมกันในสังคมอยางสันติสุข ​ การจัดทำคูมอครู​แผนการจัดการเรียนรู​การอาชีพ​ม.​4–6​เลมนได้จดทำตามหลักสูตรแกนกลาง​  ื ้ ​ ี้ ั การศึกษาขั้นพื้นฐาน​พุทธศักราช​2551​ซึ่งครอบคลุมสาระมาตรฐานการเรียนรู้​ ​ าระ​ ี่​ 4​การอาชีพ ส ท ภายในเลมได้นำเสนอแผนการจัดการเรียนรูเ้ ป็นรายชัวโมงตามหนวยการเรียนรู​ เพือให้ครูนำไปใช้ในการ​ ่ ้ ่ จัดการเรียนรู้ได้สะดวกยิ่งขึ้น​ นอกจากนี้​ แตละหนวยการเรียนรู้ยังมีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ทั้ง​3​ด้าน​ได้แก​ด้านความรู้​ด้านคุณธรรม​จริยธรรม​และคานิยม​และ​ ้านทักษะ/กระบวนการ​ทำให้​ ด ทราบผลการเรียนรู้แตละหนวยการเรียนรู้ของผู้เรียนได้ทันที ​ คูมือครู​แผนการจัดการเรียนรู้​นำเสนอเนื้อหาแบงเป็น​3​ตอน​คือ​ ตอนที 1 คำชีแจงการจัดแผนการจัดการเรียนรู ประกอบด้วยแนวทางการใช้แผนการจัดการเรียนรู้​ ่ ้ ้ สัญลักษณ์ลักษณะกิจกรรมการเรียนรู้​การออกแบบการจัดการเรียนรู้แบบ​Backward​Design​(BwD)​ เทคนิคและวิธีการจัดการเรียนรู้–การวัดและประเมินผลการเรียนรู้​ ตารางวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชีวดชวงชัน​และโครงสร้างการแบงเวลารายชัวโมงในการจัดการเรียนรู้​ ้ั ้ ่ ตอนที่ 2 แผนการจัดการเรียนรู้ ได้เสนอแนะแนวทางการจัดการเรียนรู้แตละหนวยการเรียนรู้​ ในสื่อการเรียนรู้​ สมบูรณ์แบบ​ และหนังสือเรียน​ โดยมีผังมโนทัศน์เป้าหมายการเรียนรู้และขอบขาย ภาระงาน​ผังการออกแบบการจัดการเรียนรู้​ และแบงเป็นแผนยอยรายชั่วโมง​ซึ่งแผนการจัดการเรียนรู้ แตละแผนมีองค์ประกอบครบถ้วนตามแนวทางการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ของสถานศึกษา
  • 4. ตอนที่ 3 เอกสาร/ความรู้เสริมสำหรับครู ประกอบด้วยแบบทดสอบตาง​ๆ​ได้แก​แบบทดสอบ​ กอนเรียนและหลังเรียน​แบบทดสอบปลายภาคเรียน​แบบประเมินผลงาน​แบบประเมินพฤติกรรม​และ​ คุณลักษณะ​ ันพึงประสงค์ด้านตาง​ๆ​ของนักเรียน​และความรู้เสริมสำหรับครู​ซึ่งบันทึกลงในซีดี​(CD)​ อ เพื่ออำนวยความสะดวกให้แกครูหรือผู้สอน ​ คูมือครู​ แผนการจัดการเรียนรู้​ การอาชีพ​ม.​4–6​เลมนี้ได้ออกแบบการเรียนรู้ด้วยเทคนิคและ วิธีการสอนอยางหลากหลาย​ หวังวาจะเป็นประโยชน์ตอการนำไปประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนรู้ให้ เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมของนักเรียนตอไป คณะ ู้จัดทำ ผ
  • 5. สารบัญ ตอนที่ 1 คำชี้แจงการจัดแผนการจัดการเรียนรู ............................................. 1 1.​แนวทางการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ ........................................................................... 2 ​ 2.​สัญลักษณ์ลักษณะกิจกรรมการเรียนรู้ ......................................................................... 5 ​ 3.​การออกแบบการจัดการเรียนรู้แบบ​Backward​Design​(BwD)..................................... 6​ ​ 4.​เทคนิคและวิธีการจัดการเรียนรู้–การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ................................17 ​ 5.​ตารางวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดชวงชั้น .................................................19 ​ 6.​โครงสร้างการแบงเวลารายชั่วโมงในการจัดการเรียนรู้ ..................................................20 ตอนที่ 2 แผนการจัดการเรียนรู .................................................................. 21 หนวยการเรียนรู้ที่ 1 เปดโลกอาชีพ.............................................................................22 n​ผังมโนทัศน์เป้าหมายการเรียนรู้และขอบขายภาระงาน .................................................22 n​ผังการออกแบบการจัดการเรียนรู้ ..............................................................................23 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1​​อาชีพรับจ้าง......................................................................25 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 อาชีพอิสระ .......................................................................28 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 ​แนวทางในการประกอบธุรกิจ .............................................31 หนวยการเรียนรู้ที่ 2 เส้นทางสูงานอาชีพ ......................................................................35 n​ผังมโนทัศน์เป้าหมายการเรียนรู้และขอบขายภาระงาน .................................................35 n​ผังการออกแบบการจัดการเรียนรู้ ..............................................................................36 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4​​การเตรียมตัวประกอบอาชีพ ...............................................39 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5​​การตัดสินใจเลือกอาชีพ .....................................................43 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6​​การสมัครงาน ...................................................................46 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 ​การสัมภาษณ์งาน ..............................................................49 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 ​การปฏิบัติตนในการประกอบอาชีพ......................................52 หนวยการเรียนรู้ที่ 3 เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ.......................................................55 n​ผังมโนทัศน์เป้าหมายการเรียนรู้และขอบขายภาระงาน .................................................55 n​ผังการออกแบบการจัดการเรียนรู้ ..............................................................................56 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 ​ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีเพื่อการทำงาน ..................58 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10​​เทคโนโลยีที่ใช้ในการทำงานอาชีพ .......................................61 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11​​ปฏิบัติการใช้เทคโนโลยีเพื่อการทำงาน .................................64​
  • 6. หนวยการเรียนรู้ที่ 4 ประสบการณ์วิชาชีพ.....................................................................67 n​ผังมโนทัศน์เป้าหมายการเรียนรู้และขอบขายภาระงาน .........................................67 n​​ ังการออกแบบการจัดการเรียนรู้ .....................................................................68 ผ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 12 การทำงานในการดำรงชีวิตสูงานอาชีพ ..........................71 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 13​ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการจำลองอาชีพ ...........................75 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 14 วางแผนการจำลองอาชีพ.............................................79 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 15​ปฏิบัติการจำลองอาชีพ ...............................................83 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 16 ¡ิจ¡รรมอาชีพ ...........................................................87 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 17 โครงงานอาชีพ ...........................................................90 หนวยการเรียนรู้ที่ 5 คุณธรรม จริยธรรม และคานิยมในการทำงาน ............................94 n ผังมโนทัศน์เป้าหมายการเรียนรู้และขอบขายภาระงาน .........................................94 n ผังการออกแบบการจัดการเรียนรู้......................................................................95 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 18​คุณธรรมและจริยธรรมสำหรับผู้ประกอบอาชีพ..............98 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 19​จรรยาบรรณวิชาชีพ .................................................101 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 20​คานิยมในการทำงาน ................................................104
  • 7. ตอนที่ 1 คำชี้แจงการจัดแผนการจัดการเรียนรู แผนการจั การเรยน กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี การงานอาชี
  • 8. 2 คูมือ​ รู​แผนการ​ ัดการ​รียน​ ู้​การอาชีพ​ม.​4–6 ค จ เ ร 1. แนวทางการใชแผนการจัดการเรียนรู ​ คูมือครู​ แผนการจัดการเรียนรู้​ การอาชีพ​ เลมนี้จัดทำขึ้นเพื่อเป็นแนวทางให้ครูใช้ประกอบการ จัดการเรียนรู้กลุมสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี​ ชั้นมัธยมศึกษาป‚ที่​ 4–6​ ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน​ พุทธศักราช​ 2551​ ซึ่ง​ ารแบงหนวยการเรียนรู้สำหรับจัดทำแผนการ ก จัดการเรียนรู้รายชั่วโมงใน​ ูมือครู​ แผนการ​ ัดการ​รียน​ ู้เลม​ ี้​ บงเนื้อหา​ป็น​ 5​ หนวย​ สามารถใช้ ค จ เ ร นแ เ ควบคูกบสือการเรียนรู​การอาชีพ​สมบูรณ์แบบ​ชันมัธยมศึกษาป‚ท​4–6​และหนังสือเรียน​รายวิชาพืนฐาน​  ั ่ ้ ้ ี่ ้ การอาชีพ​ชั้นมัธยมศึกษาป‚ที่​4–6​ประกอบด้วยหนวยการเรียนรู้​ดังนี้ หนวยการเรียนรู้ที่ 1 เปิดโลกอาชีพ หนวยการเรียนรู้ที่ 2​เส้นทางสูงานอาชีพ หนวยการเรียนรู้ที่ 3 เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ หนวยการเรียนรู้ที่ 4​ประสบการณ์วิชาชีพ หนวยการเรียนรู้ที่ 5 คุณธรรม​จริยธรรม​และคานิยมในการทำงาน ​ แผนการจัดการเรียนรู้นี้ได้นำเสนอรายละเอียดไว้ครบถ้วนตามแนวทางการจัดทำแผนการจัดการ เรียนรูของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน​โดยออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนให้นกเรียน​ ้ ้ ้ ั ได้พัฒนาองค์ความรู้​ สมรรถนะสำคัญ​ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ไว้อยางครบถ้วนตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน​ พุทธศักราช​ 2551​ ซึ่งครูควรศึกษาแผนการจัดการเรียนรู้นี้ให้ละเอียด เพื่อปรับใช้ให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อม​สถานการณ์​และสภาพของนักเรียน ​ ในแตละหนวยการเรียนรู้จะแบงแผนการจัดการเรียนรู้ออกเป็นรายชั่วโมง​ซึ่งมีจำนวนชั่วโมงมาก น้อยไมเทากันขึ้นอยูกับความยาวของเนื้อหาสาระ​และในแตละหนวยการเรียนรู้มีองค์ประกอบดังนี้ 1. ผังมโนทัÈน์เป‡าหมายการเรียนรู้และขอบขายภาระงาน​ แสดงขอบขายเนื้อหาการจัดการ เรียนรู้ที่ครอบคลุมความรู้​คุณธรรม​จริยธรรม​คานิยม​ทักษะ/กระบวนการ​และภาระงาน/ชิ้นงาน 2. กรอบแนวคิดการออกแบบการจัดการเรียนรู้ BwD (Backward​Design​Template)​เป็นผัง แสดงแนวคิดในการจัดการเรียนรู้ของแตละหนวยการเรียนรู้​แบงเป็น​3​ขั้น​ได้แก ขั้นที่ 1 ผลลัพธ์ปลายทางที่ต้องการให้เกิดขึ้นกับนักเรียน ​ ขั้นที่ 2 ภาระงานและการประเมินผลการเรียนรู้ซึ่งเป็นหลักฐานที่แสดงวานักเรียนมีผลการ ​ เรียนรู้ตามที่กำหนดไว้อยางแท้จริง ขั้นที่ 3 แผนการจัดการเรียนรู้จะระบุวาในหนวยการเรียนรู้นี้แบงเป็นแผนการจัดการเรียนรู้ ​ กี่แผน​และแตละแผนใช้เวลาในการจัดกิจกรรมกี่ชั่วโมง 3. แผนการจัดการเรียนรู้ เป็นแผนการจัดการเรียนร้ตามกรอบแนวคิดการออกแบบการจัดการ​ ู เรียนรู้แบบ​BwD​ประกอบด้วย 3.1 ชื่อแผนการจัดการเรียนรู้​ ประกอบด้วยลำดับที่ของแผน​ ชื่อแผน​ และเวลาเรียน​ เชน​ แผนการจัดการเรียนรู้ที่​1​เรื่อง​อาชีพ​ ับจ้าง​เวลา​2​ชั่วโมง ร 3.2 สาระสำคัญ​ เป็นความคิดรวบยอดของเนื้อหาที่นำมาจัดการเรียนรู้ในแตละแผนการ จัดการเรียนรู้
  • 9. คูมือ​ รู แผนการ​ ัดการ​รียน​ ู้ การอาชีพ ม. 4–6 ค จ เ ร 3 3.3 ตัวชี้วัดชวงชั้น เป็นตัวชี้วัดที่ใช้ตรวจสอบนักเรียนหลังจากเรียนจบเนื้อหาที่นำเสนอใน แต่ละแผนการจัดการเรียนรู้นั้น ๆ ซึ่งสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ของหลักสูตร 3.4 จุดประสงค์การเรียนรู้ เป็นส่วนทีบอกจุดมุงหมายทีตองการให้เกิดขึนกับนักเรียนภายหลัง ่ ่ ่ ้ ้ จากการเรียนจบในแต่ละแผน ทั้งในด้านความรู้ (K) ด้านคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม (A) ​ ละ แ ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) ซึ่งสอดคล้องสัมพันธ์กับตัวชี้วัดชวงชั้นและเนื้อหาในแผนการจัดการ เรียนรู้นั้น ๆ 3.5 การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ เป็นการตรวจสอบผลการจัดการเรียนรู้ว่า หลังจาก จัดการเรียนรู้ในแต่ละแผนการจัดการเรียนรู้แล้ว นักเรียนมีพัฒนาการ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตาม เป้าหมายที่คาดหวังไว้หรือไม่ และมีสิ่งที่จะต้องได้รับการพัฒนา ปรับปรุง หรือส่งเสริมในด้านใดบ้าง ดังนั้น ในแต่ละแผนการจัดการเรียนรู้จึงได้ออกแบบวิธีการและเครื่องมือในการวัดและประเมินผล การเรียนรู้ด้านต่าง ๆ ของนักเรียนไว้อย่างหลากหลาย เช่น การทำแบบทดสอบ การตอบคำถามสั้น ๆ การตรวจผลงาน การสังเกตพฤติกรรมทั้งที่เป็นรายบุคคลและรายกลุม เป็นต้น โดยเน้นการปฏิบัติให้ ่ สอดคล้องและเหมาะสมกับตัวชี้วัดและมาตรฐานการเรียนรู้ วิธีการและเครื่องมือในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้เหล่านี้ ครูสามารถนำไปใช้ประเมิน นักเรียนได้ทั้งในระหว่างการจัดการเรียนรู้และการทำกิจกรรมต่าง ๆ ตลอดจนการนำความรู้ไปใช้ในชีวิต ประจำวัน 3.6 สาระการเรียนรู้ เป็นหัวข้อย่อยที่นำมาจัดการเรียนรู้ในแต่ละแผนการจัดการเรียนรู้ ซึ่ง สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้แกนกลาง 3.7 แนวทางบูรณาการ เป็นการเสนอแนะแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในเรื่องที่เรียน ของแต่ละแผนให้เชือมโยงสัมพันธ์กนกับสาระการเรียนรูอน ๆ ได้แก่ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ่ ั ้ ื่ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ และภาษาต่างประเทศ เพื่อให้การ เรียนรู้สอดคล้องและครอบคลุมสถานการณ์จริง 3.8 กระบวนการจัดการเรียนรู้ เป็นการเสนอแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในเนื้อหา แต่ละเรือง โดยใช้แนวคิดและทฤษฎีการเรียนรูตาง ๆ ตามความเหมาะสม ทังนีเ้ พือให้ครูนำไปใช้ประโยชน์ ่ ้ ่ ้ ่ ในการวางแผนการจัดการเรียนรูได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึงกระบวนการจัดการเรียนรูประกอบด้วย 5 ขัน ้ ่ ้ ้ ได้แก่ ขั้นที่ 1 ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน ขั้นที่ 2 ขั้นสอน ขั้นที่ 3 ขั้นสรุป ขั้นที่ 4 ขั้นฝึกฝนนักเรียน ขั้นที่ 5 ขั้นนำไปใช้ 3.9 กิจกรรมเสนอแนะ เป็นกิจกรรมสำหรับให้นักเรียนได้พัฒนาเพิ่มเติมในด้านต่ าง ๆ นอกเหนือจากทีได้จดการเรียนรูมาแล้วในชัวโมงเรียน กิจกรรมเสนอแนะมี 2 ลักษณะ คือ กิจกรรมสำหรับ ่ ั ้ ่ กลุม​ นใจ​ ิเศษ​ จัด​ห​ กผู้ที่มีความสามารถพิเศษและต้องการศึกษาค้นคว้าในเนื้อหานั้น ๆ ให้ลึกซึ้ง ส พ ใ แ กว้างขวางยิ่งขึ้น และกิจกรรมสำหรับฝก​ ักษะ​พิ่มเติม จัด​ห​ ก​ ูที่​ องการเรียนรู้ให้ครบตามเป้าหมาย ท เ ใ แ ผ ต ซึ่งมีลักษณะเป็นการซ่อมเสริมความรู้ให้แก่นักเรียน
  • 10. 4 คูมือ​ รู แผนการ​ ัดการ​รียน​ ู้ การอาชีพ ม. 4–6 ค จ เ ร 3.10 สือ/แหล่งการเรียนรู้ เป็นรายชือสือการเรียนรูทกประเภททีใช้ในการจัดการเรียนรู้ ซึงมีทง ่ ่ ่ ้ ุ ่ ่ ั้ สื่อธรรมชาติ สื่อสิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ และสื่อบุคคล เช่น หนังสือ เอกสารความรู้ รูปภาพ เครือข่ายอินเทอร์เน็ต วีดิทัศน์ ปราชญ์ชาวบ้าน เป็นต้น 3.11 บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ เป็นส่วนที่ให้ครูบันทึกผลการจัดการเรียนรู้ว่าประสบความ สำเร็จหรือไม่ มีปัญหาหรืออุปสรรคอะไรเกิดขึ้นบ้าง ได้แก้ไขปัญหาและอุปสรรคนั้นอย่างไร และข้อ เสนอแนะสำหรับการจัดการเรียนรู้ครั้งต่อไป นอกจากนี้ยังอำนวยความสะดวกให้ครู โดยจัดทำแบบทดสอบ แบบประเมินผลพฤติกรรม ด ​ านต่าง ๆ และความรู้เสริมสำหรับครูบันทึกลงในซีดี (CD) ประกอบด้วย 1. แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน เป็นแบบทดสอบเพือใช้วดและประเมินผลนักเรียน ่ ั ก่อนการจัดการเรียนรู้และหลังการจัดการเรียนรู้ 2. แบบทดสอบปลาย​ าคเรียน เป็นแบบทดสอบเพื่อใช้วัดและประเมินผลการเรียนรู้ปลาย​ ภ ภาคเรียน ซึ่งประเมินผล 3 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านความรู้ มีแบบทดสอบทั้งที่เป็นแบบปรนัยและอัตนัย 2) ด้านคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม เป็นตารางการประเมิน 3) ด้านทักษะ/กระบวนการ เป็นตารางการประเมิน 3. แบบประเมินผลการจัดกิจกรรมต่าง ๆ เช่น แบบประเมินผลงาน แบบบันทึกความรู้ 4. ความรู้เสริมสำหรับครู เป็นการนำเสนอความรู้ในเรื่องต่าง ๆ แก่ครู เช่น 1) หลักการจัดทำแฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) และวิธีการคัดเลือกผลงานเพื่อเก็บใน แฟ้มสะสมผลงาน 2) ความรู้เรื่องโครงงาน 5. แบบฟอร์มโครงสร้างแผนการจัดการเรียนรู้ ทีออกแบบการจัดการเรียนรูแบบ Backward ่ ้ Design ครูควรศึกษาแผนการจัดการเรียนร้เู พ่อเตรียมการสอนอย่างมีประสิทธิภาพและจัดกิจกรรมให้ ื นักเรียนได้พัฒนาครบทุกสมรรถนะสำคัญที่กำหนดไว้ในหลักสูตร กล่าวคือ สมรรถนะในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้ทักษะชีวิต และการใช้เทคโนโลยี รวมถึงคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตาม หลักสูตรและกิจกรรมเสนอแนะเพื่อ​ ารเรียน​ ูเพิ่มเติมให้เต็มตามศักยภาพของนักเรียนแต่ละคน ซึ่งได้ ก ร กำหนดไว้ในแผนการจัดการเรียนรู้นี้แล้ว นอกจากนี้ ครู​ ังสามารถปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับสภาพความพร้อมของ ย นักเรียน และสถานการณ์เฉพาะหน้า ซึ่งจะใช้เป็นผลงานเพื่อเลื่อนวิทยฐานะได้ แผนการจัดการเรียนรู้นี้ ได้อำนวยความสะดวกให้ครู โดยจัดพิมพ์โครงสร้างแผนการจัดการเรียนรู้ที่ออกแบบการจัดการเรียนรู้ แบบ Backward Design ให้ครูเพิ่มเติมเฉพาะส่วนที่ครูปรับปรุงเองไว้ด้วยแล้ว​
  • 11. คูมือ​ รู​แผนการ​ ัดการ​รียน​ ู้​การอาชีพ​ม.​4–6 ค จ เ ร 5 2. สัญลักษณลักษณะกิจกรรมการเรียนรู ​ สัญลักษณ์ลักษณะกิจกรรมการเรียนรู้เป็นเครื่องหมายที่ปรากฏอยูในสื่อการเรียน​ ู้​ การ​ าชีพ​ ร ​ อ สมบูรณ์แบบ​และ​ บบฝึกทักษะ​รายวิชาพื้นฐาน​การ​ าชีพทุกเลม​โดยกำหนดสัญลักษณ์กำกับกิจกรรม แ อ การเรียนรูไว้ทกกิจกรรม​ เพือชวยให้ครูและนักเรียนทราบลักษณะที่ต้องการเน้นของกิจกรรมนั้น​ๆ​ เพื่อ ้ ุ ่ ที่จะจัดกิจกรรมให้บรรลุเป้าหมาย​สัญลักษณ์ลักษณะกิจกรรมการเรียนรู้มีดังนี้​ 1. ÊÑÞÅѡɳËÅÑ¡¢Í§¡ÅØ‹ÁÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ¡ÒçҹÍÒªÕ¾áÅÐà·¤â¹âÅÂÕ โครงงาน​ ​ป็น​ ิจกรรม​ ี่​ ุง​ ัฒนาการ​ ิด​​ าร​ าง​ ผน​​ ละ​ าร​ ก้ปัญหา เ ก ทม พ ค ก ว แ แ ก แ การ ั²นา ระบวนการ ิด​ เป็น​ ิจกรรม​ ี่​ ำหนด​ห้​ ักเรียน​ด้​ช้​ ระบวนการ​ ิด​พื่อ​ พ ก ค ก ทก ใ น ไ ใ ก ค เ ​ ​ ​ เพิ่มพูน​ ักษะ​ าร​ ิด​ ้าน​ าง​​ ​​ อง​ น​อง ท ก ค ด ต ๆข ต เ การ ระยุกต์ ช้ น ีวิต ระจำวัน​ ​ป็น​ ิจกรรม​ ี่​ ำหนด​ห้​ ักเรียน​ ำ​ วามรู้​ ละ​ ักษะ​ ป ใ ใ ช ป เ ก ทก ใ น นค แ ท ​ ​ ​ ไป​ช้​ ก้ปัญหา​น​ ถานการณ์​ ริง​น​ ีวิต​ ระจำวัน ใแ ใ ส จ ใ ช ป การ ฏิบัติ ริง/ ƒก ักษะ​ ​ป็น​ ิจกรรม​ ี่​ ำหนด​ห้​ ักเรียน​ด้​ ึก​ ฏิบัติ​พื่อ​ห้​กิด​ ป จ ½ ท เ ก ทก ใ น ไ ฝ ป เ ใ เ ​ ​ ​ ทักษะ​ ึ่ง​ ะ​ วย​ห้การ​รียนรู้​ป็นไปตาม​ป้าหมาย​ ละ​กิด​ วาม​ข้า​จ​ ี่​ งทน ซจช ใ เ เ เ แ เ ค เ ใ ทค ความคิด ร้างสรรค์​ เป็น​ ิจกรรม​ ี่​ ำหนด​ห้​ ักเรียน​ด้​ ัฒนา​ วามคิด​ ร้างสรรค์​ ส ก ทก ใ น ไ พ ค ส ​ ​ ​ ลักษณะ​ าง​ ​ ​ ​ด้​ ก​ ​ วามคิด​ ิเริ่ม​ ​ วาม​ ลอง​น​ าร​ ิด​ ความยืดหยุน​นการคิด ต ๆ ไ แ ค ร ค ค ใ ก ค ใ ​​​ ​ ​ และ​ วามคิดละเอียดลออ ค 2. ÊÑÞÅѡɳàÊÃÔÁ¢Í§¡ÅØ‹ÁÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ¡ÒçҹÍÒªÕ¾áÅÐà·¤â¹âÅÂÕ การ ำประโยชน์ ห้ ังคม​ ​ป็น​ ิจกรรม​ ี่​ ำหนด​ห้​ ักเรียน​ ำ​ วามรู้​ป​ ฏิบัติ​น​ าร​ ท ใ ส เ ก ทก ใ น นค ไ ป ใ ก ​ ​ ​ ทำประโยชน์​ ก​ วนรวม​​พื่อ​ห้​ ยูรวม​ ัน​น​ ังคม​ ยาง​ ี​ วาม​ ุข แ ส เ ใ อ ก ใ ส อ มค ส การ ึกษา ้นคว้า/ ืบค้น​ ​ป็น​ ิจกรรม​ ี่​ ำหนด​ห้​ ักเรียน​ ึกษา​ ้นคว้า​ รือ​ ืบค้น È ค ส เ ก ทก ใ น ศ ค ห ส ​ ​ ​ ข้อมูล​ าก​ หลง​ ารเรียนรู้​ าง​​ ​​พื่อ​ ร้าง​ งค์ความรู้​ ้วย​ น​อง จ แ ก ต ๆเ ส อ ด ต เ การ ำรวจ​ เป็น​ ิจกรรม​ ี่​ ำหนด​ห้​ ักเรียน​ ำรวจ​ ละรวบรวม​ ้อมูล​พื่อ​ ำมา​ ึกษา ส ก ทก ใ น ส แ ข เ น ศ ​ ​ ​ วิเคราะห์​ าเหตุ​​ า​ ล​​ ละ​ รุป​ ้อมูล​​พื่อ​ห้​กิด​ งค์ความรู้​ ้วย​ น​อง ห หผ แ ส ข เ ใ เ อ ด ต เ การ ังเกต​ เป็น​ ิจกรรม​ ี่​ ำหนด​ห้​ ักเรียน​ ู้จัก​ ังเกต​ ิ่ง​ ี่​ ้องการ​รียนรู้​ น​ ามารถ ส ก ทก ใ น ร ส ส ทต เ จ ส ​ ​ ​ สร้าง​ งค์ความรู้​ด้​ ยาง​ป็นระบบ​ ละ​ ี​หตุผล​ ​ อ ไ อ เ แ มเ ​ ​
  • 12. 6 คูมือ​ รู​แผนการ​ ัดการ​รียน​ ู้​การอาชีพ​ม.​4–6 ค จ เ ร ทักษะ าร ูด​​ป็น​ ิจกรรม​ ี่​ ำหนด​ห้นักเรียน​ด้​ ัฒนา​ ักษะ​ าร​ ูด​ ระเภท​ าง​​ ​​ ก พ เ ก ทก ใ ไ พ ท ก พ ป ต ๆ ิจกรรม ำหรับ ลุม ิเÈษ​ ​ป็น​ ิจกรรม​ ำหรับ​ห้​ ักเรียน​ช้​ ัฒนาการ​รียนรู้​พื่อ​ ก ส ก พ เ ก ส ใ น ใ พ เ เ ​ ​ ​ เติมเต็ม​ ักยภาพ​ าร​รียนรู้​ อง​ น​อง ศ ก เ ข ต เ กิจกรรม ำหรับ อม สริม​ ​ป็น​ ิจกรรม​ ำหรับ​ห้​ ักเรียน​ช้​รียน​ อม​สริม​พื่อ​ห้​กิด​ ส ซ เ เ ก ส ใ น ใ เ ซ เ เ ใ เ ​ ​ ​ การ​รียนรู้​ ามตัว​ ี้​ ัดชวงชั้น เ ต ชว 3. การออกแบบการจัดการเรียนรูแบบ Backward Design (BwD) ​ การ​ ัดการ​รียนรู้​ รือ​ าร​ อน​ป็นงาน​ ี่​ รู​ ุกคน​ ้อง​ช้​ ลวิธี​ าง​ๆ​ มากมาย​พื่อให้​ ักเรียน จ เ ห ก ส เ ทค ท ต ใ ก ต เ น สนใจ​ ี่จะ​รียนรู้​ ละ​กิดผล​ ามที่​ รู​ าดหวัง​ การ​ ัดการ​รียนรู้​ ัด​ป็น​ าสตร์​ ี่​ ้อง​ช้​ วามรู้ ท เ แ เ ต ค ค จ เ จ เ ศ ทต ใ ค ความ​ ามารถ​ ลอดจน​ ระสบการณ์​ ยาง​ าก​ ครู​ างคน​ าจจะ​ ะเลย​รื่อง​ อง​ าร​ อกแบบ​ าร​ ัด ส ต ป อ ม บ อ ล เ ข ก อ ก จ การ​รียนรู้​ รือ​ าร​ อกแบบ​ าร​ อน​ซึ่ง​ป็นงาน​ ี่​ รู​ ะ​ ้อง​ ำ​ อน​ าร​ขียน​ ผนการ​ ัดการ​รียนรู้ เ ห ก อ ก ส เ ทค จ ต ท ก ก เ แ จ เ การ อกแบบ าร ัดการ รียนรู้ ำ ยางไร ทำไม ึง ้อง อกแบบ าร ัดการ รียนรู้ อ ก จ เ ทอ จต อ ก จ เ ​ ครู​ ุกคน​ าน​ าร​ ึกษา​ ละ​ด้​รียนรู้​กี่ยวกับ​ าร​ อกแบบ​ ารจัดการ​รียนรู้​ าแล้ว​ ในอดีต​ าร ท ผ ก ศ แ ไ เ เ ก อ ก เ ม ก ออกแบบการจัดการ​รียนรูจะ​ริมต้นจาก​ าร​ ำหนด​ ดประสงค์การ​รียนรู​การ​ างแผนการ​ ดการ​รียนรู้​ ​ เ ​ เ่ ​ ก ก ้ จุ ​ เ ้ ว จั เ การ​ ำเนินการ​ ดการ​รียนรู​และ​ าร​ ดและ​ ระเมินผลการเรียน​​ปัจจุบนการ​รียนรูได้มการเปลียนแปลง​ ด จั เ ้ ก วั ​ ป ​ รู้ ั ​ เ ​ ​​ ้ ี ่ ไปตาม​ ภาพแวดล้อม​เศรษฐกิจ​และ​ ังคม​รวมทั้ง​ าร​ปลี่ยนแปลง​ ้าน​ ิทยาศาสตร์​ ละ​ทคโนโลยี​ ี่​ ส ส ก เ ด ว แ เ ท เข้ามา​ ี​ ทบาท​ อ​ าร​ ึกษาของ​ ักเรียน​ซึ่ง​ ักเรียน​ ามารถ​รียนรู้​ด้​ าก​ ื่อ​ ละ​ หลงการ​รียนรู้​ าง​ๆ​ มบ ตก ​ ศ น น ส เ ไ จ สแ แ เ ต ที่​ ี​ ยู​ อบตัว​ ดังนั้น​ าร​ อกแบบ​ าร​ ัดการ​รียนรู้​ ึง​ป็น​ ระบวนการ​ ำคัญ​ ี่​ รู​ ำเป็นต้อง​ ำเนินการ​ มอ ร ก อ ก จ เ จเ ก ส ทค จ ด ให้​หมาะสมกับ​ ักยภาพ​ อง​ ักเรียน​ ตละคน เ ศ ข น แ ​ วิก​ ินส์​ ละ​ มกไท​ นักการ​ ึกษา​ าวอเมริกัน​ด้​สนอ​ นวคิด​กี่ยวกับ​ าร​ อกแบบ​ าร​ ัดการ ก แ แ ศ ช ไ เ แ เ ก อ ก จ เรียนรู้​ ที่​ขา​รียกวา​ Backward​ Design​ ซึ่ง​ป็นการ​ อกแบบ​ าร​ ัดการ​รียนรู้​ ี่​ รู​ ะ​ ้อง​ ำหนด เ เ เ อ ก จ เ ทค จ ต ก ผลลัพธ์​ ลายทาง​ ี่​ ้องการ​ห้​กิด​ ึ้นกับ​ ักเรียน​ อน​ โดย​ขา​ ั้งสอง​ห้​ ื่อวา​ ความ​ข้าใจ​ ี่​ งทน​ ป ทต ใ เ ข น ก เ ท ใ ช เ ทค (Enduring​ Understandings)​ เมื่อ​ ำหนด​ วาม​ข้าใจ​ ี่​ งทน​ด้​ ล้ว​ ครู​ ะ​ ้อง​ อก​ห้​ด้​ า ก ค เ ทค ไ แ จ ต บ ใ ไ ว ความ​ข้าใจ​ คงทนของ​ กเรียน​ เ​กิดจาก​ ะไร​นักเรียน​ ะ​ อง​ หรือแสดง​ ฤติกรรม​ ะไร​ าง​ครูมหรือ​ เ ท​ ี่ นั นี้ ​ อ จ ต้ ม​ ​ พ ี อ บ้ ​​ี ใช้​ ิธีการ​ ัด​ ะไร​ ้าง​ ี่จะ​ อกวา​ ักเรียน​ ี​ รือ​ สดง​ ฤติกรรม​หลานั้น​ ล้ว​ จากนั้น​ รู​ ึง​ ึกถึง​ ิธีการ​ ว ว อ บ ท บ น มห แ พ เ แ คจน ว จัดการ​รียนรู้​ ี่จะ​ ำให้​ ักเรียน​กิด​ วาม​ข้าใจ​ ี่​ งทน​ อไป เ ท ท น เ ค เ ทค ต แนวคิด Backward Design ​ Backward​Design​เป็นการ​ อกแบบ​ าร​ ดการ​รียนรูทใช้ผลลัพธ์ปลายทาง​ป็นหลัก​​ซึงผลลัพธ์ อ ก จั เ ​​ ​ ้ ี่ ​ เ ่​ ปลาย​ างนี้ ​ ะ​กิ ด ​ ึ้ น กั บ ​ ั ก เรี ย น​ ็ ต  อ เมื่ อ ​ บ​ น ว ย​ าร​รี ย นรู ้ ​ ทั้ ง นี้ ​ รู ​ ะ​ ้ อ ง​ อกแบบ​ าร​ ั ด ท จ เ ข น ก จ ห ก เ ค จ ต อ ก จ การ​รียนรู้​ โดย​ช้​ รอบ​ วามคิด​ ี่​ป็น​หตุ​ป็นผล​ ละ​ ี​ วาม​ ัมพันธ์กัน​ จากนั้น​ ึง​ ะ​ งมือ​ขียน​ ผน เ ใก ค ทเ เ เ แ มค ส จจล เ แ การ​ ัดการ​รียนรู้​ขยาย​ ายละเอียด​พิ่ม​ติมให้​ ี​ ุณภาพ​ ละ​ ระสิทธิภาพ​ อไป จ เ ร เ เ มค แ ป ต
  • 13. คูมือ​ รู แผนการ​ ัดการ​รียน​ ู้ การอาชีพ ม. 4–6 ค จ เ ร 7 กรอบ​ วามคิด​ ลัก​ อง​ าร​ อกแบบ​ าร​ ัดการ​รียนรู ​ Backward Design มี​ ั้นตอน​ ลัก​ ค ห ข ก อ ก จ เ ข ห ที่​ ำคัญ 3 ขั้น คือ ส ขั้น​ ี่ 1 กำหนด​ ลลัพธ​ ลายทาง​ ี่​ องการ​ห​กิด​ ึ้นกับ​ ักเรียน ท ผ ป ทต ใ เ ข น ขั้น​ ี่ 2 กำหนด​ าระ​าน​ ละ​ าร​ ระเมิน​ ลการเรียน​ ู​ ึ่ง​ปน​ ลักฐาน​ ี่​ สดงวา​ ักเรียนมี​ ล ท ภ ง แ ก ป ผ รซ เ ห ทแ น ผ การเรียน​ ู​ ามที่​ ำหนด​ว​ ยาง​ ทจริง รต ก ไอ แ ขั้น​ ี่ 3 วางแผนการ​ ัดการ​รียนรู ท จ เ ขั้น​ ี่ 1 กำหนด​ ลลัพธ​ ท ผ ปลายทาง​ ตองการ​ห​ ด​ ึ้นกับ​ ักเรียน ที่​ ใ เกิ ข น กอน​ ี่จะ​ ำหนด​ ลลัพธ​ ลายทาง​ ี่​ องการ​ห​กิด​ ึ้นกับ​ ักเรียน​ ั้น ครู​ วร​ อบ​ ำ​ ามสำคัญ​ ท ก ผ ป ทต ใ เ ข น น ค ต คถ ตอไปนี้ – นักเรียน​ วร​ ะ​ ีความรู ความ​ขาใจ และ​ ามารถ​ ำ​ ิ่ง​ด​ด​ าง ค จม เ ส ทสใ ไ บ – เนือหา​ าระ​ด​ าง​ ​ ​ วาม​ ำคัญตอ​ าร​ ราง​ วาม​ขาใจ​ อง​ กเรียน​ และ​ วาม​ขาใจที​ งทน ้ ส ใ บ ทมค ส ่ี ี ก ส ค เ ข นั ค เ ค ่ (Enduring Understandings) ที่​ รู​ องการ​ ัดการ​รียนรู​ห​ ก​ ักเรียน​ ี​ ะไร​ าง คต จ เ ใ แ น มอ บ เมื่อ​ ะ​ อบ​ ำ​ าม​ ำคัญ​ ังกลาว​ างตน ให​ รู​ ึกถึง​ปาหมาย​ อง​ าร​ ึกษา มาตรฐานการเรียนรู​ จต คถ ส ด ข คน เ ข ก ศ ดาน​นื้อหา​ ะดับชาติ​ ี่​ รากฏ​ ยู​น​ ลักสูตรแกนกลาง​ าร​ ึกษา​ ั้น​ ื้นฐาน พุทธศักราช 2551 รวมทั้ง เ ร ทป อ ใ ห ก ศ ข พ มาตรฐาน​ าร​รียนรู​ ะดับ​ขต​ ื้นที่​ าร​ ึกษาหรือ​ องถิ่น ก เ ร เ พ ก ศ ท การ​ บ​ วนความ​ าดหวัง​ อง​ ลักสูตร​ กนก​ างการ​ ึกษา​ ั้น​ ื้นฐาน เนื่องจาก​ าตรฐาน​ ตละ​ ท ท ค ข ห แ ล ศ ข พ ม แ ระดับ​ ะ​ ีความ​ ัมพันธกับ​นื้อหา​ าระ​ าง ๆ ซึ่ง​ ี​ วาม​ ตกตาง​ ดหลั่น​ ัน​ป ดวย​หตุนี้​ ั้น​ ี่ 1 ของ จม ส เ ส ต มค แ ล ก ไ เ ข ท Backward Design ครู​ ึง​ อง​ ัด​ ำดับ​ วาม​ ำคัญ​ ละ​ลือก​ ลลัพธ​ ลายทาง​ อง​ ักเรียน ซึ่ง​ปน​ จต จ ล ค ส แ เ ผ ป ข น เ ผลการเรียน​ ู​ ี่เกิด​ าก​ วาม​ขาใจ​ ี่​ งทน​ อไป รท จ ค เ ทค ต ความ​ขาใจ​ ี่​ งทน​ อง​ ักเรียน เ ทค ข น ความ​ขาใจ​ ี่​ งทน​ ือ​ ะไร ความ​ขาใจ​ ี่​ งทน​ปน​ วามรู​ ี่​ ึกซึ้ง ไดแก ความคิด​ วบยอด เ ทค ค อ เ ทค เ ค ทล ร ความ​ ัมพันธ และ​ ลักการ​ อง​นื้อหา​ ละ​ ิชา​ ี่​ ักเรียน​รียนรู หรือ​ ลาว​ ีกนัยหนึ่ง​ปน​ วามรู​ ี่​ ิง ส ห ข เ แ ว ทน เ ก อ เ ค ทอ ​นื้อหา ความรู​ ี้​กิด​ าก​ าร​ ะสม​ อมูล​ าง ๆ ของ​ ักเรียน ​ ละ​ปน​ งคความรู​ ี่​ ักเรียน​ รางขึ้น​ เ นเ จ ก ส ข ต น แ เ อ ทน ส ดวย​ น​อง ต เ การ​ขียน​ วาม​ขาใจ​ ี่​ งทน​น​ าร​ อกแบบ​ าร​ ัดการ​รียนรู เ ค เ ทค ใ ก อ ก จ เ ถา​ วาม​ขาใจ​ ี่​ งทน​ มายถึงสาระสำคัญ​ อง​ ิ่ง​ ี่จะ​รียนรู​ ลว ครู​ วร​ ะ​ ูวา​ าระสำคัญ ค เ ทค ห ข สท เ แ ค จร ส หมายถึง​ ะไร คำ​ า สาระสำคัญ มาจาก​ ำ​ า Concept ซึ่ง​ ักการ​ ึกษา​ อง​ทย​ ปลเปน​ าษาไทย​ า อ ว คว น ศ ข ไ แ ภ ว สาระสำคัญ ความคิด​ วบยอด มโนทัศน มโน​ ติ และ​ ังกัป ซึ่ง​ าร​ขียน​ ผนการ​ ัดการ​รียนรู​ ิยม​ช​ ร ม ส ก เ แ จ เ น ใ คำ​ า สาระสำคัญ ว สาระสำคัญเ​ปนขอความ​ แสดง​ กนหรือเ​ปาหมาย​กียวกับเ​รือง​ด​รือง​ นึง เพือใหไดขอสรุปรวม​ ​ ท​ แ ​ ี่ เ ่ ่ ใ เ ่ ห ่ ่ ​ ​ ​ และ​ อ​ ตกตาง​กี่ยวกับ​รื่อง​ด​รื่อง​ นึ่ง โดย​ าจ​ รอบคลุม​ อเท็จจริง กฎ ทฤษฎี ประเด็น และ ข แ เ เ ใ เ ห อ ค ข การ​ รุป​ าระสำคัญ​ ละ​ อความ​ ี่​ ี​ ักษณะ​ วบยอด​ ยาง​ ื่น ส ส แ ข ทมล ร อ อ ประเภท​ อง​ าระสำคัญ ข ส 1. ระดับ​ วาง (Broad Concept) ก 2. ระดับ​ าร​ ำไปใช (Operative Concept หรือ Functional Concept) ก น
  • 14. 8 คูมือ​ รู แผนการ​ ัดการ​รียน​ ู้ การอาชีพ ม. 4–6 ค จ เ ร ตัวอยาง​ าระสำคัญ​ ะดับ​ วาง ส ร ก – ารสร้างสิ่งของเครื่องใช้ควรสร้างตามขั้นตอนของกระบวนการเทคโนโลยี ก ตัวอยาง​ าระสำคัญ​ ะดับการ​ ำไปใช ส ร น – การ​ ราง​ งของ​ครืองใชควร​ ราง​ าม​ นตอน​ อง​ ระบวนการ​ทคโนโลยี ไดแก กำหนดปญหา ส สิ่ เ ่ ​ ส ต ขั้ ข ก เ หรือ​ วาม​ องการ รวบรวม​ อมูล เลือก​ ิธีการ​ กปญหา ออกแบบ​ ละ​ ฏิบัติ ประเมิน และ​ รับปรุง ค ต ข ว แ แ ป ป ห พ ​ รือ​ ัฒนา แนว​ างการ​ขียน​ าระสำคัญ ท เ ส 1. ให​ขียน​ าระสำคัญ​ อง​ ุก​รื่​ ง โดย​ ยก​ปน​ อ ​ (จำนวน​ อ​ อง​ าระสำคัญ​ ะ​ทากับ เ ส ข ท เอ แ เ ข ๆ ข ข ส จเ จำนวน​รื่อง) เ 2. การ​ขียน​ าระสำคัญ​ ี่​ ี​ วร​ปน​ าระสำคัญ​ ะดับ​ าร​ ำไปใช เ ส ทดค เ ส ร ก น 3. สาระสำคัญ​ อง​ รอบคลุม​ ระเด็น​ ำคัญ​ รบถวน เพราะ​ าก​ าด​ วน​ด​ป​ ลวจะ​ ำให ต ค ป ส ค ห ข ส ใ ไ แ ท นักเรียน​ ับ​ าระสำคัญ​ ี่​ ิด​ป​ ันที ร ส ทผ ไ ท 4. การ​ขียน​ าระสำคัญ​ ี่จะ​ห​ รอบคลุม​ ระเด็น​ ำคัญ​ ิธีการ​ นึ่ง​ ือ การ​ขียน​ ผนผังสาระ เ ส ท ใ ค ป ส ว ห ค เ แ สำคัญ ตัวอยาง​ าร​ขียน​ ผนผัง​ าระสำคัญ ก เ แ ส ความหมายของ​ าชีพ​ ับจาง อ ร อาชีพรับจาง ​ ขด ข ​ อ​ ีและ​ อเสียของ​ าชีพ​ ับจาง อ ร ต ​ ัวอยาง​ าชีพ​ ับจาง อ ร ประเภท​ อง​ าชีพ ข อ ค ​ วามหมายของ​ าชีพ​ ิสระ อ อ อาชีพอิสระ ​ ขด ข ​ อ​ ีและ​ อเสียของ​ าชีพ​ ิสระ อ อ ต ​ ัวอยาง​ าชีพ​ ิสระ อ อ สาระสำคัญ​ อง​ ระเภท​ อง​ าชีพ: ประเภท​ อง​ าชีพแบง​ปน 2 ประเภท ไดแก อาชีพรับจาง ข ป ข อ ข อ เ และ​ าชีพ​​ สระ อ อิ 5. การ​ขียน​ าระสำคัญ​กี่ยวกับ​รื่อง​ด​ วร​ขียน​ ักษณะเดน​ ี่​ องเห็น​ด​ รือ​ ึกได​ อกมา​ปน​ เ ส เ เ ใ ค เ ล ทม ไ ห น อ เ ขอ ๆ แลว​ ำแนก​ ักษณะ​หลานั้น​ปน​ ักษณะ​ ำเพาะ​ ละ​ ักษณะ​ ระกอบ จ ล เ เ ล จ แ ล ป 6. การ​ขียน​ อความ​ เ​ปนสาระสำคัญ ควร​ชภาษา​ มการ​ ดเกลา​ ยาง​ เลียง​ ำ​ มความหมาย เ ข ที่ ​ ใ ​ ท​ ​ ขั ี่ ี อ ดี ่ ค ท​ ี ี่ กำกวม​ รือ​ ุมเฟอย ห ฟ
  • 15. คูมือ​ รู แผนการ​ ัดการ​รียน​ ู้ การอาชีพ ม. 4–6 ค จ เ ร 9 ตัวอยาง​ าร​ขียน​ าระสำคัญ เรื่อง สำนัก​าน​ ัตโนมัติ ก เ ส ง อ สำนักงานอัตโนมัติ ลักษณะจำเพาะ ลักษณะ​ ระกอบ ป ประหยัด​บประมา​ ​ า​ช​ าย ง ณค ใ จ – 3 เ ​พิ่มประสิทธิภาพ​นการ​ ำ​าน ใ ทง 3 – ช ใ ผบ ส ​ วย​ห​ ู​ ริหาร​ ามารถ​ ัดสินใจ​ด ต ไ ถูกตอง​ ละ​ วดเร็ว​ แ ร 3 ​ – หนวยงาน​ ละ​ ำนัก​าน​ ีภาพลักษณ​ ี แ ส ง ม ด 3 ​ – สาระสำคัญของสำนักงานอัตโนมัติ: สำนักงานอัตโนมัติมีประโยชน์หลายอย่าง ได้แก่ ประหยัด งบประมาณค่าใช้จ่าย เพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน ช่วยให้ผู้บริหารสามารถตัดสินใจได้อย่างรวดเร็ว ทำให้หน่วยงานและสำนักงานมีภาพลักษณ์ดี ขั้นที่ 2 กำหนดภาระงานและการประเมินผลการเรียนรู้ซึ่งเป็นหลักฐานที่แสดงว่านักเรียนมี ผลการเรียนรู้ตามที่กำหนดไว้อย่างแท้จริง เมือครูกำหนดผลลัพธ์ปลายทางทีตองการให้เกิดขึนกับนักเรียนแล้ว ก่อนทีจะดำเนินการขันต่อไป ่ ่ ้ ้ ่ ้ ขอให้ครูตอบคำถามสำคัญต่อไปนี้​ – นักเรียนมีพฤติกรรมหรือแสดงออกในลักษณะใด จึงทำให้ครูทราบว่า นักเรียนบรรลุผลลัพธ์ ปลายทางตามที่กำหนดไว้แล้ว – ครูมีหลักฐานหรือใช้วิธีการใดที่สามารถระบุได้ว่า นักเรียนมีพฤติกรรมหรือแสดงออกตาม ผลลัพธ์ปลายทางที่กำหนดไว้ การออกแบบการจัดการเรียนรู้ตามหลักการ Backward Design เน้นให้ครูรวบรวมหลักฐานการ วัดและประเมินผลการเรียนรู้ที่จำเป็นและมีหลักฐานเพียงพอที่จะกล่ าวได้ว่า การจัดการเรียนรู้ทำให้ นักเรียนเกิดผลสัมฤทธิ์แล้ว ไม่ใช่เรียนแค่ให้จบตามหลักสูตรหรือเรียนตามชุดของกิจกรรมการเรียนรู้ที่ ครูกำหนดไว้เท่านั้น วิธีการ Backward Design ต้องการกระตุ้นให้ครูคิดล่วงหน้าว่า ครูควรจะกำหนด และรวบรวมหลักฐานเชิงประจักษ์อะไรบ้างก่อนที่จะออกแบบหน่วยการเรียนรู้ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง หลักฐานดังกล่าวควรจะเป็นหลักฐานที่สามารถใช้เป็นข้อมูลย้อนกลับที่มีประโยชน์สำหรับนักเรียนและ ครูได้เป็นอย่างดี นอกจากนี้ครูควรใช้วิธีการวัดและประเมินผลแบบต่อเนื่องอย่างไม่เป็นทางการและเป็น ทางการ ตลอดระยะเวลาที่ครูจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้แก่นักเรียน ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดที่ต้องการให้ ครูทำการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เรียกว่า สอนไปวัดผลไป จึงกล่าวได้วา ขันนีครูควรนึกถึงพฤติกรรมหรือการแสดงออกของนักเรียน โดยพิจารณาจากผลงาน ่ ้ ้ หรือชิ้นงานที่เป็นหลักฐานเชิงประจักษ์  ซึ่งแสดงให้เห็นว่านักเรียนเกิดผลลัพธ์ปลายทางตามเกณฑ์ที่ กำหนดไว้แล้ว และเกณฑ์ทใช้ประเมินควรเป็นเกณฑ์คณภาพในรูปของมิตคณภาพ (Rubrics) อย่างไรก็ตาม ี่ ุ ิ ุ ครูอาจจะมีหลักฐานหรือใช้วธการอืน ๆ เช่น การทดสอบก่อนและหลังเรียน การสัมภาษณ์ การศึกษาค้นคว้า ิี ่ การฝึกปฏิบัติขณะเรียนรู้ประกอบด้วยก็ได้
  • 16. 10 คูมือ​ รู แผนการ​ ัดการ​รียน​ ู้ การอาชีพ ม. 4–6 ค จ เ ร การกำหนดภาระงานและการประเมินผลการเรียนรู้ซึ่งเป็นหลักฐานที่แสดงว่านักเรียนมีผล การเรียนรู้ตามผลลัพธ์ปลายทางที่กำหนดไว้แล้ว หลังจากทีครูได้กำหนดผลลัพธ์ปลายทางทีตองการให้เกิดขึนกับนักเรียนแล้ว ครูควรกำหนดภาระ ่ ่ ้ ้ งานและวิธีการประเมินผลการเรียนรู้  ซึ่งเป็นหลักฐานที่แสดงว่านักเรียนมีผลการเรียนรู้ตามผลลัพธ์ ปลายทางที่กำหนดไว้แล้ว ภาระงาน หมายถึง งานหรือกิจกรรมที่กำหนดให้นักเรียนปฏิบัติ เพื่อให้บรรลุตามจุดประสงค์ การเรียนรู้/ตัวชี้วัด​ วงชั้น/มาตรฐานการเรียนรู้ที่กำหนดไว้  ลักษณะสำคัญของงานจะต้องเป็นงานที่ ช สอดคล้องกับ​ าร​ ฏิบัติจริงในชีวิตประจำวัน เป็นเหตุการณ์จริงมากกว่ากิจกรรมที่จำลองขึ้นเพื่อใช้ใน ก ป การทดสอบ ซึ่งเรียกว่า งานที่ปฏิบัติเป็นงานที่มีความหมายต่อนักเรียน (Meaningful Task) นอกจากนี้ งานและกิจกรรมจะต้องมีขอบเขตทีชดเจน  สอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู/ตัวชีวดชวงชัน/มาตรฐาน ่ั ้ ้ั ้ ​ การเรียนรู้ที่ต้องการให้เกิดขึ้นกับนักเรียน ทั้งนี้เมื่อได้ภาระงานครบถ้วนตามที่ต้องการแล้ว ครูจะต้องนึกถึงวิธีการและเครื่องมือที่จะใช้วัด และประเมินผลการเรียนรู้ของนักเรียนซึ่งมีอยู่มากมายหลายประเภท ครูจะต้องเลือกให้เหมาะสมกับ ภาระงานที่นักเรียนปฏิบัติ ตัวอย่างภาระงานเรื่อง เทคโน​ลยีที่ใชเพื่อการ​ ำ​ าน​ าชีพ รวมทั้งการกำหนดวิธีการวัดและ โ ทง อ ประเมินผลการเรียนรู้ของนักเรียน (ดังตาราง)