SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
Download to read offline
บันทึกหลักการและเหตุผล
ประกอบร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการบริการสาธารณสุข
พ.ศ. ....
หลักการ
ให้มีกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการบริการสาธารณสุข
เหตุผล
โดยที่ปัจจุบันผลกระทบจากการบริการด้านสาธารณสุขยังไม่ได้รับการแก้ไขเยียวยา
อย่างเป็นระบบให้ทันท่วงที ทาให้มีการฟ้องร้องผู้ให้บริการสาธารณสุขทั้งทางแพ่งและอาญา
และทาให้ความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ให้และผู้รับบริการสาธารณสุขเปลี่ยนไปจากเดิมอันส่งผล
มายังผู้ให้และผู้รับบริการสาธารณสุขตลอดจนกระทบถึงการประกอบ วิชาชีพทางการแพทย์
และสาธารณสุข รวมถึงระบบบริการส าธารณสุข ด้วย สมควรจะได้ แก้ปัญหาดังกล่าวเพื่อให้ผู้ได้รับ
ผลกระทบจากบริการสาธารณสุขได้รับการแก้ไขเยียวยาโดยรวดเร็วและเป็นธรรม เป็นการสร้างเสริม
ความสัมพันธ์ที่ดีในระบบ บริการสาธารณสุข จัดให้มีการพัฒนาระบบความปลอดภัยและป้องกัน
ผลกระทบจากบริการสาธารณสุข เพื่อลดความเสี่ยงจากผลกระทบที่จะเกิดจากการบริการ
สาธารณสุขให้น้อยที่สุด จึงจาเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้
2
ร่าง
พระราชบัญญัติ
คุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการบริการสาธารณสุข
พ.ศ. ....
........................................
........................................
........................................
...................................................................................................................................................
....................................................
โดยที่เป็นการสมควรให้มีกฎหมายว่าด้วย การคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบ จากการบริการ
สาธารณสุข
...................................................................................................................................................
....................................................
มาตรา 1 พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติคุ้มครอง ผู้ได้รับผลกระทบ จากการ
บริการสาธารณสุข พ.ศ. .... ”
มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกาหนดหนึ่งร้อยแปดสิบวันนับแต่วันประกาศ
ในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
มาตรา ๓ ในพระราชบัญญัตินี้
“ผลกระทบ” หมายความว่า ความเสียหาย ที่เกิดจากการให้หรือการรับบริการสาธารณสุข
จากสถานพยาบาลตามพระราชบัญญัตินี้
“ผู้ได้รับผลกระทบ ” หมายความว่า บุคคล สัญชาติไทยหรือบุคคล ซึ่งมีสิทธิได้รับบริการ
สาธารณสุขตามที่มีกฎหมายกาหนดและได้รับผลกระทบอันเกี่ยวเนื่องจากการให้หรือการรับบริการสาธารณสุข
จากสถานพยาบาล ตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่รัฐมนตรีประกาศกาหนดโดย คาแนะนาของ
คณะกรรมการ
“สถานพยาบาล ” หมายความว่า สถานพยาบาลของรัฐและของสภากาชาดไทย
หน่วยบริการที่ขึ้นทะเบียนตามกฎหมายว่าด้วยหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ สถานพยาบาลที่สานักงาน
ประกันสังคมประกาศในราชกิจจานุเบกษาตามกฎหมายว่าด้วยการประกันสังคม สถานพยาบาลตามกฎหมาย
ว่าด้วยสถานพยาบาล หรือสถานพยาบาลอื่นตามที่คณะกรรมการประกาศกาหนด
3
“บริการสาธารณสุข ” หมายความว่า บริการด้านการแพทย์และสาธารณสุข ซึ่งได้แก่
การประกอบโรคศิลปะตามกฎหมายว่าด้วยการประกอบโรคศิลปะ การประกอบวิชาชีพเวชกรรมตามกฎหมาย
ว่าด้วยวิชาชีพเวชกรรม การประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ตามกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพ
การพยาบาลและการผดุงครรภ์ การประกอบวิชาชีพทันตกรรมตามกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพทันตกรรม
การประกอบวิชาชีพกายภาพบาบัดตามกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพ กายภาพบาบัด การประกอบวิชาชีพเทคนิค
การแพทย์ตามกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพเทคนิคการแพทย์ การประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมตามกฎหมายว่าด้วย
วิชาชีพเภสัชกรรม การประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยและการประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทย
ประยุกต์ตามกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพการแพทย์แผนไทย การประกอบวิชาชีพการสาธารณสุขชุมชนตาม
กฎหมายว่าด้วยวิชาชีพการสาธารณสุขชุมชน การประกอบวิชาชีพทางการแพทย์และสาธารณสุขอื่น หรือ
การให้บริการด้านการแพทย์และสาธารณสุขอื่นตามที่รัฐมนตรีประกาศกาหนด
“คณะกรรมการ” หมายความว่า คณะกรรมการคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการบริการ
สาธารณสุข
“สานักงาน” หมายความว่า กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข
“รัฐมนตรี” หมายความว่า รัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
มาตรา ๔ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และให้มี
อานาจออกระเบียบและประกาศ เพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้
ระเบียบและประกาศนั้น เมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้
หมวด ๑
การคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการบริการสาธารณสุข
ส่วนที่ 1
การช่วยเหลือเบื้องต้น
มาตรา ๕ ผู้ได้รับผลกระทบ มีสิทธิได้รับเงิน ช่วยเหลือเบื้องต้น ตามพระราชบัญญัตินี้
หรือตามกฎหมายอื่น โดยไม่ต้องพิสูจน์ความรับผิด
มาตรา ๖ ขอบเขตของสิทธิได้รับเงินช่วยเหลือเบื้องต้นของผู้ได้รับผลกระทบตาม บทบัญญัติ
ในมาตรา ๕ มีดังต่อไปนี้
(๑) ผู้ได้รับผลกระทบซึ่งเป็นผู้มีสิทธิได้รับบริการสาธารณสุขหรือผู้ให้บริการสาธารณสุขตาม
กฎหมายว่าด้วยหลักประกันสุขภาพแห่งชาติให้เป็นไปตามที่กาหนดในกฎหมายว่าด้วยหลักประกันสุขภาพ
แห่งชาติ
4
(2) ผู้ได้รับผลกระทบซึ่งเป็นผู้ประกันตนหรือผู้ให้บริการทางการแพทย์ตามกฎหมายว่าด้วย
ประกันสังคมให้เป็นไปตามที่กาหนดในกฎหมายว่าด้วยประกันสังคม
(3) ผู้ได้รับผลกระทบเฉพาะผู้รับบริการสาธารณสุขซึ่งเป็นข้าราชการหรือลูกจ้างของส่วน
ราชการให้ถือเป็นสวัสดิการจากทางราชการ และให้ข้าราชการหรือลูกจ้างของส่วน ราชการมีสิทธิได้รับเงิน
ช่วยเหลือเบื้องต้นเป็นเงินสวัสดิการตามที่กาหนดโดยพระราชกฤษฎีกา
(4) ผู้ได้รับผลกระทบอื่นนอกจาก (1) (2) และ (3) รวมทั้งรายละเอียดค่าใช้จ่ายให้เป็นไป
ตามที่คณะรัฐมนตรีกาหนด
ส่วนที่ 2
การชดเชย
มาตรา 7 ผู้ได้รับผลกระทบมีสิทธิได้รับเงินชดเชยตามที่กาหนดโดยพระราชบัญญัตินี้
มาตรา 8 บทบัญญัติในมาตรา 7 มิให้ใช้บังคับในกรณีดังต่อไปนี้
(๑) ผลกระทบสาหรับผู้รับบริการสาธารณสุขที่เกิดขึ้นตามปกติธรรมดาของโรคนั้น
(๒) ผลกระทบซึ่งหลีกเลี่ยงมิได้จากการให้หรือการรับบริการส าธารณสุขตามมาตรฐาน
ทั้งนี้ คณะกรรมการอาจประกาศกาหนดรายละเอียดเพิ่มเติมภายใต้หลักเกณฑ์ดังกล่าวข้างต้น
หมวด ๒
คณะกรรมการคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการบริการสาธารณสุข
มาตรา 9 ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรียกว่า “คณะกรรมการคุ้มครองผู้ได้รับ
ผลกระทบจากการบริการสาธารณสุข” ประกอบด้วย
(๑) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขเป็นประธานกรรมการ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
เป็นรองประธานกรรมการ
(๒) ปลัดกระทรวงการคลัง ปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและ ความมั่นคง ของมนุษย์
ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ปลัดกระทรวงกลาโหม อธิบดีกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ เลขาธิการ
คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค เลขาธิการสานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติและเลขาธิการสานักงาน
ประกันสังคม
(3) ผู้แทนผู้ประกอบวิชาชีพด้านการแพทย์และสาธารณสุข โดยคาแนะนาของสภาวิชาชีพ
ซึ่งจัดตั้งขึ้นตามกฎหมายเพื่อควบคุมการประกอบวิชาชีพนั้นสภาละหนึ่งคน
(4) ผู้แทนคณะกรรมการวิชาชีพตามกฎหมายว่าด้วยการประกอบโรคศิลปะเลือกกันเอง
จานวนหนึ่งคน
5
(5) ผู้แทนองค์กรพัฒนาเอกชนที่ทางานด้านคุ้มครองสิทธิผู้บริโภคด้านบริการสุขภาพ
จานวนห้าคน
(6) ผู้ทรงคุณวุฒิจานวนหกคนซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งจากผู้ที่มีความเชี่ยวชาญด้าน การแพทย์และ
สาธารณสุข ด้านเศรษฐศาสตร์สาธารณสุขหรือด้านสังคมศาสตร์
การคัดเลือกและแต่งตั้งกรรมการตามวรรคหนึ่ง (4) (5) และ (6) ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์
วิธีการ และเงื่อนไขที่รัฐมนตรีประกาศกาหนดโดยคาแนะนาของคณะกรรมการ
ให้อธิบดีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพเป็นกรรมการและเลขานุการ และให้อธิบดีกรม
สนับสนุนบริการสุขภาพแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ของสานักงานจานวนไม่เกินสองคนเป็นผู้ช่วยเลขานุการ
มาตรา 10 กรรมการตามมาตรา 9 วรรคหนึ่ง (4) (5) และ (6) มีวาระการดารงตาแหน่ง
คราวละสี่ปี และอาจได้รับคัดเลือกหรือแต่งตั้ง ใหม่อีกได้ แต่จะดารงตาแหน่งเกินกว่าสองวาระติดต่อกันไม่ได้
เมื่อครบกาหนดตามวาระในวรรคหนึ่ง หากยังมิได้มีการคัดเลือกหรือแต่งตั้งกรรมการ
ขึ้นใหม่ ให้กรรมการซึ่งพ้นจากตาแหน่งตามวาระนั้นอยู่ในตาแหน่งเพื่อปฏิบัติหน้าที่ ต่อไปจนกว่ากรรมการ
ซึ่งได้รับคัดเลือกหรือได้รับแต่งตั้งเข้ารับหน้าที่ แต่ต้องไม่เกินเก้าสิบวัน นับแต่วันที่กรรมการพ้นจากตาแหน่ง
ตามวาระนั้น
ในกรณีที่กรรมการตามวรรคหนึ่งพ้นจากตาแหน่ง ก่อนครบวาระ ให้ดาเนินการคัดเลือกหรือ
แต่งตั้งกรรมการประเภทเดียวกันแทนภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ตาแหน่งกรรมการนั้นว่างลงและให้ผู้ได้รับ
คัดเลือกหรือได้รับแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งแทนอยู่ในตาแหน่งเท่ากับวาระที่เหลืออยู่ของกรรมการซึ่งตนแทน
ในกรณีที่วาระของกรรมการที่พ้นจากตาแหน่งก่อนครบวาระเหลืออยู่ไม่ถึงเก้าสิบวัน
จะไม่ดาเนินการคัดเลือก หรือแต่งตั้งกรรมการแทนตาแหน่งที่ว่างนั้นก็ได้ และในการนี้ให้คณะกรรมกา ร
ประกอบด้วยกรรมการเท่าที่เหลืออยู่
มาตรา 11 นอกจากการพ้นจากตาแหน่งตามวาระตามมาตรา 10 วรรคหนึ่ง กรรมการตาม
มาตรา 9 วรรคหนึ่ง (4) (5) และ (6) พ้นจากตาแหน่งเมื่อ
(๑) ตาย
(๒) ลาออก
(๓) เป็นบุคคลล้มละลาย
(๔) เป็นคนไร้ความสามารถหรือคนเสมือนไร้ความสามารถ
(๕) ได้รับโทษจาคุกโดยคาพิพากษาถึงที่สุดให้จาคุก เว้นแต่โทษสาหรับความผิดที่ได้กระทา
โดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ
(๖) รัฐมนตรีให้ออกเพราะบกพร่องหรือไม่สุจริตต่อหน้าที่ หรือหย่อนความสามารถ
6
มาตรา ๑2 คณะกรรมการมีอานาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้
(๑) กาหนดนโยบายและมาตรการเพื่อคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบ และการสนับสนุนการสร้าง
เสริมความสัมพันธ์ที่ดี ในระบบบริการสาธารณสุข และการพัฒนาระบบความปลอดภัยและป้องกันผลกระทบ
(2) กาหนดระเบียบเกี่ยวกับการยื่นคาขอรับเงินค่าชดเชยตามมาตรา ๒0
(3) กาหนดจานวนเงินชดเชยระยะเวลาการจ่ายเงินชดเชยและวิธีการจ่ายเงินชดเชยแก่ผู้ได้รับ
ผลกระทบตามมาตรา ๒2
(4) วินิจฉัยอุทธรณ์และกาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการอุทธรณ์และวิธีพิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ์
ตามมาตรา ๒2
(5) จัดประชุมรับฟังความเห็นของสถานพยาบาลและผู้ให้และผู้รับบริการสาธารณสุข
เพื่อรับทราบปัญหาข้อเสนอแนะในการส่งเสริมและพัฒนาระบบความปลอดภัยและป้องกันผลกระทบ
(6) กาหนดนโยบายการบริหารงานและให้ความเห็นชอบแผนการดาเนินงานของสานักงาน
(7) วิเคราะห์สาเหตุแห่งผลกระทบและพิจารณาหาแนวทางพัฒนาระบบความปลอดภัยและ
ป้องกันผลกระทบตามมาตรา 26
(8) กาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข การพัฒนาระบบความปลอดภัยและป้องกัน
ผลกระทบเพื่อสร้างเสริมความสัมพันธ์ที่ดี ในระบบบริการสาธารณสุข
(9) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่พระราชบัญญัตินี้หรือกฎหมายอื่นกาหนดให้เป็นอานาจหน้าที่ของ
คณะกรรมการหรือตามที่คณะรัฐมนตรีมอบหมาย
ในการปฏิบัติหน้าที่ตามวรรคหนึ่ง คณะกรรมการอาจมอบหมายหรือมอบอานาจให้สานักงาน
เป็นผู้ดาเนินการแทนได้
มาตรา ๑3 การประชุมคณะกรรมการ ต้องมีกรรมการมาประชุม ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของ
จานวนกรรมการทั้งหมด จึงจะเป็นองค์ประชุม
ให้ประธานกรรมการเป็นประธานในที่ประชุม ถ้าประธานคณะกรรมการไม่มาประชุมหรือไม่
อยู่ในที่ประชุมให้รองประธานกรรมการเป็นประธานในที่ประชุม ถ้าประธานกรรมการและรองประธาน
กรรมการไม่มาประชุมหรือไม่อยู่ในที่ประชุม ให้กรรมการที่มาประชุมเลือกกรรมการคนหนึ่งเป็นประธานในที่
ประชุม
การวินิจฉัยชี้ขาดของที่ประชุมให้ถือเสียงข้างมาก กรรมการคนหนึ่งให้มีเสียงหนึ่งในการ
ลงคะแนน ถ้าคะแนนเสียงเท่ากัน ให้ประธานในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกเสียงหนึ่งเป็นเสียงชี้ขาด
ในการประชุม ถ้ามีการพิจารณาเรื่องที่ประธานกรรมการหรือกรรมการผู้ใดมีส่วนได้เสีย
ประธานกรรมการหรือกรรมการผู้นั้นมีหน้าที่แจ้งให้คณะกรรมการทราบและมีสิทธิเข้าชี้แจงข้อเท็จจริงหรือ
แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องนั้นแต่ไม่มีสิทธิเข้าร่วมประชุมและลงคะแนนเสียง
วิธีการประชุมและการมีส่วนได้เสียซึ่งประธานกรรมการหรือกรรมการมีหน้าที่ต้องแจ้ง
ให้เป็นไปตามที่คณะกรรมการกาหนด
7
มาตรา ๑ 4 คณะกรรมการมีอานาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อให้ปฏิบัติหน้าที่ตาม
พระราชบัญญัตินี้หรือตามที่คณะกรรมการมอบหมาย ดังนี้
(1) คณะอนุกรรมการพิจารณาเงินช ดเชยตามมาตรา ๒ 2 ประกอบด้วย ผู้แทนสานักงาน
ผู้ทรงคุณวุฒิ จานวนสามคนซึ่งมีความรู้และประสบการณ์ทาง ด้านต่างๆ เช่น นิติศาสตร์ การแพทย์และ
สาธารณสุข การคุ้มครองผู้บริโภคหรืออื่นๆ และผู้แทนสถานพยาบาล ซึ่งต้องเป็นผู้ประกอบวิชาชีพทางการ
แพทย์และสาธารณสุขหรือผู้ประกอบโรคศิลปะและผู้แทนผู้รับบริการสาธารณสุข ฝ่ายละหนึ่งคน
(2) คณะอนุกรรมการพิจารณาเงินชดเชยประจาจังหวัด ตามมาตรา ๒2 ประกอบด้วยผู้แทน
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด ผู้ทรงคุณวุฒิ จานวนสาม คนซึ่งมีความรู้และประสบการณ์ทาง ด้านต่างๆ
เช่น นิติศาสตร์ การแพทย์และสาธารณสุข การคุ้มครองผู้บริโภคหรืออื่นๆ และผู้แทนสถานพยาบาล ซึ่งต้อง
เป็นผู้ประกอบวิชาชีพทางการแพทย์และสาธารณสุขหรือผู้ประกอบโรคศิลปะ และผู้แทนผู้รับบริการ
สาธารณสุข ฝ่ายละหนึ่งคน
(3) คณะอนุกรรมการอื่น ๆ ตามที่เห็นสมควร
หลักเกณฑ์และวิธีการการได้มา วาระการดารงตาแหน่ง การพ้นจากตาแหน่ง และเขตพื้นที่
รับผิดชอบของคณะอนุกรรมการตามวรรคหนึ่ง (๑) (2) และ (3) ให้เป็นไปตามที่คณะกรรมการกาหนด
ประธานคณะอนุกรรมการตามวรรคหนึ่งให้เป็นไปตามที่คณะอนุกรรมการแต่ละคณะ
เลือกกันเอง
ให้อธิบดีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพหรือนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดที่อธิบดีกรมสนับสนุน
บริการสุขภาพมอบหมายแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ ในสานักงานหรือเจ้าหน้าที่ในสานักงานสาธารณสุขจังหวัดแล้วแต่
กรณีเป็นฝ่ายเลขานุการ
ในการแต่งตั้งคณะอนุกรรมการตามวรรคหนึ่ง คณะกรรมการอาจแต่งตั้งมากกว่าหนึ่งคณะก็ได้
ให้นามาตรา ๑ 3 มาใช้บังคับกับการประชุม วิธีการประชุม และการมีส่วนได้เสียของ
คณะอนุกรรมการและอนุกรรมการโดยอนุโลม
มาตรา ๑5 ให้ประธานกรรมการ กรรมการ ประธานอนุกรรมการ หรืออนุกรรมการ ได้รับ
เบี้ยประชุม ค่าพาหนะ ค่าเบี้ยเลี้ยง ค่าเช่าที่พัก และประโยชน์ตอบแทนอื่นในการปฏิบัติหน้าที่ตาม
พระราชบัญญัตินี้ ทั้งนี้ ตามระเบียบที่รัฐมนตรีกาหนดโดยความเห็นชอบของกระทรวงการคลัง
มาตรา ๑ 6 ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ ให้ประธานกรรมการ กรรมการ
ประธานอนุกรรมการ หรืออนุกรรมการ เป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา ๑7 ให้คณะกรรมการหรือคณะอนุกรรมการ มีอานาจสั่งให้สถานพยาบาล ผู้ได้รับ
ผลกระทบหรือทายาท บุคคล หน่วยงาน หรือองค์กรที่เกี่ยวข้อง ทาหนังสือชี้แจงข้อเท็จจริง หรือมาให้ถ้อยคา
ด้วยตนเอง หรือส่งข้อมูลหรือเอกสารหลักฐานตามกาหนดเวลาที่เห็นสมควร
ให้บุคคลที่มาให้ถ้อยคาด้วยตนเองตามวรรคหนึ่งได้รับค่าพาหนะ ค่าเช่าที่พัก และค่าป่วยการ
ทั้งนี้ ตามระเบียบที่คณะกรรมการกาหนดโดยความเห็นชอบของกระทรวงการคลัง
8
มาตรา ๑8 ให้กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข เป็นสานักงานเลขานุการ
ของคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการ และมีอานาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้
(๑) รับและตรวจสอบคาขอรับเงินชดเชยและคาอุทธรณ์ตามพระราชบัญญัตินี้
(๒) ประสานงานกับสถานพยาบาลเพื่อให้ส่งเวชระเบียนของผู้ได้รับผลกระทบหรือ
ข้อมูลเอกสารและหลักฐานที่เกี่ยวข้อง ให้คณะกรรมการ หรือคณะอนุกรรมการตามมาตรา ๑7
(3) ประสานงานกับหน่วยงานของรัฐ องค์กร หรือบุคคลใด ๆ เพื่อขอทราบข้อเท็จจริงหรือ
ความเห็นเพื่อประกอบการพิจารณาในการปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้
(4) เก็บ รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูลการจ่ายเงินค่าชดเชยตามพระราชบัญญัตินี้และวิธีป้องกัน
ผลกระทบเพื่อเผยแพร่ต่อสาธารณชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
(5) สนับสนุนการดาเนินงานตามมาตรการส่งเสริมพัฒนาระบบความปลอดภัยและป้องกัน
ผลกระทบ รวมทั้งการสร้างเสริมความสัมพันธ์ที่ดี ในระบบบริการสาธารณสุข
(6) มอบให้หน่วยงานของรัฐ องค์กร หรือบุคคลอื่นทากิจการที่อยู่ภายในอานาจหน้าที่ของ
สานักงานตามพระราชบัญญัตินี้
(7) จัดทารายงานประจาปีเกี่ยวกับผลงานและ อุปสรรคในการดาเนินงานของ
คณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ และสานักงาน เพื่อเผยแพร่ต่อสาธารณชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
(8) ประชาสัมพันธ์และแจ้งผู้ยื่นคาขอและประชาชนทั่วไปเพื่อความเข้าใจหลักการและ
เหตุผล ขั้นตอน วิธีการและเงื่อนไขการใช้สิทธิ ตามพระราชบัญญัตินี้
(9) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามพระราชบัญญัตินี้หรือตามที่คณะกรรมการมอบหมาย
หมวด 3
การพิจารณาคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการบริการสาธารณสุข
มาตรา 19 ผู้ใดเป็น ผู้ได้รับผลกระทบ ตามที่บัญญัติไว้ใน พระราชบัญญัติ นี้ ให้ดาเนินการ
ได้เฉพาะตามขั้นตอนและวิธีการที่กาหนดไว้ในพระราชบัญญัตินี้เท่านั้น
ภายใต้บังคับมาตรา 2 5 ถ้าความปรากฏแก่ศาล ที่มีอานาจพิจารณาพิพากษาคดีทั้งปวง
ว่าผู้ได้รับผลกระทบไม่ได้ดาเนินการ ตามขั้นตอนและวิธีการที่กาหนดไว้ใน วรรคหนึ่ง ซึ่งเป็นกรณีที่มีกฎหมาย
กาหนดขั้นตอนและวิธีการสาหรับการแก้ไขความเดือดร้อนหรือเสียหายในเรื่อง นี้ไว้โดยเฉพาะ การฟ้องคดีใน
เรื่องทานองนี้จะกระทาได้ต่อเมื่อมีการดาเนินการตามขั้นตอนและวิธีการดังกล่าว หากไม่ปฏิบัติตา มให้ศาล
ที่มีอานาจพิจารณาพิพากษาคดีทั้งปวง สั่งจาหน่ายคดีออกจากสารบบความ
มาตรา ๒0 ให้ผู้ได้รับผลกระทบยื่นคาขอรับเงิน ชดเชยตามพระราชบัญญัตินี้ต่อสานักงาน
หรือหน่วยงานหรือองค์กรที่สานักงานกาหนด ภายในสามปีนับแต่วันที่ให้หรือรับบริการสาธารณสุข แต่ทั้งนี้
ต้องไม่เกินสิบปีนับแต่วันที่ให้หรือรับบริการสาธารณสุข
9
ในกรณีที่ผู้ได้รับผลกระทบถึงแก่ชีวิต เป็นผู้ไร้ความสามารถ หรือไม่สามารถยื่นคาขอด้วย
ตนเองได้ บิดามารดา คู่สมรส ทายาท หรือผู้อนุบาล หรือบุคคลหนึ่งบุคคลใดซึ่งได้รับมอบหมายเป็นหนังสือ
จากผู้ได้รับผลกระทบแล้วแต่กรณีอาจยื่นคาขอตามวรรคหนึ่งได้
ผู้ได้รับผลกระทบที่เป็นผู้ให้บริการสาธารณสุขซึ่งอาจได้รับเงินชดเชย ต้องเป็นผู้ให้บริการของ
สถานพยาบาลตามพระราชบัญญัตินี้ และ การจ่ายเงินชดเชยให้แก่ ผู้ได้รับผลกระทบที่เป็นผู้ ให้บริการ
สาธารณสุขหรือทายาทตามพระราชบัญญัตินี้ ไม่เป็นการรอนสิทธิของผู้ให้บริการสาธารณสุขหรือทายาทที่จะ
ได้รับความช่วยเหลือจากทางราชการหรือหน่วยงานต้นสังกัด
การยื่นคาขอตามมาตรานี้จะกระทาด้วยวาจาหรือเป็นหนังสือก็ได้ ทั้งนี้ ตามวิธีการ รูปแบบ
และรายละเอียดที่คณะกรรมการกาหนดในระเบียบ
มาตรา ๒ 1 เมื่อมีการยื่นคาขอตามมาตรา ๒ 0 ให้อายุความนั้นสะดุดหยุดอยู่ไม่นับ
ในระหว่างนั้นจนกว่าการพิจารณาคาขอเงินชดเชยนั้นจะถึงที่สุดหรือมีการยุติการพิจารณาคาขอตาม
มาตรา 25
มาตรา ๒2 ให้สานักงานหรือหน่วยงานหรือองค์กรที่สานักงานกาหนด แล้วแต่กรณีส่งคาขอ
ตามมาตรา ๒0 ให้คณะอนุกรรมการพิจารณาเงินชดเชยหรือคณะอนุกรรมการพิจารณาเงินชดเชยประจา
จังหวัดภายในเจ็ดวันนับแต่วันที่ได้รับคาขอ และให้คณะอนุกรรมการพิจารณาเงินชดเชยหรือคณะอนุกรรมการ
พิจารณาเงินชดเชยประจาจังหวัดวินิจฉัยคาขอให้แล้วเสร็จภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ได้รับคาขอ
หากคณะอนุกรรมการพิจารณาเงินชดเชยหรือคณะอนุกรรมการพิจารณาเงินชดเชยประจาจังหวัดเห็น
ว่าเป็นผู้ได้รับผลกระทบตามมาตรา 7 และไม่อยู่ในบังคับตามมาตรา 8 ให้ประเมินจานวนเงินค่าชดเชย
ที่ผู้ได้รับผลกระทบพึงจะได้รับเงินชดเชยทั้งหมด
จานวนเงินชดเชยที่ผู้ ได้รับผลกระทบ จะได้รับให้คานึงถึงหลักการชดใช้ค่าสินไหมทดแทน
เพื่อละเมิดตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ โดยพิจารณาจากผลกระทบหรือความเดือดร้อนที่ได้รับ
พฤติการณ์แวดล้อม ระดับความรุนแรง การบรรเทาเยียวยาหรือความจาเป็นอื่นๆประกอบด้วย
จานวนเงินชดเชย ระยะเวลาการจ่ายเงินชดเชย และวิธีการจ่ายเงินชดเชยแก่ผู้ได้รับผลกระทบ
ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่คณะกรรมการกาหนด ทั้งนี้ ให้คานึงถึง สภาวะทางเศรษฐกิจและ
การเงินการคลังของประเทศ
ในกรณีที่มีเหตุจาเป็น ให้ขยายระยะเวลาการพิจารณาให้เงินชดเชยออกไปได้ไม่เกินสองครั้ง
ครั้งละไม่เกินสิบห้าวัน แต่ต้องบันทึกเหตุผลและความจาเป็นในการขยายระยะเวลาทุกครั้งไว้ด้วย
หากคณะอนุกรรมการพิจารณาเงินชดเชย หรือคณะอนุกรรมการพิจารณาเงินชดเชยประจา
จังหวัดมีคาวินิจฉัยไม่รับคาขอ หรือผู้ยื่นคาขอไม่พอใจกับจานวนเงินชดเชยที่คณะอนุกรรมการพิจารณาเงิน
ชดเชยหรือคณะอนุกรรมการพิจารณาเงินชดเชยประจาจังหวัดได้วินิจฉัย ผู้ยื่นคาขอมีสิทธิอุทธรณ์ต่อ
คณะกรรมการตามหลักเกณฑ์และวิธีการอุทธรณ์และวิธีพิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ์ที่คณะกรรมการกาหนด
ในการนี้ ผู้ยื่นคาขออาจเสนอข้อมูลหรือเอกสารเพิ่มเติมเพื่อประกอบการพิจารณาของคณะกรรมการได้
10
มาตรา 23 เมื่อคณะอนุกรรมการพิจารณาเงินชดเชย หรือคณะอนุกรรมการพิจารณาเงิน
ชดเชยประจาจังหวัด พิจารณาจ่ายเงินชดเชยให้แก่ผู้ได้รับผลกระทบแล้วเสร็จ ให้สานักงานหรือสานักงาน
สาธารณสุขจังหวัด ดาเนินการดังนี้
(1) แจ้งผลการพิจารณาจ่ายเงินชดเชยให้แก่ผู้ได้รับผลกระทบทราบ
(2) แจ้งให้หน่วยงานของรัฐหรือสานักงานตามกฎหมายว่าด้วยหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
กฎหมายว่าด้วยประกันสังคมหรือตามกฎหมายอื่นดาเนินการจ่ายเงินชดเชยแก่ผู้ได้รับผลกระทบตามหลักเกณฑ์
วิธีการและเงื่อนไขที่คณะกรรมการกาหนด
มาตรา 24 เมื่อผู้ได้รับผลกระทบหรือทายาทตกลงยินยอมรับเงินชดเชยตามพระราชบัญญัติ
นี้แล้ว ให้สิทธิการฟ้องร้องต่อศาลที่มีอานาจพิจารณาพิพากษาคดีทั้งปวงเป็นอันระงับสิ้น
มาตรา 2 5 ในกรณีที่คณะอนุกรรมการประเมินเงินชดเชยหรือคณะอนุกรรมการพิจารณา
เงินชดเชยประจาจังหวัดได้กาหนดจานวนเงินชดเชยแล้ว หากผู้ได้รับผลกระทบหรือทายาทไม่ตกลงยินยอม
รับเงินชดเชยและจะฟ้องคดีต่อศาล ในกรณีนี้ ให้สานักงานยุติการดาเนินการตามพระราชบัญญัตินี้
และผู้ได้รับผลกระทบหรือทายาทไม่มีสิทธิที่จะยื่นคาขอตามพระราชบัญญัตินี้อีก
หมวด 4
การสร้างเสริมความสัมพันธ์ที่ดีในระบบบริการสาธารณสุข
การพัฒนาระบบความปลอดภัยและป้องกันผลกระทบ
มาตรา 26 ให้คณะกรรมการหรือหน่วยงานที่คณะกรรมการมอบหมาย วิเคราะห์สาเหตุแห่ง
ผลกระทบเพื่อแจ้งให้สถานพยาบาลที่เกี่ยวข้องกับผลกระทบพิจารณาหาแนวทางพัฒนาระบบความปลอดภัย
และป้องกันผลกระทบ รวมทั้งการสร้างเสริมความสัมพันธ์ที่ดีในระบบบริการสาธารณสุขแล้วให้
สถานพยาบาลนั้น ทารายงานการปรับปรุงแก้ไขและส่งให้สานักงานภายในหกเดือน
มาตรา27 ให้สานักงานสนับสนุนสถานพยาบาล หน่วยงาน หรือองค์กรที่ดาเนินกิจกรรม
ด้านการส่งเสริมและพัฒนาระบบความปลอดภัยและป้องกันผลกระทบ เพื่อดาเนินกิจกรรมด้านการพัฒนา
ระบบความปลอดภัยและป้องกันผลกระทบ เพื่อสร้างเสริมความสัมพันธ์ที่ดีในระบบบริการสาธารณสุข
11
หมวด 5
บทกาหนดโทษ
มาตรา 28 ผู้ใดฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตามคาสั่งของคณะกรรมการ หรือคณะอนุกรรมการ
ตามมาตรา ๑7 ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจาทั้งปรับ
บทเฉพาะกาล
มาตรา 29 ในกรณีที่มีการฟ้องคดีต่อศาลและศาลยังไม่มีคาพิพากษาถึงที่สุด หากผู้ได้รับ
ผลกระทบหรือทายาทประสงค์จะขอรับเงิน ช่วยเหลือเบื้องต้นและ เงินชดเชยตามพระราชบัญญัตินี้ ให้ยื่นคา
ขอรับเงิน ช่วยเหลือเบื้องต้นและ เงินชดเชยตามพระราชบัญญัตินี้ภายในหนึ่งร้อยแปดสิบวันนับแต่วันที่
พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ
ภายใต้บังคับตามวรรคหนึ่ง คาขอรับเงินช่วยเหลือเบื้องต้นให้ดาเนินการตามมาตรา 5 และ
มาตรา 6 ส่วนคาขอรับเงินชดเชยให้ถือว่าเป็นคาขอรับเงินชดเชยตามมาตรา ๒0 แห่งพระราชบัญญัตินี้
มาตรา 30 ในวาระเริ่มแรก ให้คณะกรรมการตามพระราชบัญญัตินี้ประกอบด้วยกรรมการ
ตามมาตรา 9 วรรคหนึ่ง (๑) (๒) และ (๓) โดยให้คณะกรรมการดังกล่าวมีอานาจหน้าที่ตามมาตรา 9
วรรคสอง
เมื่อคณะกรรมการตามวรรคหนึ่งกาหนดหลักเกณฑ์ในการคัดเลือกและแต่งตั้งกรรมการตาม
มาตรา 9 วรรคหนึ่ง (๔) (5) และ (6) แล้ว ให้รัฐมนตรีดาเนินการให้มีการคัดเลือกและแต่งตั้งกรรมการตาม
มาตรา 9 วรรคหนึ่ง (๔) (5) และ (6) ภายในหนึ่งร้อยแปดสิบวัน นับแต่วันที่พระราชบัญญัติฉบับนี้ใช้บังคับ
มาตรา 31 การดาเนินการออก พระราชกฤษฎีกา ระเบียบ หรือประกาศ ตาม
พระราชบัญญัตินี้ ให้ดาเนินการให้แล้วเสร็จภายในหนึ่งปี นับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ
ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ
.................................
นายกรัฐมนตรี

More Related Content

What's hot

ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697
ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697
ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697dentyomaraj
 
22 medical guide_government officer_cgd_2553
22 medical guide_government officer_cgd_255322 medical guide_government officer_cgd_2553
22 medical guide_government officer_cgd_2553JantongDiamond1
 
57 03หลักการขึ้นทะเบียน ขจีรัตน์
57 03หลักการขึ้นทะเบียน ขจีรัตน์57 03หลักการขึ้นทะเบียน ขจีรัตน์
57 03หลักการขึ้นทะเบียน ขจีรัตน์หมอปอ ขจีรัตน์
 
คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บร...
คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บร...คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บร...
คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บร...Utai Sukviwatsirikul
 

What's hot (7)

ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697
ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697
ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697
 
Ethics in Emergency Medicine
Ethics in Emergency MedicineEthics in Emergency Medicine
Ethics in Emergency Medicine
 
22 medical guide_government officer_cgd_2553
22 medical guide_government officer_cgd_255322 medical guide_government officer_cgd_2553
22 medical guide_government officer_cgd_2553
 
57 03หลักการขึ้นทะเบียน ขจีรัตน์
57 03หลักการขึ้นทะเบียน ขจีรัตน์57 03หลักการขึ้นทะเบียน ขจีรัตน์
57 03หลักการขึ้นทะเบียน ขจีรัตน์
 
8 ร่างพรบ.ฉบับหมอต้านพรบ.
8 ร่างพรบ.ฉบับหมอต้านพรบ.8 ร่างพรบ.ฉบับหมอต้านพรบ.
8 ร่างพรบ.ฉบับหมอต้านพรบ.
 
คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บร...
คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บร...คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บร...
คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บร...
 
Financing for Emergency patients
Financing for Emergency patientsFinancing for Emergency patients
Financing for Emergency patients
 

Viewers also liked

คำพิพากษาศาลชั้นต้น คดีคุณพรสรัญ ปริญญาวิภาค
คำพิพากษาศาลชั้นต้น คดีคุณพรสรัญ ปริญญาวิภาคคำพิพากษาศาลชั้นต้น คดีคุณพรสรัญ ปริญญาวิภาค
คำพิพากษาศาลชั้นต้น คดีคุณพรสรัญ ปริญญาวิภาคปรียนันท์ ล้อเสริมวัฒนา
 
คำพิพากษาศาลปกครองกลาง ครูประเสริฐ&สปสช+สินแพทย์
คำพิพากษาศาลปกครองกลาง ครูประเสริฐ&สปสช+สินแพทย์คำพิพากษาศาลปกครองกลาง ครูประเสริฐ&สปสช+สินแพทย์
คำพิพากษาศาลปกครองกลาง ครูประเสริฐ&สปสช+สินแพทย์ปรียนันท์ ล้อเสริมวัฒนา
 
คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด แพทยสภาผู้ถูกฟ้องคดี
คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด แพทยสภาผู้ถูกฟ้องคดีคำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด แพทยสภาผู้ถูกฟ้องคดี
คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด แพทยสภาผู้ถูกฟ้องคดีปรียนันท์ ล้อเสริมวัฒนา
 
คำพิพากษาศาลชั้นต้น-คดีรพ.ธนบุรี&นางสำรวย โสภจารีย์
คำพิพากษาศาลชั้นต้น-คดีรพ.ธนบุรี&นางสำรวย โสภจารีย์คำพิพากษาศาลชั้นต้น-คดีรพ.ธนบุรี&นางสำรวย โสภจารีย์
คำพิพากษาศาลชั้นต้น-คดีรพ.ธนบุรี&นางสำรวย โสภจารีย์ปรียนันท์ ล้อเสริมวัฒนา
 
มติแพทยสภา คดีนางปรียนันท์ ล้อเสริมวัฒนา ร้องเรียนจริยธรรม แพทย์ของรพ.พญาไท 1
มติแพทยสภา คดีนางปรียนันท์ ล้อเสริมวัฒนา ร้องเรียนจริยธรรม แพทย์ของรพ.พญาไท 1มติแพทยสภา คดีนางปรียนันท์ ล้อเสริมวัฒนา ร้องเรียนจริยธรรม แพทย์ของรพ.พญาไท 1
มติแพทยสภา คดีนางปรียนันท์ ล้อเสริมวัฒนา ร้องเรียนจริยธรรม แพทย์ของรพ.พญาไท 1ปรียนันท์ ล้อเสริมวัฒนา
 
กฎหมายที่ต้องจัดทำนับจากวันประกาศใช้รัฐธรรมนูญปี59
กฎหมายที่ต้องจัดทำนับจากวันประกาศใช้รัฐธรรมนูญปี59กฎหมายที่ต้องจัดทำนับจากวันประกาศใช้รัฐธรรมนูญปี59
กฎหมายที่ต้องจัดทำนับจากวันประกาศใช้รัฐธรรมนูญปี59ปรียนันท์ ล้อเสริมวัฒนา
 
คำพิพากษาศาลฎีกา คดีดญ.มาริสา ทินนึง-กระทรวงสาธารณสุข
คำพิพากษาศาลฎีกา คดีดญ.มาริสา ทินนึง-กระทรวงสาธารณสุขคำพิพากษาศาลฎีกา คดีดญ.มาริสา ทินนึง-กระทรวงสาธารณสุข
คำพิพากษาศาลฎีกา คดีดญ.มาริสา ทินนึง-กระทรวงสาธารณสุขปรียนันท์ ล้อเสริมวัฒนา
 

Viewers also liked (13)

คำพิพากษาศาลชั้นต้น คดีคุณพรสรัญ ปริญญาวิภาค
คำพิพากษาศาลชั้นต้น คดีคุณพรสรัญ ปริญญาวิภาคคำพิพากษาศาลชั้นต้น คดีคุณพรสรัญ ปริญญาวิภาค
คำพิพากษาศาลชั้นต้น คดีคุณพรสรัญ ปริญญาวิภาค
 
คำพิพากษาศาลปกครองกลาง ครูประเสริฐ&สปสช+สินแพทย์
คำพิพากษาศาลปกครองกลาง ครูประเสริฐ&สปสช+สินแพทย์คำพิพากษาศาลปกครองกลาง ครูประเสริฐ&สปสช+สินแพทย์
คำพิพากษาศาลปกครองกลาง ครูประเสริฐ&สปสช+สินแพทย์
 
กฎหมายเกี่ยวกับการใช้ Social Media
กฎหมายเกี่ยวกับการใช้ Social Mediaกฎหมายเกี่ยวกับการใช้ Social Media
กฎหมายเกี่ยวกับการใช้ Social Media
 
คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด แพทยสภาผู้ถูกฟ้องคดี
คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด แพทยสภาผู้ถูกฟ้องคดีคำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด แพทยสภาผู้ถูกฟ้องคดี
คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด แพทยสภาผู้ถูกฟ้องคดี
 
คำพิพากษาศาลชั้นต้น-คดีรพ.ธนบุรี&นางสำรวย โสภจารีย์
คำพิพากษาศาลชั้นต้น-คดีรพ.ธนบุรี&นางสำรวย โสภจารีย์คำพิพากษาศาลชั้นต้น-คดีรพ.ธนบุรี&นางสำรวย โสภจารีย์
คำพิพากษาศาลชั้นต้น-คดีรพ.ธนบุรี&นางสำรวย โสภจารีย์
 
สำนวนคดีผ่าไส้ติ่งร่อนพิบูลย์ (คดีอาญา)
สำนวนคดีผ่าไส้ติ่งร่อนพิบูลย์ (คดีอาญา)สำนวนคดีผ่าไส้ติ่งร่อนพิบูลย์ (คดีอาญา)
สำนวนคดีผ่าไส้ติ่งร่อนพิบูลย์ (คดีอาญา)
 
มติแพทยสภา คดีนางปรียนันท์ ล้อเสริมวัฒนา ร้องเรียนจริยธรรม แพทย์ของรพ.พญาไท 1
มติแพทยสภา คดีนางปรียนันท์ ล้อเสริมวัฒนา ร้องเรียนจริยธรรม แพทย์ของรพ.พญาไท 1มติแพทยสภา คดีนางปรียนันท์ ล้อเสริมวัฒนา ร้องเรียนจริยธรรม แพทย์ของรพ.พญาไท 1
มติแพทยสภา คดีนางปรียนันท์ ล้อเสริมวัฒนา ร้องเรียนจริยธรรม แพทย์ของรพ.พญาไท 1
 
คำฟ้องแพทยสภา-ฟ้องปรียนันท์
คำฟ้องแพทยสภา-ฟ้องปรียนันท์คำฟ้องแพทยสภา-ฟ้องปรียนันท์
คำฟ้องแพทยสภา-ฟ้องปรียนันท์
 
กฎหมายที่ต้องจัดทำนับจากวันประกาศใช้รัฐธรรมนูญปี59
กฎหมายที่ต้องจัดทำนับจากวันประกาศใช้รัฐธรรมนูญปี59กฎหมายที่ต้องจัดทำนับจากวันประกาศใช้รัฐธรรมนูญปี59
กฎหมายที่ต้องจัดทำนับจากวันประกาศใช้รัฐธรรมนูญปี59
 
คำพิพากษาศาลฎีกา คดีดญ.มาริสา ทินนึง-กระทรวงสาธารณสุข
คำพิพากษาศาลฎีกา คดีดญ.มาริสา ทินนึง-กระทรวงสาธารณสุขคำพิพากษาศาลฎีกา คดีดญ.มาริสา ทินนึง-กระทรวงสาธารณสุข
คำพิพากษาศาลฎีกา คดีดญ.มาริสา ทินนึง-กระทรวงสาธารณสุข
 
สำนวนคดีน้องหมิว
สำนวนคดีน้องหมิว สำนวนคดีน้องหมิว
สำนวนคดีน้องหมิว
 
คำพิพากษาศาลฎีกา(แพ่ง)คดีร่อนพิบูลย์ 11พ.ค.59
คำพิพากษาศาลฎีกา(แพ่ง)คดีร่อนพิบูลย์ 11พ.ค.59คำพิพากษาศาลฎีกา(แพ่ง)คดีร่อนพิบูลย์ 11พ.ค.59
คำพิพากษาศาลฎีกา(แพ่ง)คดีร่อนพิบูลย์ 11พ.ค.59
 
คำพิพากษาศาลฎีกาคดีศัลยกรรม-คนไข้ชนะ
คำพิพากษาศาลฎีกาคดีศัลยกรรม-คนไข้ชนะคำพิพากษาศาลฎีกาคดีศัลยกรรม-คนไข้ชนะ
คำพิพากษาศาลฎีกาคดีศัลยกรรม-คนไข้ชนะ
 

Similar to ร่างพรบ.คุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบฯ ฉบับสธ.

(ร่าง) มาตรฐานการบริการทางเภสัชกรรมชุมชน (Standard of Community Pharmacy Serv...
(ร่าง) มาตรฐานการบริการทางเภสัชกรรมชุมชน (Standard of Community Pharmacy Serv...(ร่าง) มาตรฐานการบริการทางเภสัชกรรมชุมชน (Standard of Community Pharmacy Serv...
(ร่าง) มาตรฐานการบริการทางเภสัชกรรมชุมชน (Standard of Community Pharmacy Serv...Utai Sukviwatsirikul
 
Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?
Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?
Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?Nawanan Theera-Ampornpunt
 
ปลัดสธ. วางระบบDhs
ปลัดสธ. วางระบบDhsปลัดสธ. วางระบบDhs
ปลัดสธ. วางระบบDhsCddthai Thailand
 
หลักการและเหตุผล
หลักการและเหตุผลหลักการและเหตุผล
หลักการและเหตุผลNuke Pj
 
คู่มือการจัดการคดีทางการแพทย์สำหรับบุคลากรทางการแพทย์และเจ้าหน้าที่ - กลุ่มระ...
คู่มือการจัดการคดีทางการแพทย์สำหรับบุคลากรทางการแพทย์และเจ้าหน้าที่ - กลุ่มระ...คู่มือการจัดการคดีทางการแพทย์สำหรับบุคลากรทางการแพทย์และเจ้าหน้าที่ - กลุ่มระ...
คู่มือการจัดการคดีทางการแพทย์สำหรับบุคลากรทางการแพทย์และเจ้าหน้าที่ - กลุ่มระ...larnpho
 
บริการปฐมภูมิ
บริการปฐมภูมิบริการปฐมภูมิ
บริการปฐมภูมิSunisa Sudsawang
 
กฎหมายออนไลน์ ระบบสุขภาพ.pdf
กฎหมายออนไลน์ ระบบสุขภาพ.pdfกฎหมายออนไลน์ ระบบสุขภาพ.pdf
กฎหมายออนไลน์ ระบบสุขภาพ.pdfIjimaruGin
 
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพ
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพ
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพweeraboon wisartsakul
 
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติดหลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติดpluakdeang Hospital
 

Similar to ร่างพรบ.คุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบฯ ฉบับสธ. (14)

10 กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
10 กฎหมายที่เกี่ยวข้อง10 กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
10 กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
 
(ร่าง) มาตรฐานการบริการทางเภสัชกรรมชุมชน (Standard of Community Pharmacy Serv...
(ร่าง) มาตรฐานการบริการทางเภสัชกรรมชุมชน (Standard of Community Pharmacy Serv...(ร่าง) มาตรฐานการบริการทางเภสัชกรรมชุมชน (Standard of Community Pharmacy Serv...
(ร่าง) มาตรฐานการบริการทางเภสัชกรรมชุมชน (Standard of Community Pharmacy Serv...
 
Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?
Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?
Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?
 
ปลัดสธ. วางระบบDhs
ปลัดสธ. วางระบบDhsปลัดสธ. วางระบบDhs
ปลัดสธ. วางระบบDhs
 
หลักการและเหตุผล
หลักการและเหตุผลหลักการและเหตุผล
หลักการและเหตุผล
 
เหลียวหลัง แลหน้า พัฒนาบริการ
เหลียวหลัง แลหน้า พัฒนาบริการเหลียวหลัง แลหน้า พัฒนาบริการ
เหลียวหลัง แลหน้า พัฒนาบริการ
 
คู่มือการจัดการคดีทางการแพทย์สำหรับบุคลากรทางการแพทย์และเจ้าหน้าที่ - กลุ่มระ...
คู่มือการจัดการคดีทางการแพทย์สำหรับบุคลากรทางการแพทย์และเจ้าหน้าที่ - กลุ่มระ...คู่มือการจัดการคดีทางการแพทย์สำหรับบุคลากรทางการแพทย์และเจ้าหน้าที่ - กลุ่มระ...
คู่มือการจัดการคดีทางการแพทย์สำหรับบุคลากรทางการแพทย์และเจ้าหน้าที่ - กลุ่มระ...
 
8 ร่างพรบ.ฉบับหมอต้านพรบ.
8 ร่างพรบ.ฉบับหมอต้านพรบ.8 ร่างพรบ.ฉบับหมอต้านพรบ.
8 ร่างพรบ.ฉบับหมอต้านพรบ.
 
บริการปฐมภูมิ
บริการปฐมภูมิบริการปฐมภูมิ
บริการปฐมภูมิ
 
Final annual report nhso 2559
Final annual report nhso 2559Final annual report nhso 2559
Final annual report nhso 2559
 
กฎหมายออนไลน์ ระบบสุขภาพ.pdf
กฎหมายออนไลน์ ระบบสุขภาพ.pdfกฎหมายออนไลน์ ระบบสุขภาพ.pdf
กฎหมายออนไลน์ ระบบสุขภาพ.pdf
 
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพ
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพ
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพ
 
Primary Health Care System_Padkao T
Primary Health Care System_Padkao TPrimary Health Care System_Padkao T
Primary Health Care System_Padkao T
 
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติดหลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
 

More from ปรียนันท์ ล้อเสริมวัฒนา

คำพิพากษาศาลอุทธรณ์ภาค ๑ คดีแพทยสภา&นางปรียนันท์ฯ
คำพิพากษาศาลอุทธรณ์ภาค ๑ คดีแพทยสภา&นางปรียนันท์ฯคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ภาค ๑ คดีแพทยสภา&นางปรียนันท์ฯ
คำพิพากษาศาลอุทธรณ์ภาค ๑ คดีแพทยสภา&นางปรียนันท์ฯปรียนันท์ ล้อเสริมวัฒนา
 
คำพิพากษาศาลอุทธรณ์คดีดญ.เจนจิรา-กระทรวงสาธารณสุข
คำพิพากษาศาลอุทธรณ์คดีดญ.เจนจิรา-กระทรวงสาธารณสุขคำพิพากษาศาลอุทธรณ์คดีดญ.เจนจิรา-กระทรวงสาธารณสุข
คำพิพากษาศาลอุทธรณ์คดีดญ.เจนจิรา-กระทรวงสาธารณสุขปรียนันท์ ล้อเสริมวัฒนา
 
ระบบชดเชยความเสียหายโดยไม่พิสูจน์ความผิดในประเทศสหรัฐอเมริกา
ระบบชดเชยความเสียหายโดยไม่พิสูจน์ความผิดในประเทศสหรัฐอเมริกา ระบบชดเชยความเสียหายโดยไม่พิสูจน์ความผิดในประเทศสหรัฐอเมริกา
ระบบชดเชยความเสียหายโดยไม่พิสูจน์ความผิดในประเทศสหรัฐอเมริกา ปรียนันท์ ล้อเสริมวัฒนา
 
การชดเชยความเสียหายจากบริการสาธารณสุข โดยไม่พิสูจน์ความผิดในประเทศฝรั่งเศส
การชดเชยความเสียหายจากบริการสาธารณสุข โดยไม่พิสูจน์ความผิดในประเทศฝรั่งเศสการชดเชยความเสียหายจากบริการสาธารณสุข โดยไม่พิสูจน์ความผิดในประเทศฝรั่งเศส
การชดเชยความเสียหายจากบริการสาธารณสุข โดยไม่พิสูจน์ความผิดในประเทศฝรั่งเศสปรียนันท์ ล้อเสริมวัฒนา
 
คำแถลงของแพทยสมาคมโลกว่าด้วยการปฏิรูปความรับผิดทางกฎหมายของแพทย์
คำแถลงของแพทยสมาคมโลกว่าด้วยการปฏิรูปความรับผิดทางกฎหมายของแพทย์คำแถลงของแพทยสมาคมโลกว่าด้วยการปฏิรูปความรับผิดทางกฎหมายของแพทย์
คำแถลงของแพทยสมาคมโลกว่าด้วยการปฏิรูปความรับผิดทางกฎหมายของแพทย์ปรียนันท์ ล้อเสริมวัฒนา
 
ประสบการณ์การชดเชยความเสียหายให้คนไข้ใน 6 ประเทศ
ประสบการณ์การชดเชยความเสียหายให้คนไข้ใน 6 ประเทศประสบการณ์การชดเชยความเสียหายให้คนไข้ใน 6 ประเทศ
ประสบการณ์การชดเชยความเสียหายให้คนไข้ใน 6 ประเทศปรียนันท์ ล้อเสริมวัฒนา
 

More from ปรียนันท์ ล้อเสริมวัฒนา (15)

คำพิพากษาศาลอุทธรณ์ภาค ๑ คดีแพทยสภา&นางปรียนันท์ฯ
คำพิพากษาศาลอุทธรณ์ภาค ๑ คดีแพทยสภา&นางปรียนันท์ฯคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ภาค ๑ คดีแพทยสภา&นางปรียนันท์ฯ
คำพิพากษาศาลอุทธรณ์ภาค ๑ คดีแพทยสภา&นางปรียนันท์ฯ
 
คำพิพากษาคดีฟ้องดร.อานนท์ฯ
คำพิพากษาคดีฟ้องดร.อานนท์ฯคำพิพากษาคดีฟ้องดร.อานนท์ฯ
คำพิพากษาคดีฟ้องดร.อานนท์ฯ
 
คำพิพากษาศาลอุทธรณ์คดีดญ.เจนจิรา-กระทรวงสาธารณสุข
คำพิพากษาศาลอุทธรณ์คดีดญ.เจนจิรา-กระทรวงสาธารณสุขคำพิพากษาศาลอุทธรณ์คดีดญ.เจนจิรา-กระทรวงสาธารณสุข
คำพิพากษาศาลอุทธรณ์คดีดญ.เจนจิรา-กระทรวงสาธารณสุข
 
ระบบชดเชยความเสียหายโดยไม่พิสูจน์ความผิดในประเทศสหรัฐอเมริกา
ระบบชดเชยความเสียหายโดยไม่พิสูจน์ความผิดในประเทศสหรัฐอเมริกา ระบบชดเชยความเสียหายโดยไม่พิสูจน์ความผิดในประเทศสหรัฐอเมริกา
ระบบชดเชยความเสียหายโดยไม่พิสูจน์ความผิดในประเทศสหรัฐอเมริกา
 
Powerpoint ประชาพิจารณ์ของกระทรวงสธ.
Powerpoint ประชาพิจารณ์ของกระทรวงสธ.Powerpoint ประชาพิจารณ์ของกระทรวงสธ.
Powerpoint ประชาพิจารณ์ของกระทรวงสธ.
 
การชดเชยความเสียหายจากบริการสาธารณสุข โดยไม่พิสูจน์ความผิดในประเทศฝรั่งเศส
การชดเชยความเสียหายจากบริการสาธารณสุข โดยไม่พิสูจน์ความผิดในประเทศฝรั่งเศสการชดเชยความเสียหายจากบริการสาธารณสุข โดยไม่พิสูจน์ความผิดในประเทศฝรั่งเศส
การชดเชยความเสียหายจากบริการสาธารณสุข โดยไม่พิสูจน์ความผิดในประเทศฝรั่งเศส
 
คำแถลงของแพทยสมาคมโลกว่าด้วยการปฏิรูปความรับผิดทางกฎหมายของแพทย์
คำแถลงของแพทยสมาคมโลกว่าด้วยการปฏิรูปความรับผิดทางกฎหมายของแพทย์คำแถลงของแพทยสมาคมโลกว่าด้วยการปฏิรูปความรับผิดทางกฎหมายของแพทย์
คำแถลงของแพทยสมาคมโลกว่าด้วยการปฏิรูปความรับผิดทางกฎหมายของแพทย์
 
ประสบการณ์การชดเชยความเสียหายให้คนไข้ใน 6 ประเทศ
ประสบการณ์การชดเชยความเสียหายให้คนไข้ใน 6 ประเทศประสบการณ์การชดเชยความเสียหายให้คนไข้ใน 6 ประเทศ
ประสบการณ์การชดเชยความเสียหายให้คนไข้ใน 6 ประเทศ
 
การชดเชยความเสียหายในประเทศญี่ปุ่น
การชดเชยความเสียหายในประเทศญี่ปุ่นการชดเชยความเสียหายในประเทศญี่ปุ่น
การชดเชยความเสียหายในประเทศญี่ปุ่น
 
คำพิพากษาศาลฎีกาคดีฟ้องแพทยสภาทั้งคณะ
คำพิพากษาศาลฎีกาคดีฟ้องแพทยสภาทั้งคณะคำพิพากษาศาลฎีกาคดีฟ้องแพทยสภาทั้งคณะ
คำพิพากษาศาลฎีกาคดีฟ้องแพทยสภาทั้งคณะ
 
คำพิพากษาศาลภูเก็ตคดีHiv
คำพิพากษาศาลภูเก็ตคดีHivคำพิพากษาศาลภูเก็ตคดีHiv
คำพิพากษาศาลภูเก็ตคดีHiv
 
แพทยสภาต่างประเทศ
แพทยสภาต่างประเทศ แพทยสภาต่างประเทศ
แพทยสภาต่างประเทศ
 
โครงการ 112 ภาคประชาชน
โครงการ 112 ภาคประชาชนโครงการ 112 ภาคประชาชน
โครงการ 112 ภาคประชาชน
 
คดีจังหวัดตากอุทธรณ์ยืนคนไข้ชนะคดี
คดีจังหวัดตากอุทธรณ์ยืนคนไข้ชนะคดีคดีจังหวัดตากอุทธรณ์ยืนคนไข้ชนะคดี
คดีจังหวัดตากอุทธรณ์ยืนคนไข้ชนะคดี
 
คำสั่งศาลฎีกา-คนไข้จ.ตากชนะคดี-29ม.ค.58
คำสั่งศาลฎีกา-คนไข้จ.ตากชนะคดี-29ม.ค.58คำสั่งศาลฎีกา-คนไข้จ.ตากชนะคดี-29ม.ค.58
คำสั่งศาลฎีกา-คนไข้จ.ตากชนะคดี-29ม.ค.58
 

ร่างพรบ.คุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบฯ ฉบับสธ.

  • 1. บันทึกหลักการและเหตุผล ประกอบร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการบริการสาธารณสุข พ.ศ. .... หลักการ ให้มีกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการบริการสาธารณสุข เหตุผล โดยที่ปัจจุบันผลกระทบจากการบริการด้านสาธารณสุขยังไม่ได้รับการแก้ไขเยียวยา อย่างเป็นระบบให้ทันท่วงที ทาให้มีการฟ้องร้องผู้ให้บริการสาธารณสุขทั้งทางแพ่งและอาญา และทาให้ความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ให้และผู้รับบริการสาธารณสุขเปลี่ยนไปจากเดิมอันส่งผล มายังผู้ให้และผู้รับบริการสาธารณสุขตลอดจนกระทบถึงการประกอบ วิชาชีพทางการแพทย์ และสาธารณสุข รวมถึงระบบบริการส าธารณสุข ด้วย สมควรจะได้ แก้ปัญหาดังกล่าวเพื่อให้ผู้ได้รับ ผลกระทบจากบริการสาธารณสุขได้รับการแก้ไขเยียวยาโดยรวดเร็วและเป็นธรรม เป็นการสร้างเสริม ความสัมพันธ์ที่ดีในระบบ บริการสาธารณสุข จัดให้มีการพัฒนาระบบความปลอดภัยและป้องกัน ผลกระทบจากบริการสาธารณสุข เพื่อลดความเสี่ยงจากผลกระทบที่จะเกิดจากการบริการ สาธารณสุขให้น้อยที่สุด จึงจาเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้
  • 2. 2 ร่าง พระราชบัญญัติ คุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการบริการสาธารณสุข พ.ศ. .... ........................................ ........................................ ........................................ ................................................................................................................................................... .................................................... โดยที่เป็นการสมควรให้มีกฎหมายว่าด้วย การคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบ จากการบริการ สาธารณสุข ................................................................................................................................................... .................................................... มาตรา 1 พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติคุ้มครอง ผู้ได้รับผลกระทบ จากการ บริการสาธารณสุข พ.ศ. .... ” มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกาหนดหนึ่งร้อยแปดสิบวันนับแต่วันประกาศ ในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป มาตรา ๓ ในพระราชบัญญัตินี้ “ผลกระทบ” หมายความว่า ความเสียหาย ที่เกิดจากการให้หรือการรับบริการสาธารณสุข จากสถานพยาบาลตามพระราชบัญญัตินี้ “ผู้ได้รับผลกระทบ ” หมายความว่า บุคคล สัญชาติไทยหรือบุคคล ซึ่งมีสิทธิได้รับบริการ สาธารณสุขตามที่มีกฎหมายกาหนดและได้รับผลกระทบอันเกี่ยวเนื่องจากการให้หรือการรับบริการสาธารณสุข จากสถานพยาบาล ตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่รัฐมนตรีประกาศกาหนดโดย คาแนะนาของ คณะกรรมการ “สถานพยาบาล ” หมายความว่า สถานพยาบาลของรัฐและของสภากาชาดไทย หน่วยบริการที่ขึ้นทะเบียนตามกฎหมายว่าด้วยหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ สถานพยาบาลที่สานักงาน ประกันสังคมประกาศในราชกิจจานุเบกษาตามกฎหมายว่าด้วยการประกันสังคม สถานพยาบาลตามกฎหมาย ว่าด้วยสถานพยาบาล หรือสถานพยาบาลอื่นตามที่คณะกรรมการประกาศกาหนด
  • 3. 3 “บริการสาธารณสุข ” หมายความว่า บริการด้านการแพทย์และสาธารณสุข ซึ่งได้แก่ การประกอบโรคศิลปะตามกฎหมายว่าด้วยการประกอบโรคศิลปะ การประกอบวิชาชีพเวชกรรมตามกฎหมาย ว่าด้วยวิชาชีพเวชกรรม การประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ตามกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพ การพยาบาลและการผดุงครรภ์ การประกอบวิชาชีพทันตกรรมตามกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพทันตกรรม การประกอบวิชาชีพกายภาพบาบัดตามกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพ กายภาพบาบัด การประกอบวิชาชีพเทคนิค การแพทย์ตามกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพเทคนิคการแพทย์ การประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมตามกฎหมายว่าด้วย วิชาชีพเภสัชกรรม การประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยและการประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทย ประยุกต์ตามกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพการแพทย์แผนไทย การประกอบวิชาชีพการสาธารณสุขชุมชนตาม กฎหมายว่าด้วยวิชาชีพการสาธารณสุขชุมชน การประกอบวิชาชีพทางการแพทย์และสาธารณสุขอื่น หรือ การให้บริการด้านการแพทย์และสาธารณสุขอื่นตามที่รัฐมนตรีประกาศกาหนด “คณะกรรมการ” หมายความว่า คณะกรรมการคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการบริการ สาธารณสุข “สานักงาน” หมายความว่า กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข “รัฐมนตรี” หมายความว่า รัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ มาตรา ๔ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และให้มี อานาจออกระเบียบและประกาศ เพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ ระเบียบและประกาศนั้น เมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้ หมวด ๑ การคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการบริการสาธารณสุข ส่วนที่ 1 การช่วยเหลือเบื้องต้น มาตรา ๕ ผู้ได้รับผลกระทบ มีสิทธิได้รับเงิน ช่วยเหลือเบื้องต้น ตามพระราชบัญญัตินี้ หรือตามกฎหมายอื่น โดยไม่ต้องพิสูจน์ความรับผิด มาตรา ๖ ขอบเขตของสิทธิได้รับเงินช่วยเหลือเบื้องต้นของผู้ได้รับผลกระทบตาม บทบัญญัติ ในมาตรา ๕ มีดังต่อไปนี้ (๑) ผู้ได้รับผลกระทบซึ่งเป็นผู้มีสิทธิได้รับบริการสาธารณสุขหรือผู้ให้บริการสาธารณสุขตาม กฎหมายว่าด้วยหลักประกันสุขภาพแห่งชาติให้เป็นไปตามที่กาหนดในกฎหมายว่าด้วยหลักประกันสุขภาพ แห่งชาติ
  • 4. 4 (2) ผู้ได้รับผลกระทบซึ่งเป็นผู้ประกันตนหรือผู้ให้บริการทางการแพทย์ตามกฎหมายว่าด้วย ประกันสังคมให้เป็นไปตามที่กาหนดในกฎหมายว่าด้วยประกันสังคม (3) ผู้ได้รับผลกระทบเฉพาะผู้รับบริการสาธารณสุขซึ่งเป็นข้าราชการหรือลูกจ้างของส่วน ราชการให้ถือเป็นสวัสดิการจากทางราชการ และให้ข้าราชการหรือลูกจ้างของส่วน ราชการมีสิทธิได้รับเงิน ช่วยเหลือเบื้องต้นเป็นเงินสวัสดิการตามที่กาหนดโดยพระราชกฤษฎีกา (4) ผู้ได้รับผลกระทบอื่นนอกจาก (1) (2) และ (3) รวมทั้งรายละเอียดค่าใช้จ่ายให้เป็นไป ตามที่คณะรัฐมนตรีกาหนด ส่วนที่ 2 การชดเชย มาตรา 7 ผู้ได้รับผลกระทบมีสิทธิได้รับเงินชดเชยตามที่กาหนดโดยพระราชบัญญัตินี้ มาตรา 8 บทบัญญัติในมาตรา 7 มิให้ใช้บังคับในกรณีดังต่อไปนี้ (๑) ผลกระทบสาหรับผู้รับบริการสาธารณสุขที่เกิดขึ้นตามปกติธรรมดาของโรคนั้น (๒) ผลกระทบซึ่งหลีกเลี่ยงมิได้จากการให้หรือการรับบริการส าธารณสุขตามมาตรฐาน ทั้งนี้ คณะกรรมการอาจประกาศกาหนดรายละเอียดเพิ่มเติมภายใต้หลักเกณฑ์ดังกล่าวข้างต้น หมวด ๒ คณะกรรมการคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการบริการสาธารณสุข มาตรา 9 ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรียกว่า “คณะกรรมการคุ้มครองผู้ได้รับ ผลกระทบจากการบริการสาธารณสุข” ประกอบด้วย (๑) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขเป็นประธานกรรมการ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข เป็นรองประธานกรรมการ (๒) ปลัดกระทรวงการคลัง ปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและ ความมั่นคง ของมนุษย์ ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ปลัดกระทรวงกลาโหม อธิบดีกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ เลขาธิการ คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค เลขาธิการสานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติและเลขาธิการสานักงาน ประกันสังคม (3) ผู้แทนผู้ประกอบวิชาชีพด้านการแพทย์และสาธารณสุข โดยคาแนะนาของสภาวิชาชีพ ซึ่งจัดตั้งขึ้นตามกฎหมายเพื่อควบคุมการประกอบวิชาชีพนั้นสภาละหนึ่งคน (4) ผู้แทนคณะกรรมการวิชาชีพตามกฎหมายว่าด้วยการประกอบโรคศิลปะเลือกกันเอง จานวนหนึ่งคน
  • 5. 5 (5) ผู้แทนองค์กรพัฒนาเอกชนที่ทางานด้านคุ้มครองสิทธิผู้บริโภคด้านบริการสุขภาพ จานวนห้าคน (6) ผู้ทรงคุณวุฒิจานวนหกคนซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งจากผู้ที่มีความเชี่ยวชาญด้าน การแพทย์และ สาธารณสุข ด้านเศรษฐศาสตร์สาธารณสุขหรือด้านสังคมศาสตร์ การคัดเลือกและแต่งตั้งกรรมการตามวรรคหนึ่ง (4) (5) และ (6) ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่รัฐมนตรีประกาศกาหนดโดยคาแนะนาของคณะกรรมการ ให้อธิบดีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพเป็นกรรมการและเลขานุการ และให้อธิบดีกรม สนับสนุนบริการสุขภาพแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ของสานักงานจานวนไม่เกินสองคนเป็นผู้ช่วยเลขานุการ มาตรา 10 กรรมการตามมาตรา 9 วรรคหนึ่ง (4) (5) และ (6) มีวาระการดารงตาแหน่ง คราวละสี่ปี และอาจได้รับคัดเลือกหรือแต่งตั้ง ใหม่อีกได้ แต่จะดารงตาแหน่งเกินกว่าสองวาระติดต่อกันไม่ได้ เมื่อครบกาหนดตามวาระในวรรคหนึ่ง หากยังมิได้มีการคัดเลือกหรือแต่งตั้งกรรมการ ขึ้นใหม่ ให้กรรมการซึ่งพ้นจากตาแหน่งตามวาระนั้นอยู่ในตาแหน่งเพื่อปฏิบัติหน้าที่ ต่อไปจนกว่ากรรมการ ซึ่งได้รับคัดเลือกหรือได้รับแต่งตั้งเข้ารับหน้าที่ แต่ต้องไม่เกินเก้าสิบวัน นับแต่วันที่กรรมการพ้นจากตาแหน่ง ตามวาระนั้น ในกรณีที่กรรมการตามวรรคหนึ่งพ้นจากตาแหน่ง ก่อนครบวาระ ให้ดาเนินการคัดเลือกหรือ แต่งตั้งกรรมการประเภทเดียวกันแทนภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ตาแหน่งกรรมการนั้นว่างลงและให้ผู้ได้รับ คัดเลือกหรือได้รับแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งแทนอยู่ในตาแหน่งเท่ากับวาระที่เหลืออยู่ของกรรมการซึ่งตนแทน ในกรณีที่วาระของกรรมการที่พ้นจากตาแหน่งก่อนครบวาระเหลืออยู่ไม่ถึงเก้าสิบวัน จะไม่ดาเนินการคัดเลือก หรือแต่งตั้งกรรมการแทนตาแหน่งที่ว่างนั้นก็ได้ และในการนี้ให้คณะกรรมกา ร ประกอบด้วยกรรมการเท่าที่เหลืออยู่ มาตรา 11 นอกจากการพ้นจากตาแหน่งตามวาระตามมาตรา 10 วรรคหนึ่ง กรรมการตาม มาตรา 9 วรรคหนึ่ง (4) (5) และ (6) พ้นจากตาแหน่งเมื่อ (๑) ตาย (๒) ลาออก (๓) เป็นบุคคลล้มละลาย (๔) เป็นคนไร้ความสามารถหรือคนเสมือนไร้ความสามารถ (๕) ได้รับโทษจาคุกโดยคาพิพากษาถึงที่สุดให้จาคุก เว้นแต่โทษสาหรับความผิดที่ได้กระทา โดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ (๖) รัฐมนตรีให้ออกเพราะบกพร่องหรือไม่สุจริตต่อหน้าที่ หรือหย่อนความสามารถ
  • 6. 6 มาตรา ๑2 คณะกรรมการมีอานาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้ (๑) กาหนดนโยบายและมาตรการเพื่อคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบ และการสนับสนุนการสร้าง เสริมความสัมพันธ์ที่ดี ในระบบบริการสาธารณสุข และการพัฒนาระบบความปลอดภัยและป้องกันผลกระทบ (2) กาหนดระเบียบเกี่ยวกับการยื่นคาขอรับเงินค่าชดเชยตามมาตรา ๒0 (3) กาหนดจานวนเงินชดเชยระยะเวลาการจ่ายเงินชดเชยและวิธีการจ่ายเงินชดเชยแก่ผู้ได้รับ ผลกระทบตามมาตรา ๒2 (4) วินิจฉัยอุทธรณ์และกาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการอุทธรณ์และวิธีพิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ์ ตามมาตรา ๒2 (5) จัดประชุมรับฟังความเห็นของสถานพยาบาลและผู้ให้และผู้รับบริการสาธารณสุข เพื่อรับทราบปัญหาข้อเสนอแนะในการส่งเสริมและพัฒนาระบบความปลอดภัยและป้องกันผลกระทบ (6) กาหนดนโยบายการบริหารงานและให้ความเห็นชอบแผนการดาเนินงานของสานักงาน (7) วิเคราะห์สาเหตุแห่งผลกระทบและพิจารณาหาแนวทางพัฒนาระบบความปลอดภัยและ ป้องกันผลกระทบตามมาตรา 26 (8) กาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข การพัฒนาระบบความปลอดภัยและป้องกัน ผลกระทบเพื่อสร้างเสริมความสัมพันธ์ที่ดี ในระบบบริการสาธารณสุข (9) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่พระราชบัญญัตินี้หรือกฎหมายอื่นกาหนดให้เป็นอานาจหน้าที่ของ คณะกรรมการหรือตามที่คณะรัฐมนตรีมอบหมาย ในการปฏิบัติหน้าที่ตามวรรคหนึ่ง คณะกรรมการอาจมอบหมายหรือมอบอานาจให้สานักงาน เป็นผู้ดาเนินการแทนได้ มาตรา ๑3 การประชุมคณะกรรมการ ต้องมีกรรมการมาประชุม ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของ จานวนกรรมการทั้งหมด จึงจะเป็นองค์ประชุม ให้ประธานกรรมการเป็นประธานในที่ประชุม ถ้าประธานคณะกรรมการไม่มาประชุมหรือไม่ อยู่ในที่ประชุมให้รองประธานกรรมการเป็นประธานในที่ประชุม ถ้าประธานกรรมการและรองประธาน กรรมการไม่มาประชุมหรือไม่อยู่ในที่ประชุม ให้กรรมการที่มาประชุมเลือกกรรมการคนหนึ่งเป็นประธานในที่ ประชุม การวินิจฉัยชี้ขาดของที่ประชุมให้ถือเสียงข้างมาก กรรมการคนหนึ่งให้มีเสียงหนึ่งในการ ลงคะแนน ถ้าคะแนนเสียงเท่ากัน ให้ประธานในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกเสียงหนึ่งเป็นเสียงชี้ขาด ในการประชุม ถ้ามีการพิจารณาเรื่องที่ประธานกรรมการหรือกรรมการผู้ใดมีส่วนได้เสีย ประธานกรรมการหรือกรรมการผู้นั้นมีหน้าที่แจ้งให้คณะกรรมการทราบและมีสิทธิเข้าชี้แจงข้อเท็จจริงหรือ แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องนั้นแต่ไม่มีสิทธิเข้าร่วมประชุมและลงคะแนนเสียง วิธีการประชุมและการมีส่วนได้เสียซึ่งประธานกรรมการหรือกรรมการมีหน้าที่ต้องแจ้ง ให้เป็นไปตามที่คณะกรรมการกาหนด
  • 7. 7 มาตรา ๑ 4 คณะกรรมการมีอานาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อให้ปฏิบัติหน้าที่ตาม พระราชบัญญัตินี้หรือตามที่คณะกรรมการมอบหมาย ดังนี้ (1) คณะอนุกรรมการพิจารณาเงินช ดเชยตามมาตรา ๒ 2 ประกอบด้วย ผู้แทนสานักงาน ผู้ทรงคุณวุฒิ จานวนสามคนซึ่งมีความรู้และประสบการณ์ทาง ด้านต่างๆ เช่น นิติศาสตร์ การแพทย์และ สาธารณสุข การคุ้มครองผู้บริโภคหรืออื่นๆ และผู้แทนสถานพยาบาล ซึ่งต้องเป็นผู้ประกอบวิชาชีพทางการ แพทย์และสาธารณสุขหรือผู้ประกอบโรคศิลปะและผู้แทนผู้รับบริการสาธารณสุข ฝ่ายละหนึ่งคน (2) คณะอนุกรรมการพิจารณาเงินชดเชยประจาจังหวัด ตามมาตรา ๒2 ประกอบด้วยผู้แทน สานักงานสาธารณสุขจังหวัด ผู้ทรงคุณวุฒิ จานวนสาม คนซึ่งมีความรู้และประสบการณ์ทาง ด้านต่างๆ เช่น นิติศาสตร์ การแพทย์และสาธารณสุข การคุ้มครองผู้บริโภคหรืออื่นๆ และผู้แทนสถานพยาบาล ซึ่งต้อง เป็นผู้ประกอบวิชาชีพทางการแพทย์และสาธารณสุขหรือผู้ประกอบโรคศิลปะ และผู้แทนผู้รับบริการ สาธารณสุข ฝ่ายละหนึ่งคน (3) คณะอนุกรรมการอื่น ๆ ตามที่เห็นสมควร หลักเกณฑ์และวิธีการการได้มา วาระการดารงตาแหน่ง การพ้นจากตาแหน่ง และเขตพื้นที่ รับผิดชอบของคณะอนุกรรมการตามวรรคหนึ่ง (๑) (2) และ (3) ให้เป็นไปตามที่คณะกรรมการกาหนด ประธานคณะอนุกรรมการตามวรรคหนึ่งให้เป็นไปตามที่คณะอนุกรรมการแต่ละคณะ เลือกกันเอง ให้อธิบดีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพหรือนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดที่อธิบดีกรมสนับสนุน บริการสุขภาพมอบหมายแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ ในสานักงานหรือเจ้าหน้าที่ในสานักงานสาธารณสุขจังหวัดแล้วแต่ กรณีเป็นฝ่ายเลขานุการ ในการแต่งตั้งคณะอนุกรรมการตามวรรคหนึ่ง คณะกรรมการอาจแต่งตั้งมากกว่าหนึ่งคณะก็ได้ ให้นามาตรา ๑ 3 มาใช้บังคับกับการประชุม วิธีการประชุม และการมีส่วนได้เสียของ คณะอนุกรรมการและอนุกรรมการโดยอนุโลม มาตรา ๑5 ให้ประธานกรรมการ กรรมการ ประธานอนุกรรมการ หรืออนุกรรมการ ได้รับ เบี้ยประชุม ค่าพาหนะ ค่าเบี้ยเลี้ยง ค่าเช่าที่พัก และประโยชน์ตอบแทนอื่นในการปฏิบัติหน้าที่ตาม พระราชบัญญัตินี้ ทั้งนี้ ตามระเบียบที่รัฐมนตรีกาหนดโดยความเห็นชอบของกระทรวงการคลัง มาตรา ๑ 6 ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ ให้ประธานกรรมการ กรรมการ ประธานอนุกรรมการ หรืออนุกรรมการ เป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑7 ให้คณะกรรมการหรือคณะอนุกรรมการ มีอานาจสั่งให้สถานพยาบาล ผู้ได้รับ ผลกระทบหรือทายาท บุคคล หน่วยงาน หรือองค์กรที่เกี่ยวข้อง ทาหนังสือชี้แจงข้อเท็จจริง หรือมาให้ถ้อยคา ด้วยตนเอง หรือส่งข้อมูลหรือเอกสารหลักฐานตามกาหนดเวลาที่เห็นสมควร ให้บุคคลที่มาให้ถ้อยคาด้วยตนเองตามวรรคหนึ่งได้รับค่าพาหนะ ค่าเช่าที่พัก และค่าป่วยการ ทั้งนี้ ตามระเบียบที่คณะกรรมการกาหนดโดยความเห็นชอบของกระทรวงการคลัง
  • 8. 8 มาตรา ๑8 ให้กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข เป็นสานักงานเลขานุการ ของคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการ และมีอานาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้ (๑) รับและตรวจสอบคาขอรับเงินชดเชยและคาอุทธรณ์ตามพระราชบัญญัตินี้ (๒) ประสานงานกับสถานพยาบาลเพื่อให้ส่งเวชระเบียนของผู้ได้รับผลกระทบหรือ ข้อมูลเอกสารและหลักฐานที่เกี่ยวข้อง ให้คณะกรรมการ หรือคณะอนุกรรมการตามมาตรา ๑7 (3) ประสานงานกับหน่วยงานของรัฐ องค์กร หรือบุคคลใด ๆ เพื่อขอทราบข้อเท็จจริงหรือ ความเห็นเพื่อประกอบการพิจารณาในการปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ (4) เก็บ รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูลการจ่ายเงินค่าชดเชยตามพระราชบัญญัตินี้และวิธีป้องกัน ผลกระทบเพื่อเผยแพร่ต่อสาธารณชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (5) สนับสนุนการดาเนินงานตามมาตรการส่งเสริมพัฒนาระบบความปลอดภัยและป้องกัน ผลกระทบ รวมทั้งการสร้างเสริมความสัมพันธ์ที่ดี ในระบบบริการสาธารณสุข (6) มอบให้หน่วยงานของรัฐ องค์กร หรือบุคคลอื่นทากิจการที่อยู่ภายในอานาจหน้าที่ของ สานักงานตามพระราชบัญญัตินี้ (7) จัดทารายงานประจาปีเกี่ยวกับผลงานและ อุปสรรคในการดาเนินงานของ คณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ และสานักงาน เพื่อเผยแพร่ต่อสาธารณชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (8) ประชาสัมพันธ์และแจ้งผู้ยื่นคาขอและประชาชนทั่วไปเพื่อความเข้าใจหลักการและ เหตุผล ขั้นตอน วิธีการและเงื่อนไขการใช้สิทธิ ตามพระราชบัญญัตินี้ (9) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามพระราชบัญญัตินี้หรือตามที่คณะกรรมการมอบหมาย หมวด 3 การพิจารณาคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการบริการสาธารณสุข มาตรา 19 ผู้ใดเป็น ผู้ได้รับผลกระทบ ตามที่บัญญัติไว้ใน พระราชบัญญัติ นี้ ให้ดาเนินการ ได้เฉพาะตามขั้นตอนและวิธีการที่กาหนดไว้ในพระราชบัญญัตินี้เท่านั้น ภายใต้บังคับมาตรา 2 5 ถ้าความปรากฏแก่ศาล ที่มีอานาจพิจารณาพิพากษาคดีทั้งปวง ว่าผู้ได้รับผลกระทบไม่ได้ดาเนินการ ตามขั้นตอนและวิธีการที่กาหนดไว้ใน วรรคหนึ่ง ซึ่งเป็นกรณีที่มีกฎหมาย กาหนดขั้นตอนและวิธีการสาหรับการแก้ไขความเดือดร้อนหรือเสียหายในเรื่อง นี้ไว้โดยเฉพาะ การฟ้องคดีใน เรื่องทานองนี้จะกระทาได้ต่อเมื่อมีการดาเนินการตามขั้นตอนและวิธีการดังกล่าว หากไม่ปฏิบัติตา มให้ศาล ที่มีอานาจพิจารณาพิพากษาคดีทั้งปวง สั่งจาหน่ายคดีออกจากสารบบความ มาตรา ๒0 ให้ผู้ได้รับผลกระทบยื่นคาขอรับเงิน ชดเชยตามพระราชบัญญัตินี้ต่อสานักงาน หรือหน่วยงานหรือองค์กรที่สานักงานกาหนด ภายในสามปีนับแต่วันที่ให้หรือรับบริการสาธารณสุข แต่ทั้งนี้ ต้องไม่เกินสิบปีนับแต่วันที่ให้หรือรับบริการสาธารณสุข
  • 9. 9 ในกรณีที่ผู้ได้รับผลกระทบถึงแก่ชีวิต เป็นผู้ไร้ความสามารถ หรือไม่สามารถยื่นคาขอด้วย ตนเองได้ บิดามารดา คู่สมรส ทายาท หรือผู้อนุบาล หรือบุคคลหนึ่งบุคคลใดซึ่งได้รับมอบหมายเป็นหนังสือ จากผู้ได้รับผลกระทบแล้วแต่กรณีอาจยื่นคาขอตามวรรคหนึ่งได้ ผู้ได้รับผลกระทบที่เป็นผู้ให้บริการสาธารณสุขซึ่งอาจได้รับเงินชดเชย ต้องเป็นผู้ให้บริการของ สถานพยาบาลตามพระราชบัญญัตินี้ และ การจ่ายเงินชดเชยให้แก่ ผู้ได้รับผลกระทบที่เป็นผู้ ให้บริการ สาธารณสุขหรือทายาทตามพระราชบัญญัตินี้ ไม่เป็นการรอนสิทธิของผู้ให้บริการสาธารณสุขหรือทายาทที่จะ ได้รับความช่วยเหลือจากทางราชการหรือหน่วยงานต้นสังกัด การยื่นคาขอตามมาตรานี้จะกระทาด้วยวาจาหรือเป็นหนังสือก็ได้ ทั้งนี้ ตามวิธีการ รูปแบบ และรายละเอียดที่คณะกรรมการกาหนดในระเบียบ มาตรา ๒ 1 เมื่อมีการยื่นคาขอตามมาตรา ๒ 0 ให้อายุความนั้นสะดุดหยุดอยู่ไม่นับ ในระหว่างนั้นจนกว่าการพิจารณาคาขอเงินชดเชยนั้นจะถึงที่สุดหรือมีการยุติการพิจารณาคาขอตาม มาตรา 25 มาตรา ๒2 ให้สานักงานหรือหน่วยงานหรือองค์กรที่สานักงานกาหนด แล้วแต่กรณีส่งคาขอ ตามมาตรา ๒0 ให้คณะอนุกรรมการพิจารณาเงินชดเชยหรือคณะอนุกรรมการพิจารณาเงินชดเชยประจา จังหวัดภายในเจ็ดวันนับแต่วันที่ได้รับคาขอ และให้คณะอนุกรรมการพิจารณาเงินชดเชยหรือคณะอนุกรรมการ พิจารณาเงินชดเชยประจาจังหวัดวินิจฉัยคาขอให้แล้วเสร็จภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ได้รับคาขอ หากคณะอนุกรรมการพิจารณาเงินชดเชยหรือคณะอนุกรรมการพิจารณาเงินชดเชยประจาจังหวัดเห็น ว่าเป็นผู้ได้รับผลกระทบตามมาตรา 7 และไม่อยู่ในบังคับตามมาตรา 8 ให้ประเมินจานวนเงินค่าชดเชย ที่ผู้ได้รับผลกระทบพึงจะได้รับเงินชดเชยทั้งหมด จานวนเงินชดเชยที่ผู้ ได้รับผลกระทบ จะได้รับให้คานึงถึงหลักการชดใช้ค่าสินไหมทดแทน เพื่อละเมิดตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ โดยพิจารณาจากผลกระทบหรือความเดือดร้อนที่ได้รับ พฤติการณ์แวดล้อม ระดับความรุนแรง การบรรเทาเยียวยาหรือความจาเป็นอื่นๆประกอบด้วย จานวนเงินชดเชย ระยะเวลาการจ่ายเงินชดเชย และวิธีการจ่ายเงินชดเชยแก่ผู้ได้รับผลกระทบ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่คณะกรรมการกาหนด ทั้งนี้ ให้คานึงถึง สภาวะทางเศรษฐกิจและ การเงินการคลังของประเทศ ในกรณีที่มีเหตุจาเป็น ให้ขยายระยะเวลาการพิจารณาให้เงินชดเชยออกไปได้ไม่เกินสองครั้ง ครั้งละไม่เกินสิบห้าวัน แต่ต้องบันทึกเหตุผลและความจาเป็นในการขยายระยะเวลาทุกครั้งไว้ด้วย หากคณะอนุกรรมการพิจารณาเงินชดเชย หรือคณะอนุกรรมการพิจารณาเงินชดเชยประจา จังหวัดมีคาวินิจฉัยไม่รับคาขอ หรือผู้ยื่นคาขอไม่พอใจกับจานวนเงินชดเชยที่คณะอนุกรรมการพิจารณาเงิน ชดเชยหรือคณะอนุกรรมการพิจารณาเงินชดเชยประจาจังหวัดได้วินิจฉัย ผู้ยื่นคาขอมีสิทธิอุทธรณ์ต่อ คณะกรรมการตามหลักเกณฑ์และวิธีการอุทธรณ์และวิธีพิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ์ที่คณะกรรมการกาหนด ในการนี้ ผู้ยื่นคาขออาจเสนอข้อมูลหรือเอกสารเพิ่มเติมเพื่อประกอบการพิจารณาของคณะกรรมการได้
  • 10. 10 มาตรา 23 เมื่อคณะอนุกรรมการพิจารณาเงินชดเชย หรือคณะอนุกรรมการพิจารณาเงิน ชดเชยประจาจังหวัด พิจารณาจ่ายเงินชดเชยให้แก่ผู้ได้รับผลกระทบแล้วเสร็จ ให้สานักงานหรือสานักงาน สาธารณสุขจังหวัด ดาเนินการดังนี้ (1) แจ้งผลการพิจารณาจ่ายเงินชดเชยให้แก่ผู้ได้รับผลกระทบทราบ (2) แจ้งให้หน่วยงานของรัฐหรือสานักงานตามกฎหมายว่าด้วยหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ กฎหมายว่าด้วยประกันสังคมหรือตามกฎหมายอื่นดาเนินการจ่ายเงินชดเชยแก่ผู้ได้รับผลกระทบตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่คณะกรรมการกาหนด มาตรา 24 เมื่อผู้ได้รับผลกระทบหรือทายาทตกลงยินยอมรับเงินชดเชยตามพระราชบัญญัติ นี้แล้ว ให้สิทธิการฟ้องร้องต่อศาลที่มีอานาจพิจารณาพิพากษาคดีทั้งปวงเป็นอันระงับสิ้น มาตรา 2 5 ในกรณีที่คณะอนุกรรมการประเมินเงินชดเชยหรือคณะอนุกรรมการพิจารณา เงินชดเชยประจาจังหวัดได้กาหนดจานวนเงินชดเชยแล้ว หากผู้ได้รับผลกระทบหรือทายาทไม่ตกลงยินยอม รับเงินชดเชยและจะฟ้องคดีต่อศาล ในกรณีนี้ ให้สานักงานยุติการดาเนินการตามพระราชบัญญัตินี้ และผู้ได้รับผลกระทบหรือทายาทไม่มีสิทธิที่จะยื่นคาขอตามพระราชบัญญัตินี้อีก หมวด 4 การสร้างเสริมความสัมพันธ์ที่ดีในระบบบริการสาธารณสุข การพัฒนาระบบความปลอดภัยและป้องกันผลกระทบ มาตรา 26 ให้คณะกรรมการหรือหน่วยงานที่คณะกรรมการมอบหมาย วิเคราะห์สาเหตุแห่ง ผลกระทบเพื่อแจ้งให้สถานพยาบาลที่เกี่ยวข้องกับผลกระทบพิจารณาหาแนวทางพัฒนาระบบความปลอดภัย และป้องกันผลกระทบ รวมทั้งการสร้างเสริมความสัมพันธ์ที่ดีในระบบบริการสาธารณสุขแล้วให้ สถานพยาบาลนั้น ทารายงานการปรับปรุงแก้ไขและส่งให้สานักงานภายในหกเดือน มาตรา27 ให้สานักงานสนับสนุนสถานพยาบาล หน่วยงาน หรือองค์กรที่ดาเนินกิจกรรม ด้านการส่งเสริมและพัฒนาระบบความปลอดภัยและป้องกันผลกระทบ เพื่อดาเนินกิจกรรมด้านการพัฒนา ระบบความปลอดภัยและป้องกันผลกระทบ เพื่อสร้างเสริมความสัมพันธ์ที่ดีในระบบบริการสาธารณสุข
  • 11. 11 หมวด 5 บทกาหนดโทษ มาตรา 28 ผู้ใดฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตามคาสั่งของคณะกรรมการ หรือคณะอนุกรรมการ ตามมาตรา ๑7 ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจาทั้งปรับ บทเฉพาะกาล มาตรา 29 ในกรณีที่มีการฟ้องคดีต่อศาลและศาลยังไม่มีคาพิพากษาถึงที่สุด หากผู้ได้รับ ผลกระทบหรือทายาทประสงค์จะขอรับเงิน ช่วยเหลือเบื้องต้นและ เงินชดเชยตามพระราชบัญญัตินี้ ให้ยื่นคา ขอรับเงิน ช่วยเหลือเบื้องต้นและ เงินชดเชยตามพระราชบัญญัตินี้ภายในหนึ่งร้อยแปดสิบวันนับแต่วันที่ พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ภายใต้บังคับตามวรรคหนึ่ง คาขอรับเงินช่วยเหลือเบื้องต้นให้ดาเนินการตามมาตรา 5 และ มาตรา 6 ส่วนคาขอรับเงินชดเชยให้ถือว่าเป็นคาขอรับเงินชดเชยตามมาตรา ๒0 แห่งพระราชบัญญัตินี้ มาตรา 30 ในวาระเริ่มแรก ให้คณะกรรมการตามพระราชบัญญัตินี้ประกอบด้วยกรรมการ ตามมาตรา 9 วรรคหนึ่ง (๑) (๒) และ (๓) โดยให้คณะกรรมการดังกล่าวมีอานาจหน้าที่ตามมาตรา 9 วรรคสอง เมื่อคณะกรรมการตามวรรคหนึ่งกาหนดหลักเกณฑ์ในการคัดเลือกและแต่งตั้งกรรมการตาม มาตรา 9 วรรคหนึ่ง (๔) (5) และ (6) แล้ว ให้รัฐมนตรีดาเนินการให้มีการคัดเลือกและแต่งตั้งกรรมการตาม มาตรา 9 วรรคหนึ่ง (๔) (5) และ (6) ภายในหนึ่งร้อยแปดสิบวัน นับแต่วันที่พระราชบัญญัติฉบับนี้ใช้บังคับ มาตรา 31 การดาเนินการออก พระราชกฤษฎีกา ระเบียบ หรือประกาศ ตาม พระราชบัญญัตินี้ ให้ดาเนินการให้แล้วเสร็จภายในหนึ่งปี นับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ ................................. นายกรัฐมนตรี