SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
Download to read offline
คดีหมายเลขดาที่ 871/2556
ศาลปกครองชั้นต้น
วันพุธที่ 29 เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2556
ข้าพเจ้า นายฤเดช พุทธเจริญ เกิดวันที่ 24 เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2525 อายุ 31 ปี อาชีพ รับจ้าง
ภูมิลาเนา
เลขที่ 10 หมู่ 10 ตาบลศรีสาราญ อาเภอสองพี่น้อง จังหวัดสุพรรณบุรี รหัสไปรษณีย์ 72110 โทรศัพท์ 083-294-3622
สถานที่ติดต่อ
เลขที่ 323/14 หมู่ 1 หมู่บ้านสวนทราย ซอยบางละมุง 39 ตาบลบางละมุง อาเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี รหัสไปรษณีย์ 20150
โทรศัพท์ 038-234-327 083-294-3622 087-806-7633
มีความประสงค์ขอฟ้อง
1.สานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ไม่ประสงค์ฟ้องสานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 13 กรุงเทพมหานคร
เลขที่ 120 หมู่ 3 ชั้น 2-4 อาคารรวมหน่วยงานราชการ ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติฯ ถนนแจ้งวัฒนะ แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลัก
สี่ กรุงเทพมหานคร รหัสไปรษณีย์ 10210 โทรศัพท์ 02-141-4000
2.โรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์ (นครปฐม)
เลขที่ 52 หมู่ 2 ตาบลไร่ขิง อาเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม 73210
3.โรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราชองที่ 17 (สุพรรณบุรี)
เลขที่ 165 ถนนบางลี่-หนองวัลย์เปรียง ตาบลสองพี่น้อง อาเภอสองพี่น้อง จังหวัดสุพรรณบุรี 72110
4.โรงพยาบาลศิริราช (พรานนก กทม.)
เลขที่ 2 ถ.พรานนก แขวงศิริราช เขตบางกอกน้อย กรุงเทพฯ 10700
5.คณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสุข
เลขที่ 120 หมู่ 3 ชั้น 2-4 อาคารรวมหน่วยงานราชการ ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติฯ ถนนแจ้งวัฒนะ แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลัก
สี่ กรุงเทพมหานคร รหัสไปรษณีย์ 10210 โทรศัพท์ 02-141-4000
รายละเอียดของการกระทา ข้อเท็จจริง หรือพฤติการณ์ เกี่ยวกับการกระทาที่เป็นเหตุให้เกิดความเดือดร้อนเสียหายที่
พอเข้าใจได้
คาฟ้อง
แผ่นที่ 1
ข้าพเจ้าเป็นบุตรโดยชอบธรรมตามกฎหมายของนางสาวเกสร พุ่มมั่น อายุ 67 ปี เลขบัตรประจาตัวประชาชน 5-7207-
00079-12-7 อยู่บ้านเลขที่ 10 หมู่ 10 ต.ศรีสาราญ อ.สองพี่น้อง จ. สุพรรณบุรี เดินทางไปหาหมอด้วยอาการตามองไม่ค่อยเห็น
คิดว่าเป็นต้อกระจกที่ตา ทั้งตาซ้ายและตาขวา เข้ารักษาที่โรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 17 จ.สุพรรณบุรี เมื่อวันอังคารที่
13 ธันวาคม 2554 ทางโรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 17 จ.สุพรรณบุรี ได้ทาการส่งตัวไปรักษาตาต่อที่โรงพยาบาล
เมตตาประชารักษ์ จ.นครปฐม เมื่อวันอังคารที่ 13 ธันวาคม 2554 ทางโรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์ จ.นครปฐม ได้ทาการ
ตรวจรักษาและหยอดยาที่ตาเพื่อทาการรักษาผ่าตัดตาต่อไป แต่ช่วงที่รักษาพบอาการติดเชื้อที่ตา จึงส่งตัวคนไข้ไปนอนห้องปลอดเชื้อ
โรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์ จ.นครปฐม ไม่มีมาตรฐานในการรักษา ปล่อยให้มีเชื้อที่เป็นอันตรายเข้าสู่คนไข้ และไม่สามารถรักษา
หรือเยียวยาให้หายขาดได้ เป็นต้นเหตุอาการป่วยของผู้เสียหาย จนนาไปสู้การรักษาที่ยาวนาน และรักษาต่อเนื่องกับโรงพยาบาล
อื่นๆ จนผู้เสียหายถึงแก่ชีวิตในเวลาต่อมา ผู้เสียหายนอนรักษาอยู่ที่โรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์นานอยู่หลายวัน ไม่สามารถรักษา
อาการติดเชื้อที่เกิดขึ้นให้หายได้ หลังจากนั้นอาการก็ยังไม่ดีขึ้นมีไข้ตลอด จึงได้ส่งตัวกลับมารักษาต่อที่โรงพยาบาลสมเด็จ
พระสังฆราชองค์ที่ 17 จ.สุพรรณบุรี เมื่อประมาณวันที่ 19 ธันวาคม 2554
หมายเหตุข้อสงสัย : เหตุใดคนไข้ถึงติดเชื้อที่ตาได้ ขั้นตอนการรักษาและหลักอนามัยโรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์ (นครปฐม) ไม่
เป็นไปตามกฎของกระทรวงสาธารณสุขเชื้อที่ติดมาจากโรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์ (นครปฐม) ทางโรงพยาบาลควรจะรับผิดชอบ
เพราะเป็นต้นเหตุให้ผู้เสียหายต้องใช้เวลายาวนานในการรักษา
หมอโรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 17 จ.สุพรรณบุรี ได้ทาการตรวจรักษาตามอาการเลื่อยมา ทั้งเอ็กซเรย์ ให้ยาฆ่า
เชื้อ และอื่นๆ แต่อาการก็เป็นๆหายๆ แต่ก็ยังหาสาเหตุอาการป่วยไม่เจอ หมอได้ทาการฉีดสีเพื่อสแกนหาสาเหตุอาการป่วย เมื่อผล
ออกมา หมอแจ้งว่าพบก้อนเนื้อในช่องท้อง แต่ไม่สามารถระบุได้ว่าเป็นก้อนเนื้อชนิดไหน ดีหรือร้าย ดังนั้นทางญาติให้ทาง
โรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 17 ติดต่อหาโรงพยาบาลในกรุงเทพ ที่สามารถดูแลคนไข้และวินิจฉัยโรคได้ เพื่อส่งตัวรักษา
ต่อไป ใช้เวลาประมาณเกือบ 2 อาทิตย์ แต่ก็ยังไม่สามารถหาโรงพยาบาลในกรุงเทพได้ เนื่องจากแต่ละโรงพยาบาลที่ติดต่อไม่มีเตียง
ว่าง เพื่อรับคนไข้มารักษา หาจนถึงวันอังคารที่ 10 มกราคม 2555 แต่ก็ยังไม่ได้เตียง ช่วงนั้นอาการคนไข้ดีขึ้น ไม่มีไข้ และยาฆ่าเชื้อ
ก็หยุดการให้พอดี ทางโรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 17 แจ้งว่าให้กลับบ้านได้โดยจะทาใบส่งตัวให้ และให้ญาติพาคนไข้ไป
โรงพยาบาลที่ระบุในใบส่งตัวเอง โดยทางโรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 17 ให้ชื่อโรงพยาบาลในกรุงเทพมา โดยให้ญาติเลือก
โรงพยาบาลที่จะพาคนไข้ไปรักษาเอง ทั้งๆที่ก่อนหน้านั้นทางโรงพยาบาลบอกว่าจะทาการส่งตัวคนไข้ไปเองโดยทางรถของ
โรงพยาบาล แต่กลับโยนความรับผิดชอบให้ทางญาติในการส่งตัวคนไข้ จากการประเมินว่าอาการคนไข้ดีขึ้นให้กลับบ้านได้ แต่พอ
กลับไปอาการผู้ป่วยก็เป็นเหมือนเดิม เหมือนที่นอนที่โรงพยาบาล นี้หรืออาการที่ดีขึ้น กลับบ้านได้ เกิดอะไรขึ้นกับการวินิจฉัยของ
หมอ และญาติก็ได้ย้ายคนไข้มารักษาต่อที่โรงพยาบาลศิริราช คิดว่าน่าจะมีผู้ที่เชี่ยวชาญในการตรวจรักษาต่อไปกับอาการของผู้ป่วย
โดยได้พาคนไข้มาเมื่อวันอังคารที่ 24 มกราคม 2555 มาถึงตอนเช้าตรู่ โดยได้ทาบัตรผู้ป่วยและยื่นตรวจสิทธิการรักษา (ใช้สิทธิบัตร
ทอง) เสร็จประมาณ 10.30 น. เนื่องจากที่เสร็จช้าเพราะใบส่งตัวระบุชื่อโรงพยาบาลผิด และได้มีการขีดฆ่า โดยไม่มีการเซ็นชื่อกากับ
เลยต้องใช้เวลาในการตรวจสอบสิทธิกับทางโรงพยาบาลต้นสังกัด พอทางโรงพยาบาลศิริราช ที่เลือกไว้ตรวจสอบเสร็จได้ให้ขึ้นไปพบ
หมอ พอขึ้นไปเจ้าหน้าที่หน้าห้องแจ้งว่าหมดเวลาตรวจ เนื่องจากขึ้นมาช้า โดยนัดวันตรวจใหม่เป็นวันอังคารที่ 31 มกราคม 2555
ตอนนั้นรู้สึกโกรธมาก พยายามถามเหตุผล และติดต่อหลายฝ่าย หลายแผนก โดยชี้แจงเหตุผลที่ขึ้นมาช้า เพื่อที่จะให้ผู้ป่วยได้ทาการ
ตรวจ เพราะเดินทางไกลมาแต่เช้า แต่ก็ไม่เป็นผลสาเร็จ เพราะแต่ละแผนกโยนความผิดไปมา ไม่มีแผนกไหนแสดงความรับผิดชอบ
ดังนั้นจึงเดินทางกลับต่างจังหวัดด้วยความผิดหวัง พอถึงวันนัดมาพบหมอ วันอังคารที่ 31 มกราคม 2555 คนไข้ไปพบแต่เช้า
หมอที่ตรวจแจ้งว่าต้องให้คนไข้นอนรักษาที่โรงพยาบาลศิริราชประมาณ 1 อาทิตย์ เพื่อดูอาการ ก็น่าจะทราบผลว่าเป็นอะไร หมอแจ้ง
ว่าจากที่ดูฟิล์มเอ็กซเรย์ของทางโรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 17 จ.สุพรรณบุรี อาจมีปัญหาที่ถุงน้าดี จึงใช้เวลานอนที่
โรงพยาบาลศิริราชเพื่อทาการตรวจรักษาต่อไป
หมายเหตุข้อสงสัย : หมอแจ้งว่าไม่มีเตียงธรรมดา มีแต่เตียงพิเศษ ที่ต้องเสียค่าเตียง หากญาติต้องการเตียงธรรมดา ก็ต้องกลับไป
ก่อน รอจนกว่าจะมีเตียง ตอนนั้นไม่ได้คิดถึงเรื่องเงิน แต่นึกถึงแค่ต้องการรักษาผู้ป่วย นอนเตียงอะไรก็ได้ขอแค่ให้ได้นอนรักษาให้ไว
ที่สุด เพราะอาการผู้ป่วยไม่ค่อยดี แต่จริยธรรมของโรงพยาบาลศิริราชมีหรือไม่ ? ทั้งๆที่มีเตียงอยู่ ไม่ว่าจะเป็นเตียงอะไรก็ตาม
อาการผู้ป่วยน่าจะสาคัญที่สุด ควรที่จะรีบรับผู้ป่วยเข้ารักษา แต่ทางโรงพยาบาลมัวมาห่วงและให้ความสาคัญเรื่องเงินมากกว่าชีวิต
คนไข้ ถ้าต้องการนอนรักษาต้องเสียเงินค่าเตียง การที่ได้ยินหมอบอกเช่นนั้น ทาให้เกิดคาถาม....นี้คือนโยบายโรงพยาบาลรัฐทุกแห่ง
หรือไม่ ? หรือเป็นนโยบายของโรงพยาบาลศิริราชเท่านั้น …
แผ่นที่ 2
ช่วงที่รักษาที่โรงพยาบาลศิริราชหมอได้ทาการตรวจรักษาตามอาการเลื่อยมา ทั้งเอ็กซเรย์ ให้ยาฆ่าเชื้อ ส่องกล้อง ตัดชิ้นเนื้อไปตรวจ
และอื่นๆ แต่อาการก็เป็นๆหายๆ แต่ก็ยังหาสาเหตุอาการป่วยไม่เจอ หมอทาการตรวจหลายอย่าง ไม่แตกต่างจากที่อื่นๆ แต่อาการ
คนไข้ก็ยังไม่สามารถระบุได้ว่าเป็นอะไรใช้เวลาประมาณ 2 อาทิตย์ ช่วงที่นอนรักษาหมอได้ทาการตรวจสายตาที่เป็นจุดเริ่มตนของ
การหาหมอครั้งแรก ที่มองไม่ค่อยเห็น หมอแจ้งผลว่าการรักษาช้าเกินไป ทาให้ตาข้างขวาไม่สามารถรักษาได้ทัน ให้หยุดการรักษาตา
ไปก่อน ให้รักษาอาการที่เป็นที่ตัวคนไข้ก่อน
หมายเหตุข้อสงสัย : หมอโรงพยาบาลศิริราชแจ้งว่าการรักษาตาช้าเกินไป รักษาตาข้างขวาไม่ทัน และไม่สามารถมองเห็นได้อีก เป็น
ความผิดของโรงพยาบาลใด ? แล้วตาที่หมอโรงพยาบาลศิริราชแจ้งว่าไม่สามารถมองเห็นได้อีก ใครจะรับผิดชอบ ? โรงพยาบาล
สมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 17 ใช้เวลาในการรักษาและวินิจฉัยโรคนานพอสมควร แต่กลับไม่สามารถระบุโรคได้ หรือรักษาอาการของ
ผู้ป่วยได้ ทางหมอและผู้เกี่ยวข้อง ร่วมไปถึงตัวโรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 17 มีความพร้อมทางด้านบุคลากร และ
อุปกรณ์ทางการแพทย์และความชานาญในการวินิจฉัยและรักษาหรือไม่ ? จากที่เป็นต้อกระจกที่ตาคิดว่าการรักษาไม่ยากอย่างที่คิด
กับกลายเป็นอาการที่ไม่สามารถวินิจฉัยหรือรักษาได้ ขั้นตอนมันผิดตรงที่ใด ?
ต่อมาอาการคนไข้ก็ดีขึ้น ทานข้าวได้ ไม่มีไข้ หมอแจ้งว่าให้คนไข้กลับบ้านได้เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 16 กุมพาพันธ์ 2555 โดยมีค่าใช้จ่าย
เรื่องเตียงห้องพิเศษ และก่อนหน้านั้นเคยติดต่อสอบถามไปที่ สายด่วน หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) 1330 ได้รับคาชี้แจงมา
ว่าหากหมอวินิจฉัยว่าผู้ป่วยมีความจาเป็นที่จะต้องนอนโรงพยาบาล ไม่จาเป็นว่าเป็นห้องอะไร สามารถเบิกกับทางหลักประกันสุขภาพ
แห่งชาติได้ อยู่ที่คาวินิจฉัยของหมอที่ทาการรักษา โดยที่คนไข้ไม่ได้เรียกร้องขอห้องพิเศษก็ไม่ต้องเสีย เมื่อถึงเวลาต้องกลับบ้าน ผล
สุดท้ายทางโรงพยาบาลศิริราชแจ้งค่าใช้จ่ายเรื่องค่าห้อง และให้เหตุผลว่าถือว่าช่วยเหลือโรงพยาบาลแล้วกัน หากไม่มีเงินจ่ายก็จะได้
เรียกกรมสงเคราะห์มาดูแลให้ ผลสรุปเสียค่าห้องไป เกือบ 7,000 บาท และหมอให้กลับบ้าน และกลับมาฟังผลตรวจที่โรงพยาบาลศิ
ริราช วันพุธที่ 22 กุมภาพันธ์ 2555 โดยทางญาติแจ้งทางหมอว่าอยากให้คนไข้นอนโรงพยาบาลจนกว่าผลตรวจจะออก เนื่องจาก
คนไข้เดินทางระยะไกลบ่อยรู้สึกเหนื่อย เนื่องจากบ้านอยู่ต่างจังหวัด การเดินทางต้องใช้รถส่วนตัวตลอด ไม่สามารถขึ้นรถประจาทาง
ได้ เนื่องจากคนไข้ไม่แข็งแรงจากอาการป่วย ตามองไม่ค่อยเห็น เพราะทุกครั้งที่กลับมาบ้าน อาการป่วยต่างๆของคนไข้ก็จะกลับมา
เหมือนเดิม แต่หมอไม่อนุญาต วันที่ออกหมอสั่งยาเกี่ยวกับวัณโรคให้คนไข้มาทานช่วงที่กลับมาพักที่บ้าน ญาติได้พาคนไข้กลับมาพัก
และให้ทานยาที่หมอจัดมาให้ตามวันและเวลาที่กาหนด ช่วงที่พัก 1 อาทิตย์ เพื่อรอกลับไปฟังผลตรวจที่โรงพยาบาลศิริราช วันพุธที่
22 กุมพาพันธ์ 2555 อาการคนไข้ก็เป็นเหมือนเดิม มีไข้ หนาวสั่น อาเจียน ปวดท้อง ทานข้าวไม่ได้ ได้แต่ให้ทานยาพาราที่หมอ
โรงพยาบาลศิริราชจัดมาให้บรรเทาอาการช่วงที่รอฟังผล พอวันนัดพาคนไข้กลับไปฟังผล หมอแจ้งว่าไม่พบว่าเป็นวัณโรค จึงนัดเป่า
ปอดและส่องกล้อง และรอฟังผลเพื่อความแน่ใจอีกที ในวันพุธที่ 29 กุมพาพันธ์ 2555 โดยแพทย์สั่งงดทานยาเกี่ยวกับวัณโรคที่จ่าย
มาตอนแรกทั้งหมด
หมายเหตุข้อสงสัย : หมอสั่งจ่ายยาเกี่ยวกับวัณโรคมาให้ผู้ป่วยทาน เป็นการวินิจฉัยโรคที่ผิดหรือไม่ ? แล้วยาที่ทานไปไม่ตรงกับโรคที่
เป็นจริงๆเป็นการสั่งยาผิดหรือไม่ ? แล้วมีผลกระทบกับคนไข้หรือไม่ ? ก่อนที่ออกจากโรงพยาบาลหมอแจ้งว่าอาการคนไข้ดีขึ้น
สามารถกลับบ้านได้ แต่พอมาอยู่บ้าน อาการผู้ป่วยก็กลับมาเป็นเหมือนเดิม การวินิจฉัยและประเมินอาการของผู้ป่วยถูกต้องหรือไม่
? เพราะก่อนหน้านั้น ทางญาติได้ร้องขอให้ผู้ป่วยนอนรักษาต่อ เพราะคิดว่าอาการที่เป็นจะกลับมาเหมือนเดิม และใช้เวลากว่าจะได้
กลับมารักษาอีกครั้ง แต่ก็ไม่เป็นผล
ช่วงที่คนไข้กลับมารอที่บ้าน เพื่อรอนัดเป่าปอดและส่องกล้อง วันพุธที่ 29 กุมพาพันธ์ 2555 แต่เนื่องญาติและตัวคนไข้เห็นว่า
เดินทางบ่อย ต้องการให้ผู้ป่วยพัก 1 อาทิตย์ จึงโทรเลื่อนนัดเป็น วันพุธที่ 7 มีนาคม 2555 แต่เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลศิริราช แจ้งว่า
ตรงกับวันหยุด จึงเลื่อนมาเป็น วันพุธที่ 14 มีนาคม 2555 ญาติคนไข้เห็นว่ามันนานเกินไปสาหรับอาการของผู้ป่วย จึงจะไม่เลื่อน
นัดเดิมวันพุธที่ 29 กุมพาพันธ์ 2555 เนื่องจากการติดต่อกับโรงพยาบาลศิริราชที่ล่าช้า ติดต่อไม่ได้ ทาให้ญาติที่มีรถส่วนตัวที่พัก
อยู่อีกที่หนึ่ง ลงไปรับผู้ป่วยที่อยู่ต่างจังหวัดไม่ทันตามนัดเดิม จึงจาเป็นต้องเลื่อนนัดเป็น วันพุธที่ 14 มีนาคม 2555 แต่พอใกล้ถึง
วันนัด วันอังคารที่ 13 มีนาคม 2555 ทางโรงพยาบาลศิริราชได้โทรแจ้งว่าหมอที่ทาการตรวจส่องกล้องและเป่าปอด ต้องเดินทางไป
ต่างประเทศ จึงเลื่อนนัดจาก วันพุธที่ 14 มีนาคม 2555 เป็น วันพุธที่ 4 เมษายน 2555 โดยทางญาติได้โทรกลับไปถามเหตุผล โดย
เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลศิริราช ชี้แจ้งว่าหมอต้องเดินทางไปต่างประเทศ โดยหมอแจ้งเจ้าหน้าที่วันเดียวกับที่แจ้งกับญาติผู้ป่วยคือ วัน
อังคารที่ 13 มีนาคม 2555 ญาติได้ถามกลับไปว่าไม่มีหมอท่านอื่นที่ทาการตรวจแทนได้หรือไม่ เพราะอาการคนไข้ช่วงที่รอให้ถึงวัน
แผ่นที่ 3
นัดนั้น อาการคนไข้ไม่ดีขึ้น อาการคนไข้ก็เป็นเหมือนเดิม มีไข้ หนาวสั่น อาเจียน ปวดท้อง ทานข้าวไม่ได้ ทางเจ้าหน้าที่แจ้งว่าให้พา
ผู้ป่วยไปหาหมอใกล้บ้านเพื่อหายาทานก่อน
หมายเหตุข้อสงสัย : โรงพยาบาลศิริราชเป็นโรงพยาบาลรัฐที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เป็นความไว้วางใจจากคนไข้และญาติที่เลือกมา
รักษา โดยคิดว่ามีหมอที่เก่งและชานาญในการรักษาและวินิจฉัย แต่กลับมีหมอเฉพาะทางแค่คนเดียวใช่หรือไม่ ? ที่ให้ไปหายาทานก่อน
นั้นหมายถึงรักษาตามอาการไปก่อนจนกว่าจะถึงวันนัดใช่หรือไม่ ? แค่รักษาอาการพื้นๆคือเป็นไข้ อาเจียน ปวดท้อง เพราะว่าทาง
โรงพยาบาลศิริราช ยังไม่สามารถระบุอาการป่วยที่แน่ชัดเกี่ยวกับคนไข้ที่เป็นอยู่ การรักษาและยาก็เป็นการรักษาแบบพื้นๆไปก่อน
เพราะไม่ทราบอาการของผู้ป่วยเช่นกันมันเกิดอะไรขึ้นกับโรงพยาบาล และจริยธรรมความรับผิดชอบของหมอผู้นั้น ถ้าหากคนไข้อยู่ใน
ขั้นความเป็นความตาย หมอก็ยังยืนยันที่จะเดินทางไปต่างประเทศ โดยทิ้งคนไข้ไว้ข้างหลังไม่ต้องสนใจใช่หรือไม่ เกิดอะไรขึ้นกับ
โรงพยาบาลขนาดใหญ่ มีหมอชานาญแค่คนเดียวใช่หรือไม่ ?
ช่วงที่ต้องรอนัดกับโรงพยาบาลศิริราช วันพุธที่ 4 เมษายน ปี 2555 อาการของผู้ป่วยหนักขึ้น ไม่สามารถทานอะไรได้เลย จึงพา
ผู้ป่วยเข้าโรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 17 จ.สุพรรณบุรี วันพุธที่ 21 มีนาคม 2555 หมอได้ทาการตรวจ และแจ้งญาติว่า
อาการผู้ป่วยความดันลงต่ามาก อาจเกิดอาการช็อกได้ จึงให้น้าเกลือ และยาปรับความดันตามอาการที่พบ และให้เครื่องช่วยหายใจ
ช่วงที่รักษาอาการคนไข้กลับไม่ดีขึ้น ท้องเสีย ปัสสาวะไม่ออก หมอจึงได้ทาการเจาะกระเพาะปัสสาวะ และคนไข้มีอาการท้องบวม
เนื่องจากมีน้าในท้องจานวนมาก จึงทาการเจาะท้องเพื่อเอาน้าออก โดยหมอแจ้งว่าเกิดจากปัญหาก้อนเนื้อที่ท้องปล่อยน้าออกมามาก
จึงทาให้ท้องบวม ช่วงที่หมอโรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 17 ทาการรักษา ทางญาติก็ยังคงคิดว่าหมอที่โรงพยาบาลศิริราช
ยังมีความพร้อมและชานาญในการรักษาและวินิจฉัยอาการของผู้ป่วยต่อ จึงคิดว่าน่าจะดีกว่าถ้าได้เข้ามารักษาที่โรงพยาบาลศิริราช
ญาติคนไข้ได้ติดต่อทางโรงพยาบาลศิริราชอีกครั้ง เพื่อต้องการขอย้ายคนไข้มารักษากับหมอที่ทาการวินิจฉัยอาการให้กับผู้ป่วยก่อน
หน้า คิดว่าน่าจะดีกว่าที่จะนอนรักษาที่ โรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 17 เพราะรักษาแบบไม่รู้ต้นสายปลายเหตุ รักษาตาม
อาการที่เป็นเพราะก่อนหน้านั้นทางโรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราชองค์ 17 แจ้งว่าไม่สามารถวินิจฉัยอาการคนไข้ได้ จึงส่งตัวมา
รักษาต่อที่ โรงพยาบาลในกรุงเทพ ทางญาติจึงคิดว่าน่าจะดีกว่าถ้าได้เข้ามารักษาที่โรงพยาบาลศิริราช และคนไข้มีนัดส่องกล้องและ
เป่าปอด วันพุธที่ 4 เมษายน 2555 ด้วย น่าจะดีกว่าถ้าได้มานอนรักษาที่โรงพยาบาลศิริราช ก่อนหน้าทางญาติได้โทรสอบถาม
ขั้นตอนการย้ายผู้ป่วย โดยเจ้าหน้าที่แจ้งว่าจะต้องให้หมอที่โรงพยาบาลศิริราช หมอเจ้าของไข้เขียนใบจองเตียงให้กับผู้ป่วย จึงจะทา
การจองเตียงให้ผู้ป่วยได้ ทางญาติได้ไปติดต่อพบหมอเจ้าของไข้ผู้ป่วยที่โรงพยาบาลศิริราช ตั้งแต่วันอังคารที่ 3 เมษายน 2555
เจ้าหน้าที่แจ้งว่าหมอไม่เข้า มาพบใหม่วันพุธที่ 4 เมษายน ปี 2555 จึงเดินทางกลับไปพบใหม่ วันพุธที่ 4 เมษายน ปี 2555 แต่
เจ้าหน้าที่ด้านหน้าทาใบนัดให้ใหม่ เป็นวันอังคารที่ 1 พฤษภาคม ปี 2555 โดยไม่ถามสาเหตุที่มาพบ ทางญาติแจ้งอย่างชัดเจนว่ามา
พบหมอเพื่อขอใบจองเตียงให้คนไข้ คุยกันกว่าจะเข้าใจ เจ้าหน้าที่จึงให้เขียนใบแจ้งเหตุผลว่าจะพบหมอทาไม และให้นั่งรอ อยู่ที่ว่าหมอ
จะให้พบหรือไม่ นั่งรอจนได้พบหมอ จึงแจ้งเหตุผลไปว่าต้องการย้ายคนไข้มานอนรักษาที่โรงพยาบาลศิริราช อยากให้หมอทาใบขอ
จองเตียงที่โรงพยาบาลศิริราช โดยญาติได้ถือใบผลการรักษามาด้วยเป็นคาแนะนาของเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลศิริราช ในการจอง
เตียง เพื่อหมอจะได้รู้อาการคนไข้ที่นอนรักษาตัวอยู่ที่โรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 17 ญาติได้ส่งใบผลการรักษาให้หมอ
โรงพยาบาลศิริราช แต่หมอกลับไม่ดู ไม่อ่าน แจ้งว่าให้ไปพบกับเจ้าหน้าที่รับจองเตียงโรงพยาบาลศิริราช มาพบหมอทาไม ญาติจึง
ลงไปพบเจ้าหน้าที่รับจองเตียงของโรงพยาบาลศิริราช เจ้าหน้าที่ถามว่าทาไมไม่มีใบที่หมอเขียนรายระเอียดการจองเตียงอาการของ
ผู้ป่วยมาด้วย แล้วจะรู้อาการของผู้ป่วยได้อย่างไร เจ้าหน้าที่และญาติผู้ป่วยกลับขึ้นไปพบหมออีกครั้ง โดยเจ้าหน้าที่เป็นคนจัดการคุย
กับหมอ และให้หมอเขียนรายระเอียดการจองเตียงให้ แล้วเจ้าหน้าที่ได้โทรคุยกับทาง โรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 17 จ.
สุพรรณบุรี ถามถึงอาการคนไข้ แล้วได้แจ้งกับเจ้าหน้าที่ทางโรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 17 จ.สุพรรณบุรี ว่าให้เพิ่มเกร็ด
เลือดให้คนไข้เป็น 100,000 ขึ้น แล้วค่อยโทรกลับมาจองเตียงใหม่
หมายเหตุข้อสงสัย : ก่อนหน้านั้นทาไมทางโรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 17 รู้ทั้งรู้ว่าคนไข้เกร็ดเลือดต่า ทาไมไม่เพิ่มเกร็ด
เลือดให้คนไข้ เพื่อที่เตรียมความพร้อมให้กับคนไข้ในการส่งตัวต่อไป หากญาติไม่มาติดต่อเรื่องเตียง ทางโรงพยาบาลศิริราช ไม่โทร
ถามอาการ ก็จะไม่มีการเพิ่มเกร็ดเลือดให้คนไข้ใช่หรือไม่ ? ตอนนี้ก็เลยต้องรอการเพิ่มเกร็ดเลือดจนถึงที่กาหนด จึงจะส่งตัวคนไข้ได้
โรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 17 รู้ทั้งรู้ว่าไม่สามารถรักษาและวินิจฉัยโรคของผู้ป่วยได้ ทาไม่ถึงไม่รู้ขั้นตอนการทาให้
อาการผู้ป่วยดีขึ้นเพื่อการส่งตัวคนไข้ ถ้าทางโรงพยาบาลศิริราช ไม่บอกก็จะไม่ทาใช่หรือไม่ ? ด้วยความร้อนใจของญาติที่ต้องการ
ให้ผู้ป่วยมีอาการที่ดีขึ้น จากที่แค่เข้าไปรักษาตา เนื่องจากอาการมองไม่เห็น แต่ไม่ทราบเหตุผลใด คนไข้ถึงมีอาการหนักได้ขนาดนี้
ขั้นตอน กฎระเบียบ วิธีการรักษาถูกต้องหรือไม่ เกิดคาถามกับญาติผู้ป่วยมากมาย แล้วอาการคนไข้เมื่อไหร่จะดีขึ้น มีแต่แย่ลง แนว
แผ่นที่ 4
ทางการรักษาไม่มี ระบุโรคไม่ได้ อาการไม่ดีขึ้น กลับแย่ลงเลื่อยๆ คนไข้อาการหนักขนาดนี้ แต่ขั้นตอนการส่งตัวทาไมไม่คืบหน้า แล้ว
ต้องรอเมื่อไหร่ หาหมอที่คิดว่าดีและเก่ง แต่ไม่คิดว่าขั้นตอนตั้งแต่เข้ารักษาเกี่ยวกับตา จนถึงวันนี้เป็นเวลา 3 เดือน 29 วัน อาการ
จากที่เกือบปกติกลับแย่เหมือนจะหมดลมหายใจ ไม่สามารถหาทางรักษาและวินิจฉัยโรคได้ ตั้งแต่เข้ารักษาจนถึงวันนี้ยาที่ใช้รักษาต้น
ตอของโรคอาจพูดได้ว่ายังไม่ได้กินยานั้นเลย.........การเพิ่มเกร็ดเลือดก็ไม่สามารถทาให้อาการของผู้ป่วยดีขึ้น ยังใช้เครื่องช่วยหายใจ
และเครื่องปรับความดัน ยังมีน้าในท้องออกมาตลอดเวลา
วันพุธที่ 11 เมษายน 2555 ช่วงบ่าย ทางโรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 17 จ.สุพรรณบุรี แจ้งว่าจะย้ายผู้ป่วยไปรักษาต่อที่
โรงพยาบาลศิริราชตอนเช้า ตอนนี้ได้รถส่งผู้ป่วยแล้ว แต่ไม่มีพยาบาลไปกับผู้ป่วย กาลังหาพยาบาลอยู่ ถ้าได้แล้วจะแจ้งญาติอีกที
ญาติถามกลับไปว่า ทางโรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 17 ไม่มีเจ้าหน้าที่พยาบาลประจารถหรือว่าอย่างไร แล้วถ้าเป็นอย่างนี้
เกิดเหตุฉุกเฉิน แล้วจะทาอย่างไร ญาติเลยแจ้งไปว่าจะรับผิดชอบค่าใช้จ่ายให้กับนางพยาบาลเองที่จะติดรถไปกับผู้ป่วย ให้หามาให้
หน่อย วันพุธที่ 11 เมษายน 2555 ช่วงมืดๆ เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 17 แจ้งว่าได้นางพยาบาลไปกับรถ
ผู้ป่วยแล้ว จะย้ายผู้ป่วยในวันพฤหัสบดีที่ 12 เมษายน 2555 ถึงโรงพยาบาลศิริราช วันพฤหัสบดีที่ 12 เมษายน 2555 เวลา
09.30 น. ญาติบางส่วนได้ไปติดต่อเกี่ยวกับเอกสารของคนไข้ล่วงหน้าที่โรงพยาบาลศิริราช เพื่อความรวดเร็วในการรักษาต่อไป
จนถึงเวลาคนไข้มาถึง เพราะนัดหมอที่โรงพยาบาลศิริราช ไว้ 10.00 น. พอเปิดประตูรถเพื่อย้ายคนไข้ลง กลับพบว่าคนไข้ที่นอนมา
กับเปลเป็นผู้ชาย ส่วนแม่ซึ่งญาติเป็นผู้ที่ติดต่อกับทางโรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 17 ขอรถย้ายผู้ป่วย ซึ่งอาการหนัก ที่
ต้องพึ่งเครื่องช่วยหายใจ เครื่องปรับความดันตลอดเวลา และไม่ค่อยรู้สึกตัว ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ ที่ท้องมีการเจาะแขวนถุงน้าไว้ด้วย
กลับต้องนั่งพิงข้างรถมากับลูกสาว ไม่มีเครื่องช่วยหายใจ ไม่มีเครื่องปรับความดัน ในสภาพที่อ่อนล้า เห็นภาพนั้นแล้ว ตอนนั้นทั้ง
โกรธ ทั้งเสียใจกับสภาพแม่ที่นั่งพิงข้างรถมา กับการเดินทางที่ไกล สาหรับคนไข้อาการหนักขนาดนี้ การพูดคุย การสื่อสารกับคนไข้
แทบเป็นไปไม่ได้เลย ตอนนั้นได้โทรกลับไปถามทางโรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 17 ว่าเกิดไรขึ้น ได้คาชี้แจงมาว่า เนื่องจาก
รถไม่เพียงพอ พอดีมีคนไข้ที่เป็นผู้ชายได้เหมารถของโรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 17 ไว้ก่อนหน้าแล้ว เพื่อเดินทางมารักษา
ที่โรงพยาบาลศิริราช เช่นเดียวกับแม่ ดังนั้นจึงให้แม่ขออาศัยติดรถมาด้วย ได้ฟังอย่างนี้แล้วถึงกับต้องอึ่งไปเลย กับคาตอบที่ได้รับ
กลับมากับคาชี้แจ้งของเจ้าหน้าที่ โรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 17 ทั้งๆก่อนหน้านั้นทางโรงพยาบาลบอกถึงอาการผู้ป่วยว่า
หนักมาก แต่การส่งตัวผู้ป่วยอาการหนักขนาดนี้กลับไม่มีมาตรฐานเลย
หมายเหตุข้อสงสัย : ก่อนหน้าที่จะย้ายผู้ป่วย โรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 17 แจ้งว่าต้องหารถที่มีอุปกรณ์ที่จาเป็นกับ
คนไข้ในการย้ายผู้ป่วย ไม่ว่าจะเครื่องปรับความดัน เครื่องช่วยหายใจ และอื่นๆ จึงจะสามารถย้ายได้ แต่เมื่อถึงเวลาย้ายสิ่งที่
โรงพยาบาลแจ้งมาข้างต้นถึงความพร้อมของรถในการย้ายผู้ป่วย กับไม่มีสิ่งที่ว่าจาเป็นหรือต้องใช้ในการย้ายผู้ป่วยอาการหนักได้ใช้
เลย อาการคนไข้ค่อนข้างหนัก แต่กลับให้คนไข้อาการหนักขนาดนี้นั่งพิงข้างรถมาในการเดินทางไกลเข้ามารักษาต่อที่ กทม. ไม่มี
เครื่องช่วยหายใจ ไม่มีเครื่องปรับความดันที่คนไข้จาเป็นที่ต้องใช้ เกิดอะไรขึ้นกับขั้นตอนการส่งตัวคนไข้ที่อาการหนักขนาดนี้ของ
โรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 17
ตอนนี้รอการตรวจของหมอโรงพยาบาลศิริราชต่อไป ช่วงที่รอ มีเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลศิริราช มาวัดความดัน ผลออกมาความดันต่า
และต้องรีบให้เครื่องช่วยหายใจกับผู้ป่วยเพื่อรอหมอมาตรวจ ถึงเวลาหมอมา ลูบๆ คลา วัดนูนวัดนี้ จับนี้นั้น ถามนูนถามนี้นิดหน่อย
ก็หายไปพักใหญ่ กลับมาให้ส่งผู้ป่วยไปเอ็กซเรย์ปอด และอื่นๆ แล้วกลับมารอที่เดิม รออีกสักพักใหญ่ๆ ก็ส่งไปเอ็กซเรย์อีกรอบ และ
กลับมารออีกหลายพัก หมอก็กลับมาแจ้งว่าอาการคนไข้ไม่ดี ตอนนี้ทาอะไรไม่ได้เลย นอกจากรอให้อาการคนไข้ดีขึ้น จึงจะส่งคนไข้ไป
ส่งกล้องและเป่าปอดเพื่อหาสาเหตุที่แน่ชัดได้ นั้นหมายความว่าต้องรอกลับไปเริ่มต้นจุดที่หมอเคยนัดแล้วโทรมาเลื่อนนัดก่อนหน้านั้น
ตอนที่คนไข้นอนรักษาตัวที่โรงพยาบาลศิริราช อาการคนไข้ก็เกือบปกติดี แต่ทาไมไม่มีการตรวจ ตอนนี้กลับมาบอกว่าต้องรอให้
อาการคนไข้ดีขึ้นถึงตรวจได้ ญาติเลยแจ้งหมอไปว่ารบกวนหาเตียงให้คนไข้นอนรักษาตัวต่อที่นี้ เพราะอาการดีขึ้นจะได้เป่าปอดและ
ส่องกล่องตามที่หมอบอกต่อไป รอประมาเกือบบ่าย 4 โมงเย็น ก็ยังไม่รู้ว่าจะอย่างไง เจ้าหน้าที่ทางโรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราช
องค์ที่ 17 สุพรรณบุรี ก็มาถามสรุปว่าอย่างไง จะได้กลับ จึงเดินไปถามหมอโรงพยาบาลศิริราช ว่าได้เตียงหรือป่าวคับ จะได้ให้รถ
ของโรงพยาบาลสมเด็จพระสังค์ราชองค์ที่ 17 สุพรรณบุรี กลับไปก่อน เราก็ไม่รู้ว่าหมอตอบกลับมาด้วยที่ยุ่งๆ หรือว่าราคาญ
ตอบกลับมา 4 คาสั้นๆ ด้วยน้าเสียงที่ไม่เป็นมิตรเท่าไหร่ว่า...ให้กลับไปเลย... แล้วก็เดินหนี้ไป หายเข้ากลีบเมฆ ผู้ป่วยและญาติอีก
ประมาณ 3 คน รอจนประมาณเกือบ 18.00 น. หรือเกือบ 6 โมงเย็น จนเกือบไม่มีคนไข้หลงเหลืออยู่ จากที่มาตอนเช้าเต็มห้องขนาด
ใหญ่แน่นไปหมด และแล้วเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลศิริราช ก็มาแจ้งว่ากาลังหาเตียงให้ รอเกือบครึ่งชม. ก็เดินไปถามเจ้าหน้าที่สรุปว่า
อย่างไรได้เตียงหรือไม่ เจ้าหน้าที่แจ้งว่าได้เตียงแล้ว แต่ต้องรอเจ้าหน้าที่ตึกโทรกลับมาแจ้งว่าจะรับคนไข้หรือไม่ รออีกสักพักเจ้าหน้าที่
แผ่นที่ 5
แจ้งว่าทางตึกอัษฏางค์ โรงพยาบาลศิริราช ที่จะส่งผู้ป่วยไป ไม่รับผู้ป่วยเนื่องจากผู้ป่วยช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ ไม่มีเจ้าหน้าที่เพียง
พอที่จะดูแลผู้ป่วย เนื่องจากทาง ตึกอัษฏางค์ ไม่อนุญาตให้ญาติผู้ป่วยดูแลเฝ้าไข้ได้ ต้องหาเตียงใหม่ พอได้ยินอย่างนั้น เกิดคาถาม
มากมาย แล้วถ้าไม่ได้เตียงจะทาอย่างไง รถโรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 17 สุพรรณบุรี ก็ให้กลับไปแล้ว ช่วงเวลานั้น
เจ้าหน้าที่เดินมาแจ้งว่าได้เตียงที่ ตึกอัษฏางค์ ชั้น 10 ฝั่งเหนือ รอเจ้าหน้าที่มาเข็นรถพาไป และแล้วก็ได้ขึ้นไปบนตึกเสียทีพอขึ้นไป
เจ้าหน้าที่ก็ย้ายผู้ป่วยจากรถเข็นขึ้นบนเตียง ย้ายน้าเกลือและสายต่างๆ จนเสร็จเรียบร้อย แล้วมีหมอมาแนะนาตัวว่าเป็นหมอที่ดูแล
ตึกนี้เข้ามาสอบถามอาการ ตั้งแต่ตนที่เริ่มรักษาจนมาถึงวันนี้ เหมือนย้อนกลับไปตอนแรกที่เข้ารักษาเรื่องตาที่มองไม่เห็น จุดเริ่มต้น
ของการรักษา พอฟังจบหมอก็บอกว่าตอนนี้ต้องรอให้อาการดีขึ้น จึงจะทาการส่องกล้องและเป่าปอดให้คนไข้ได้ การรักษาก็ไม่มีไร
แตกต่างที่อื่น นอกจากน้าเกลือเครื่องช่วยหายใจ แล้วก็กินยา รอดูอาการ วันจันทร์ที่ 16 เมษายน 2555 อาการผู้ป่วยก็หนักขึ้น
เลื่อยๆ จนไม่สามารถทานอาหารได้เอง ต้องใส่หลอดอาหารทางจมูก ผู้ป่วยกาลังใจดีมาตลอด วันพฤหัสบดีที่ 19 เมษายน 2555
เวลาประมาณ 18.00 น. หมอแจ้งว่าต้องย้ายผู้ป่วยเข้าห้อง ICU ชั้น 6 ตึกอัษฏางค์ เนื่องจากความดันคนไข้ต่ามาก ย้ายเสร็จ
ประมาณ 20.00 น. แล้วก็มีหมอมาแนะนาตัว และสอบถามอาการคนไข้เหมือนชั้นอื่นๆ ตั้งแต่เข้าโรงพยาบาล จนล่าสุด แล้วหมอก็ว่า
ต้องรอดูอาการในห้อง ICU ต่อไป หมอบอกว่ามีวิตามินบ้างตัวที่ต้องใช้กับคนไข้ อาจทาให้คนไข้อาการดีขึ้น แต่ญาติต้องเสียเงินเอง
ราคา 1,500 บาท ต่อถุง อาจจะให้ประมาณ 3 ถุง ญาติคนไข้สะดวกที่จะชาระส่วนนี้หรือไม่ ญาติคนไข้ตอบกลับไปว่า ถ้าทางหมอคิด
ว่าจาเป็นกับคนไข้ หากทางญาติบอกว่าไม่ เกิดอะไรขึ้นมาหมอก็ต้องโทษญาติคนไข้ และญาติคิดว่าถึงจะไม่มีเงินจ่ายก็ต้องหามา ขอแค่
ให้คนไข้อาการดีขึ้นก็พอ แต่ในใจญาติคิดว่า ถ้าหากญาติคนไข้บอกว่าไม่มีเงินจ่าย นั้นหมายความว่าหมอก็จะไม่ให้ยาตัวนั้นกับคนไข้ใช่
หรือไม่ ทั้งๆที่หมอบอกเองว่าจาเป็นกับคนไข้ อาจทาให้อาการคนไข้ดีขึ้น สรุปแล้วยาตัวนั้นหมอก็ไม่ได้ให้คนไข้ โดยที่ไม่ทราบเห็นผล
ทั้งๆที่บอกว่าจาเป็นกับคนไข้
หมายเหตุข้อสงสัย : ตามหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) ยานอกบัญชีหากหมอมีความเห็นว่าสมควรที่ผู้ป่วยควรได้รับ ก็
สามารถเบิกได้เช่นกัน หรือหายาที่มีคุณภาพใกล้เคียงมาใช้แทนกันได้ แต่หมอกับไม่ทา มัวห่วงว่าญาติจะมีเงินจ่ายหรือไม่ หลัก
จริยธรรมของหมอและโรงพยาบาลมีหรือไม่ ทั้งๆที่บอกว่าจาเป็นกับคนไข้ ผลสรุปคนไข้ก็ไม่ได้รับยาตัวนั้น
ญาติได้ถามถึงอาการคนไข้ว่าเป็นอย่างไรบ้าง หมอบอกว่า...ไม่มีหวัง...สามคาเดียวสั้นๆ ตอนนั้นอึ้งไปพักหนึ่ง และญาติถามต่อไปว่า
สรุปคนไข้เป็นอะไรกันแน่ หมอตอบกลับมาว่าเป็นมะเร็ง ญาติถามกลับไปว่ารู้ตั้งแต่เมื่อไหร่ว่าเป็นมะเร็ง หมอตอบกลับมาว่า รู้ตั้งแต่
วันพุธที่ 22 กุมพาพันธ์ 2555 ญาติถามกลับไปว่าทาไมญาติคนไข้ไม่มีใครรู้ถึงอาการคนไข้เลยว่าเป็นมะเร็ง ตอนนั้นเกิดการโต้เถียง
กับหมอผู้หญิงท่านหนึ่งอยู่พักใหญ่ๆ ตอนแรกผมก็พูดดีๆ แต่หมอกับพูดจาด้วยความโมโห ผมก็เกิดอาการทนไม่ไหว เพราะทุกครั้ง
ที่เขามารักษาก็จะเจอหมอหน้าใหม่ๆไม่เคยซ้า พอถามอาการก็จะตอบว่าไม่ทราบคาเดียวสั้นๆ ให้ไปถามหมอที่รักษาก่อนหน้านั้น จะ
ไม่ให้โมโหได้อย่างไร เพราะวันที่มาฟังผลวันพุธที่ 22 กุมพาพันธ์ 2555 หมอแจ้งว่าไม่ได้เป็นวัณโรค(เพราะก่อนหน้าหนึ่งอาทิตย์
หมอให้ยาเกี่ยวกับวัณโรคมาทาน 1 อาทิตย์ ก่อนที่จะกลับไปฟังผลตรวจวันพุธที่ 22 กุมภาพันธ์) ดังนั้นจึงนัดมาส่องกล้อง และเป่า
ปอด เพื่อความแน่ใจว่าเป็นอะไรกันแน่ ในวันพุธที่ 29 กุมภาพันธ์ 2555
หมายเหตุข้อสงสัย : ถ้าหมอแจ้งว่า รู้ว่าคนไข้เป็นมะเร็งตั้งแต่ วันพุธที่ 22 กุมพาพันธ์ 2555 ทาไมไม่มีการสั่งจ่ายยา หรือเริ่มการ
รักษาคนไข้ แต่กลับบอกให้คนไข้กลับบ้านแล้วมาส่องกล้องและเป่าปอด โดยช่วงที่รอกลับไม่มียาสักเม็ดทาน พูดได้ว่าตั้งแต่ต้นที่เริ่ม
รักษา ไม่มียาให้คนไข้ทานเลยสักเม็ด ตอนที่คนไข้อาการดี นอนอยู่ที่โรงพยาบาลศิริราชตั้งเกือบ 15 วัน แต่หมอกลับไม่ทาการเป่า
ปอด และส่องกล้อง พออาการคนไข้แย่ลง กลับบอกให้รออาการคนไข้ดีขึ้นถึงทาได้ หรือหมอจะบอกว่าทุกอย่างเป็นไปตามขั้นตอน
นั้นก็หมายความว่าหมอวินิจฉัยอาการคนไข้และแนวทางการรักษาผิดตั้งแต่ต้นใช้หรือไม่ ?
การที่หมอตอบกลับมาว่า ไม่ทราบ อันนี้ต้องไปถามหมอคนนั้น คนละคนกัน ตอนนั้นรู้สึกโกรธมากที่ได้ยินคาตอบแบบนั้น เป็นหมอ
กลับไม่ทราบ ทั้งๆที่ประวัติคนไข้ก็มี ทุกครั้งที่เข้ามารักษาจะเจอหมอไม่ซ้าหน้า และญาติต้องเจอคาถามซ้าๆจากหมอแต่ละคน ทั้งๆที่
ประวัติการรักษาก็มี หมอต้องรู้อาการคนไข้มากกว่าญาติ เพราะหมอเป็นคนรักษา ถ้าหมอไม่ทราบ แล้วใครจะรู้ ผมเป็นคนค่อนข้างมี
เหตุผล และเชื่อในสิ่งที่ถูกต้อง จะรับฟังเป็นอย่างดี หากมีการชี้แจง หรือให้ข้อมูลในทางที่ถูกต้อง เพียงพอและหน้าเชื่อถือ แต่หมอกับ
ไม่ทา พูดปัดความรับผิดชอบ โดยโยนความรับผิดชอบไปให้หมอที่ทาการรักษาก่อนหน้า หากญาติผู้ป่วยหรือตัวผู้ป่วยเองต้องการ
ข้อมูล แนวทางในการรักษา แต่หมอกับบอกว่าไม่รู้ ไม่ทราบ แล้วผู้ป่วยและญาติจะได้ข้อมูลจากที่ใด ตลอดการรักษาญาติไม่ทราบเลย
ว่าผู้ป่วยเป็นอะไร แนวทางการรักษาเป็นอย่างไร แล้วจะให้เชื่อได้อย่างไรว่าผู้ป่วยเป็นอย่างที่หมอกล่าวอ้าง ทั้งๆที่ก่อนหน้าไม่เคยมี
ข้อมูลใดๆเลยกับอาการป่วย ทุกครั้งที่ถามหมอก็จะเมินหน้าหนี หรือไม่ก็เดินหนี หรือใช้คาพูดห้วนๆตอบกลับมาแบบไม่เต็มใจ ทั้งๆที่
แผ่นที่ 6
สิทธิของผู้ป่วยควรที่จะได้รับข้อมูลอย่างถูกต้อง ถึงแนวทางการรักษาหรือคาวินิจฉัยของทางโรงพยาบาลหรือตัวหมอที่ทาการรักษา
วันศุกร์ที่ 20 เมษายน 2555 ช่วงเช้าหมอแจ้งญาติว่าขอเจาะไขสันหลัง เพื่อตรวจหาสาเหตุว่าเป็นอะไรกันแน่ จะรู้ผลอีก 1 อาทิตย์
และหมอได้ย้ายผู้ป่วยออกจาก ICU มาอยู่ห้องธรรมดาตึกอัษฏางค์ ชั้น 12 โดยญาติมองว่าอาการของผู้ป่วยน่าจะนอนห้อง ICU
มากกว่า ทาไมถึงย้ายออกมาทั้งๆที่อาการของผู้ป่วยหนักขนาดนั้น และทาไมถึงถอดเครื่องช่วยหายใจคนไข้ โดยไม่ถามญาติๆสักคา
วันเสาร์ที่ 21 เมษายน 2555 เวลา 10.00 น. ได้รับโทรศัพน์ทางโรงพยาบาลศิริราช ว่าผู้ป่วยอาการแย่ ให้รีบเดินทางมา
โรงพยาบาลด่วน ไปถึงโรงพยาบาลศิริราช เวลาประมาณ 14.30 น. เนื่องจากอยู่พัทยา ใช้เวลาเดินทาง พอไปถึงคนไข้ก็เสียไปแล้ว
ตอน 14.00 น. ความรู้สึกตอนนั้นบรรยายไม่ถูก ไปถึงจับตัวคนไข้ยังอุ่นๆอยู่เหมือนแค่คนนอนหลับไปเท่านั้นเอง
หมายเหตุข้อสงสัย : คนไข้เข้าห้อง ICU วันที่ 19 เมษายน 2555 วันที่ 20 เมษายน 2555 ย้ายออก พร้อมกับถอดเครื่องช่วยหายใจ
ทั้งๆที่ไม่ได้รับการยินยอมจากทางญาติหรือตัวคนไข้ ทางหมอหรือโรงพยาบาลสามารถทาได้หรือไม่ ? หากหมอบอกว่าประเมินแล้ว
ว่าคนไข้อาการดีขึ้น จึงย้ายออกจากห้อง ICU เหตุใดอาการคนไข้กับหนักขึ้น จนหมอขอให้ญาติเซ็นต์ชื่อเพื่อใส่เครื่องช่วยหายใจให้กับ
คนไข้ใหม่ในช่วงเช้าของวันที่ 21 เมษายน 2555 เป็นการประเมินผิดพลาดของหมอใช้หรือไม่ ? หมอเป็นหมอฝึกหัด หรือไม่มีความ
ชานาญในการรักษาหรือวินิจฉัยใช่หรือไม่ ?
ญาติขอนาศพกลับวันอาทิตย์ที่ 22 เมษายน 2555 หมอแจ้งว่าขอผ่าเพื่อดูว่าคนไข้เป็นอะไรกันแน่ ให้นาศพกลับไปทาพิธีทางศาสนา
ในวันจันทร์ที่ 23 เมษายน 2555 ช่วงเช้า ญาติก็อนุญาต เพราะก็สงสัยการเสียชีวิตเหมือนกัน หลังจากเคลียร์ทุกอย่างเรียบร้อย
พร้อมทั้งเซ็นใบที่หมอนามาแล้วบอกว่าเป็นใบอนุญาตในการผ่าศพ แล้วรวมถึงค่าใช้จ่ายส่วนเกินที่เจ้าหน้าที่แจ้งไว้ที่ต้องชาระ 1,728
บาท (ใช้สิทธิบัตรทอง) จึงเดินทางกลับต่างจังหวัดเพื่อเตรียมพิธีทางศาสนาต่อไป วันอาทิตย์ที่ 22 ช่วงเวลา 15.00 น. หมอทาง
โรงพยาบาลศิริราช โทรมาแจ้งว่าไม่ได้ให้ญาติเซ็นใบอนุญาตผ่าศพ จึงไม่สามารถผ่าศพได้ พร้อมกล่าวคาขอโทษ และขอให้ญาติขึ้นมา
จากต่างจังหวัดเพื่อเซน วันจันทร์ที่ 23 เมษายน 2555 วันนัดรับศพช่วงเช้า หมอโทรบอกตอนบ่าย 3 โมงเย็น วันอาทิตย์ที่ 22
เมษายน 2555 ญาติเลยยกเลิกการผ่า เพราะไม่มีเวลาแล้ว
หมายเหตุข้อสงสัย : วันที่คนไข้เสียชีวิต ทางเจ้าหน้าที่ได้เอาใบมาให้เซ็นในการผ่าศพ เหตุใดเจ้าหน้าที่จึงแจ้งว่าไม่ได้ให้เซ็น เกิดอะไร
ขึ้นกับขั้นตอน เอกสารต่างๆของโรงพยาบาล ความหน้าชื่อถือของโรงพยาบาลมีมากน้อยแค่ไหน ผ่านไปเกือบ 2 วัน แต่โรงพยาบาล
กับพึ่งมาแจ้งว่าไม่ได้ให้เซ็น จะให้ชื่อได้อย่างไร ทั้งๆที่ก่อนหน้าได้เซ็นไปให้แล้ว ทั้งๆที่ญาติอนุญาตในการผ่าศพเพื่อพิสูจน์การเสียชีวิต
เกิดอะไรขึ้นกับการตรวจสอบเอกสาร หากไม่ได้ให้เซ็นจริงๆ ก็น่าจะรู้ ณ นาทีนั้นแล้ว ว่าไม่ได้ให้เซ็น ทางโรงพยาบาลควรคานึงถึง
ความสาคัญเรื่องเอกสารให้มากกว่านี้ ว่ามีความสาคัญมากน้อยเพียงใด และการที่เจาะไขสันหลังที่หมออ้างว่า สามารถระบุโรคได้ว่า
เป็นอะไร ก่อนหน้าที่คนไขเสียชีวิตแค่วันเดียว หากเป็นดังที่หมอกล่าวอ้างว่าสามารถระบุโรคที่เป็นได้ ทาไม่ไม่ทาตั้งแต่ที่คนไขเข้ามา
รักษาตั้งแต่แรกๆ หากทาการตรวจไขสันหลังตามที่หมอกล่าวอ้างก็จะสามารถระบุโรคได้ไว และเริ่มการรักษาได้ทันถ่วงที ...
คนไข้ใช้เวลารักษา 4 เดือน กับอีก 8 วัน จากอาการเข้ารักษาเกี่ยวกับตาที่มองไม่ค่อยเห็นเนื่องด้วยเป็นต้อที่ตา เหมือนคนปกติทั่วไป
ตั้งแต่เริ่มต้นการรักษา ข้อมูลที่ญาติได้รับระยะเวลาในการรักษาที่ยาวนาน หมอกับไม่สามารถวินิจฉัยหรือระบุโรคได้ ต้องมาเสียชีวิต
แบบนี้ โดยที่ญาติไม่ทราบสาเหตุอันแท้จริง ต้นตอของโรคจริงๆ และระยะเวลารักษาที่ยาวนาน หมอแต่ละโรงพยาบาลกลับไม่สามารถ
ตรวจหาโรค และรักษาได้ทัน มันเกิดอะไรขึ้นกับขั้นตอนการประเมินและวินิจฉัยอาการคนไข้ ผลของการเจาะไขสันหลังออกหลังจากที่
คนไข้เสียชีวิตไปแล้ว 1 อาทิตย์ ระบุว่าคนไข้เป็นมะเร็งเม็ดเลือดขาว และมะเร็งปอด ระยะสุดท้าย ใบมรณะระบุว่าเป็นมะเร็งปอด
หมายเหตุข้อสงสัย : ก่อนหน้านั้นญาติไม่มีใครรู้เลยว่าคนไข้เป็นมะเร็ง พอคนไข้เสียแล้วจะระบุอาการเสียชีวิตอย่างไรก็ได้ใช่หรือไม่ จะ
ให้เชื่อได้อย่างไร ตลอดระยะเวลาการรักษาที่โรงพยาบาลศิริราช ใช้เวลา3 เดือน 21 วัน ไม่มีหมอคนไหนพูดถึงอาการของคนไข้ให้
ญาติฟังว่าเป็นมะเร็ง วันที่ไปฟังผลตรวจไขสันหลังหมอบอกว่าที่รับคนไข้ไว้ เพื่อดูอาการเท่านั้น ไม่มีทางรักษาให้หายได้ หมายถึงให้
คนไข้เป็นหนูทดลองยา ให้แพทย์ฝึกหัดไว้ศึกษาใช้หรือไม่ ? หลักจริยธรรมของหมอและโรงพยาบาลมีหรือไม่ ? ต่อให้คนไข้มี 1 % ใน
การรอด หน้าที่หมอคือทาหน้าที่ให้ดีที่สุดในการช่วยเหลือคนไข้ ทุกครั้งที่ถามหมอถึงอาการ คาตอบคือ ไม่มีหวัง ไม่รอด เหมือนกับ
ว่าหมอไม่ตั้งใจที่จะรักษาและวินิจฉัย แค่ดูอาการผู้ป่วยไปเลื่อยๆจนวินาทีสุดท้ายของชีวิตผู้ป่วย คนไข้เข้ามารักษาที่โรงพยาบาลศิริ
ราชตั้งแต่ วันอังคารที่ 31 มกราคม 2554 หมอบอกว่าไม่เป็นไรมากแค่มีปัญหาเรื่องถุงน้าดี ใช้เวลาไม่เกิด 1 อาทิตย์ก็รู้ผล แต่นอน
รักษาจนถึง วันพฤหัสบดีที่ 16 กุมภาพันธ์ 2555 ยังไม่ทราบว่าคนไข้เป็นอะไร ก่อนที่จะออกจากโรงพยาบาลศิริราช ทางญาติได้ร้อง
ขอให้คนไข้นอนโรงพยาบาลเพื่อดูอาการต่อ แต่หมอบอกว่าหายแล้ว ไม่เป็นไรมาก ให้กลับบ้านได้ ให้มาฟังผลอาทิตย์หน้า หนี้หรือ
แผ่นที่ 7
ที่ว่าหายแล้ว ไม่เป็นอะไรมาก ทาไมคนไข้หลังจากกลับไปบ้านแล้วอาการหนักกว่าเก่า และวันที่นัดตรวจหมอก็โทรมาเลื่อนนัดไป
ต่างประเทศ หมอห่วงการไปต่างประเทศมากกว่าอาการและชีวิตคนไข้ใช่หรือไม่ ? หมอพูดได้แค่เสียใจ และขอโทษเท่านั้นเองหรือ มัน
เกิดอะไรขึ้นกับขั้นตอนการรักษา การประเมินอาการคนไข้ หากแม่ผมเป็นคุณหญิง คุณนาย เป็นคนมีชื่อเสียง หมอคงเช้าถึงเย็นถึง
จัดโต๊ะแถลงข่าวทุกวัน แต่แม่ผมไม่มีเงิน ไม่มีชื่อเสียง เลยทาได้แค่รอและรอ ผมคิดว่าการที่จะเรียกใครว่าหมอสักคนนั้นหมายความว่า
เขามีความรู้ ความชานาญ และความสามารถในการรักษาและวินิจฉัยโรคได้ แต่กลับไม่ใช้อย่างนั้น หมอกลับไม่สามารถบอกอะไรกลับ
ญาติๆได้เลย พอคนไข้เสียชีวิตกับระบุว่าเป็นนูนเป็นนั้น แล้วจะให้ทางญาติๆเชื่อได้อย่างไร ตลอดหลังจากการเสียชีวิต ผมเดินทางไป
ที่โรงพยาบาลศิริราช ติดต่อหลายแผนกถามถึงอาการ และขั้นตอนการรักษา พร้อมกับการขอประวัติของคนไข้ก็ไม่สามารถทาได้
ทั้งๆที่ผมเป็นลูกกับทาอะไรไม่ได้เลย ทุกครั้งที่ผมสอบถามเจ้าหน้าที่ ก็จะบอกว่าทาดีที่สุด ทุกอย่างที่เกิดขึ้นเป็นไปตามขั้นตอนของ
โรค สิ่งที่บอกหรือชี้แจงไม่ใช่ว่าผมจะไม่เข้าใจ แต่การใช้เวลาในการวินิจฉัยของแต่ละโรคก็ควรมีข้อจากัดในเวลา เพื่อที่จะมีเวลาในการ
รักษาต้นตอของโรคต่อไป หากใช้เวลาในการวินิจฉัยนานเกินไป แล้วเวลาที่จะรักษาโรคอย่างแท้จริงก็จะเหลือน้อยลง โอกาสคนไข้นั้นก็
จะเหลือน้อยลง หรืออาจจะไม่มีเลย การที่หมอบอกว่าไม่สามารถวินิจฉัยโรคได้ เหมือนกับว่าไม่มีความรู้ความชานาญในการตรวจ
วินิจฉัยที่จะรักษาผู้ป่วยต่อไป
ผมอยากให้ผู้ที่มีอานาจในการตัดสินใจ ตรวจสอบขั้นตอนการรักษาและข้อเท็จจริงอื่นๆ ว่าถูกต้องหรือไม่ ระยะเวลาการตรวจ
วินิจฉัยโรคใช้เวลานานไปหรือไม่ ในเมื่อทางญาติสงสัยวิธีการรักษา และขั้นตอนต่างๆ ว่าถูกหรือผิด หน้าที่ของโรงพยาบาลก็ควรที่
จะชี้แจ้ง ผมเชื้อว่าต่างคนต่างมีเหตุผลของตัวเอง อยู่ที่ข้อสรุปของทุกฝ่ายว่าจะลงเอยที่จุดใด ทุกครั้งที่คุยกับหมอก็จะเอาหลักการ
ทางการแพทย์มาคุย แต่ผมเอาความเป็นจริงมาคุย ควรที่จะหาข้อสรุปตรงกลางถึงความเป็นไปได้ เพราะผมก็พอที่จะเข้าใจหลักการ
ต่างๆ ของหมอเช่นกัน ผมไม่ต้องการหาคนทาผิด แต่ต้องการหาความรับผิดชอบ และคาอธิบายต่างๆ ตลอดเกือบ 1 ปี ผมพยายาม
ถามถึง และหาคาตอบตลอด แต่ไม่มีใครออกมาชี้แจ้ง ถึงแม้ผมไม่รู้ว่าผลจะออกมาอย่างไง แต่มันก็เป็นหนทางเดียวเท่านั้น ที่สามารถ
จะอธิบายความเป็นจริงถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น และคงจะเป็นที่เดียวที่จะรับฟังในสิ่งที่ผมคิด....
ข้อร้องเรียนความเสียหาย
1.โรงพยาบาลทั้ง 3 แห่งใช้ระยะเวลาในการรักษาและวินิจฉัยโรคนานเกินที่จะเป็น ไม่ใส่ใจในการวินิจฉัยหาสาเหตุการเจ็บป่วย
หรือรักษาเท่าที่ควรจะเป็นตามหลักจริยธรรมในการประกอบวิชาชีพทางการแพทย์ การที่จะได้รับคาว่า...วิชาชีพ...นั้นหมายความว่า
ต้องมีความรู้และความชานาญ ความสามารถในการดูแลและรักษารวมไปถึงการวินิจฉัยโรคต่างๆ ได้เป็นอย่างดี แต่ทั้ง 3
โรงพยาบาลต่างไม่มีความรู้และความชานาญในการวินิจฉัย และรักษาผู้ป่วยเท่าที่ควร ใช้เวลาในการรักษาและวินิจฉัยโรคนานกว่า
ควรที่จะเป็น ในการประกอบวิชาชีพทางการแพทย์
2.ข้อโต้แย้งและคาชี้แจงของผู้ที่เสียหายกับไม่ได้รับความเป็นธรรมเท่าที่ควร โดยโรงพยาบาลและตัวแพทย์ต่างอ้างมาตรฐาน
การรักษาเป็นไปตามโรคของผู้ป่วย โดยไม่มีการค้นหา สอบถามผู้เสียหาย ถึงเหตุที่เกิดขึ้น โดยที่ผู้ป่วยไม่ได้รับข้อมูลในการรักษาหรือ
แผนการรักษาที่เป็นสิทธิพึ่งจะได้รับเท่าที่ควร
3.โรงพยาบาลรัฐจากัดสิทธิและเลือกปฏิบัติในการรักษาผู้ป่วยอันควรที่จะได้รับในฐานะผู้ป่วย ไม่ว่าเรื่องห้อง เรื่องยา เรื่อง
การรักษา โดยคานึงถึงปัจจัย ด้านการเงินมาก่อนชีวิตผู้ป่วยอย่างเห็นได้ชัด
(ตัวอย่าง) ห้องธรรมดา ห้องพิเศษ หากคนไข้จาเป็นต้องนอนรักษาตามคาวินิจฉัยของแพทย์แต่ไม่มีห้องธรรมดาซึ่งไม่เสีย
ค่าใช้จ่าย ก็ต้องรอห้อง จนกว่าจะมีห้องว่างจึงเริ่มรักษา หากเลือกห้องพิเศษต้องเสียเงินค่าห้อง ตามหลักจริยธรรม ไม่ว่าห้อง
ธรรมดาหรือพิเศษ ควรคานึงถึงชีวิตคนไข้เป็นเรื่องสาคัญ มากกว่าปัจจัยด้านการเงิน
(ตัวอย่าง) ยาในบัญชี ยานอกบัญชี ตามคาวินิจฉัยของแพทย์คนไข้มีความจาเป็นต้องใช้ยา ถึงจะเป็นยานอกบัญชี
หลักประกันสุขภาพแห่งชาติก็ตามทางโรงพยาบาลสามารถเบิกได้เช่นเดียวกัน แต่ความเป็นจริงคนไข้จะต้องเสียเงินค่ายานั้นเอง ตาม
หลักจริยธรรมไม่ว่ายาในหรือยานอกบัญชี หากคนไข้จาเป็นที่จะต้องใช้ในการรักษาตามคาวินิจฉัยของแพทย์ ก็พึ่งควรที่จะได้รับ โดย
ที่ไม่ต้องคานึงถึง ยาในบัญชีหรือยานอกบัญชี หรือปัจจัยด้านการเงิน
(ตัวอย่าง) การรักษา ความรับผิดชอบของแพทย์ต่อผู้ป่วย แพทย์นัดตรวจผู้ป่วย แต่เมื่อถึงวันนัดกลับเลื่อนนัดไป
ต่างประเทศ ทั้งๆที่คนไข้อาการหนัก มีความจาเป็นในการที่จะต้องได้รับการรักษาตรวจวินิจฉัยของแพทย์ โดยแพทย์ให้คาชี้แจงว่าถึง
คำฟ้องศาลปกครอง นายฤเดช
คำฟ้องศาลปกครอง นายฤเดช
คำฟ้องศาลปกครอง นายฤเดช
คำฟ้องศาลปกครอง นายฤเดช

More Related Content

What's hot

คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด กรณีสั่งทำลายไก่เพื่อป้องกันโรคระบาด แบบฟอร์มราชการจ...
คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด กรณีสั่งทำลายไก่เพื่อป้องกันโรคระบาด แบบฟอร์มราชการจ...คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด กรณีสั่งทำลายไก่เพื่อป้องกันโรคระบาด แบบฟอร์มราชการจ...
คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด กรณีสั่งทำลายไก่เพื่อป้องกันโรคระบาด แบบฟอร์มราชการจ...Parun Rutjanathamrong
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1คุณครูพี่อั๋น
 
คดีตัวอย่าง กรณ๊ทนายยื่นเกินเวลา
คดีตัวอย่าง กรณ๊ทนายยื่นเกินเวลาคดีตัวอย่าง กรณ๊ทนายยื่นเกินเวลา
คดีตัวอย่าง กรณ๊ทนายยื่นเกินเวลายัย จุ๊
 
กระดาษเส้น
กระดาษเส้นกระดาษเส้น
กระดาษเส้นTik Msr
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
กำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆกำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆLooktan Kp
 
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานMypoom Poom
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4wittawat_name
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21jinjuthabam
 
กำหนดการสัมมนา
กำหนดการสัมมนากำหนดการสัมมนา
กำหนดการสัมมนาsupranee wisetnun
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1KruKaiNui
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกพัน พัน
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวันกฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวันEyezz Alazy
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานPhongsak Kongkham
 
พุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารพุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารAnchalee BuddhaBucha
 
สมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรค
สมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรคสมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรค
สมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรคNinnin Ja
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยchatsawat265
 
รับรองเงินเดือน
รับรองเงินเดือนรับรองเงินเดือน
รับรองเงินเดือนamp_bcns
 

What's hot (20)

คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด กรณีสั่งทำลายไก่เพื่อป้องกันโรคระบาด แบบฟอร์มราชการจ...
คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด กรณีสั่งทำลายไก่เพื่อป้องกันโรคระบาด แบบฟอร์มราชการจ...คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด กรณีสั่งทำลายไก่เพื่อป้องกันโรคระบาด แบบฟอร์มราชการจ...
คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด กรณีสั่งทำลายไก่เพื่อป้องกันโรคระบาด แบบฟอร์มราชการจ...
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
 
คดีตัวอย่าง กรณ๊ทนายยื่นเกินเวลา
คดีตัวอย่าง กรณ๊ทนายยื่นเกินเวลาคดีตัวอย่าง กรณ๊ทนายยื่นเกินเวลา
คดีตัวอย่าง กรณ๊ทนายยื่นเกินเวลา
 
กระดาษเส้น
กระดาษเส้นกระดาษเส้น
กระดาษเส้น
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
กำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆกำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆ
 
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21
 
ปก
ปกปก
ปก
 
กำหนดการสัมมนา
กำหนดการสัมมนากำหนดการสัมมนา
กำหนดการสัมมนา
 
ใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือ
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวันกฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
 
พุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารพุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหาร
 
สมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรค
สมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรคสมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรค
สมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรค
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
 
รับรองเงินเดือน
รับรองเงินเดือนรับรองเงินเดือน
รับรองเงินเดือน
 

Viewers also liked

คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด แพทยสภาผู้ถูกฟ้องคดี
คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด แพทยสภาผู้ถูกฟ้องคดีคำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด แพทยสภาผู้ถูกฟ้องคดี
คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด แพทยสภาผู้ถูกฟ้องคดีปรียนันท์ ล้อเสริมวัฒนา
 
กฎหมายที่ต้องจัดทำนับจากวันประกาศใช้รัฐธรรมนูญปี59
กฎหมายที่ต้องจัดทำนับจากวันประกาศใช้รัฐธรรมนูญปี59กฎหมายที่ต้องจัดทำนับจากวันประกาศใช้รัฐธรรมนูญปี59
กฎหมายที่ต้องจัดทำนับจากวันประกาศใช้รัฐธรรมนูญปี59ปรียนันท์ ล้อเสริมวัฒนา
 
มติแพทยสภา คดีนางปรียนันท์ ล้อเสริมวัฒนา ร้องเรียนจริยธรรม แพทย์ของรพ.พญาไท 1
มติแพทยสภา คดีนางปรียนันท์ ล้อเสริมวัฒนา ร้องเรียนจริยธรรม แพทย์ของรพ.พญาไท 1มติแพทยสภา คดีนางปรียนันท์ ล้อเสริมวัฒนา ร้องเรียนจริยธรรม แพทย์ของรพ.พญาไท 1
มติแพทยสภา คดีนางปรียนันท์ ล้อเสริมวัฒนา ร้องเรียนจริยธรรม แพทย์ของรพ.พญาไท 1ปรียนันท์ ล้อเสริมวัฒนา
 
คำพิพากษาศาลชั้นต้น คดีคุณพรสรัญ ปริญญาวิภาค
คำพิพากษาศาลชั้นต้น คดีคุณพรสรัญ ปริญญาวิภาคคำพิพากษาศาลชั้นต้น คดีคุณพรสรัญ ปริญญาวิภาค
คำพิพากษาศาลชั้นต้น คดีคุณพรสรัญ ปริญญาวิภาคปรียนันท์ ล้อเสริมวัฒนา
 
คำพิพากษาศาลฎีกาคดีรพ.พญาไท 1 ฟ้องปรียนันท์เรียก 100 ล้าน 8ต.ค.56
คำพิพากษาศาลฎีกาคดีรพ.พญาไท 1 ฟ้องปรียนันท์เรียก 100 ล้าน 8ต.ค.56คำพิพากษาศาลฎีกาคดีรพ.พญาไท 1 ฟ้องปรียนันท์เรียก 100 ล้าน 8ต.ค.56
คำพิพากษาศาลฎีกาคดีรพ.พญาไท 1 ฟ้องปรียนันท์เรียก 100 ล้าน 8ต.ค.56ปรียนันท์ ล้อเสริมวัฒนา
 
กรณีตัวอย่างพฤติกรรมข้าราชการที่ประพฤติ
กรณีตัวอย่างพฤติกรรมข้าราชการที่ประพฤติกรณีตัวอย่างพฤติกรรมข้าราชการที่ประพฤติ
กรณีตัวอย่างพฤติกรรมข้าราชการที่ประพฤติHadeszminkung
 
คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุดกรณีมาตรา 12
คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุดกรณีมาตรา 12 คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุดกรณีมาตรา 12
คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุดกรณีมาตรา 12 Pairat Dam
 
คำพิพากษาคดีนายเบนต์ วรรณสีทอง รพ.กรุงเทพพัทยา
คำพิพากษาคดีนายเบนต์  วรรณสีทอง รพ.กรุงเทพพัทยาคำพิพากษาคดีนายเบนต์  วรรณสีทอง รพ.กรุงเทพพัทยา
คำพิพากษาคดีนายเบนต์ วรรณสีทอง รพ.กรุงเทพพัทยาปรียนันท์ ล้อเสริมวัฒนา
 
คำพิพากษาศาลฎีกา คดีอาญา-หมอฉีดยาคนไข้ขาลีบ-ปราจีนบุรี
คำพิพากษาศาลฎีกา คดีอาญา-หมอฉีดยาคนไข้ขาลีบ-ปราจีนบุรีคำพิพากษาศาลฎีกา คดีอาญา-หมอฉีดยาคนไข้ขาลีบ-ปราจีนบุรี
คำพิพากษาศาลฎีกา คดีอาญา-หมอฉีดยาคนไข้ขาลีบ-ปราจีนบุรีปรียนันท์ ล้อเสริมวัฒนา
 
ร่างพระราชบัญญัติกองทุนคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการบริการสาธารณสุข พ.ศ. ......
ร่างพระราชบัญญัติกองทุนคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการบริการสาธารณสุข พ.ศ. ......ร่างพระราชบัญญัติกองทุนคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการบริการสาธารณสุข พ.ศ. ......
ร่างพระราชบัญญัติกองทุนคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการบริการสาธารณสุข พ.ศ. ......ปรียนันท์ ล้อเสริมวัฒนา
 

Viewers also liked (20)

คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด แพทยสภาผู้ถูกฟ้องคดี
คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด แพทยสภาผู้ถูกฟ้องคดีคำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด แพทยสภาผู้ถูกฟ้องคดี
คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด แพทยสภาผู้ถูกฟ้องคดี
 
คำพิพากษาศาลฎีกาคดีศัลยกรรม-คนไข้ชนะ
คำพิพากษาศาลฎีกาคดีศัลยกรรม-คนไข้ชนะคำพิพากษาศาลฎีกาคดีศัลยกรรม-คนไข้ชนะ
คำพิพากษาศาลฎีกาคดีศัลยกรรม-คนไข้ชนะ
 
คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด วรรณวิไล+แพทยสภา
คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด วรรณวิไล+แพทยสภาคำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด วรรณวิไล+แพทยสภา
คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด วรรณวิไล+แพทยสภา
 
คำฟ้องคดีแพ่ง ผ่าไส้ติ่งรพ.ร่อนพิบูลย์
คำฟ้องคดีแพ่ง ผ่าไส้ติ่งรพ.ร่อนพิบูลย์คำฟ้องคดีแพ่ง ผ่าไส้ติ่งรพ.ร่อนพิบูลย์
คำฟ้องคดีแพ่ง ผ่าไส้ติ่งรพ.ร่อนพิบูลย์
 
คำพิพากษาศาลฎีกา(แพ่ง)คดีร่อนพิบูลย์ 11พ.ค.59
คำพิพากษาศาลฎีกา(แพ่ง)คดีร่อนพิบูลย์ 11พ.ค.59คำพิพากษาศาลฎีกา(แพ่ง)คดีร่อนพิบูลย์ 11พ.ค.59
คำพิพากษาศาลฎีกา(แพ่ง)คดีร่อนพิบูลย์ 11พ.ค.59
 
คำฟ้องแพทยสภา-ฟ้องปรียนันท์
คำฟ้องแพทยสภา-ฟ้องปรียนันท์คำฟ้องแพทยสภา-ฟ้องปรียนันท์
คำฟ้องแพทยสภา-ฟ้องปรียนันท์
 
กฎหมายที่ต้องจัดทำนับจากวันประกาศใช้รัฐธรรมนูญปี59
กฎหมายที่ต้องจัดทำนับจากวันประกาศใช้รัฐธรรมนูญปี59กฎหมายที่ต้องจัดทำนับจากวันประกาศใช้รัฐธรรมนูญปี59
กฎหมายที่ต้องจัดทำนับจากวันประกาศใช้รัฐธรรมนูญปี59
 
คำร้องขอแก้ไขเพิ่มเติมฟ้อง
คำร้องขอแก้ไขเพิ่มเติมฟ้องคำร้องขอแก้ไขเพิ่มเติมฟ้อง
คำร้องขอแก้ไขเพิ่มเติมฟ้อง
 
มติแพทยสภา คดีนางปรียนันท์ ล้อเสริมวัฒนา ร้องเรียนจริยธรรม แพทย์ของรพ.พญาไท 1
มติแพทยสภา คดีนางปรียนันท์ ล้อเสริมวัฒนา ร้องเรียนจริยธรรม แพทย์ของรพ.พญาไท 1มติแพทยสภา คดีนางปรียนันท์ ล้อเสริมวัฒนา ร้องเรียนจริยธรรม แพทย์ของรพ.พญาไท 1
มติแพทยสภา คดีนางปรียนันท์ ล้อเสริมวัฒนา ร้องเรียนจริยธรรม แพทย์ของรพ.พญาไท 1
 
คำพิพากษาศาลชั้นต้น คดีคุณพรสรัญ ปริญญาวิภาค
คำพิพากษาศาลชั้นต้น คดีคุณพรสรัญ ปริญญาวิภาคคำพิพากษาศาลชั้นต้น คดีคุณพรสรัญ ปริญญาวิภาค
คำพิพากษาศาลชั้นต้น คดีคุณพรสรัญ ปริญญาวิภาค
 
คำพิพากษาคดีอาญา ผ่าไส้ติ่งรพ.ร่อนพิบูลย์
คำพิพากษาคดีอาญา ผ่าไส้ติ่งรพ.ร่อนพิบูลย์คำพิพากษาคดีอาญา ผ่าไส้ติ่งรพ.ร่อนพิบูลย์
คำพิพากษาคดีอาญา ผ่าไส้ติ่งรพ.ร่อนพิบูลย์
 
คำพิพากษาศาลฎีกาคดีรพ.พญาไท 1 ฟ้องปรียนันท์เรียก 100 ล้าน 8ต.ค.56
คำพิพากษาศาลฎีกาคดีรพ.พญาไท 1 ฟ้องปรียนันท์เรียก 100 ล้าน 8ต.ค.56คำพิพากษาศาลฎีกาคดีรพ.พญาไท 1 ฟ้องปรียนันท์เรียก 100 ล้าน 8ต.ค.56
คำพิพากษาศาลฎีกาคดีรพ.พญาไท 1 ฟ้องปรียนันท์เรียก 100 ล้าน 8ต.ค.56
 
สำนวนคดีผ่าไส้ติ่งร่อนพิบูลย์ (คดีอาญา)
สำนวนคดีผ่าไส้ติ่งร่อนพิบูลย์ (คดีอาญา)สำนวนคดีผ่าไส้ติ่งร่อนพิบูลย์ (คดีอาญา)
สำนวนคดีผ่าไส้ติ่งร่อนพิบูลย์ (คดีอาญา)
 
กรณีตัวอย่างพฤติกรรมข้าราชการที่ประพฤติ
กรณีตัวอย่างพฤติกรรมข้าราชการที่ประพฤติกรณีตัวอย่างพฤติกรรมข้าราชการที่ประพฤติ
กรณีตัวอย่างพฤติกรรมข้าราชการที่ประพฤติ
 
คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุดกรณีมาตรา 12
คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุดกรณีมาตรา 12 คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุดกรณีมาตรา 12
คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุดกรณีมาตรา 12
 
คำพิพากษาคดีนายเบนต์ วรรณสีทอง รพ.กรุงเทพพัทยา
คำพิพากษาคดีนายเบนต์  วรรณสีทอง รพ.กรุงเทพพัทยาคำพิพากษาคดีนายเบนต์  วรรณสีทอง รพ.กรุงเทพพัทยา
คำพิพากษาคดีนายเบนต์ วรรณสีทอง รพ.กรุงเทพพัทยา
 
คำพิพากษาศาลฎีกา คดีเด็กหญิงธัญยพร เสริมแสง
คำพิพากษาศาลฎีกา คดีเด็กหญิงธัญยพร เสริมแสงคำพิพากษาศาลฎีกา คดีเด็กหญิงธัญยพร เสริมแสง
คำพิพากษาศาลฎีกา คดีเด็กหญิงธัญยพร เสริมแสง
 
คำพิพากษาศาลฎีกา คดีอาญา-หมอฉีดยาคนไข้ขาลีบ-ปราจีนบุรี
คำพิพากษาศาลฎีกา คดีอาญา-หมอฉีดยาคนไข้ขาลีบ-ปราจีนบุรีคำพิพากษาศาลฎีกา คดีอาญา-หมอฉีดยาคนไข้ขาลีบ-ปราจีนบุรี
คำพิพากษาศาลฎีกา คดีอาญา-หมอฉีดยาคนไข้ขาลีบ-ปราจีนบุรี
 
ร่างพระราชบัญญัติกองทุนคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการบริการสาธารณสุข พ.ศ. ......
ร่างพระราชบัญญัติกองทุนคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการบริการสาธารณสุข พ.ศ. ......ร่างพระราชบัญญัติกองทุนคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการบริการสาธารณสุข พ.ศ. ......
ร่างพระราชบัญญัติกองทุนคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการบริการสาธารณสุข พ.ศ. ......
 
ร่างพรบ.คุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบฯ ฉบับสธ.
ร่างพรบ.คุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบฯ ฉบับสธ.ร่างพรบ.คุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบฯ ฉบับสธ.
ร่างพรบ.คุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบฯ ฉบับสธ.
 

More from ปรียนันท์ ล้อเสริมวัฒนา

คำพิพากษาศาลอุทธรณ์ภาค ๑ คดีแพทยสภา&นางปรียนันท์ฯ
คำพิพากษาศาลอุทธรณ์ภาค ๑ คดีแพทยสภา&นางปรียนันท์ฯคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ภาค ๑ คดีแพทยสภา&นางปรียนันท์ฯ
คำพิพากษาศาลอุทธรณ์ภาค ๑ คดีแพทยสภา&นางปรียนันท์ฯปรียนันท์ ล้อเสริมวัฒนา
 
คำพิพากษาศาลอุทธรณ์คดีดญ.เจนจิรา-กระทรวงสาธารณสุข
คำพิพากษาศาลอุทธรณ์คดีดญ.เจนจิรา-กระทรวงสาธารณสุขคำพิพากษาศาลอุทธรณ์คดีดญ.เจนจิรา-กระทรวงสาธารณสุข
คำพิพากษาศาลอุทธรณ์คดีดญ.เจนจิรา-กระทรวงสาธารณสุขปรียนันท์ ล้อเสริมวัฒนา
 
คำพิพากษาศาลปกครองกลาง ครูประเสริฐ&สปสช+สินแพทย์
คำพิพากษาศาลปกครองกลาง ครูประเสริฐ&สปสช+สินแพทย์คำพิพากษาศาลปกครองกลาง ครูประเสริฐ&สปสช+สินแพทย์
คำพิพากษาศาลปกครองกลาง ครูประเสริฐ&สปสช+สินแพทย์ปรียนันท์ ล้อเสริมวัฒนา
 
คำพิพากษาศาลชั้นต้น-คดีรพ.ธนบุรี&นางสำรวย โสภจารีย์
คำพิพากษาศาลชั้นต้น-คดีรพ.ธนบุรี&นางสำรวย โสภจารีย์คำพิพากษาศาลชั้นต้น-คดีรพ.ธนบุรี&นางสำรวย โสภจารีย์
คำพิพากษาศาลชั้นต้น-คดีรพ.ธนบุรี&นางสำรวย โสภจารีย์ปรียนันท์ ล้อเสริมวัฒนา
 
คำพิพากษาศาลฎีกา คดีดญ.มาริสา ทินนึง-กระทรวงสาธารณสุข
คำพิพากษาศาลฎีกา คดีดญ.มาริสา ทินนึง-กระทรวงสาธารณสุขคำพิพากษาศาลฎีกา คดีดญ.มาริสา ทินนึง-กระทรวงสาธารณสุข
คำพิพากษาศาลฎีกา คดีดญ.มาริสา ทินนึง-กระทรวงสาธารณสุขปรียนันท์ ล้อเสริมวัฒนา
 
ระบบชดเชยความเสียหายโดยไม่พิสูจน์ความผิดในประเทศสหรัฐอเมริกา
ระบบชดเชยความเสียหายโดยไม่พิสูจน์ความผิดในประเทศสหรัฐอเมริกา ระบบชดเชยความเสียหายโดยไม่พิสูจน์ความผิดในประเทศสหรัฐอเมริกา
ระบบชดเชยความเสียหายโดยไม่พิสูจน์ความผิดในประเทศสหรัฐอเมริกา ปรียนันท์ ล้อเสริมวัฒนา
 
ตารางปรียบเทียบร่างพรบ.ฉบับเดิมกับฉบับสธ.(ปรับปรุง)
ตารางปรียบเทียบร่างพรบ.ฉบับเดิมกับฉบับสธ.(ปรับปรุง)ตารางปรียบเทียบร่างพรบ.ฉบับเดิมกับฉบับสธ.(ปรับปรุง)
ตารางปรียบเทียบร่างพรบ.ฉบับเดิมกับฉบับสธ.(ปรับปรุง)ปรียนันท์ ล้อเสริมวัฒนา
 
การชดเชยความเสียหายจากบริการสาธารณสุข โดยไม่พิสูจน์ความผิดในประเทศฝรั่งเศส
การชดเชยความเสียหายจากบริการสาธารณสุข โดยไม่พิสูจน์ความผิดในประเทศฝรั่งเศสการชดเชยความเสียหายจากบริการสาธารณสุข โดยไม่พิสูจน์ความผิดในประเทศฝรั่งเศส
การชดเชยความเสียหายจากบริการสาธารณสุข โดยไม่พิสูจน์ความผิดในประเทศฝรั่งเศสปรียนันท์ ล้อเสริมวัฒนา
 
คำแถลงของแพทยสมาคมโลกว่าด้วยการปฏิรูปความรับผิดทางกฎหมายของแพทย์
คำแถลงของแพทยสมาคมโลกว่าด้วยการปฏิรูปความรับผิดทางกฎหมายของแพทย์คำแถลงของแพทยสมาคมโลกว่าด้วยการปฏิรูปความรับผิดทางกฎหมายของแพทย์
คำแถลงของแพทยสมาคมโลกว่าด้วยการปฏิรูปความรับผิดทางกฎหมายของแพทย์ปรียนันท์ ล้อเสริมวัฒนา
 
ประสบการณ์การชดเชยความเสียหายให้คนไข้ใน 6 ประเทศ
ประสบการณ์การชดเชยความเสียหายให้คนไข้ใน 6 ประเทศประสบการณ์การชดเชยความเสียหายให้คนไข้ใน 6 ประเทศ
ประสบการณ์การชดเชยความเสียหายให้คนไข้ใน 6 ประเทศปรียนันท์ ล้อเสริมวัฒนา
 

More from ปรียนันท์ ล้อเสริมวัฒนา (20)

คำพิพากษาศาลอุทธรณ์ภาค ๑ คดีแพทยสภา&นางปรียนันท์ฯ
คำพิพากษาศาลอุทธรณ์ภาค ๑ คดีแพทยสภา&นางปรียนันท์ฯคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ภาค ๑ คดีแพทยสภา&นางปรียนันท์ฯ
คำพิพากษาศาลอุทธรณ์ภาค ๑ คดีแพทยสภา&นางปรียนันท์ฯ
 
คำพิพากษาคดีฟ้องดร.อานนท์ฯ
คำพิพากษาคดีฟ้องดร.อานนท์ฯคำพิพากษาคดีฟ้องดร.อานนท์ฯ
คำพิพากษาคดีฟ้องดร.อานนท์ฯ
 
คำพิพากษาศาลอุทธรณ์คดีดญ.เจนจิรา-กระทรวงสาธารณสุข
คำพิพากษาศาลอุทธรณ์คดีดญ.เจนจิรา-กระทรวงสาธารณสุขคำพิพากษาศาลอุทธรณ์คดีดญ.เจนจิรา-กระทรวงสาธารณสุข
คำพิพากษาศาลอุทธรณ์คดีดญ.เจนจิรา-กระทรวงสาธารณสุข
 
กฎหมายเกี่ยวกับการใช้ Social Media
กฎหมายเกี่ยวกับการใช้ Social Mediaกฎหมายเกี่ยวกับการใช้ Social Media
กฎหมายเกี่ยวกับการใช้ Social Media
 
คำพิพากษาศาลปกครองกลาง ครูประเสริฐ&สปสช+สินแพทย์
คำพิพากษาศาลปกครองกลาง ครูประเสริฐ&สปสช+สินแพทย์คำพิพากษาศาลปกครองกลาง ครูประเสริฐ&สปสช+สินแพทย์
คำพิพากษาศาลปกครองกลาง ครูประเสริฐ&สปสช+สินแพทย์
 
คำพิพากษาศาลชั้นต้น-คดีรพ.ธนบุรี&นางสำรวย โสภจารีย์
คำพิพากษาศาลชั้นต้น-คดีรพ.ธนบุรี&นางสำรวย โสภจารีย์คำพิพากษาศาลชั้นต้น-คดีรพ.ธนบุรี&นางสำรวย โสภจารีย์
คำพิพากษาศาลชั้นต้น-คดีรพ.ธนบุรี&นางสำรวย โสภจารีย์
 
สำนวนคดีน้องหมิว
สำนวนคดีน้องหมิว สำนวนคดีน้องหมิว
สำนวนคดีน้องหมิว
 
คำพิพากษาศาลฎีกา คดีดญ.มาริสา ทินนึง-กระทรวงสาธารณสุข
คำพิพากษาศาลฎีกา คดีดญ.มาริสา ทินนึง-กระทรวงสาธารณสุขคำพิพากษาศาลฎีกา คดีดญ.มาริสา ทินนึง-กระทรวงสาธารณสุข
คำพิพากษาศาลฎีกา คดีดญ.มาริสา ทินนึง-กระทรวงสาธารณสุข
 
ระบบชดเชยความเสียหายโดยไม่พิสูจน์ความผิดในประเทศสหรัฐอเมริกา
ระบบชดเชยความเสียหายโดยไม่พิสูจน์ความผิดในประเทศสหรัฐอเมริกา ระบบชดเชยความเสียหายโดยไม่พิสูจน์ความผิดในประเทศสหรัฐอเมริกา
ระบบชดเชยความเสียหายโดยไม่พิสูจน์ความผิดในประเทศสหรัฐอเมริกา
 
Powerpoint ประชาพิจารณ์ของกระทรวงสธ.
Powerpoint ประชาพิจารณ์ของกระทรวงสธ.Powerpoint ประชาพิจารณ์ของกระทรวงสธ.
Powerpoint ประชาพิจารณ์ของกระทรวงสธ.
 
ตารางปรียบเทียบร่างพรบ.ฉบับเดิมกับฉบับสธ.(ปรับปรุง)
ตารางปรียบเทียบร่างพรบ.ฉบับเดิมกับฉบับสธ.(ปรับปรุง)ตารางปรียบเทียบร่างพรบ.ฉบับเดิมกับฉบับสธ.(ปรับปรุง)
ตารางปรียบเทียบร่างพรบ.ฉบับเดิมกับฉบับสธ.(ปรับปรุง)
 
การชดเชยความเสียหายจากบริการสาธารณสุข โดยไม่พิสูจน์ความผิดในประเทศฝรั่งเศส
การชดเชยความเสียหายจากบริการสาธารณสุข โดยไม่พิสูจน์ความผิดในประเทศฝรั่งเศสการชดเชยความเสียหายจากบริการสาธารณสุข โดยไม่พิสูจน์ความผิดในประเทศฝรั่งเศส
การชดเชยความเสียหายจากบริการสาธารณสุข โดยไม่พิสูจน์ความผิดในประเทศฝรั่งเศส
 
คำแถลงของแพทยสมาคมโลกว่าด้วยการปฏิรูปความรับผิดทางกฎหมายของแพทย์
คำแถลงของแพทยสมาคมโลกว่าด้วยการปฏิรูปความรับผิดทางกฎหมายของแพทย์คำแถลงของแพทยสมาคมโลกว่าด้วยการปฏิรูปความรับผิดทางกฎหมายของแพทย์
คำแถลงของแพทยสมาคมโลกว่าด้วยการปฏิรูปความรับผิดทางกฎหมายของแพทย์
 
ประสบการณ์การชดเชยความเสียหายให้คนไข้ใน 6 ประเทศ
ประสบการณ์การชดเชยความเสียหายให้คนไข้ใน 6 ประเทศประสบการณ์การชดเชยความเสียหายให้คนไข้ใน 6 ประเทศ
ประสบการณ์การชดเชยความเสียหายให้คนไข้ใน 6 ประเทศ
 
การชดเชยความเสียหายในประเทศญี่ปุ่น
การชดเชยความเสียหายในประเทศญี่ปุ่นการชดเชยความเสียหายในประเทศญี่ปุ่น
การชดเชยความเสียหายในประเทศญี่ปุ่น
 
คำพิพากษาศาลฎีกาคดีฟ้องแพทยสภาทั้งคณะ
คำพิพากษาศาลฎีกาคดีฟ้องแพทยสภาทั้งคณะคำพิพากษาศาลฎีกาคดีฟ้องแพทยสภาทั้งคณะ
คำพิพากษาศาลฎีกาคดีฟ้องแพทยสภาทั้งคณะ
 
คำพิพากษาศาลภูเก็ตคดีHiv
คำพิพากษาศาลภูเก็ตคดีHivคำพิพากษาศาลภูเก็ตคดีHiv
คำพิพากษาศาลภูเก็ตคดีHiv
 
แพทยสภาต่างประเทศ
แพทยสภาต่างประเทศ แพทยสภาต่างประเทศ
แพทยสภาต่างประเทศ
 
โครงการ 112 ภาคประชาชน
โครงการ 112 ภาคประชาชนโครงการ 112 ภาคประชาชน
โครงการ 112 ภาคประชาชน
 
คดีจังหวัดตากอุทธรณ์ยืนคนไข้ชนะคดี
คดีจังหวัดตากอุทธรณ์ยืนคนไข้ชนะคดีคดีจังหวัดตากอุทธรณ์ยืนคนไข้ชนะคดี
คดีจังหวัดตากอุทธรณ์ยืนคนไข้ชนะคดี
 

คำฟ้องศาลปกครอง นายฤเดช

  • 1. คดีหมายเลขดาที่ 871/2556 ศาลปกครองชั้นต้น วันพุธที่ 29 เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2556 ข้าพเจ้า นายฤเดช พุทธเจริญ เกิดวันที่ 24 เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2525 อายุ 31 ปี อาชีพ รับจ้าง ภูมิลาเนา เลขที่ 10 หมู่ 10 ตาบลศรีสาราญ อาเภอสองพี่น้อง จังหวัดสุพรรณบุรี รหัสไปรษณีย์ 72110 โทรศัพท์ 083-294-3622 สถานที่ติดต่อ เลขที่ 323/14 หมู่ 1 หมู่บ้านสวนทราย ซอยบางละมุง 39 ตาบลบางละมุง อาเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี รหัสไปรษณีย์ 20150 โทรศัพท์ 038-234-327 083-294-3622 087-806-7633 มีความประสงค์ขอฟ้อง 1.สานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ไม่ประสงค์ฟ้องสานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 13 กรุงเทพมหานคร เลขที่ 120 หมู่ 3 ชั้น 2-4 อาคารรวมหน่วยงานราชการ ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติฯ ถนนแจ้งวัฒนะ แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลัก สี่ กรุงเทพมหานคร รหัสไปรษณีย์ 10210 โทรศัพท์ 02-141-4000 2.โรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์ (นครปฐม) เลขที่ 52 หมู่ 2 ตาบลไร่ขิง อาเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม 73210 3.โรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราชองที่ 17 (สุพรรณบุรี) เลขที่ 165 ถนนบางลี่-หนองวัลย์เปรียง ตาบลสองพี่น้อง อาเภอสองพี่น้อง จังหวัดสุพรรณบุรี 72110 4.โรงพยาบาลศิริราช (พรานนก กทม.) เลขที่ 2 ถ.พรานนก แขวงศิริราช เขตบางกอกน้อย กรุงเทพฯ 10700 5.คณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสุข เลขที่ 120 หมู่ 3 ชั้น 2-4 อาคารรวมหน่วยงานราชการ ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติฯ ถนนแจ้งวัฒนะ แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลัก สี่ กรุงเทพมหานคร รหัสไปรษณีย์ 10210 โทรศัพท์ 02-141-4000 รายละเอียดของการกระทา ข้อเท็จจริง หรือพฤติการณ์ เกี่ยวกับการกระทาที่เป็นเหตุให้เกิดความเดือดร้อนเสียหายที่ พอเข้าใจได้ คาฟ้อง
  • 2. แผ่นที่ 1 ข้าพเจ้าเป็นบุตรโดยชอบธรรมตามกฎหมายของนางสาวเกสร พุ่มมั่น อายุ 67 ปี เลขบัตรประจาตัวประชาชน 5-7207- 00079-12-7 อยู่บ้านเลขที่ 10 หมู่ 10 ต.ศรีสาราญ อ.สองพี่น้อง จ. สุพรรณบุรี เดินทางไปหาหมอด้วยอาการตามองไม่ค่อยเห็น คิดว่าเป็นต้อกระจกที่ตา ทั้งตาซ้ายและตาขวา เข้ารักษาที่โรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 17 จ.สุพรรณบุรี เมื่อวันอังคารที่ 13 ธันวาคม 2554 ทางโรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 17 จ.สุพรรณบุรี ได้ทาการส่งตัวไปรักษาตาต่อที่โรงพยาบาล เมตตาประชารักษ์ จ.นครปฐม เมื่อวันอังคารที่ 13 ธันวาคม 2554 ทางโรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์ จ.นครปฐม ได้ทาการ ตรวจรักษาและหยอดยาที่ตาเพื่อทาการรักษาผ่าตัดตาต่อไป แต่ช่วงที่รักษาพบอาการติดเชื้อที่ตา จึงส่งตัวคนไข้ไปนอนห้องปลอดเชื้อ โรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์ จ.นครปฐม ไม่มีมาตรฐานในการรักษา ปล่อยให้มีเชื้อที่เป็นอันตรายเข้าสู่คนไข้ และไม่สามารถรักษา หรือเยียวยาให้หายขาดได้ เป็นต้นเหตุอาการป่วยของผู้เสียหาย จนนาไปสู้การรักษาที่ยาวนาน และรักษาต่อเนื่องกับโรงพยาบาล อื่นๆ จนผู้เสียหายถึงแก่ชีวิตในเวลาต่อมา ผู้เสียหายนอนรักษาอยู่ที่โรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์นานอยู่หลายวัน ไม่สามารถรักษา อาการติดเชื้อที่เกิดขึ้นให้หายได้ หลังจากนั้นอาการก็ยังไม่ดีขึ้นมีไข้ตลอด จึงได้ส่งตัวกลับมารักษาต่อที่โรงพยาบาลสมเด็จ พระสังฆราชองค์ที่ 17 จ.สุพรรณบุรี เมื่อประมาณวันที่ 19 ธันวาคม 2554 หมายเหตุข้อสงสัย : เหตุใดคนไข้ถึงติดเชื้อที่ตาได้ ขั้นตอนการรักษาและหลักอนามัยโรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์ (นครปฐม) ไม่ เป็นไปตามกฎของกระทรวงสาธารณสุขเชื้อที่ติดมาจากโรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์ (นครปฐม) ทางโรงพยาบาลควรจะรับผิดชอบ เพราะเป็นต้นเหตุให้ผู้เสียหายต้องใช้เวลายาวนานในการรักษา หมอโรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 17 จ.สุพรรณบุรี ได้ทาการตรวจรักษาตามอาการเลื่อยมา ทั้งเอ็กซเรย์ ให้ยาฆ่า เชื้อ และอื่นๆ แต่อาการก็เป็นๆหายๆ แต่ก็ยังหาสาเหตุอาการป่วยไม่เจอ หมอได้ทาการฉีดสีเพื่อสแกนหาสาเหตุอาการป่วย เมื่อผล ออกมา หมอแจ้งว่าพบก้อนเนื้อในช่องท้อง แต่ไม่สามารถระบุได้ว่าเป็นก้อนเนื้อชนิดไหน ดีหรือร้าย ดังนั้นทางญาติให้ทาง โรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 17 ติดต่อหาโรงพยาบาลในกรุงเทพ ที่สามารถดูแลคนไข้และวินิจฉัยโรคได้ เพื่อส่งตัวรักษา ต่อไป ใช้เวลาประมาณเกือบ 2 อาทิตย์ แต่ก็ยังไม่สามารถหาโรงพยาบาลในกรุงเทพได้ เนื่องจากแต่ละโรงพยาบาลที่ติดต่อไม่มีเตียง ว่าง เพื่อรับคนไข้มารักษา หาจนถึงวันอังคารที่ 10 มกราคม 2555 แต่ก็ยังไม่ได้เตียง ช่วงนั้นอาการคนไข้ดีขึ้น ไม่มีไข้ และยาฆ่าเชื้อ ก็หยุดการให้พอดี ทางโรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 17 แจ้งว่าให้กลับบ้านได้โดยจะทาใบส่งตัวให้ และให้ญาติพาคนไข้ไป โรงพยาบาลที่ระบุในใบส่งตัวเอง โดยทางโรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 17 ให้ชื่อโรงพยาบาลในกรุงเทพมา โดยให้ญาติเลือก โรงพยาบาลที่จะพาคนไข้ไปรักษาเอง ทั้งๆที่ก่อนหน้านั้นทางโรงพยาบาลบอกว่าจะทาการส่งตัวคนไข้ไปเองโดยทางรถของ โรงพยาบาล แต่กลับโยนความรับผิดชอบให้ทางญาติในการส่งตัวคนไข้ จากการประเมินว่าอาการคนไข้ดีขึ้นให้กลับบ้านได้ แต่พอ กลับไปอาการผู้ป่วยก็เป็นเหมือนเดิม เหมือนที่นอนที่โรงพยาบาล นี้หรืออาการที่ดีขึ้น กลับบ้านได้ เกิดอะไรขึ้นกับการวินิจฉัยของ หมอ และญาติก็ได้ย้ายคนไข้มารักษาต่อที่โรงพยาบาลศิริราช คิดว่าน่าจะมีผู้ที่เชี่ยวชาญในการตรวจรักษาต่อไปกับอาการของผู้ป่วย โดยได้พาคนไข้มาเมื่อวันอังคารที่ 24 มกราคม 2555 มาถึงตอนเช้าตรู่ โดยได้ทาบัตรผู้ป่วยและยื่นตรวจสิทธิการรักษา (ใช้สิทธิบัตร ทอง) เสร็จประมาณ 10.30 น. เนื่องจากที่เสร็จช้าเพราะใบส่งตัวระบุชื่อโรงพยาบาลผิด และได้มีการขีดฆ่า โดยไม่มีการเซ็นชื่อกากับ เลยต้องใช้เวลาในการตรวจสอบสิทธิกับทางโรงพยาบาลต้นสังกัด พอทางโรงพยาบาลศิริราช ที่เลือกไว้ตรวจสอบเสร็จได้ให้ขึ้นไปพบ หมอ พอขึ้นไปเจ้าหน้าที่หน้าห้องแจ้งว่าหมดเวลาตรวจ เนื่องจากขึ้นมาช้า โดยนัดวันตรวจใหม่เป็นวันอังคารที่ 31 มกราคม 2555 ตอนนั้นรู้สึกโกรธมาก พยายามถามเหตุผล และติดต่อหลายฝ่าย หลายแผนก โดยชี้แจงเหตุผลที่ขึ้นมาช้า เพื่อที่จะให้ผู้ป่วยได้ทาการ ตรวจ เพราะเดินทางไกลมาแต่เช้า แต่ก็ไม่เป็นผลสาเร็จ เพราะแต่ละแผนกโยนความผิดไปมา ไม่มีแผนกไหนแสดงความรับผิดชอบ ดังนั้นจึงเดินทางกลับต่างจังหวัดด้วยความผิดหวัง พอถึงวันนัดมาพบหมอ วันอังคารที่ 31 มกราคม 2555 คนไข้ไปพบแต่เช้า หมอที่ตรวจแจ้งว่าต้องให้คนไข้นอนรักษาที่โรงพยาบาลศิริราชประมาณ 1 อาทิตย์ เพื่อดูอาการ ก็น่าจะทราบผลว่าเป็นอะไร หมอแจ้ง ว่าจากที่ดูฟิล์มเอ็กซเรย์ของทางโรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 17 จ.สุพรรณบุรี อาจมีปัญหาที่ถุงน้าดี จึงใช้เวลานอนที่ โรงพยาบาลศิริราชเพื่อทาการตรวจรักษาต่อไป หมายเหตุข้อสงสัย : หมอแจ้งว่าไม่มีเตียงธรรมดา มีแต่เตียงพิเศษ ที่ต้องเสียค่าเตียง หากญาติต้องการเตียงธรรมดา ก็ต้องกลับไป ก่อน รอจนกว่าจะมีเตียง ตอนนั้นไม่ได้คิดถึงเรื่องเงิน แต่นึกถึงแค่ต้องการรักษาผู้ป่วย นอนเตียงอะไรก็ได้ขอแค่ให้ได้นอนรักษาให้ไว ที่สุด เพราะอาการผู้ป่วยไม่ค่อยดี แต่จริยธรรมของโรงพยาบาลศิริราชมีหรือไม่ ? ทั้งๆที่มีเตียงอยู่ ไม่ว่าจะเป็นเตียงอะไรก็ตาม อาการผู้ป่วยน่าจะสาคัญที่สุด ควรที่จะรีบรับผู้ป่วยเข้ารักษา แต่ทางโรงพยาบาลมัวมาห่วงและให้ความสาคัญเรื่องเงินมากกว่าชีวิต คนไข้ ถ้าต้องการนอนรักษาต้องเสียเงินค่าเตียง การที่ได้ยินหมอบอกเช่นนั้น ทาให้เกิดคาถาม....นี้คือนโยบายโรงพยาบาลรัฐทุกแห่ง หรือไม่ ? หรือเป็นนโยบายของโรงพยาบาลศิริราชเท่านั้น …
  • 3. แผ่นที่ 2 ช่วงที่รักษาที่โรงพยาบาลศิริราชหมอได้ทาการตรวจรักษาตามอาการเลื่อยมา ทั้งเอ็กซเรย์ ให้ยาฆ่าเชื้อ ส่องกล้อง ตัดชิ้นเนื้อไปตรวจ และอื่นๆ แต่อาการก็เป็นๆหายๆ แต่ก็ยังหาสาเหตุอาการป่วยไม่เจอ หมอทาการตรวจหลายอย่าง ไม่แตกต่างจากที่อื่นๆ แต่อาการ คนไข้ก็ยังไม่สามารถระบุได้ว่าเป็นอะไรใช้เวลาประมาณ 2 อาทิตย์ ช่วงที่นอนรักษาหมอได้ทาการตรวจสายตาที่เป็นจุดเริ่มตนของ การหาหมอครั้งแรก ที่มองไม่ค่อยเห็น หมอแจ้งผลว่าการรักษาช้าเกินไป ทาให้ตาข้างขวาไม่สามารถรักษาได้ทัน ให้หยุดการรักษาตา ไปก่อน ให้รักษาอาการที่เป็นที่ตัวคนไข้ก่อน หมายเหตุข้อสงสัย : หมอโรงพยาบาลศิริราชแจ้งว่าการรักษาตาช้าเกินไป รักษาตาข้างขวาไม่ทัน และไม่สามารถมองเห็นได้อีก เป็น ความผิดของโรงพยาบาลใด ? แล้วตาที่หมอโรงพยาบาลศิริราชแจ้งว่าไม่สามารถมองเห็นได้อีก ใครจะรับผิดชอบ ? โรงพยาบาล สมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 17 ใช้เวลาในการรักษาและวินิจฉัยโรคนานพอสมควร แต่กลับไม่สามารถระบุโรคได้ หรือรักษาอาการของ ผู้ป่วยได้ ทางหมอและผู้เกี่ยวข้อง ร่วมไปถึงตัวโรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 17 มีความพร้อมทางด้านบุคลากร และ อุปกรณ์ทางการแพทย์และความชานาญในการวินิจฉัยและรักษาหรือไม่ ? จากที่เป็นต้อกระจกที่ตาคิดว่าการรักษาไม่ยากอย่างที่คิด กับกลายเป็นอาการที่ไม่สามารถวินิจฉัยหรือรักษาได้ ขั้นตอนมันผิดตรงที่ใด ? ต่อมาอาการคนไข้ก็ดีขึ้น ทานข้าวได้ ไม่มีไข้ หมอแจ้งว่าให้คนไข้กลับบ้านได้เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 16 กุมพาพันธ์ 2555 โดยมีค่าใช้จ่าย เรื่องเตียงห้องพิเศษ และก่อนหน้านั้นเคยติดต่อสอบถามไปที่ สายด่วน หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) 1330 ได้รับคาชี้แจงมา ว่าหากหมอวินิจฉัยว่าผู้ป่วยมีความจาเป็นที่จะต้องนอนโรงพยาบาล ไม่จาเป็นว่าเป็นห้องอะไร สามารถเบิกกับทางหลักประกันสุขภาพ แห่งชาติได้ อยู่ที่คาวินิจฉัยของหมอที่ทาการรักษา โดยที่คนไข้ไม่ได้เรียกร้องขอห้องพิเศษก็ไม่ต้องเสีย เมื่อถึงเวลาต้องกลับบ้าน ผล สุดท้ายทางโรงพยาบาลศิริราชแจ้งค่าใช้จ่ายเรื่องค่าห้อง และให้เหตุผลว่าถือว่าช่วยเหลือโรงพยาบาลแล้วกัน หากไม่มีเงินจ่ายก็จะได้ เรียกกรมสงเคราะห์มาดูแลให้ ผลสรุปเสียค่าห้องไป เกือบ 7,000 บาท และหมอให้กลับบ้าน และกลับมาฟังผลตรวจที่โรงพยาบาลศิ ริราช วันพุธที่ 22 กุมภาพันธ์ 2555 โดยทางญาติแจ้งทางหมอว่าอยากให้คนไข้นอนโรงพยาบาลจนกว่าผลตรวจจะออก เนื่องจาก คนไข้เดินทางระยะไกลบ่อยรู้สึกเหนื่อย เนื่องจากบ้านอยู่ต่างจังหวัด การเดินทางต้องใช้รถส่วนตัวตลอด ไม่สามารถขึ้นรถประจาทาง ได้ เนื่องจากคนไข้ไม่แข็งแรงจากอาการป่วย ตามองไม่ค่อยเห็น เพราะทุกครั้งที่กลับมาบ้าน อาการป่วยต่างๆของคนไข้ก็จะกลับมา เหมือนเดิม แต่หมอไม่อนุญาต วันที่ออกหมอสั่งยาเกี่ยวกับวัณโรคให้คนไข้มาทานช่วงที่กลับมาพักที่บ้าน ญาติได้พาคนไข้กลับมาพัก และให้ทานยาที่หมอจัดมาให้ตามวันและเวลาที่กาหนด ช่วงที่พัก 1 อาทิตย์ เพื่อรอกลับไปฟังผลตรวจที่โรงพยาบาลศิริราช วันพุธที่ 22 กุมพาพันธ์ 2555 อาการคนไข้ก็เป็นเหมือนเดิม มีไข้ หนาวสั่น อาเจียน ปวดท้อง ทานข้าวไม่ได้ ได้แต่ให้ทานยาพาราที่หมอ โรงพยาบาลศิริราชจัดมาให้บรรเทาอาการช่วงที่รอฟังผล พอวันนัดพาคนไข้กลับไปฟังผล หมอแจ้งว่าไม่พบว่าเป็นวัณโรค จึงนัดเป่า ปอดและส่องกล้อง และรอฟังผลเพื่อความแน่ใจอีกที ในวันพุธที่ 29 กุมพาพันธ์ 2555 โดยแพทย์สั่งงดทานยาเกี่ยวกับวัณโรคที่จ่าย มาตอนแรกทั้งหมด หมายเหตุข้อสงสัย : หมอสั่งจ่ายยาเกี่ยวกับวัณโรคมาให้ผู้ป่วยทาน เป็นการวินิจฉัยโรคที่ผิดหรือไม่ ? แล้วยาที่ทานไปไม่ตรงกับโรคที่ เป็นจริงๆเป็นการสั่งยาผิดหรือไม่ ? แล้วมีผลกระทบกับคนไข้หรือไม่ ? ก่อนที่ออกจากโรงพยาบาลหมอแจ้งว่าอาการคนไข้ดีขึ้น สามารถกลับบ้านได้ แต่พอมาอยู่บ้าน อาการผู้ป่วยก็กลับมาเป็นเหมือนเดิม การวินิจฉัยและประเมินอาการของผู้ป่วยถูกต้องหรือไม่ ? เพราะก่อนหน้านั้น ทางญาติได้ร้องขอให้ผู้ป่วยนอนรักษาต่อ เพราะคิดว่าอาการที่เป็นจะกลับมาเหมือนเดิม และใช้เวลากว่าจะได้ กลับมารักษาอีกครั้ง แต่ก็ไม่เป็นผล ช่วงที่คนไข้กลับมารอที่บ้าน เพื่อรอนัดเป่าปอดและส่องกล้อง วันพุธที่ 29 กุมพาพันธ์ 2555 แต่เนื่องญาติและตัวคนไข้เห็นว่า เดินทางบ่อย ต้องการให้ผู้ป่วยพัก 1 อาทิตย์ จึงโทรเลื่อนนัดเป็น วันพุธที่ 7 มีนาคม 2555 แต่เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลศิริราช แจ้งว่า ตรงกับวันหยุด จึงเลื่อนมาเป็น วันพุธที่ 14 มีนาคม 2555 ญาติคนไข้เห็นว่ามันนานเกินไปสาหรับอาการของผู้ป่วย จึงจะไม่เลื่อน นัดเดิมวันพุธที่ 29 กุมพาพันธ์ 2555 เนื่องจากการติดต่อกับโรงพยาบาลศิริราชที่ล่าช้า ติดต่อไม่ได้ ทาให้ญาติที่มีรถส่วนตัวที่พัก อยู่อีกที่หนึ่ง ลงไปรับผู้ป่วยที่อยู่ต่างจังหวัดไม่ทันตามนัดเดิม จึงจาเป็นต้องเลื่อนนัดเป็น วันพุธที่ 14 มีนาคม 2555 แต่พอใกล้ถึง วันนัด วันอังคารที่ 13 มีนาคม 2555 ทางโรงพยาบาลศิริราชได้โทรแจ้งว่าหมอที่ทาการตรวจส่องกล้องและเป่าปอด ต้องเดินทางไป ต่างประเทศ จึงเลื่อนนัดจาก วันพุธที่ 14 มีนาคม 2555 เป็น วันพุธที่ 4 เมษายน 2555 โดยทางญาติได้โทรกลับไปถามเหตุผล โดย เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลศิริราช ชี้แจ้งว่าหมอต้องเดินทางไปต่างประเทศ โดยหมอแจ้งเจ้าหน้าที่วันเดียวกับที่แจ้งกับญาติผู้ป่วยคือ วัน อังคารที่ 13 มีนาคม 2555 ญาติได้ถามกลับไปว่าไม่มีหมอท่านอื่นที่ทาการตรวจแทนได้หรือไม่ เพราะอาการคนไข้ช่วงที่รอให้ถึงวัน
  • 4. แผ่นที่ 3 นัดนั้น อาการคนไข้ไม่ดีขึ้น อาการคนไข้ก็เป็นเหมือนเดิม มีไข้ หนาวสั่น อาเจียน ปวดท้อง ทานข้าวไม่ได้ ทางเจ้าหน้าที่แจ้งว่าให้พา ผู้ป่วยไปหาหมอใกล้บ้านเพื่อหายาทานก่อน หมายเหตุข้อสงสัย : โรงพยาบาลศิริราชเป็นโรงพยาบาลรัฐที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เป็นความไว้วางใจจากคนไข้และญาติที่เลือกมา รักษา โดยคิดว่ามีหมอที่เก่งและชานาญในการรักษาและวินิจฉัย แต่กลับมีหมอเฉพาะทางแค่คนเดียวใช่หรือไม่ ? ที่ให้ไปหายาทานก่อน นั้นหมายถึงรักษาตามอาการไปก่อนจนกว่าจะถึงวันนัดใช่หรือไม่ ? แค่รักษาอาการพื้นๆคือเป็นไข้ อาเจียน ปวดท้อง เพราะว่าทาง โรงพยาบาลศิริราช ยังไม่สามารถระบุอาการป่วยที่แน่ชัดเกี่ยวกับคนไข้ที่เป็นอยู่ การรักษาและยาก็เป็นการรักษาแบบพื้นๆไปก่อน เพราะไม่ทราบอาการของผู้ป่วยเช่นกันมันเกิดอะไรขึ้นกับโรงพยาบาล และจริยธรรมความรับผิดชอบของหมอผู้นั้น ถ้าหากคนไข้อยู่ใน ขั้นความเป็นความตาย หมอก็ยังยืนยันที่จะเดินทางไปต่างประเทศ โดยทิ้งคนไข้ไว้ข้างหลังไม่ต้องสนใจใช่หรือไม่ เกิดอะไรขึ้นกับ โรงพยาบาลขนาดใหญ่ มีหมอชานาญแค่คนเดียวใช่หรือไม่ ? ช่วงที่ต้องรอนัดกับโรงพยาบาลศิริราช วันพุธที่ 4 เมษายน ปี 2555 อาการของผู้ป่วยหนักขึ้น ไม่สามารถทานอะไรได้เลย จึงพา ผู้ป่วยเข้าโรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 17 จ.สุพรรณบุรี วันพุธที่ 21 มีนาคม 2555 หมอได้ทาการตรวจ และแจ้งญาติว่า อาการผู้ป่วยความดันลงต่ามาก อาจเกิดอาการช็อกได้ จึงให้น้าเกลือ และยาปรับความดันตามอาการที่พบ และให้เครื่องช่วยหายใจ ช่วงที่รักษาอาการคนไข้กลับไม่ดีขึ้น ท้องเสีย ปัสสาวะไม่ออก หมอจึงได้ทาการเจาะกระเพาะปัสสาวะ และคนไข้มีอาการท้องบวม เนื่องจากมีน้าในท้องจานวนมาก จึงทาการเจาะท้องเพื่อเอาน้าออก โดยหมอแจ้งว่าเกิดจากปัญหาก้อนเนื้อที่ท้องปล่อยน้าออกมามาก จึงทาให้ท้องบวม ช่วงที่หมอโรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 17 ทาการรักษา ทางญาติก็ยังคงคิดว่าหมอที่โรงพยาบาลศิริราช ยังมีความพร้อมและชานาญในการรักษาและวินิจฉัยอาการของผู้ป่วยต่อ จึงคิดว่าน่าจะดีกว่าถ้าได้เข้ามารักษาที่โรงพยาบาลศิริราช ญาติคนไข้ได้ติดต่อทางโรงพยาบาลศิริราชอีกครั้ง เพื่อต้องการขอย้ายคนไข้มารักษากับหมอที่ทาการวินิจฉัยอาการให้กับผู้ป่วยก่อน หน้า คิดว่าน่าจะดีกว่าที่จะนอนรักษาที่ โรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 17 เพราะรักษาแบบไม่รู้ต้นสายปลายเหตุ รักษาตาม อาการที่เป็นเพราะก่อนหน้านั้นทางโรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราชองค์ 17 แจ้งว่าไม่สามารถวินิจฉัยอาการคนไข้ได้ จึงส่งตัวมา รักษาต่อที่ โรงพยาบาลในกรุงเทพ ทางญาติจึงคิดว่าน่าจะดีกว่าถ้าได้เข้ามารักษาที่โรงพยาบาลศิริราช และคนไข้มีนัดส่องกล้องและ เป่าปอด วันพุธที่ 4 เมษายน 2555 ด้วย น่าจะดีกว่าถ้าได้มานอนรักษาที่โรงพยาบาลศิริราช ก่อนหน้าทางญาติได้โทรสอบถาม ขั้นตอนการย้ายผู้ป่วย โดยเจ้าหน้าที่แจ้งว่าจะต้องให้หมอที่โรงพยาบาลศิริราช หมอเจ้าของไข้เขียนใบจองเตียงให้กับผู้ป่วย จึงจะทา การจองเตียงให้ผู้ป่วยได้ ทางญาติได้ไปติดต่อพบหมอเจ้าของไข้ผู้ป่วยที่โรงพยาบาลศิริราช ตั้งแต่วันอังคารที่ 3 เมษายน 2555 เจ้าหน้าที่แจ้งว่าหมอไม่เข้า มาพบใหม่วันพุธที่ 4 เมษายน ปี 2555 จึงเดินทางกลับไปพบใหม่ วันพุธที่ 4 เมษายน ปี 2555 แต่ เจ้าหน้าที่ด้านหน้าทาใบนัดให้ใหม่ เป็นวันอังคารที่ 1 พฤษภาคม ปี 2555 โดยไม่ถามสาเหตุที่มาพบ ทางญาติแจ้งอย่างชัดเจนว่ามา พบหมอเพื่อขอใบจองเตียงให้คนไข้ คุยกันกว่าจะเข้าใจ เจ้าหน้าที่จึงให้เขียนใบแจ้งเหตุผลว่าจะพบหมอทาไม และให้นั่งรอ อยู่ที่ว่าหมอ จะให้พบหรือไม่ นั่งรอจนได้พบหมอ จึงแจ้งเหตุผลไปว่าต้องการย้ายคนไข้มานอนรักษาที่โรงพยาบาลศิริราช อยากให้หมอทาใบขอ จองเตียงที่โรงพยาบาลศิริราช โดยญาติได้ถือใบผลการรักษามาด้วยเป็นคาแนะนาของเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลศิริราช ในการจอง เตียง เพื่อหมอจะได้รู้อาการคนไข้ที่นอนรักษาตัวอยู่ที่โรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 17 ญาติได้ส่งใบผลการรักษาให้หมอ โรงพยาบาลศิริราช แต่หมอกลับไม่ดู ไม่อ่าน แจ้งว่าให้ไปพบกับเจ้าหน้าที่รับจองเตียงโรงพยาบาลศิริราช มาพบหมอทาไม ญาติจึง ลงไปพบเจ้าหน้าที่รับจองเตียงของโรงพยาบาลศิริราช เจ้าหน้าที่ถามว่าทาไมไม่มีใบที่หมอเขียนรายระเอียดการจองเตียงอาการของ ผู้ป่วยมาด้วย แล้วจะรู้อาการของผู้ป่วยได้อย่างไร เจ้าหน้าที่และญาติผู้ป่วยกลับขึ้นไปพบหมออีกครั้ง โดยเจ้าหน้าที่เป็นคนจัดการคุย กับหมอ และให้หมอเขียนรายระเอียดการจองเตียงให้ แล้วเจ้าหน้าที่ได้โทรคุยกับทาง โรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 17 จ. สุพรรณบุรี ถามถึงอาการคนไข้ แล้วได้แจ้งกับเจ้าหน้าที่ทางโรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 17 จ.สุพรรณบุรี ว่าให้เพิ่มเกร็ด เลือดให้คนไข้เป็น 100,000 ขึ้น แล้วค่อยโทรกลับมาจองเตียงใหม่ หมายเหตุข้อสงสัย : ก่อนหน้านั้นทาไมทางโรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 17 รู้ทั้งรู้ว่าคนไข้เกร็ดเลือดต่า ทาไมไม่เพิ่มเกร็ด เลือดให้คนไข้ เพื่อที่เตรียมความพร้อมให้กับคนไข้ในการส่งตัวต่อไป หากญาติไม่มาติดต่อเรื่องเตียง ทางโรงพยาบาลศิริราช ไม่โทร ถามอาการ ก็จะไม่มีการเพิ่มเกร็ดเลือดให้คนไข้ใช่หรือไม่ ? ตอนนี้ก็เลยต้องรอการเพิ่มเกร็ดเลือดจนถึงที่กาหนด จึงจะส่งตัวคนไข้ได้ โรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 17 รู้ทั้งรู้ว่าไม่สามารถรักษาและวินิจฉัยโรคของผู้ป่วยได้ ทาไม่ถึงไม่รู้ขั้นตอนการทาให้ อาการผู้ป่วยดีขึ้นเพื่อการส่งตัวคนไข้ ถ้าทางโรงพยาบาลศิริราช ไม่บอกก็จะไม่ทาใช่หรือไม่ ? ด้วยความร้อนใจของญาติที่ต้องการ ให้ผู้ป่วยมีอาการที่ดีขึ้น จากที่แค่เข้าไปรักษาตา เนื่องจากอาการมองไม่เห็น แต่ไม่ทราบเหตุผลใด คนไข้ถึงมีอาการหนักได้ขนาดนี้ ขั้นตอน กฎระเบียบ วิธีการรักษาถูกต้องหรือไม่ เกิดคาถามกับญาติผู้ป่วยมากมาย แล้วอาการคนไข้เมื่อไหร่จะดีขึ้น มีแต่แย่ลง แนว
  • 5. แผ่นที่ 4 ทางการรักษาไม่มี ระบุโรคไม่ได้ อาการไม่ดีขึ้น กลับแย่ลงเลื่อยๆ คนไข้อาการหนักขนาดนี้ แต่ขั้นตอนการส่งตัวทาไมไม่คืบหน้า แล้ว ต้องรอเมื่อไหร่ หาหมอที่คิดว่าดีและเก่ง แต่ไม่คิดว่าขั้นตอนตั้งแต่เข้ารักษาเกี่ยวกับตา จนถึงวันนี้เป็นเวลา 3 เดือน 29 วัน อาการ จากที่เกือบปกติกลับแย่เหมือนจะหมดลมหายใจ ไม่สามารถหาทางรักษาและวินิจฉัยโรคได้ ตั้งแต่เข้ารักษาจนถึงวันนี้ยาที่ใช้รักษาต้น ตอของโรคอาจพูดได้ว่ายังไม่ได้กินยานั้นเลย.........การเพิ่มเกร็ดเลือดก็ไม่สามารถทาให้อาการของผู้ป่วยดีขึ้น ยังใช้เครื่องช่วยหายใจ และเครื่องปรับความดัน ยังมีน้าในท้องออกมาตลอดเวลา วันพุธที่ 11 เมษายน 2555 ช่วงบ่าย ทางโรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 17 จ.สุพรรณบุรี แจ้งว่าจะย้ายผู้ป่วยไปรักษาต่อที่ โรงพยาบาลศิริราชตอนเช้า ตอนนี้ได้รถส่งผู้ป่วยแล้ว แต่ไม่มีพยาบาลไปกับผู้ป่วย กาลังหาพยาบาลอยู่ ถ้าได้แล้วจะแจ้งญาติอีกที ญาติถามกลับไปว่า ทางโรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 17 ไม่มีเจ้าหน้าที่พยาบาลประจารถหรือว่าอย่างไร แล้วถ้าเป็นอย่างนี้ เกิดเหตุฉุกเฉิน แล้วจะทาอย่างไร ญาติเลยแจ้งไปว่าจะรับผิดชอบค่าใช้จ่ายให้กับนางพยาบาลเองที่จะติดรถไปกับผู้ป่วย ให้หามาให้ หน่อย วันพุธที่ 11 เมษายน 2555 ช่วงมืดๆ เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 17 แจ้งว่าได้นางพยาบาลไปกับรถ ผู้ป่วยแล้ว จะย้ายผู้ป่วยในวันพฤหัสบดีที่ 12 เมษายน 2555 ถึงโรงพยาบาลศิริราช วันพฤหัสบดีที่ 12 เมษายน 2555 เวลา 09.30 น. ญาติบางส่วนได้ไปติดต่อเกี่ยวกับเอกสารของคนไข้ล่วงหน้าที่โรงพยาบาลศิริราช เพื่อความรวดเร็วในการรักษาต่อไป จนถึงเวลาคนไข้มาถึง เพราะนัดหมอที่โรงพยาบาลศิริราช ไว้ 10.00 น. พอเปิดประตูรถเพื่อย้ายคนไข้ลง กลับพบว่าคนไข้ที่นอนมา กับเปลเป็นผู้ชาย ส่วนแม่ซึ่งญาติเป็นผู้ที่ติดต่อกับทางโรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 17 ขอรถย้ายผู้ป่วย ซึ่งอาการหนัก ที่ ต้องพึ่งเครื่องช่วยหายใจ เครื่องปรับความดันตลอดเวลา และไม่ค่อยรู้สึกตัว ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ ที่ท้องมีการเจาะแขวนถุงน้าไว้ด้วย กลับต้องนั่งพิงข้างรถมากับลูกสาว ไม่มีเครื่องช่วยหายใจ ไม่มีเครื่องปรับความดัน ในสภาพที่อ่อนล้า เห็นภาพนั้นแล้ว ตอนนั้นทั้ง โกรธ ทั้งเสียใจกับสภาพแม่ที่นั่งพิงข้างรถมา กับการเดินทางที่ไกล สาหรับคนไข้อาการหนักขนาดนี้ การพูดคุย การสื่อสารกับคนไข้ แทบเป็นไปไม่ได้เลย ตอนนั้นได้โทรกลับไปถามทางโรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 17 ว่าเกิดไรขึ้น ได้คาชี้แจงมาว่า เนื่องจาก รถไม่เพียงพอ พอดีมีคนไข้ที่เป็นผู้ชายได้เหมารถของโรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 17 ไว้ก่อนหน้าแล้ว เพื่อเดินทางมารักษา ที่โรงพยาบาลศิริราช เช่นเดียวกับแม่ ดังนั้นจึงให้แม่ขออาศัยติดรถมาด้วย ได้ฟังอย่างนี้แล้วถึงกับต้องอึ่งไปเลย กับคาตอบที่ได้รับ กลับมากับคาชี้แจ้งของเจ้าหน้าที่ โรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 17 ทั้งๆก่อนหน้านั้นทางโรงพยาบาลบอกถึงอาการผู้ป่วยว่า หนักมาก แต่การส่งตัวผู้ป่วยอาการหนักขนาดนี้กลับไม่มีมาตรฐานเลย หมายเหตุข้อสงสัย : ก่อนหน้าที่จะย้ายผู้ป่วย โรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 17 แจ้งว่าต้องหารถที่มีอุปกรณ์ที่จาเป็นกับ คนไข้ในการย้ายผู้ป่วย ไม่ว่าจะเครื่องปรับความดัน เครื่องช่วยหายใจ และอื่นๆ จึงจะสามารถย้ายได้ แต่เมื่อถึงเวลาย้ายสิ่งที่ โรงพยาบาลแจ้งมาข้างต้นถึงความพร้อมของรถในการย้ายผู้ป่วย กับไม่มีสิ่งที่ว่าจาเป็นหรือต้องใช้ในการย้ายผู้ป่วยอาการหนักได้ใช้ เลย อาการคนไข้ค่อนข้างหนัก แต่กลับให้คนไข้อาการหนักขนาดนี้นั่งพิงข้างรถมาในการเดินทางไกลเข้ามารักษาต่อที่ กทม. ไม่มี เครื่องช่วยหายใจ ไม่มีเครื่องปรับความดันที่คนไข้จาเป็นที่ต้องใช้ เกิดอะไรขึ้นกับขั้นตอนการส่งตัวคนไข้ที่อาการหนักขนาดนี้ของ โรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 17 ตอนนี้รอการตรวจของหมอโรงพยาบาลศิริราชต่อไป ช่วงที่รอ มีเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลศิริราช มาวัดความดัน ผลออกมาความดันต่า และต้องรีบให้เครื่องช่วยหายใจกับผู้ป่วยเพื่อรอหมอมาตรวจ ถึงเวลาหมอมา ลูบๆ คลา วัดนูนวัดนี้ จับนี้นั้น ถามนูนถามนี้นิดหน่อย ก็หายไปพักใหญ่ กลับมาให้ส่งผู้ป่วยไปเอ็กซเรย์ปอด และอื่นๆ แล้วกลับมารอที่เดิม รออีกสักพักใหญ่ๆ ก็ส่งไปเอ็กซเรย์อีกรอบ และ กลับมารออีกหลายพัก หมอก็กลับมาแจ้งว่าอาการคนไข้ไม่ดี ตอนนี้ทาอะไรไม่ได้เลย นอกจากรอให้อาการคนไข้ดีขึ้น จึงจะส่งคนไข้ไป ส่งกล้องและเป่าปอดเพื่อหาสาเหตุที่แน่ชัดได้ นั้นหมายความว่าต้องรอกลับไปเริ่มต้นจุดที่หมอเคยนัดแล้วโทรมาเลื่อนนัดก่อนหน้านั้น ตอนที่คนไข้นอนรักษาตัวที่โรงพยาบาลศิริราช อาการคนไข้ก็เกือบปกติดี แต่ทาไมไม่มีการตรวจ ตอนนี้กลับมาบอกว่าต้องรอให้ อาการคนไข้ดีขึ้นถึงตรวจได้ ญาติเลยแจ้งหมอไปว่ารบกวนหาเตียงให้คนไข้นอนรักษาตัวต่อที่นี้ เพราะอาการดีขึ้นจะได้เป่าปอดและ ส่องกล่องตามที่หมอบอกต่อไป รอประมาเกือบบ่าย 4 โมงเย็น ก็ยังไม่รู้ว่าจะอย่างไง เจ้าหน้าที่ทางโรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราช องค์ที่ 17 สุพรรณบุรี ก็มาถามสรุปว่าอย่างไง จะได้กลับ จึงเดินไปถามหมอโรงพยาบาลศิริราช ว่าได้เตียงหรือป่าวคับ จะได้ให้รถ ของโรงพยาบาลสมเด็จพระสังค์ราชองค์ที่ 17 สุพรรณบุรี กลับไปก่อน เราก็ไม่รู้ว่าหมอตอบกลับมาด้วยที่ยุ่งๆ หรือว่าราคาญ ตอบกลับมา 4 คาสั้นๆ ด้วยน้าเสียงที่ไม่เป็นมิตรเท่าไหร่ว่า...ให้กลับไปเลย... แล้วก็เดินหนี้ไป หายเข้ากลีบเมฆ ผู้ป่วยและญาติอีก ประมาณ 3 คน รอจนประมาณเกือบ 18.00 น. หรือเกือบ 6 โมงเย็น จนเกือบไม่มีคนไข้หลงเหลืออยู่ จากที่มาตอนเช้าเต็มห้องขนาด ใหญ่แน่นไปหมด และแล้วเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลศิริราช ก็มาแจ้งว่ากาลังหาเตียงให้ รอเกือบครึ่งชม. ก็เดินไปถามเจ้าหน้าที่สรุปว่า อย่างไรได้เตียงหรือไม่ เจ้าหน้าที่แจ้งว่าได้เตียงแล้ว แต่ต้องรอเจ้าหน้าที่ตึกโทรกลับมาแจ้งว่าจะรับคนไข้หรือไม่ รออีกสักพักเจ้าหน้าที่
  • 6. แผ่นที่ 5 แจ้งว่าทางตึกอัษฏางค์ โรงพยาบาลศิริราช ที่จะส่งผู้ป่วยไป ไม่รับผู้ป่วยเนื่องจากผู้ป่วยช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ ไม่มีเจ้าหน้าที่เพียง พอที่จะดูแลผู้ป่วย เนื่องจากทาง ตึกอัษฏางค์ ไม่อนุญาตให้ญาติผู้ป่วยดูแลเฝ้าไข้ได้ ต้องหาเตียงใหม่ พอได้ยินอย่างนั้น เกิดคาถาม มากมาย แล้วถ้าไม่ได้เตียงจะทาอย่างไง รถโรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 17 สุพรรณบุรี ก็ให้กลับไปแล้ว ช่วงเวลานั้น เจ้าหน้าที่เดินมาแจ้งว่าได้เตียงที่ ตึกอัษฏางค์ ชั้น 10 ฝั่งเหนือ รอเจ้าหน้าที่มาเข็นรถพาไป และแล้วก็ได้ขึ้นไปบนตึกเสียทีพอขึ้นไป เจ้าหน้าที่ก็ย้ายผู้ป่วยจากรถเข็นขึ้นบนเตียง ย้ายน้าเกลือและสายต่างๆ จนเสร็จเรียบร้อย แล้วมีหมอมาแนะนาตัวว่าเป็นหมอที่ดูแล ตึกนี้เข้ามาสอบถามอาการ ตั้งแต่ตนที่เริ่มรักษาจนมาถึงวันนี้ เหมือนย้อนกลับไปตอนแรกที่เข้ารักษาเรื่องตาที่มองไม่เห็น จุดเริ่มต้น ของการรักษา พอฟังจบหมอก็บอกว่าตอนนี้ต้องรอให้อาการดีขึ้น จึงจะทาการส่องกล้องและเป่าปอดให้คนไข้ได้ การรักษาก็ไม่มีไร แตกต่างที่อื่น นอกจากน้าเกลือเครื่องช่วยหายใจ แล้วก็กินยา รอดูอาการ วันจันทร์ที่ 16 เมษายน 2555 อาการผู้ป่วยก็หนักขึ้น เลื่อยๆ จนไม่สามารถทานอาหารได้เอง ต้องใส่หลอดอาหารทางจมูก ผู้ป่วยกาลังใจดีมาตลอด วันพฤหัสบดีที่ 19 เมษายน 2555 เวลาประมาณ 18.00 น. หมอแจ้งว่าต้องย้ายผู้ป่วยเข้าห้อง ICU ชั้น 6 ตึกอัษฏางค์ เนื่องจากความดันคนไข้ต่ามาก ย้ายเสร็จ ประมาณ 20.00 น. แล้วก็มีหมอมาแนะนาตัว และสอบถามอาการคนไข้เหมือนชั้นอื่นๆ ตั้งแต่เข้าโรงพยาบาล จนล่าสุด แล้วหมอก็ว่า ต้องรอดูอาการในห้อง ICU ต่อไป หมอบอกว่ามีวิตามินบ้างตัวที่ต้องใช้กับคนไข้ อาจทาให้คนไข้อาการดีขึ้น แต่ญาติต้องเสียเงินเอง ราคา 1,500 บาท ต่อถุง อาจจะให้ประมาณ 3 ถุง ญาติคนไข้สะดวกที่จะชาระส่วนนี้หรือไม่ ญาติคนไข้ตอบกลับไปว่า ถ้าทางหมอคิด ว่าจาเป็นกับคนไข้ หากทางญาติบอกว่าไม่ เกิดอะไรขึ้นมาหมอก็ต้องโทษญาติคนไข้ และญาติคิดว่าถึงจะไม่มีเงินจ่ายก็ต้องหามา ขอแค่ ให้คนไข้อาการดีขึ้นก็พอ แต่ในใจญาติคิดว่า ถ้าหากญาติคนไข้บอกว่าไม่มีเงินจ่าย นั้นหมายความว่าหมอก็จะไม่ให้ยาตัวนั้นกับคนไข้ใช่ หรือไม่ ทั้งๆที่หมอบอกเองว่าจาเป็นกับคนไข้ อาจทาให้อาการคนไข้ดีขึ้น สรุปแล้วยาตัวนั้นหมอก็ไม่ได้ให้คนไข้ โดยที่ไม่ทราบเห็นผล ทั้งๆที่บอกว่าจาเป็นกับคนไข้ หมายเหตุข้อสงสัย : ตามหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) ยานอกบัญชีหากหมอมีความเห็นว่าสมควรที่ผู้ป่วยควรได้รับ ก็ สามารถเบิกได้เช่นกัน หรือหายาที่มีคุณภาพใกล้เคียงมาใช้แทนกันได้ แต่หมอกับไม่ทา มัวห่วงว่าญาติจะมีเงินจ่ายหรือไม่ หลัก จริยธรรมของหมอและโรงพยาบาลมีหรือไม่ ทั้งๆที่บอกว่าจาเป็นกับคนไข้ ผลสรุปคนไข้ก็ไม่ได้รับยาตัวนั้น ญาติได้ถามถึงอาการคนไข้ว่าเป็นอย่างไรบ้าง หมอบอกว่า...ไม่มีหวัง...สามคาเดียวสั้นๆ ตอนนั้นอึ้งไปพักหนึ่ง และญาติถามต่อไปว่า สรุปคนไข้เป็นอะไรกันแน่ หมอตอบกลับมาว่าเป็นมะเร็ง ญาติถามกลับไปว่ารู้ตั้งแต่เมื่อไหร่ว่าเป็นมะเร็ง หมอตอบกลับมาว่า รู้ตั้งแต่ วันพุธที่ 22 กุมพาพันธ์ 2555 ญาติถามกลับไปว่าทาไมญาติคนไข้ไม่มีใครรู้ถึงอาการคนไข้เลยว่าเป็นมะเร็ง ตอนนั้นเกิดการโต้เถียง กับหมอผู้หญิงท่านหนึ่งอยู่พักใหญ่ๆ ตอนแรกผมก็พูดดีๆ แต่หมอกับพูดจาด้วยความโมโห ผมก็เกิดอาการทนไม่ไหว เพราะทุกครั้ง ที่เขามารักษาก็จะเจอหมอหน้าใหม่ๆไม่เคยซ้า พอถามอาการก็จะตอบว่าไม่ทราบคาเดียวสั้นๆ ให้ไปถามหมอที่รักษาก่อนหน้านั้น จะ ไม่ให้โมโหได้อย่างไร เพราะวันที่มาฟังผลวันพุธที่ 22 กุมพาพันธ์ 2555 หมอแจ้งว่าไม่ได้เป็นวัณโรค(เพราะก่อนหน้าหนึ่งอาทิตย์ หมอให้ยาเกี่ยวกับวัณโรคมาทาน 1 อาทิตย์ ก่อนที่จะกลับไปฟังผลตรวจวันพุธที่ 22 กุมภาพันธ์) ดังนั้นจึงนัดมาส่องกล้อง และเป่า ปอด เพื่อความแน่ใจว่าเป็นอะไรกันแน่ ในวันพุธที่ 29 กุมภาพันธ์ 2555 หมายเหตุข้อสงสัย : ถ้าหมอแจ้งว่า รู้ว่าคนไข้เป็นมะเร็งตั้งแต่ วันพุธที่ 22 กุมพาพันธ์ 2555 ทาไมไม่มีการสั่งจ่ายยา หรือเริ่มการ รักษาคนไข้ แต่กลับบอกให้คนไข้กลับบ้านแล้วมาส่องกล้องและเป่าปอด โดยช่วงที่รอกลับไม่มียาสักเม็ดทาน พูดได้ว่าตั้งแต่ต้นที่เริ่ม รักษา ไม่มียาให้คนไข้ทานเลยสักเม็ด ตอนที่คนไข้อาการดี นอนอยู่ที่โรงพยาบาลศิริราชตั้งเกือบ 15 วัน แต่หมอกลับไม่ทาการเป่า ปอด และส่องกล้อง พออาการคนไข้แย่ลง กลับบอกให้รออาการคนไข้ดีขึ้นถึงทาได้ หรือหมอจะบอกว่าทุกอย่างเป็นไปตามขั้นตอน นั้นก็หมายความว่าหมอวินิจฉัยอาการคนไข้และแนวทางการรักษาผิดตั้งแต่ต้นใช้หรือไม่ ? การที่หมอตอบกลับมาว่า ไม่ทราบ อันนี้ต้องไปถามหมอคนนั้น คนละคนกัน ตอนนั้นรู้สึกโกรธมากที่ได้ยินคาตอบแบบนั้น เป็นหมอ กลับไม่ทราบ ทั้งๆที่ประวัติคนไข้ก็มี ทุกครั้งที่เข้ามารักษาจะเจอหมอไม่ซ้าหน้า และญาติต้องเจอคาถามซ้าๆจากหมอแต่ละคน ทั้งๆที่ ประวัติการรักษาก็มี หมอต้องรู้อาการคนไข้มากกว่าญาติ เพราะหมอเป็นคนรักษา ถ้าหมอไม่ทราบ แล้วใครจะรู้ ผมเป็นคนค่อนข้างมี เหตุผล และเชื่อในสิ่งที่ถูกต้อง จะรับฟังเป็นอย่างดี หากมีการชี้แจง หรือให้ข้อมูลในทางที่ถูกต้อง เพียงพอและหน้าเชื่อถือ แต่หมอกับ ไม่ทา พูดปัดความรับผิดชอบ โดยโยนความรับผิดชอบไปให้หมอที่ทาการรักษาก่อนหน้า หากญาติผู้ป่วยหรือตัวผู้ป่วยเองต้องการ ข้อมูล แนวทางในการรักษา แต่หมอกับบอกว่าไม่รู้ ไม่ทราบ แล้วผู้ป่วยและญาติจะได้ข้อมูลจากที่ใด ตลอดการรักษาญาติไม่ทราบเลย ว่าผู้ป่วยเป็นอะไร แนวทางการรักษาเป็นอย่างไร แล้วจะให้เชื่อได้อย่างไรว่าผู้ป่วยเป็นอย่างที่หมอกล่าวอ้าง ทั้งๆที่ก่อนหน้าไม่เคยมี ข้อมูลใดๆเลยกับอาการป่วย ทุกครั้งที่ถามหมอก็จะเมินหน้าหนี หรือไม่ก็เดินหนี หรือใช้คาพูดห้วนๆตอบกลับมาแบบไม่เต็มใจ ทั้งๆที่
  • 7. แผ่นที่ 6 สิทธิของผู้ป่วยควรที่จะได้รับข้อมูลอย่างถูกต้อง ถึงแนวทางการรักษาหรือคาวินิจฉัยของทางโรงพยาบาลหรือตัวหมอที่ทาการรักษา วันศุกร์ที่ 20 เมษายน 2555 ช่วงเช้าหมอแจ้งญาติว่าขอเจาะไขสันหลัง เพื่อตรวจหาสาเหตุว่าเป็นอะไรกันแน่ จะรู้ผลอีก 1 อาทิตย์ และหมอได้ย้ายผู้ป่วยออกจาก ICU มาอยู่ห้องธรรมดาตึกอัษฏางค์ ชั้น 12 โดยญาติมองว่าอาการของผู้ป่วยน่าจะนอนห้อง ICU มากกว่า ทาไมถึงย้ายออกมาทั้งๆที่อาการของผู้ป่วยหนักขนาดนั้น และทาไมถึงถอดเครื่องช่วยหายใจคนไข้ โดยไม่ถามญาติๆสักคา วันเสาร์ที่ 21 เมษายน 2555 เวลา 10.00 น. ได้รับโทรศัพน์ทางโรงพยาบาลศิริราช ว่าผู้ป่วยอาการแย่ ให้รีบเดินทางมา โรงพยาบาลด่วน ไปถึงโรงพยาบาลศิริราช เวลาประมาณ 14.30 น. เนื่องจากอยู่พัทยา ใช้เวลาเดินทาง พอไปถึงคนไข้ก็เสียไปแล้ว ตอน 14.00 น. ความรู้สึกตอนนั้นบรรยายไม่ถูก ไปถึงจับตัวคนไข้ยังอุ่นๆอยู่เหมือนแค่คนนอนหลับไปเท่านั้นเอง หมายเหตุข้อสงสัย : คนไข้เข้าห้อง ICU วันที่ 19 เมษายน 2555 วันที่ 20 เมษายน 2555 ย้ายออก พร้อมกับถอดเครื่องช่วยหายใจ ทั้งๆที่ไม่ได้รับการยินยอมจากทางญาติหรือตัวคนไข้ ทางหมอหรือโรงพยาบาลสามารถทาได้หรือไม่ ? หากหมอบอกว่าประเมินแล้ว ว่าคนไข้อาการดีขึ้น จึงย้ายออกจากห้อง ICU เหตุใดอาการคนไข้กับหนักขึ้น จนหมอขอให้ญาติเซ็นต์ชื่อเพื่อใส่เครื่องช่วยหายใจให้กับ คนไข้ใหม่ในช่วงเช้าของวันที่ 21 เมษายน 2555 เป็นการประเมินผิดพลาดของหมอใช้หรือไม่ ? หมอเป็นหมอฝึกหัด หรือไม่มีความ ชานาญในการรักษาหรือวินิจฉัยใช่หรือไม่ ? ญาติขอนาศพกลับวันอาทิตย์ที่ 22 เมษายน 2555 หมอแจ้งว่าขอผ่าเพื่อดูว่าคนไข้เป็นอะไรกันแน่ ให้นาศพกลับไปทาพิธีทางศาสนา ในวันจันทร์ที่ 23 เมษายน 2555 ช่วงเช้า ญาติก็อนุญาต เพราะก็สงสัยการเสียชีวิตเหมือนกัน หลังจากเคลียร์ทุกอย่างเรียบร้อย พร้อมทั้งเซ็นใบที่หมอนามาแล้วบอกว่าเป็นใบอนุญาตในการผ่าศพ แล้วรวมถึงค่าใช้จ่ายส่วนเกินที่เจ้าหน้าที่แจ้งไว้ที่ต้องชาระ 1,728 บาท (ใช้สิทธิบัตรทอง) จึงเดินทางกลับต่างจังหวัดเพื่อเตรียมพิธีทางศาสนาต่อไป วันอาทิตย์ที่ 22 ช่วงเวลา 15.00 น. หมอทาง โรงพยาบาลศิริราช โทรมาแจ้งว่าไม่ได้ให้ญาติเซ็นใบอนุญาตผ่าศพ จึงไม่สามารถผ่าศพได้ พร้อมกล่าวคาขอโทษ และขอให้ญาติขึ้นมา จากต่างจังหวัดเพื่อเซน วันจันทร์ที่ 23 เมษายน 2555 วันนัดรับศพช่วงเช้า หมอโทรบอกตอนบ่าย 3 โมงเย็น วันอาทิตย์ที่ 22 เมษายน 2555 ญาติเลยยกเลิกการผ่า เพราะไม่มีเวลาแล้ว หมายเหตุข้อสงสัย : วันที่คนไข้เสียชีวิต ทางเจ้าหน้าที่ได้เอาใบมาให้เซ็นในการผ่าศพ เหตุใดเจ้าหน้าที่จึงแจ้งว่าไม่ได้ให้เซ็น เกิดอะไร ขึ้นกับขั้นตอน เอกสารต่างๆของโรงพยาบาล ความหน้าชื่อถือของโรงพยาบาลมีมากน้อยแค่ไหน ผ่านไปเกือบ 2 วัน แต่โรงพยาบาล กับพึ่งมาแจ้งว่าไม่ได้ให้เซ็น จะให้ชื่อได้อย่างไร ทั้งๆที่ก่อนหน้าได้เซ็นไปให้แล้ว ทั้งๆที่ญาติอนุญาตในการผ่าศพเพื่อพิสูจน์การเสียชีวิต เกิดอะไรขึ้นกับการตรวจสอบเอกสาร หากไม่ได้ให้เซ็นจริงๆ ก็น่าจะรู้ ณ นาทีนั้นแล้ว ว่าไม่ได้ให้เซ็น ทางโรงพยาบาลควรคานึงถึง ความสาคัญเรื่องเอกสารให้มากกว่านี้ ว่ามีความสาคัญมากน้อยเพียงใด และการที่เจาะไขสันหลังที่หมออ้างว่า สามารถระบุโรคได้ว่า เป็นอะไร ก่อนหน้าที่คนไขเสียชีวิตแค่วันเดียว หากเป็นดังที่หมอกล่าวอ้างว่าสามารถระบุโรคที่เป็นได้ ทาไม่ไม่ทาตั้งแต่ที่คนไขเข้ามา รักษาตั้งแต่แรกๆ หากทาการตรวจไขสันหลังตามที่หมอกล่าวอ้างก็จะสามารถระบุโรคได้ไว และเริ่มการรักษาได้ทันถ่วงที ... คนไข้ใช้เวลารักษา 4 เดือน กับอีก 8 วัน จากอาการเข้ารักษาเกี่ยวกับตาที่มองไม่ค่อยเห็นเนื่องด้วยเป็นต้อที่ตา เหมือนคนปกติทั่วไป ตั้งแต่เริ่มต้นการรักษา ข้อมูลที่ญาติได้รับระยะเวลาในการรักษาที่ยาวนาน หมอกับไม่สามารถวินิจฉัยหรือระบุโรคได้ ต้องมาเสียชีวิต แบบนี้ โดยที่ญาติไม่ทราบสาเหตุอันแท้จริง ต้นตอของโรคจริงๆ และระยะเวลารักษาที่ยาวนาน หมอแต่ละโรงพยาบาลกลับไม่สามารถ ตรวจหาโรค และรักษาได้ทัน มันเกิดอะไรขึ้นกับขั้นตอนการประเมินและวินิจฉัยอาการคนไข้ ผลของการเจาะไขสันหลังออกหลังจากที่ คนไข้เสียชีวิตไปแล้ว 1 อาทิตย์ ระบุว่าคนไข้เป็นมะเร็งเม็ดเลือดขาว และมะเร็งปอด ระยะสุดท้าย ใบมรณะระบุว่าเป็นมะเร็งปอด หมายเหตุข้อสงสัย : ก่อนหน้านั้นญาติไม่มีใครรู้เลยว่าคนไข้เป็นมะเร็ง พอคนไข้เสียแล้วจะระบุอาการเสียชีวิตอย่างไรก็ได้ใช่หรือไม่ จะ ให้เชื่อได้อย่างไร ตลอดระยะเวลาการรักษาที่โรงพยาบาลศิริราช ใช้เวลา3 เดือน 21 วัน ไม่มีหมอคนไหนพูดถึงอาการของคนไข้ให้ ญาติฟังว่าเป็นมะเร็ง วันที่ไปฟังผลตรวจไขสันหลังหมอบอกว่าที่รับคนไข้ไว้ เพื่อดูอาการเท่านั้น ไม่มีทางรักษาให้หายได้ หมายถึงให้ คนไข้เป็นหนูทดลองยา ให้แพทย์ฝึกหัดไว้ศึกษาใช้หรือไม่ ? หลักจริยธรรมของหมอและโรงพยาบาลมีหรือไม่ ? ต่อให้คนไข้มี 1 % ใน การรอด หน้าที่หมอคือทาหน้าที่ให้ดีที่สุดในการช่วยเหลือคนไข้ ทุกครั้งที่ถามหมอถึงอาการ คาตอบคือ ไม่มีหวัง ไม่รอด เหมือนกับ ว่าหมอไม่ตั้งใจที่จะรักษาและวินิจฉัย แค่ดูอาการผู้ป่วยไปเลื่อยๆจนวินาทีสุดท้ายของชีวิตผู้ป่วย คนไข้เข้ามารักษาที่โรงพยาบาลศิริ ราชตั้งแต่ วันอังคารที่ 31 มกราคม 2554 หมอบอกว่าไม่เป็นไรมากแค่มีปัญหาเรื่องถุงน้าดี ใช้เวลาไม่เกิด 1 อาทิตย์ก็รู้ผล แต่นอน รักษาจนถึง วันพฤหัสบดีที่ 16 กุมภาพันธ์ 2555 ยังไม่ทราบว่าคนไข้เป็นอะไร ก่อนที่จะออกจากโรงพยาบาลศิริราช ทางญาติได้ร้อง ขอให้คนไข้นอนโรงพยาบาลเพื่อดูอาการต่อ แต่หมอบอกว่าหายแล้ว ไม่เป็นไรมาก ให้กลับบ้านได้ ให้มาฟังผลอาทิตย์หน้า หนี้หรือ
  • 8. แผ่นที่ 7 ที่ว่าหายแล้ว ไม่เป็นอะไรมาก ทาไมคนไข้หลังจากกลับไปบ้านแล้วอาการหนักกว่าเก่า และวันที่นัดตรวจหมอก็โทรมาเลื่อนนัดไป ต่างประเทศ หมอห่วงการไปต่างประเทศมากกว่าอาการและชีวิตคนไข้ใช่หรือไม่ ? หมอพูดได้แค่เสียใจ และขอโทษเท่านั้นเองหรือ มัน เกิดอะไรขึ้นกับขั้นตอนการรักษา การประเมินอาการคนไข้ หากแม่ผมเป็นคุณหญิง คุณนาย เป็นคนมีชื่อเสียง หมอคงเช้าถึงเย็นถึง จัดโต๊ะแถลงข่าวทุกวัน แต่แม่ผมไม่มีเงิน ไม่มีชื่อเสียง เลยทาได้แค่รอและรอ ผมคิดว่าการที่จะเรียกใครว่าหมอสักคนนั้นหมายความว่า เขามีความรู้ ความชานาญ และความสามารถในการรักษาและวินิจฉัยโรคได้ แต่กลับไม่ใช้อย่างนั้น หมอกลับไม่สามารถบอกอะไรกลับ ญาติๆได้เลย พอคนไข้เสียชีวิตกับระบุว่าเป็นนูนเป็นนั้น แล้วจะให้ทางญาติๆเชื่อได้อย่างไร ตลอดหลังจากการเสียชีวิต ผมเดินทางไป ที่โรงพยาบาลศิริราช ติดต่อหลายแผนกถามถึงอาการ และขั้นตอนการรักษา พร้อมกับการขอประวัติของคนไข้ก็ไม่สามารถทาได้ ทั้งๆที่ผมเป็นลูกกับทาอะไรไม่ได้เลย ทุกครั้งที่ผมสอบถามเจ้าหน้าที่ ก็จะบอกว่าทาดีที่สุด ทุกอย่างที่เกิดขึ้นเป็นไปตามขั้นตอนของ โรค สิ่งที่บอกหรือชี้แจงไม่ใช่ว่าผมจะไม่เข้าใจ แต่การใช้เวลาในการวินิจฉัยของแต่ละโรคก็ควรมีข้อจากัดในเวลา เพื่อที่จะมีเวลาในการ รักษาต้นตอของโรคต่อไป หากใช้เวลาในการวินิจฉัยนานเกินไป แล้วเวลาที่จะรักษาโรคอย่างแท้จริงก็จะเหลือน้อยลง โอกาสคนไข้นั้นก็ จะเหลือน้อยลง หรืออาจจะไม่มีเลย การที่หมอบอกว่าไม่สามารถวินิจฉัยโรคได้ เหมือนกับว่าไม่มีความรู้ความชานาญในการตรวจ วินิจฉัยที่จะรักษาผู้ป่วยต่อไป ผมอยากให้ผู้ที่มีอานาจในการตัดสินใจ ตรวจสอบขั้นตอนการรักษาและข้อเท็จจริงอื่นๆ ว่าถูกต้องหรือไม่ ระยะเวลาการตรวจ วินิจฉัยโรคใช้เวลานานไปหรือไม่ ในเมื่อทางญาติสงสัยวิธีการรักษา และขั้นตอนต่างๆ ว่าถูกหรือผิด หน้าที่ของโรงพยาบาลก็ควรที่ จะชี้แจ้ง ผมเชื้อว่าต่างคนต่างมีเหตุผลของตัวเอง อยู่ที่ข้อสรุปของทุกฝ่ายว่าจะลงเอยที่จุดใด ทุกครั้งที่คุยกับหมอก็จะเอาหลักการ ทางการแพทย์มาคุย แต่ผมเอาความเป็นจริงมาคุย ควรที่จะหาข้อสรุปตรงกลางถึงความเป็นไปได้ เพราะผมก็พอที่จะเข้าใจหลักการ ต่างๆ ของหมอเช่นกัน ผมไม่ต้องการหาคนทาผิด แต่ต้องการหาความรับผิดชอบ และคาอธิบายต่างๆ ตลอดเกือบ 1 ปี ผมพยายาม ถามถึง และหาคาตอบตลอด แต่ไม่มีใครออกมาชี้แจ้ง ถึงแม้ผมไม่รู้ว่าผลจะออกมาอย่างไง แต่มันก็เป็นหนทางเดียวเท่านั้น ที่สามารถ จะอธิบายความเป็นจริงถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น และคงจะเป็นที่เดียวที่จะรับฟังในสิ่งที่ผมคิด.... ข้อร้องเรียนความเสียหาย 1.โรงพยาบาลทั้ง 3 แห่งใช้ระยะเวลาในการรักษาและวินิจฉัยโรคนานเกินที่จะเป็น ไม่ใส่ใจในการวินิจฉัยหาสาเหตุการเจ็บป่วย หรือรักษาเท่าที่ควรจะเป็นตามหลักจริยธรรมในการประกอบวิชาชีพทางการแพทย์ การที่จะได้รับคาว่า...วิชาชีพ...นั้นหมายความว่า ต้องมีความรู้และความชานาญ ความสามารถในการดูแลและรักษารวมไปถึงการวินิจฉัยโรคต่างๆ ได้เป็นอย่างดี แต่ทั้ง 3 โรงพยาบาลต่างไม่มีความรู้และความชานาญในการวินิจฉัย และรักษาผู้ป่วยเท่าที่ควร ใช้เวลาในการรักษาและวินิจฉัยโรคนานกว่า ควรที่จะเป็น ในการประกอบวิชาชีพทางการแพทย์ 2.ข้อโต้แย้งและคาชี้แจงของผู้ที่เสียหายกับไม่ได้รับความเป็นธรรมเท่าที่ควร โดยโรงพยาบาลและตัวแพทย์ต่างอ้างมาตรฐาน การรักษาเป็นไปตามโรคของผู้ป่วย โดยไม่มีการค้นหา สอบถามผู้เสียหาย ถึงเหตุที่เกิดขึ้น โดยที่ผู้ป่วยไม่ได้รับข้อมูลในการรักษาหรือ แผนการรักษาที่เป็นสิทธิพึ่งจะได้รับเท่าที่ควร 3.โรงพยาบาลรัฐจากัดสิทธิและเลือกปฏิบัติในการรักษาผู้ป่วยอันควรที่จะได้รับในฐานะผู้ป่วย ไม่ว่าเรื่องห้อง เรื่องยา เรื่อง การรักษา โดยคานึงถึงปัจจัย ด้านการเงินมาก่อนชีวิตผู้ป่วยอย่างเห็นได้ชัด (ตัวอย่าง) ห้องธรรมดา ห้องพิเศษ หากคนไข้จาเป็นต้องนอนรักษาตามคาวินิจฉัยของแพทย์แต่ไม่มีห้องธรรมดาซึ่งไม่เสีย ค่าใช้จ่าย ก็ต้องรอห้อง จนกว่าจะมีห้องว่างจึงเริ่มรักษา หากเลือกห้องพิเศษต้องเสียเงินค่าห้อง ตามหลักจริยธรรม ไม่ว่าห้อง ธรรมดาหรือพิเศษ ควรคานึงถึงชีวิตคนไข้เป็นเรื่องสาคัญ มากกว่าปัจจัยด้านการเงิน (ตัวอย่าง) ยาในบัญชี ยานอกบัญชี ตามคาวินิจฉัยของแพทย์คนไข้มีความจาเป็นต้องใช้ยา ถึงจะเป็นยานอกบัญชี หลักประกันสุขภาพแห่งชาติก็ตามทางโรงพยาบาลสามารถเบิกได้เช่นเดียวกัน แต่ความเป็นจริงคนไข้จะต้องเสียเงินค่ายานั้นเอง ตาม หลักจริยธรรมไม่ว่ายาในหรือยานอกบัญชี หากคนไข้จาเป็นที่จะต้องใช้ในการรักษาตามคาวินิจฉัยของแพทย์ ก็พึ่งควรที่จะได้รับ โดย ที่ไม่ต้องคานึงถึง ยาในบัญชีหรือยานอกบัญชี หรือปัจจัยด้านการเงิน (ตัวอย่าง) การรักษา ความรับผิดชอบของแพทย์ต่อผู้ป่วย แพทย์นัดตรวจผู้ป่วย แต่เมื่อถึงวันนัดกลับเลื่อนนัดไป ต่างประเทศ ทั้งๆที่คนไข้อาการหนัก มีความจาเป็นในการที่จะต้องได้รับการรักษาตรวจวินิจฉัยของแพทย์ โดยแพทย์ให้คาชี้แจงว่าถึง