SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 28
กลุ่มโรงเรียนกัลยาณวัตร Learning Environments Model Enhancing  Expert Mental Model ตอบภารกิจการเรียนรู้   ระดับครูมือใหม่
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร และ  สิ่งใดเป็นพื้นฐานที่สำคัญในการเปลี่ยนกระบวนทัศน์ดังกล่าว ปัญหาที่  1
กระบวนทัศน์การออกแบบการสอน  เป็นกระบวนการวางแผนการเรียนการสอนโดยการแปลงหลักการของการเรียนรู้  ( Learning)  การเรียนการสอน  ( Instruction)  ลงสู่การวางแผน (Planning)  สำหรับการเรียนการสอน ๆ ได้แก่  เนื้อหา   วัสดุ สื่อ กิจกรรม แหล่งสารสนเทศ และการประเมิน ตอบภารกิจการเรียนรู้ที่  1
สิ่งที่เป็นพื้นฐานสำคัญในการเปลี่ยนกระบวนทัศน์คือ ทฤษฎีการเรียนรู้  โดยสามารถออกแบบการสอนบนพื้นฐานของทฤษฎีการเรียนรู้  3 กลุ่ม คือ 1 .  บนพื้นฐานทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม      เน้นการถ่ายทอดเน้นหาโดยแยกเป็นส่วนย่อยตามลำดับขั้นตอน ข้ามขั้นไม่ได้จะมีการตั้งวัตถุประสงค์ก่อนเรียนและวัดผลหลังเรียน บางครั้งมีการเสริมแรงให้กับผู้เรียน เพื่อให้เกิดพฤติกรรมตอบสนองออกมา   2 .  บนพื้นฐานทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยม เน้นการถ่ายทอดเน้นหาที่ให้ผู้เรียนเรียนรู้อย่างมีความหมายโดยการจัดระเบียบหมวดหมู่ของสารสนเทศ เพื่อให้สมองสามารถบันทึกความรู้ที่รับมาใหม่ได้ง่ายเกิดการถ่ายโยงความรู้เดิมไปสู่ความรู้ใหม่ และสามารถเรียกกลับมาใช้ได้ตามที่ต้องการ  ตอบภารกิจการเรียนรู้ที่  1  ( ต่อ )
[object Object],[object Object],ตอบภารกิจการเรียนรู้ที่  1 ( ต่อ )
  พื้นฐานทฤษฎีการเรียนรู้ที่สำคัญในการ   ออกแบบการสอนมีอะไรบ้างและมีสาระสำคัญ   อย่างไร และมีความแตกต่างกันอย่างไร ปัญหาที่  2
พื้นฐานทฤษฎีการเรียนรู้ที่สำคัญในการออกแบบการสอน  แบ่งได้  3  กลุ่ม ดังนี้  1.  ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม 2.  ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยม 3.  ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์ ตอบภารกิจการเรียนรู้ที่  2
1.  ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม การเรียนรู้ตามแนวคิดของทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม  หมายถึง การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ซึ่งเป็นผลมาจากประสบการณ์ ที่คนเรามีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม จึงมุ่งศึกษาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ ระหว่างสิ่งเร้ากับพฤติกรรมที่แสดงออกมา สิ่งเร้า พฤติกรรม ที่แสดงออกมา สามารถวัดและ สังเกตจากภายนอกได้
นักจิตวิทยากลุ่มพฤติกรรมนิยม จำแนกพฤติกรรมออกเป็น  2  ประเภท คือ 1.  ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
1.  ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม แผนผังการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิก แนวคิดของพาฟลอฟ   การเรียนรู้เกิดจากการนำสิ่งเร้าที่เป็น  CS ( สิ่งเร้าที่ต้องวางเงื่อนไข )  และ  UCS  ( สิ่งเร้าที่ไม่ต้องวางเงื่อนไข ) มาเสนอควบคู่กัน โดยที่สิ่งเร้านั้นมีลักษณะเป็นแรงเสริมตามธรรมชาติ  แนวคิดของวัตสัน การเรียนรู้เกิดจากความใกล้ชิดของสิ่งเร้ากับการตอบสนอง โดยไม่จำเป็นต้องมีการเสริมแรง ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบลงมือกระทำ แนวคิดของธอร์นไดค์   การเรียนรู้เกิดจากการลองผิดลองถูกและเกิดขึ้นได้จากการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนอง แนวคิดของสกินเนอร์ การเรียนรู้เกิดจากการลงมือกระทำ  และถ้าหากได้รับการเสริมแรงจะทำให้เกิดพฤติกรรมนั้นซ้ำอีก
2.  ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยม การเรียนรู้ตามแนวคิดของทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยม หมายถึง การเปลี่ยนแปลงความรู้ของผู้เรียนทั้งทางด้านปริมาณ และด้านคุณภาพ โดยผู้เรียนมีสิ่งที่เรียนรู้เพิ่มขึ้นแล้ว ยังสามารถจัดรวบรวมเรียบเรียงสิ่งที่เรียนรู้มา เพื่อให้สามารถเรียกกลับมาใช้ได้ตามที่ต้องการ และสามารถถ่ายโยงความรู้เดิมไปสู่ความรู้ใหม่ สิ่งเร้าภายนอก สิ่งเร้าภายใน การเรียนรู้
2.  ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยม ทฤษฎีการเรียนรู้ตามแนวพุทธิปัญญานิยม จำแนกได้หลายทฤษฎี แต่ทฤษฎีที่เป็นที่ยอมรับกันมาก และนำมาประยุกต์ใช้กันมากกับสถานการณ์การเรียนการสอน ได้แก่  1.  ทฤษฎีพัฒนาการเชาวน์ปัญญาของเพียเจต์   2.  ทฤษฎีการเรียนรู้โดยการค้นพบของบรูเนอร์  3.  ทฤษฎีการเรียนรู้อย่างมีความหมายของออซูเบล
2.  ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยม ทฤษฎีการเรียนรู้ กลุ่มพุทธิปัญญานิยม แนวคิดของทฤษฎี ทฤษฎีพัฒนาการ เชาวน์ปัญญาของเพียเจต์   พัฒนาการเชาวน์ปัญญา ผู้เรียนต้องมีการปรับตัว ประกอบด้วยกระบวนการสำคัญ   2  อย่าง คือ  1.  การดูดซึมเข้าสู่โครงสร้างทางปัญญา   2.  การปรับโครงสร้างทางปัญญา ทฤษฎีการเรียนรู้โดยการ ค้นพบของบรูเนอร์  การเรียนรู้จะเกิดขึ้นเมื่อผู้เรียนได้มีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมด้วยตนเอง นำไปสู่การค้นพบและการแก้ปัญหา ทฤษฎีการเรียนรู้อย่างมีความหมายของออซูเบล การเรียนรู้แบบนี้เกิดขึ้นเมื่อผู้เรียนได้มีการเชื่อมโยงสิ่งที่ต้องเรียนรู้ใหม่กับความรู้เดิมที่มีมาก่อน วิธีนี้ช่วยให้เกิดการเรียนรู้ได้เร็วและจำได้นาน
3.  ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์ การเรียนรู้ตามแนวคิดของทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์ หมายถึง การเรียนรู้เป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในของผู้เรียน ความรู้ต่างๆจะถูกสร้างขึ้นด้วยตัวของผู้เรียนเอง โดยใช้ข้อมูลที่ได้รับมาใหม่ร่วมกับความรู้เดิมที่มีอยู่แล้ว มาสร้างความหมายในการเรียนรู้ของตนเอง ความรู้ใหม่ ความรู้เดิม การเรียนรู้
3.  ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์ คอนสตรัคติวิสต์ เชื่อว่า การเรียนรู้เป็นกระบวนการสร้างมากกว่าการรับความรู้ จึงปรากฏแนวคิดที่แตกต่างกันเกี่ยวกับการสร้างความรู้ จากนักจิตวิทยาและนักการศึกษา  Jean Piaget  และ  Lev Vygotsky ซึ่งแบ่งเป็น  2  ประเภท ดังนี้ 1. Cognitive Constructivism 2. Social Constructivism  Theory
3.  ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์ หลักการ วิธีการ Cognitive Constructivism มนุษย์เราต้อง “สร้าง” ความรู้ด้วยตนเองโดยผ่านทางประสบการณ์ ซึ่งประสบการณ์จะกระตุ้นให้ผู้เรียนสร้างโครงสร้างทางปัญญา โดยการเชื่อมโยงความรู้เดิมและสิ่งที่ต้องเรียนใหม่เข้าด้วยกัน Social Constructivism  Theory วัฒนธรรมเป็นเครื่องมือทางปัญญาที่จำเป็นสำหรับการพัฒนารูปแบบและคุณภาพ โดยการนำเทคโนโลยีมาสร้างบริบทสำหรับการเรียนรู้ที่ผู้เรียนสามารถได้รับการส่งเสริม ช่วยกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้
สรุปความแตกต่างของทฤษฎีการเรียนรู้ทั้ง  3  กลุ่ม ทฤษฎีการเรียนรู้ แนวคิด กลุ่มพฤติกรรมนิยม มุ่งที่ศึกษาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้ากับพฤติกรรมที่แสดงออกมา เน้นความสำคัญของสิ่งแวดล้อมเพราะเชื่อว่าสิ่งแวดล้อมจะเป็นตัวที่กำหนดพฤติกรรม กลุ่มพุทธิปัญญานิยม เน้นการถ่ายทอดเนื้อหาที่ให้ผู้เรียนเรียนรู้อย่างมีความหมาย สามารถจัดรวบรวมเรียบเรียงสิ่งที่เรียนรู้มา เพื่อให้สามารถเรียกกลับมาใช้ได้ตามที่ต้องการและสามารถถ่ายโยงความรู้เดิมไปสู่ความรู้ใหม่ กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์ ความรู้ต่างๆจะถูกสร้างขึ้นด้วยตัวของผู้เรียนเอง  โดยใช้ข้อมูลที่ได้รับมาใหม่ร่วมกับความรู้เดิมที่มีอยู่แล้ว
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มใดที่สอดคล้องกับ พรบ . มากที่สุดเพราะเหตุใด ตอบ   ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตัคติวิสต์ เพราะเป็นทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวกับการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง ฝึกเผชิญปัญหาและแก้ไขปัญหาด้วยตนเอง โดยใช้ข้อมูลที่ได้รับมาใหม่ร่วมกับความรู้เดิมที่มีอยู่แล้ว  ( ประสบการณ์เดิมของผู้เรียน ) สอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ . ศ .  2542  หมวด  4  แนวการจัดการศึกษา ในมาตรา  24  การจัดกระบวนการเรียนรู้ ที่ระบุว่า ผู้เรียนต้องฝึกทักษะกระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์ การประยุกต์ความรู้มาใช้เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาโดยการจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกการปฏิบัติให้ทำได้ คิดเป็น ทำเป็น การใฝ่รู้อย่างต่อเนื่อง
ให้วิเคราะห์และวิพากษ์จุดเด่นและ   จุดด้อยของการออกแบบการสอนที่มีพื้นฐาน   จากทฤษฎีการเรียนรู้  กลุ่มพฤติกรรมนิยม    พุทธิปัญญานิยมและคอนสตรัคติวิสต์ ปัญหาที่  3
การออกแบบการสอนบนพื้นฐานทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม ตอบภารกิจการเรียนรู้ที่  3 จุดเด่น จุดด้อย บทบาทของผู้เรียนเป็นผู้รับข้อมูลสารสนเทศ ซึ่งถูกถ่ายทอดจากครูโดยตรง ครูจะสร้างสิ่งแวดล้อมที่ผู้เรียนจะต้องเรียนรู้ การออกแบบการสอนและสื่อ ดังเช่น บทเรียนคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ชุดการสอน มีลักษณะที่สำคัญ ดังนี้  1 )  ระบุวัตถุประสงค์การสอนที่ชัดเจน  2)   การสอนในแต่ละขั้นนำไปสู่การเรียนแบบรอบรู้ในหน่วยการเรียนรู้ 3) ให้ผู้เรียนได้เรียนไปตามอัตราการเรียนรู้ของตน  4)  ดำเนินการสอนไปตามลำดับขั้นที่กำหนดไว้ตามโปรแกรม ทฤษฎีพฤติกรรมนิยมมุ่งเน้น พฤติกรรมที่สังเกตได้เท่านั้น โดยมิได้สนใจกระบวนการคิดหรือกิจกรรมทางปัญญาของมนุษย์ จึงทำให้ผู้เรียนไม่ได้ฝึกกระบวนการคิดที่จะทำให้เกิดการสร้างความรู้ที่เกิดขึ้น โดยตัวผู้เรียนเอง มีแต่รอการป้อนความรู้จากครูผู้สอน
การออกแบบการสอนบนพื้นฐานทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยม จุดเด่น จุดด้อย การเรียนรู้เป็นการเปลี่ยนแปลงความรู้ของผู้เรียน ทั้งทางด้านปัญญาและคุณภาพหรือสิ่งที่ได้เรียนรู้มาจัดระเรียบ จัดหมวดหมู่ เพื่อที่จะสามารถนำความรู้ที่ได้จัดเรียงนั้นกลับมาใช้ได้ตามที่ต้องการ และสามารถเชื่อมโยงความรู้และทักษะเพื่อแก้ปัญหาได้ แบบการเรียนรู้ของกลุ่มทฤษฎี พุทธิปัญญานิยม จะใช้การเลือกที่จะ รับรู้มีสิ่งที่ต้องการ และการท่องจำซ้ำๆ เพื่อที่จะสามารถนำมาเป็นความรู้ แต่ถ้าหากว่าเรื่องที่ผู้เรียนไม่อยากรู้ผู้เรียนก็อาจจะไม่มีคามรู้และทักษะในสิ่งนั้นเพื่อ ที่จะนำไปใช้แก้ปัญหาได้
การออกแบบการสอนบนพื้นฐานทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์ จุดเด่น จุดด้อย กลุ่มทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ เชื่อว่า การเรียนรู้เป็นกระบวนการสร้างมากกว่าการรับรู้ ซึ่งผู้สอนจะเน้นให้ผู้เรียนสร้างความรู้ด้วยตนเองมากกว่าการที่ผู้สอนจะถ่ายทอดความรู้ โดยการจัดสถานการณ์ปัญหาต่างๆให้ผู้เรียนได้แก้ปัญหาด้วยตนเองและผู้สอนจะคอยแนะนำ และจัดแหล่งเรียนรู้เพิ่มเติมให้ผู้เรียนได้ค้นคว้า ถ้าหากว่าผู้สอนไม่ใส่ใจการสร้างสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้ให้กับผู้เรียนแต่เน้นให้ผู้เรียนเรียนรู้เองโดยไม่ค่อยให้คำปรึกษาหรือดูแลผู้เรียนอาจจะมีเรียนรู้ได้ที่นอกเหนือหรือออกจากสิ่งที่ผู้สอนได้ตั้งเป้าหมายไว้และผู้เรียนเกิดความเข้าใจที่แตกต่างกัน
จากสิ่งที่กำหนดต่อไปนี้ให้ท่านจำแนกประเภทตามลักษณะ    การออกแบบโดยระบุเกณฑ์และเหตุผลที่ใช้ในการจำแนกด้วย    ชุดการสอน ชุดสร้างความรู้ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน มัลติมีเดีย   ที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ บทเรียนโปรแกรม เว็บเพื่อ  การสอน  สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่าย การเรียนแบบ   ร่วมมือกันเรียนรู้ ปัญหาที่  4
ตอบภารกิจการเรียนรู้ที่  4 ทฤษฎีการเรียนรู้ จำแนกประเภทตามการออกแบบ กลุ่มพฤติกรรมนิยม ชุดการสอน  การเรียนแบบร่วมมือกันเรียนรู้ กลุ่มพุทธิปัญญานิยม ชุดสร้างความรู้  คอมพิวเตอร์ช่วยสอน เว็บเพื่อการสอน  กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์ มัลติมีเดียที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่าย
ทฤษฎีการเรียนรู้ กลุ่มพฤติกรรมนิยม จำแนกประเภทตามการออกแบบ ได้   2   ประเภทดังนี้ 1. ชุดการสอน  2. การเรียนแบบร่วมมือกันเรียนรู้ เกณฑ์และเหตุผลที่ใช้ในการจำแนกคือ การวัดหรือการประเมินจะประเมินจาก พฤติกรรมที่แสดงออกมา เน้นความสำคัญของสิ่งแวดล้อมเพราะเชื่อว่าสิ่งแวดล้อม จะเป็นตัวที่กำหนดพฤติกรรม เช่น ชุดการสอนเป็นสิ่งแวดล้อมที่เป็นตัวกำหนด พฤติกรรมของผู้เรียนว่าผู้เรียนจะต้องอย่างไรถึงจะเกิดการเรียนรู้ และการเรียนรู้ แบบร่วมมือจะเป็นการกระทำพฤติกรรมต่างๆร่วมกันเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ เกณฑ์และเหตุผลที่ใช้ในการจำแนก
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],เกณฑ์และเหตุผลที่ใช้ในการจำแนก
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],เกณฑ์และเหตุผลที่ใช้ในการจำแนก
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอนทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอนTupPee Zhouyongfang
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้Pattarawadee Dangkrajang
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้Pimpika Jinak
 
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้Pimpichcha Thammawonng
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ (theory of learning)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (theory of learning)ทฤษฎีการเรียนรู้ (theory of learning)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (theory of learning)Kanchana Changkor
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้name_bwn
 
ทฤษฏีสนามของรัตนา
ทฤษฏีสนามของรัตนาทฤษฏีสนามของรัตนา
ทฤษฏีสนามของรัตนาruttanaphareenoon
 
ทฤษฎีจิตวิทยาของกลุ่มเกสตัลท์
ทฤษฎีจิตวิทยาของกลุ่มเกสตัลท์ทฤษฎีจิตวิทยาของกลุ่มเกสตัลท์
ทฤษฎีจิตวิทยาของกลุ่มเกสตัลท์PomPam Comsci
 
กลุ่ม ปัญญานิยม
กลุ่ม ปัญญานิยมกลุ่ม ปัญญานิยม
กลุ่ม ปัญญานิยมNut Kung
 
ทฤษฎีกลุ่มเกสตัลท์-gestalts-theory
ทฤษฎีกลุ่มเกสตัลท์-gestalts-theoryทฤษฎีกลุ่มเกสตัลท์-gestalts-theory
ทฤษฎีกลุ่มเกสตัลท์-gestalts-theoryearlychildhood024057
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมEye E'mon Rattanasiha
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของฮัลล์3
ทฤษฎีการเรียนรู้ของฮัลล์3ทฤษฎีการเรียนรู้ของฮัลล์3
ทฤษฎีการเรียนรู้ของฮัลล์3Dee Arna'
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้pajyeeb
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้Prakul Jatakavon
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้April1904
 
Mapทฤษฎีการเรียนรู้
Mapทฤษฎีการเรียนรู้Mapทฤษฎีการเรียนรู้
Mapทฤษฎีการเรียนรู้TupPee Zhouyongfang
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้Ratchada Rattanapitak
 
นวัตกรรม 21022015
นวัตกรรม 21022015นวัตกรรม 21022015
นวัตกรรม 21022015juthamat fuangfoo
 
สรุปสถานการณ์ปัญหาตามทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม
สรุปสถานการณ์ปัญหาตามทฤษฎีพุทธิปัญญานิยมสรุปสถานการณ์ปัญหาตามทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม
สรุปสถานการณ์ปัญหาตามทฤษฎีพุทธิปัญญานิยมjeerawan_l
 

Mais procurados (20)

ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอนทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
Behaviorism cm
Behaviorism cmBehaviorism cm
Behaviorism cm
 
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ (theory of learning)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (theory of learning)ทฤษฎีการเรียนรู้ (theory of learning)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (theory of learning)
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
ทฤษฏีสนามของรัตนา
ทฤษฏีสนามของรัตนาทฤษฏีสนามของรัตนา
ทฤษฏีสนามของรัตนา
 
ทฤษฎีจิตวิทยาของกลุ่มเกสตัลท์
ทฤษฎีจิตวิทยาของกลุ่มเกสตัลท์ทฤษฎีจิตวิทยาของกลุ่มเกสตัลท์
ทฤษฎีจิตวิทยาของกลุ่มเกสตัลท์
 
กลุ่ม ปัญญานิยม
กลุ่ม ปัญญานิยมกลุ่ม ปัญญานิยม
กลุ่ม ปัญญานิยม
 
ทฤษฎีกลุ่มเกสตัลท์-gestalts-theory
ทฤษฎีกลุ่มเกสตัลท์-gestalts-theoryทฤษฎีกลุ่มเกสตัลท์-gestalts-theory
ทฤษฎีกลุ่มเกสตัลท์-gestalts-theory
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของฮัลล์3
ทฤษฎีการเรียนรู้ของฮัลล์3ทฤษฎีการเรียนรู้ของฮัลล์3
ทฤษฎีการเรียนรู้ของฮัลล์3
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
Mapทฤษฎีการเรียนรู้
Mapทฤษฎีการเรียนรู้Mapทฤษฎีการเรียนรู้
Mapทฤษฎีการเรียนรู้
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
นวัตกรรม 21022015
นวัตกรรม 21022015นวัตกรรม 21022015
นวัตกรรม 21022015
 
สรุปสถานการณ์ปัญหาตามทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม
สรุปสถานการณ์ปัญหาตามทฤษฎีพุทธิปัญญานิยมสรุปสถานการณ์ปัญหาตามทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม
สรุปสถานการณ์ปัญหาตามทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม
 

Destaque

ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้Thunyalak Thumphila
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้masaya_32
 
ทฤษฏีจิตวิเคราะห์ ซิกมัน ฟรอยด์
ทฤษฏีจิตวิเคราะห์  ซิกมัน  ฟรอยด์ทฤษฏีจิตวิเคราะห์  ซิกมัน  ฟรอยด์
ทฤษฏีจิตวิเคราะห์ ซิกมัน ฟรอยด์6Phepho
 
ทฤษฏีการเรียนรู้ทางสังคม
ทฤษฏีการเรียนรู้ทางสังคมทฤษฏีการเรียนรู้ทางสังคม
ทฤษฏีการเรียนรู้ทางสังคมSiririn Noiphang
 
Cognitive Tools for Open-Ended Learning Environments
Cognitive Tools for Open-Ended Learning EnvironmentsCognitive Tools for Open-Ended Learning Environments
Cognitive Tools for Open-Ended Learning EnvironmentsSuthakorn Chatsena
 
บทที่ 3 นำเสนอ
บทที่   3 นำเสนอบทที่   3 นำเสนอ
บทที่ 3 นำเสนอ5650503038
 
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยมสถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยมUraiwan Chankan
 
นวัตกรรมการศีกษาประเภททฤษฎีหรือแนวคิด11
นวัตกรรมการศีกษาประเภททฤษฎีหรือแนวคิด11นวัตกรรมการศีกษาประเภททฤษฎีหรือแนวคิด11
นวัตกรรมการศีกษาประเภททฤษฎีหรือแนวคิด11Tum'Tim Chanjira
 
สถานการณ์และแนวทางแก้ไขปัญหาครูนิศา
สถานการณ์และแนวทางแก้ไขปัญหาครูนิศาสถานการณ์และแนวทางแก้ไขปัญหาครูนิศา
สถานการณ์และแนวทางแก้ไขปัญหาครูนิศาGroup1 NisaPittaya
 
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาบรูเนอร์
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาบรูเนอร์ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาบรูเนอร์
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาบรูเนอร์earlychildhood024057
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้BLue Artittaya
 
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9maxcrycry
 
กลุ่ม 3 ทฤษฎีและแนวคิด นวัตกรรมการศึกษา
กลุ่ม 3 ทฤษฎีและแนวคิด นวัตกรรมการศึกษากลุ่ม 3 ทฤษฎีและแนวคิด นวัตกรรมการศึกษา
กลุ่ม 3 ทฤษฎีและแนวคิด นวัตกรรมการศึกษาAdoby Milk Pannida
 
เพาเวอร์พอย
เพาเวอร์พอยเพาเวอร์พอย
เพาเวอร์พอยNaree50
 
ทฤษฎีพัฒนาการบรูเนอร์
ทฤษฎีพัฒนาการบรูเนอร์ทฤษฎีพัฒนาการบรูเนอร์
ทฤษฎีพัฒนาการบรูเนอร์Habsoh Noitabtim
 

Destaque (19)

ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
ทฤษฏีจิตวิเคราะห์ ซิกมัน ฟรอยด์
ทฤษฏีจิตวิเคราะห์  ซิกมัน  ฟรอยด์ทฤษฏีจิตวิเคราะห์  ซิกมัน  ฟรอยด์
ทฤษฏีจิตวิเคราะห์ ซิกมัน ฟรอยด์
 
ทฤษฏีการเรียนรู้ทางสังคม
ทฤษฏีการเรียนรู้ทางสังคมทฤษฏีการเรียนรู้ทางสังคม
ทฤษฏีการเรียนรู้ทางสังคม
 
Cognitive Tools for Open-Ended Learning Environments
Cognitive Tools for Open-Ended Learning EnvironmentsCognitive Tools for Open-Ended Learning Environments
Cognitive Tools for Open-Ended Learning Environments
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
บทที่ 3 นำเสนอ
บทที่   3 นำเสนอบทที่   3 นำเสนอ
บทที่ 3 นำเสนอ
 
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยมสถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
 
นวัตกรรมการศีกษาประเภททฤษฎีหรือแนวคิด11
นวัตกรรมการศีกษาประเภททฤษฎีหรือแนวคิด11นวัตกรรมการศีกษาประเภททฤษฎีหรือแนวคิด11
นวัตกรรมการศีกษาประเภททฤษฎีหรือแนวคิด11
 
สถานการณ์และแนวทางแก้ไขปัญหาครูนิศา
สถานการณ์และแนวทางแก้ไขปัญหาครูนิศาสถานการณ์และแนวทางแก้ไขปัญหาครูนิศา
สถานการณ์และแนวทางแก้ไขปัญหาครูนิศา
 
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาบรูเนอร์
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาบรูเนอร์ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาบรูเนอร์
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาบรูเนอร์
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
 
กลุ่ม 3 ทฤษฎีและแนวคิด นวัตกรรมการศึกษา
กลุ่ม 3 ทฤษฎีและแนวคิด นวัตกรรมการศึกษากลุ่ม 3 ทฤษฎีและแนวคิด นวัตกรรมการศึกษา
กลุ่ม 3 ทฤษฎีและแนวคิด นวัตกรรมการศึกษา
 
Conceptmap
ConceptmapConceptmap
Conceptmap
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
เพาเวอร์พอย
เพาเวอร์พอยเพาเวอร์พอย
เพาเวอร์พอย
 
ทฤษฎีพัฒนาการบรูเนอร์
ทฤษฎีพัฒนาการบรูเนอร์ทฤษฎีพัฒนาการบรูเนอร์
ทฤษฎีพัฒนาการบรูเนอร์
 
Constructivist theories
Constructivist  theoriesConstructivist  theories
Constructivist theories
 

Semelhante a Com expert1

ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่panggoo
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่Ailada_oa
 
การสอนแบบสืบเสาะ
การสอนแบบสืบเสาะการสอนแบบสืบเสาะ
การสอนแบบสืบเสาะWeerachat Martluplao
 
ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่Vachii Ra
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่noiiso_M2
 
ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1Kiw E D
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5moohmed
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Pitsiri Lumphaopun
 
รายงานการสังเคราะห์รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้
รายงานการสังเคราะห์รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้รายงานการสังเคราะห์รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้
รายงานการสังเคราะห์รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ศน. โมเมจ้า
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่Phornpen Fuangfoo
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1Ailada_oa
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Jo Smartscience II
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Jo Smartscience II
 

Semelhante a Com expert1 (20)

ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
การสอนแบบสืบเสาะ
การสอนแบบสืบเสาะการสอนแบบสืบเสาะ
การสอนแบบสืบเสาะ
 
ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
Kku5
Kku5Kku5
Kku5
 
รายงานการสังเคราะห์รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้
รายงานการสังเคราะห์รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้รายงานการสังเคราะห์รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้
รายงานการสังเคราะห์รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
 
Comed
ComedComed
Comed
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 

Mais de Ptato Ok

Tools4 10-14
Tools4 10-14Tools4 10-14
Tools4 10-14Ptato Ok
 
Chapter5 part1 2
Chapter5 part1 2Chapter5 part1 2
Chapter5 part1 2Ptato Ok
 
Cognitivism theory (2)
Cognitivism theory (2)Cognitivism theory (2)
Cognitivism theory (2)Ptato Ok
 
201704 open ended-research (revision1) (2)
201704 open ended-research (revision1) (2)201704 open ended-research (revision1) (2)
201704 open ended-research (revision1) (2)Ptato Ok
 
Learning task behavio final
Learning task behavio finalLearning task behavio final
Learning task behavio finalPtato Ok
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3Ptato Ok
 
Emerging1n
Emerging1n Emerging1n
Emerging1n Ptato Ok
 
Lasson3 drta1
Lasson3 drta1 Lasson3 drta1
Lasson3 drta1 Ptato Ok
 
คุณลักษณะของ Emerging Technologies in Teaching and Learning
 คุณลักษณะของ Emerging Technologies in Teaching and Learning คุณลักษณะของ Emerging Technologies in Teaching and Learning
คุณลักษณะของ Emerging Technologies in Teaching and LearningPtato Ok
 
Chapter2บทที่ 2
Chapter2บทที่ 2Chapter2บทที่ 2
Chapter2บทที่ 2Ptato Ok
 
Chapter2สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ กับกระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้
Chapter2สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้กับกระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้Chapter2สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้กับกระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้
Chapter2สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ กับกระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้Ptato Ok
 
Spreadsheets as cognitive tools
Spreadsheets as cognitive tools Spreadsheets as cognitive tools
Spreadsheets as cognitive tools Ptato Ok
 
Chaptre1 new
Chaptre1 newChaptre1 new
Chaptre1 newPtato Ok
 
Com exper2
Com exper2Com exper2
Com exper2Ptato Ok
 
Com expert1
Com expert1Com expert1
Com expert1Ptato Ok
 
Com expert
Com expertCom expert
Com expertPtato Ok
 
Com expert kw
Com expert kwCom expert kw
Com expert kwPtato Ok
 

Mais de Ptato Ok (19)

Tools4 10-14
Tools4 10-14Tools4 10-14
Tools4 10-14
 
Chapter5 part1 2
Chapter5 part1 2Chapter5 part1 2
Chapter5 part1 2
 
Cognitivism theory (2)
Cognitivism theory (2)Cognitivism theory (2)
Cognitivism theory (2)
 
201704 open ended-research (revision1) (2)
201704 open ended-research (revision1) (2)201704 open ended-research (revision1) (2)
201704 open ended-research (revision1) (2)
 
Learning task behavio final
Learning task behavio finalLearning task behavio final
Learning task behavio final
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
 
Emerging1n
Emerging1n Emerging1n
Emerging1n
 
Lasson3 drta1
Lasson3 drta1 Lasson3 drta1
Lasson3 drta1
 
คุณลักษณะของ Emerging Technologies in Teaching and Learning
 คุณลักษณะของ Emerging Technologies in Teaching and Learning คุณลักษณะของ Emerging Technologies in Teaching and Learning
คุณลักษณะของ Emerging Technologies in Teaching and Learning
 
Chapter2บทที่ 2
Chapter2บทที่ 2Chapter2บทที่ 2
Chapter2บทที่ 2
 
Chapter2สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ กับกระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้
Chapter2สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้กับกระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้Chapter2สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้กับกระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้
Chapter2สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ กับกระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้
 
Spreadsheets as cognitive tools
Spreadsheets as cognitive tools Spreadsheets as cognitive tools
Spreadsheets as cognitive tools
 
Chapter1
Chapter1 Chapter1
Chapter1
 
Chaptre1 new
Chaptre1 newChaptre1 new
Chaptre1 new
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
Com exper2
Com exper2Com exper2
Com exper2
 
Com expert1
Com expert1Com expert1
Com expert1
 
Com expert
Com expertCom expert
Com expert
 
Com expert kw
Com expert kwCom expert kw
Com expert kw
 

Com expert1

  • 1. กลุ่มโรงเรียนกัลยาณวัตร Learning Environments Model Enhancing Expert Mental Model ตอบภารกิจการเรียนรู้ ระดับครูมือใหม่
  • 2. กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร และ สิ่งใดเป็นพื้นฐานที่สำคัญในการเปลี่ยนกระบวนทัศน์ดังกล่าว ปัญหาที่ 1
  • 3. กระบวนทัศน์การออกแบบการสอน เป็นกระบวนการวางแผนการเรียนการสอนโดยการแปลงหลักการของการเรียนรู้ ( Learning) การเรียนการสอน ( Instruction) ลงสู่การวางแผน (Planning) สำหรับการเรียนการสอน ๆ ได้แก่ เนื้อหา วัสดุ สื่อ กิจกรรม แหล่งสารสนเทศ และการประเมิน ตอบภารกิจการเรียนรู้ที่ 1
  • 4. สิ่งที่เป็นพื้นฐานสำคัญในการเปลี่ยนกระบวนทัศน์คือ ทฤษฎีการเรียนรู้ โดยสามารถออกแบบการสอนบนพื้นฐานของทฤษฎีการเรียนรู้ 3 กลุ่ม คือ 1 . บนพื้นฐานทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม เน้นการถ่ายทอดเน้นหาโดยแยกเป็นส่วนย่อยตามลำดับขั้นตอน ข้ามขั้นไม่ได้จะมีการตั้งวัตถุประสงค์ก่อนเรียนและวัดผลหลังเรียน บางครั้งมีการเสริมแรงให้กับผู้เรียน เพื่อให้เกิดพฤติกรรมตอบสนองออกมา 2 . บนพื้นฐานทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยม เน้นการถ่ายทอดเน้นหาที่ให้ผู้เรียนเรียนรู้อย่างมีความหมายโดยการจัดระเบียบหมวดหมู่ของสารสนเทศ เพื่อให้สมองสามารถบันทึกความรู้ที่รับมาใหม่ได้ง่ายเกิดการถ่ายโยงความรู้เดิมไปสู่ความรู้ใหม่ และสามารถเรียกกลับมาใช้ได้ตามที่ต้องการ ตอบภารกิจการเรียนรู้ที่ 1 ( ต่อ )
  • 5.
  • 6. พื้นฐานทฤษฎีการเรียนรู้ที่สำคัญในการ ออกแบบการสอนมีอะไรบ้างและมีสาระสำคัญ อย่างไร และมีความแตกต่างกันอย่างไร ปัญหาที่ 2
  • 7. พื้นฐานทฤษฎีการเรียนรู้ที่สำคัญในการออกแบบการสอน แบ่งได้ 3 กลุ่ม ดังนี้ 1. ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม 2. ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยม 3. ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์ ตอบภารกิจการเรียนรู้ที่ 2
  • 8. 1. ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม การเรียนรู้ตามแนวคิดของทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม หมายถึง การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ซึ่งเป็นผลมาจากประสบการณ์ ที่คนเรามีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม จึงมุ่งศึกษาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ ระหว่างสิ่งเร้ากับพฤติกรรมที่แสดงออกมา สิ่งเร้า พฤติกรรม ที่แสดงออกมา สามารถวัดและ สังเกตจากภายนอกได้
  • 9.
  • 10. 1. ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม แผนผังการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิก แนวคิดของพาฟลอฟ การเรียนรู้เกิดจากการนำสิ่งเร้าที่เป็น CS ( สิ่งเร้าที่ต้องวางเงื่อนไข ) และ UCS ( สิ่งเร้าที่ไม่ต้องวางเงื่อนไข ) มาเสนอควบคู่กัน โดยที่สิ่งเร้านั้นมีลักษณะเป็นแรงเสริมตามธรรมชาติ แนวคิดของวัตสัน การเรียนรู้เกิดจากความใกล้ชิดของสิ่งเร้ากับการตอบสนอง โดยไม่จำเป็นต้องมีการเสริมแรง ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบลงมือกระทำ แนวคิดของธอร์นไดค์ การเรียนรู้เกิดจากการลองผิดลองถูกและเกิดขึ้นได้จากการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนอง แนวคิดของสกินเนอร์ การเรียนรู้เกิดจากการลงมือกระทำ และถ้าหากได้รับการเสริมแรงจะทำให้เกิดพฤติกรรมนั้นซ้ำอีก
  • 11. 2. ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยม การเรียนรู้ตามแนวคิดของทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยม หมายถึง การเปลี่ยนแปลงความรู้ของผู้เรียนทั้งทางด้านปริมาณ และด้านคุณภาพ โดยผู้เรียนมีสิ่งที่เรียนรู้เพิ่มขึ้นแล้ว ยังสามารถจัดรวบรวมเรียบเรียงสิ่งที่เรียนรู้มา เพื่อให้สามารถเรียกกลับมาใช้ได้ตามที่ต้องการ และสามารถถ่ายโยงความรู้เดิมไปสู่ความรู้ใหม่ สิ่งเร้าภายนอก สิ่งเร้าภายใน การเรียนรู้
  • 12. 2. ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยม ทฤษฎีการเรียนรู้ตามแนวพุทธิปัญญานิยม จำแนกได้หลายทฤษฎี แต่ทฤษฎีที่เป็นที่ยอมรับกันมาก และนำมาประยุกต์ใช้กันมากกับสถานการณ์การเรียนการสอน ได้แก่ 1. ทฤษฎีพัฒนาการเชาวน์ปัญญาของเพียเจต์ 2. ทฤษฎีการเรียนรู้โดยการค้นพบของบรูเนอร์ 3. ทฤษฎีการเรียนรู้อย่างมีความหมายของออซูเบล
  • 13. 2. ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยม ทฤษฎีการเรียนรู้ กลุ่มพุทธิปัญญานิยม แนวคิดของทฤษฎี ทฤษฎีพัฒนาการ เชาวน์ปัญญาของเพียเจต์ พัฒนาการเชาวน์ปัญญา ผู้เรียนต้องมีการปรับตัว ประกอบด้วยกระบวนการสำคัญ 2 อย่าง คือ 1. การดูดซึมเข้าสู่โครงสร้างทางปัญญา 2. การปรับโครงสร้างทางปัญญา ทฤษฎีการเรียนรู้โดยการ ค้นพบของบรูเนอร์ การเรียนรู้จะเกิดขึ้นเมื่อผู้เรียนได้มีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมด้วยตนเอง นำไปสู่การค้นพบและการแก้ปัญหา ทฤษฎีการเรียนรู้อย่างมีความหมายของออซูเบล การเรียนรู้แบบนี้เกิดขึ้นเมื่อผู้เรียนได้มีการเชื่อมโยงสิ่งที่ต้องเรียนรู้ใหม่กับความรู้เดิมที่มีมาก่อน วิธีนี้ช่วยให้เกิดการเรียนรู้ได้เร็วและจำได้นาน
  • 14. 3. ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์ การเรียนรู้ตามแนวคิดของทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์ หมายถึง การเรียนรู้เป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในของผู้เรียน ความรู้ต่างๆจะถูกสร้างขึ้นด้วยตัวของผู้เรียนเอง โดยใช้ข้อมูลที่ได้รับมาใหม่ร่วมกับความรู้เดิมที่มีอยู่แล้ว มาสร้างความหมายในการเรียนรู้ของตนเอง ความรู้ใหม่ ความรู้เดิม การเรียนรู้
  • 15. 3. ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์ คอนสตรัคติวิสต์ เชื่อว่า การเรียนรู้เป็นกระบวนการสร้างมากกว่าการรับความรู้ จึงปรากฏแนวคิดที่แตกต่างกันเกี่ยวกับการสร้างความรู้ จากนักจิตวิทยาและนักการศึกษา Jean Piaget และ Lev Vygotsky ซึ่งแบ่งเป็น 2 ประเภท ดังนี้ 1. Cognitive Constructivism 2. Social Constructivism Theory
  • 16. 3. ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์ หลักการ วิธีการ Cognitive Constructivism มนุษย์เราต้อง “สร้าง” ความรู้ด้วยตนเองโดยผ่านทางประสบการณ์ ซึ่งประสบการณ์จะกระตุ้นให้ผู้เรียนสร้างโครงสร้างทางปัญญา โดยการเชื่อมโยงความรู้เดิมและสิ่งที่ต้องเรียนใหม่เข้าด้วยกัน Social Constructivism Theory วัฒนธรรมเป็นเครื่องมือทางปัญญาที่จำเป็นสำหรับการพัฒนารูปแบบและคุณภาพ โดยการนำเทคโนโลยีมาสร้างบริบทสำหรับการเรียนรู้ที่ผู้เรียนสามารถได้รับการส่งเสริม ช่วยกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้
  • 17. สรุปความแตกต่างของทฤษฎีการเรียนรู้ทั้ง 3 กลุ่ม ทฤษฎีการเรียนรู้ แนวคิด กลุ่มพฤติกรรมนิยม มุ่งที่ศึกษาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้ากับพฤติกรรมที่แสดงออกมา เน้นความสำคัญของสิ่งแวดล้อมเพราะเชื่อว่าสิ่งแวดล้อมจะเป็นตัวที่กำหนดพฤติกรรม กลุ่มพุทธิปัญญานิยม เน้นการถ่ายทอดเนื้อหาที่ให้ผู้เรียนเรียนรู้อย่างมีความหมาย สามารถจัดรวบรวมเรียบเรียงสิ่งที่เรียนรู้มา เพื่อให้สามารถเรียกกลับมาใช้ได้ตามที่ต้องการและสามารถถ่ายโยงความรู้เดิมไปสู่ความรู้ใหม่ กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์ ความรู้ต่างๆจะถูกสร้างขึ้นด้วยตัวของผู้เรียนเอง โดยใช้ข้อมูลที่ได้รับมาใหม่ร่วมกับความรู้เดิมที่มีอยู่แล้ว
  • 18. ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มใดที่สอดคล้องกับ พรบ . มากที่สุดเพราะเหตุใด ตอบ ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตัคติวิสต์ เพราะเป็นทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวกับการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง ฝึกเผชิญปัญหาและแก้ไขปัญหาด้วยตนเอง โดยใช้ข้อมูลที่ได้รับมาใหม่ร่วมกับความรู้เดิมที่มีอยู่แล้ว ( ประสบการณ์เดิมของผู้เรียน ) สอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ . ศ . 2542 หมวด 4 แนวการจัดการศึกษา ในมาตรา 24 การจัดกระบวนการเรียนรู้ ที่ระบุว่า ผู้เรียนต้องฝึกทักษะกระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์ การประยุกต์ความรู้มาใช้เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาโดยการจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกการปฏิบัติให้ทำได้ คิดเป็น ทำเป็น การใฝ่รู้อย่างต่อเนื่อง
  • 19. ให้วิเคราะห์และวิพากษ์จุดเด่นและ จุดด้อยของการออกแบบการสอนที่มีพื้นฐาน จากทฤษฎีการเรียนรู้ กลุ่มพฤติกรรมนิยม พุทธิปัญญานิยมและคอนสตรัคติวิสต์ ปัญหาที่ 3
  • 20. การออกแบบการสอนบนพื้นฐานทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม ตอบภารกิจการเรียนรู้ที่ 3 จุดเด่น จุดด้อย บทบาทของผู้เรียนเป็นผู้รับข้อมูลสารสนเทศ ซึ่งถูกถ่ายทอดจากครูโดยตรง ครูจะสร้างสิ่งแวดล้อมที่ผู้เรียนจะต้องเรียนรู้ การออกแบบการสอนและสื่อ ดังเช่น บทเรียนคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ชุดการสอน มีลักษณะที่สำคัญ ดังนี้ 1 ) ระบุวัตถุประสงค์การสอนที่ชัดเจน 2) การสอนในแต่ละขั้นนำไปสู่การเรียนแบบรอบรู้ในหน่วยการเรียนรู้ 3) ให้ผู้เรียนได้เรียนไปตามอัตราการเรียนรู้ของตน 4) ดำเนินการสอนไปตามลำดับขั้นที่กำหนดไว้ตามโปรแกรม ทฤษฎีพฤติกรรมนิยมมุ่งเน้น พฤติกรรมที่สังเกตได้เท่านั้น โดยมิได้สนใจกระบวนการคิดหรือกิจกรรมทางปัญญาของมนุษย์ จึงทำให้ผู้เรียนไม่ได้ฝึกกระบวนการคิดที่จะทำให้เกิดการสร้างความรู้ที่เกิดขึ้น โดยตัวผู้เรียนเอง มีแต่รอการป้อนความรู้จากครูผู้สอน
  • 21. การออกแบบการสอนบนพื้นฐานทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยม จุดเด่น จุดด้อย การเรียนรู้เป็นการเปลี่ยนแปลงความรู้ของผู้เรียน ทั้งทางด้านปัญญาและคุณภาพหรือสิ่งที่ได้เรียนรู้มาจัดระเรียบ จัดหมวดหมู่ เพื่อที่จะสามารถนำความรู้ที่ได้จัดเรียงนั้นกลับมาใช้ได้ตามที่ต้องการ และสามารถเชื่อมโยงความรู้และทักษะเพื่อแก้ปัญหาได้ แบบการเรียนรู้ของกลุ่มทฤษฎี พุทธิปัญญานิยม จะใช้การเลือกที่จะ รับรู้มีสิ่งที่ต้องการ และการท่องจำซ้ำๆ เพื่อที่จะสามารถนำมาเป็นความรู้ แต่ถ้าหากว่าเรื่องที่ผู้เรียนไม่อยากรู้ผู้เรียนก็อาจจะไม่มีคามรู้และทักษะในสิ่งนั้นเพื่อ ที่จะนำไปใช้แก้ปัญหาได้
  • 22. การออกแบบการสอนบนพื้นฐานทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์ จุดเด่น จุดด้อย กลุ่มทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ เชื่อว่า การเรียนรู้เป็นกระบวนการสร้างมากกว่าการรับรู้ ซึ่งผู้สอนจะเน้นให้ผู้เรียนสร้างความรู้ด้วยตนเองมากกว่าการที่ผู้สอนจะถ่ายทอดความรู้ โดยการจัดสถานการณ์ปัญหาต่างๆให้ผู้เรียนได้แก้ปัญหาด้วยตนเองและผู้สอนจะคอยแนะนำ และจัดแหล่งเรียนรู้เพิ่มเติมให้ผู้เรียนได้ค้นคว้า ถ้าหากว่าผู้สอนไม่ใส่ใจการสร้างสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้ให้กับผู้เรียนแต่เน้นให้ผู้เรียนเรียนรู้เองโดยไม่ค่อยให้คำปรึกษาหรือดูแลผู้เรียนอาจจะมีเรียนรู้ได้ที่นอกเหนือหรือออกจากสิ่งที่ผู้สอนได้ตั้งเป้าหมายไว้และผู้เรียนเกิดความเข้าใจที่แตกต่างกัน
  • 23. จากสิ่งที่กำหนดต่อไปนี้ให้ท่านจำแนกประเภทตามลักษณะ การออกแบบโดยระบุเกณฑ์และเหตุผลที่ใช้ในการจำแนกด้วย ชุดการสอน ชุดสร้างความรู้ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน มัลติมีเดีย ที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ บทเรียนโปรแกรม เว็บเพื่อ การสอน สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่าย การเรียนแบบ   ร่วมมือกันเรียนรู้ ปัญหาที่ 4
  • 24. ตอบภารกิจการเรียนรู้ที่ 4 ทฤษฎีการเรียนรู้ จำแนกประเภทตามการออกแบบ กลุ่มพฤติกรรมนิยม ชุดการสอน การเรียนแบบร่วมมือกันเรียนรู้ กลุ่มพุทธิปัญญานิยม ชุดสร้างความรู้ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน เว็บเพื่อการสอน กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์ มัลติมีเดียที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่าย
  • 25. ทฤษฎีการเรียนรู้ กลุ่มพฤติกรรมนิยม จำแนกประเภทตามการออกแบบ ได้ 2 ประเภทดังนี้ 1. ชุดการสอน 2. การเรียนแบบร่วมมือกันเรียนรู้ เกณฑ์และเหตุผลที่ใช้ในการจำแนกคือ การวัดหรือการประเมินจะประเมินจาก พฤติกรรมที่แสดงออกมา เน้นความสำคัญของสิ่งแวดล้อมเพราะเชื่อว่าสิ่งแวดล้อม จะเป็นตัวที่กำหนดพฤติกรรม เช่น ชุดการสอนเป็นสิ่งแวดล้อมที่เป็นตัวกำหนด พฤติกรรมของผู้เรียนว่าผู้เรียนจะต้องอย่างไรถึงจะเกิดการเรียนรู้ และการเรียนรู้ แบบร่วมมือจะเป็นการกระทำพฤติกรรมต่างๆร่วมกันเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ เกณฑ์และเหตุผลที่ใช้ในการจำแนก
  • 26.
  • 27.
  • 28.