SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 23
หน่วยที่ 4 ระบบสารสนเทศกับองค์กรธุรกิจ
สาระการเรียนรู้ 
1. ความหมายขององค์กรธุรกิจ 
2. ระบบสารสนเทศในเชิงธุรกิจ 
3. ชนิดของระบบสารสนเทศในการบริหารการจัดองค์กร 
4. ระบบสารสนเทศในองค์กร 
5. ระดับสารสนเทศในองค์กร 
6. ความสาคัญของระบบสารสนเทศในองค์กร 
7. ผลกระทบขององค์กรต่อระบบสารสนเทศ 
8. บทบาทที่เปลี่ยนไปของระบบสารสนเทศในองค์กร
1 ความหมายขององค์กรธุรกิจ 
องค์กร (Organization) เป็นระบบที่มีองค์ประกอบ ได้แก่ บุคลากร วัสดุอุปกรณ์ กระบวนการทางาน กฎ กติกา 
เพื่อร่วมกันทากิจกรรมให้บรรลุประสงค์และเป้าหมายขององค์กร องค์กรมีลักษณะที่คงที่ คือ องค์กรมีระยะเวลาในการดารง 
คงอยู่ และ ดาเนินการเป็นกิจวัตรหรือมีความสม่าเสมอ มีระเบียบ และ ดาเนินการตามกฎเกณฑ์ เพราะองค์กรเป็นสิ่งที่มีอยู่ 
ตามกฎหมายและดาเนินงานตามกฎหมาย มีกฎเกณฑ์ กระบวนการในการดาเนินงานภายในองค์กร องค์กรยังเป็น 
โครงสร้างทางสังคม เพราะเป็นการรวมองค์ประกอบทางสังคม องค์กรยังเป็นส่วนของสิ่งที่ทาหน้าที่ประมวลผลสารสนเทศ 
ธุรกิจ หมายถึง การดาเนินกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการผลิต การจาหน่าย และ การบริการเพื่อสนองความต้องการของ 
ผู้บริโภค โดยหวังผลตอบแทนเป็นกาไร ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2545 ได้ให้ความหมายวา่ ธุรกิจ 
หมายถึง การงานประจา เก่ยีวกับการค้าขาย หรือกิจกรรมอย่างอ่นืที่ไม่ใช่ราชการ 
องค์กรธุรกิจ หมายถึง กลุ่มคนซงึ่ร่วมกันทากิจกรรมทางธุรกิจเพื่อหวังผลตอบแทนเป็นกาไร และลงทุน
2. ระบบสารสนเทศในเชิงธุรกิจ 
ในองค์กรโดยทั่วไป จะมีการแบ่งระดับล่าง ผู้บริหารระดับกลาง และ ผู้บริหารระดับจะมีบุคลากรที่ทา หน้าที่รับผิดชอบ 
ดูแล ได้แก่ ผู้บริหารระดับล่าง ผู้บริหารระดับสูง ซึ่งจะมีกิจกรรมแตกต่างกันออกไป 
ผู้บริหารระดับล่าง จะรับผิดชอบควบคุมกิจกรรมที่เกิดขึ้นเป็นประจา ในแต่ละวัน 
ผู้บริหารระดับกลาง จะเป็นระดับซึ่งรับ และ ดา เนินการตามแผนงานของผู้บริหารระดับสูงรวมทั้งดูแล ควบคุมการทา งาน 
ระดับล่าง 
ผู้บริหารระดับสูง จะทาหน้าที่ในการตัดสินใจ กาหนดกลยุทธ์ในระยะยาวเกี่ยวกับทิศทางขององค์กร สินค้า หรือ 
บริการใหม่ ๆ ที่องค์กรจะดา เนินการ 
จะเห็นได้ว่ากิจกรรมที่เกิดขึ้นของผู้บริหารในแต่ละระดับจะมีความแตกต่างกัน ดังนั้น ความต้องการ สารสนเทศจึงมี 
ความแตกต่างกัน ระบบสารสนเทศที่จะนาเข้าไปช่วยในการบริหารการจัดการก็จะมีความแตกต่างกันด้วย
3. ชนิดของระบบสารสนเทศในการบริหารการจัดการองค์กร 
องค์กรธุรกิจต่างๆ ที่ดาเนินกิจการอยู่นัน้ โดยทวั่ไปจะแบ่งระดับในการบริหารการจัดการออกเป็น 3- 
4 ระดับ ในขณะเดียวกันองค์กรนัน้ก็มีการแบ่งออกเป็นแผนกต่างๆ ตามหน้าที่การทางาน องค์กรและ 
ระบบสารสนเทศสามารถแบ่งออกเป็นในระดับต่างๆ ตามบริหารการจัดการได้ 4 ระดับไดแก่ ระบบกล 
ยุทธ์ ระดับการจัดการระดับความรู้ และ ระดับปฏิบัติการ ในขณะเดียวกันถ้าแบ่งตามหน้าที่การทางาน 
สามารถแบ่ง ออกเป็น แผนกการขายและการตลาด (Sales and marketing) แผนกการเงิน 
(Finance) แผนกการบัญชี (Accounting) และ แผนกทรัพยากรบุคคล(Human 
resources) จึงเกิดระบบสารสนเทศที่เข้าไปแต่ละระดับ และ แต่ละหน้าที่ในองค์กร
3 ชนิดของระบบสารสนเทศในการบริหารการจัดการองค์กร 
• 1. ระบบสารสนเทศในระดับปฏิบัติงาน (Operational-level system) เป็นระบบ 
สารสนเทศที่ติดตาม และ ตรวจสอบกิจกรรม และธุรกรรมพื้นฐานของ องค์กร เช่นยอดขาย 
ใบเสร็จรับเงิน การฝากเงิน การจ่ายเงินเดือน การเคลื่อนย้ายวัตถุในการผลิต วัตถุประสงค์ หลักของ 
ระบบ ในระดับนีเ้พื่อสามารถตอบคาถามที่เกิดขึน้เป็นประจา ติดตามการเคลื่อนไหวของสารสนเทศทัง้ 
องค์กรเช่น มีวัตถุดิบ A ในคลังสินค้าจานวนเท่าใด ค่าแรงในเดือนนีจ้านวนเท่าใด เป็นต้น ในการตอบ 
คาถามประเภทนี้สารสนเทศ จะต้องมีความพร้อม ที่จะเรียก ใช้ได้ ตลอดเวลา เป็นสารสนเทศที่ได้รับ 
การปรับปรุงให้ทันสมัยเสมอและสารสนเทศนัน้จะต้องมีความถูกต้อง ระบบสารสนเทศนีร้วมไปถึง 
ระบบซึ่งบันทึกการฝากเงินจากเครื่องรับจ่ายเงินอัตโนมัติ (Automatic teller machine 
ATM) หรือ ระบบซึ่งติดตามชั่วโมงการทางานของพนักงานในโรงงานในแต่ละวัน
3 ชนิดของระบบสารสนเทศในการบริหารการจัดการองค์กร 
2. ระบบสารสนเทศระดับความรู้ (Knowledge-level systems) เป็นระบบที่สนับสนุน 
พนักงานที่ทางานเกี่ยวกับเทคนิค ข้อมูลต่างๆ เช่น ระบบช่วยเพิ่มผลผลิตของวิศวกร และ นักออกแบบ 
วัตถุประสงค์ของระบบนี้จะเป็นระบบที่ช่วยธุรกิจในการรวบรวมความรู้ใหม่ๆ เข้าสู่ธุรกิจและช่วยในการ 
ควบคุมการเคลื่อนย้ายของงานเอกสาร การประยุกต์ใช้งานระบบในระดับนีซึ้่งมีการเติบโตอย่างรวดเร็ว 
ได้แก่ ระบบสานักงาน (office systems)
3 ชนิดของระบบสารสนเทศในการบริหารการจัดการองค์กร 
3. ระบบสารสนเทศในระดับการจัดการ(Management-level system) เป็นระบบ 
สารสนเทศซึ่งสนับสนุนกิจกรรมการตรวจสอบ ควบคุม ตัดสินใจ และ บริหารงานของผู้บริหารระดับกลาง 
ที่เกิดขึน้ สาหรับระบบในระดับนี้เช่น งานช่วงนีเ้ป็นไปด้วยหรือไม่ ระบบนีก้็จะทาการเปรียบเทียบ ผลผลิต 
ปัจจุบัน เดือนที่แล้ว หรือ ปีที่แล้วในช่วงเวลาเดียวกัน ระบบนีป้กติจะให้รายงานเป็นระยะมากกว่าที่อยู่ 
การหาที่อยู่ การผอ่นบ้าน ของพนักงานในทุกแผนกของกิจการเพื่อดูว่าค่าต้นทุนค่าใช้จ่ายที่เป็นสวัสดิการ 
พนักงาน เกินกว่างบประมาณที่ตัง้ไว้หรือไม่
3 ชนิดของระบบสารสนเทศในการบริหารการจัดการองค์กร 
4. ระบบสารสนเทศในระดับกลยุทธ์ (Strategic-level systems) เป็นระบบสารสนเทศซึ่งสนับสนุน กิจกรรม 
การวางแผนระยะยาวของผู้บริหารระดับสูง ระบบนีช้่วยผู้บริหารระดับสูงจัดการกับกาหนดกลยุทธ์ และแนวโน้มในระยะ 
ยาวทัง้องค์กร หลักการของระบบนีเ้กี่ยวข้องกับ การพิจารณาความสามารถ ขององค์กร ที่มี อยู่ในปัจจุบัน ให้ตอบรับกับ 
การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมภายนอกคาถามสาหรับสารสนเทศระดับนี้เช่น ระดับการจ้างงานใน 5 ปีข้างหน้า กิจการ 
ควรจะผลิตสินค้า หรือผลิตภัณฑ์ใหม่ อะไรจึงจะเหมาะสมกับสภาวะแวดล้อม และ สถานะ ความสามารถของกิจการ 
ระบบสารสนเทศสามารถแบ่งออกตามหน้าที่พืน้ฐานในการทางานหน้าที่หลักในการทางานได้แก่ การขายและ 
การตลาด การผลิต งานบัญชี และงานบุคคล ในแต่ละหน้าที่จะมีระบบสารสนเทศที่เข้าไปสนับสนุนการทางานนัน้ๆ ใน 
องค์กรขนาดใหญ่ หน้าที่พืน้บานเหล่านีส้ามารถแบ่งออกเป็นหน้าที่ย่อย ซงึ่จะมีระบบสารสนเทศย่อยสนับสนุน เช่น ใน 
หน้าที่การลิตจะมีระบบย่อย ได้แก่ระบบจัดการสินค้าคงคลัง(Inventory Management systems) ระบบ 
ควบคุมกระบวนการผลิต (Process Control systems) ระบบวางแผนความต้องการวัตถุดิบ (Material 
Requirement Planning systems)
4. ระบบสารสนเทศในองค์กร 
6 ระบบสารสนเทศหลัก ๆ ในองค์กร ได้แก่ 
- ระบบประมวลผลธุรกรรมหรือระบบประมวลผลรายการ (TPS: Transaction Processing System) 
สนองตอบการทางานระดับปฏิบัติการขององค์กร 
- ระบบงานความรู้ (Knowledge work System: KWS) และ 
- ระบบสานักงานอัตโนมัติ (Office automation Systems: OAS) สนองตอบการทางานของพนักงาน 
เทคนิคขององค์กร 
- ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management Information Systems: MIS) และ 
- ระบบสนับสนุนการตัดสิน (Decision Support System: DSS) สนองตอบการทางานในระดับการ 
จัดการขององค์กร 
- ระบบสนับสนุนผู้บริหารระดับสูง(Executive Support System: ESS) เป็นระบบที่ใช้ในระดับกลยุทธ์ 
ขององค์กร
5. ระดับสารสนเทศในองค์กร 
การหาหนทางที่จะใช้เทคโนโลยีในการจัดการสารสนเทศใน พ.ศ.2538 รัฐบาลไทยประกาศอย่างเป็นทางด้าน 
คอมพิวเตอร์และระบบสื่อสารเป็นตัวนาได้เห็น ความสาคัญของระบบข้อมูลซึ่งมีเทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์และ 
ระบบสื่อสารเป็นตัวนาและ มีบทบาทสาคัญในการพัฒนาและผลักดันให้เกิด การใช้ทรัพยากรของประเทศอย่างมี 
ประสิทธิภาพทัง้ในด้านทรัพยากรมนุษย์ วัสดุอุปกรณ์ และเวลา ให้มีประสิทธิภาพสูงสุด รัฐบาลได้ลงทุนโครงการพืน้ฐาน 
ทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นจานวนมาก เช่น การขยายระบบโทรศัพท์ การขยายเครือข่ายสื่อสาร การสร้างระบบ 
ฐานข้อมูลทะเบียนราษฎร์ เมื่อพิจารณาระบบสารสนเทศที่เกี่ยวข้องในองค์กรพอที่จะแบ่งการจัดการสารสนเทศขององค์กร 
ได้ตามจานวนคนที่เกี่ยวข้อง ตามรูปแบบการรวมกลุ่มขององค์กรได้ 3 ระดับ คือ 
1. ระบบสารสนเทศระดับบุคคล 
2. ระบบสารสนเทศระดับกลุ่ม 
3. ระบบสารสนเทศระดับองค์กร
5. ระดับสารสนเทศในองค์กร 
1. ระบบสารสนเทศระดับบุคคล 
ระบบสารสนเทศระดับบุคคล คือ ระบบข้อมูลที่เสริมประสิทธิภาพ และ เพิ่มผลงาน ให้บุคลากรในแต่ละคนในองค์กร ระบบ 
สารสนเทศ ระดับบุคคลนีมี้แนวทางในการประยุกต์ที่ช่วยให้การทางานในหน้าที่รับผิดชอบ และ ส่วนตัวของผู้นัน้มีคุณภาพ 
และประสิทธิภาพ 
ปัจจุบันคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลมีขนาดเล็กลง ราคาถูก แต่ มีความสามารถในการประมวลผลด้วยความเร็วสูงขึน้ 
ประกอบกับมีโปรแกรมสาเร็จที่ทาให้ผู้ใช้สามารถใช้งานได้ง่าย กว้างขวาง และ คุ้มค่ามากขึน้โปรแกรมสาเร็จในปัจจุบันเริ่ม 
มรความลงตัวและมีการรวบรวมไว้เป็นชุดโปรแกรม เช่น โปรแกรมประมวลคา ที่ช่วยในการพิมพ์เอกสาร โปรแกรมช่วยทา 
จดหมายเวียนโปรแกรมที่ใช้ในการจัดทาแผ่นใส เพื่อการบรรยายและทาภาพกราฟิก โปรแกรมที่ช่วยในการทาวารสาร และ 
หนังสือ โปรแกรมตารางทางาน โปรแกรมช่วยในการจัดเก็บ และ ประมวลผลแฟ้ม ข้อมูล และโปรแกรมช่วยในการสร้าง 
ตารางการบริหารงาน เป็นต้น ชุดโปรแกรมที่ได้รับความนิยมในปัจจุบัน เป็นโปรแกรมได้รวบรวม โปรแกรมสร้างเอกสาร 
โปรแกรมจัดทาแผ่นใสหรือข้อความประกอบคาบรรยายและแผ่นประกาศโปรแกรมประมวลผลในรูปแบบตารางทางาน 
โปรแกรมจัดการฐานข้อมูล เป็นต้น
5 ระดับสารสนเทศในองค์กร 
2. ระบบสารสนเทศระดับกลุ่ม 
ระบบสารสนเทศระดับกลุ่ม คือ ระบบสารสนเทศที่ช่วยเสริมการทางานของกลุ่มบุคคลที่มีเป้าหมาย การทางานกันให้ 
มีประสิทธิภาพมากขนึ้ เช่น ตัวอย่างของการใช้ระบบสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนงานของแผนก คาว่า การทางานเป็นกลุ่ม 
หมาถึง กลุ่มบุคคลจานวน 2 คนขนึ้ไปที่ร่วมกันทางานเพื่อ ให้บรรลุเป้าหมาย 
การประยุกต์ใช้งานคอมพิวเตอร์ในลักษณะของการทางานเป็นกลุ่ม สามารถใช้กับงานต่าง ๆ ได้เช่น ตัวอย่างระบบ 
บริการลูกค้า หรือ การเสนอขายสินค้าผ่านทางสื่อโทรศัพท์ พนักงานในทีมงานอาจจะมีอยู่หลายคนและใช้เครือข่าย 
คอมพิวเตอร์ในการเก็บข้อมูลกลางของลูกค้าร่วมกันกล่าวคือ มีข้อมูลเพียงชุดเดียว ที่พนักงานทุกคนจะเข้าถึงได้ ถ้ามีการ 
เปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติมพนักงานในกลุ่มทางานจะต้องรับรู้ด้วย
5 ระดับสารสนเทศในองค์กร 
3. ระบบสารสนเทศระดับองค์กร 
ระบบสารสนเทศระดับองค์กร คือ ระบบสารสนเทศที่สนับสนุนงานขององค์กรในภาพรวม ระบบในลักษณะนีจ้ะ 
เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานร่วมกันของหลายแผนก โดยการใช้ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง และ ส่งผ่านถึงกันจากแผนกหนึ่งข้ามไปอีก 
แผนกหนึ่งได้ ระบบสารสนเทศดังกล่าวนีจึ้งสามารถสนับสนุนงานการใช้ข้อมูล เพื่อการบริหารงานในระดับผู้ปฏิบัติการ 
และสนับสนุนงานการบริหาร และ จัดการในระดับที่สูงขึน้ได้ด้วยเนื่องจากสามารถให้ข้อมูลจากแผนกต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องมา 
ประกอบการตัดสินใจ โดยอาจนาข้อมูลมาแสดงในรูปแบบสรุป หรือในแบบฟอร์มที่ต้องการได้ ระบบการประสานงานเพื่อ 
การสร้างรายได้ให้กับธุรกิจ
6. ความสา คัญของสารสนเทศในองค์กร 
การพัฒนาระบบสารสนเทศในองค์กรด้วยเหตุดังต่อไปนี้ 
1. การบริหารงานมีความซับซ้อนมากขึน้ เนื่องจากปริมาณงานเพิ่มขึน้ องค์กรขยายใหญ่ขึน้ปัญหาภายในและ 
ภายนอกองค์กรมีมากขึน้ การเตรียมการขายาตัวขององค์กรในอาณาเขต เนื่องจากการขายาตัว ขององค์กร และ ภาวะ 
เศรษฐกิจของประเทศ 
2. ความจาเป็นในเรื่องกรอบเวลา ปัจจุบันผู้บริหารต้องสามารถปฏิบัติงาน ในกรอบของเวลาที่สัน้ลง เพื่อตอบสนอง 
ต่อการแข่งขันต่างๆ และการที่สังคมมีการใช้ระบบสื่อสารข้อมูลที่ทันสมัยเพิ่มมากขึน้เป็นผลทาให้ การแข่งขันธุรกิจมีมาก 
ขึน้ตามลาดับ 
3. การพัฒนาทางเทคนิค คือ เครื่องมือต่าง ๆ เพื่อเป็นเครื่องช่วยในการตัดสินใจ 4. การตระหนักถึงคุณค่า และ 
ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างเทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีขนาดเล็กลง ราคาถูกลงมี 
ความสามารถมากขึน้ การใช้คอมพิวเตอร์จะแพร่หลายอย่าง รวดเร็วระบบส่อสารมีความก้าวหน้ายิ่งขึน้จึงเป็นผลที่จะทาให้ 
องค์กรต่าง ๆ ต้องใช้เทคโนโลยีในการสร้างMIS
7 ผลกระทบขององค์กรต่อระบบสารสนเทศ 
1. การตัดสินใจเกี่ยวกับบทบาทของระบบสารสนเทศองค์กรมีผลกระทบโดยตรงต่อเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยการตัดสินใจ 
ว่าเทคโนโลยีจะถูกใช้อย่างไรในองค์กร และเทคโนโลยีจะแสดงบทบาทอะไรในองค์กร แสดงถึงงานประยุกต์เปลี่ยนแปลงไป 
ของระบบสารสนเทศ ระบบสารสนเทศมีการเปลี่ยนแปลงจากระบบ 
ในช่วงทศวรรษ 1990จึงได้เกิดโครงแบบสาหรับองค์กรเครือข่ายเต็มรูปแบบในโครงแบบใหม่นี้ เครื่อง 
เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ศูนย์กลางขนาดใหญ่จะเก็บสารสนเทศ(เหมือนห้องสมุด)และทาหน้าที่ประสานสารสนเทศระหว่าง 
เครื่องคอมพิวเตอร์ตัง้โต๊ะ และ ข่ายงานเฉพาะที่ขนาดเล็กจานวนเป็นร้อย คอมพิวเตอร์นีป้ฏิบัติงานคล้ายโทรศัพท์ดังนัน้ 
ภาพโดยรวม คือ จากการเป็นเสมือนโรงงานเอกเทศที่ทาการผลิตกลุ่มของ ผลิตภัณฑ์สารสนเทศ ระบบสารสนเทศจะ 
กลายเป็นเครื่องมือเชิงโต้ตอบโดยตรงแบบเบ็ดเสร็จเกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการ และ การตัดสินใจที่เกิดขึน้ขององค์กรขนาด 
ใหญ่องค์กรในปัจจุบันจึงขึน้อยู่กับระบบอย่างมาก และแทบจะอยู่รอดไม่ได้ถ้าระบบหยุดทางาน แม้เพียงนาน ๆ ครัง้ เช่น 
องค์กรขนาดใหญ่ส่วนมากซึ่งกระแสเงินสดหมุนเวียน เชื่อมโยงกับระบบสารสนเทศ
7. ผลกระทบขององค์กรต่อระบบสารสนเทศ 
2 การตัดสินใจเกี่ยวกับโปรแกรมสาเร็จรูป องค์กรส่งผลกระทบต่อเทคโนโลยีสารสนเทศโดยผ่านการตัดสินใจว่า ใครจะเป็น 
ผู้ออกแบบ สร้าง และ ดาเนินการกับเทคโนโลยีชนิดอื่น และ เช่น เดียวกับเทคโนโลยีภายในองค์กร 
คอมพิวเตอร์สาเร็จรูป ประกอบด้วย 3 ส่วน 
ส่วนแรก ได้แก่ หน่วยองค์กร หรือที่อย่างเป็นทางการที่เรียก แผนระบบสารสนเทศ(Information System 
Department) ได้แก่ หน่วยองค์กรอย่างเป็นทางการที่รับผิดชอบต่อหน้าที่ระบบสารสนเทศในองค์กร 
ส่วนที่ 2 ประกอบด้วย ผู้เชี่ยวชาญระบบสารสนเทศเช่นนักเขียนโปรแกรม หรือ โปรแกรมเมอร์(Programmers) 
นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) ผู้นาโครงการ (Project Leaders ) และผู้จัดการระบบสารสนเทศ 
(Information Managers)รวมไปถึงผู้เชี่ยวชาญภายนอก เช่นผู้ขายผู้ผลิตฮาร์ดแวร์ บริษัทซอฟต์แวร์ และบริษัทที่ 
ปรึกษา ซึ่งเข้ามีบทบาทในการปฏิบัติงานแต่ละวัน และ การวางแผนระยะยาวของระบบสารสนเทศ 
ส่วนที่ 3 ของระบบสารสนเทศสาเร็จรูป ได้แก่ เทคโนโลยีซอฟต์แวร์ในปัจจุบันระบบสารสนเทศ ทาหน้าที่เป็นตัวแทนการ 
เปลี่ยนแปลงในองค์กร แนะนากลยุทธ์ทางธุรกิจใหม่ๆ และผลิตภัณฑ์ที่อิงสารสนเทศ ใหม่ ๆ และประสานระหว่างการพัฒนา 
เทคโนโลยี กับการเปลี่ยนแปลงในองค์กร ที่ได้วางแผนไว้ และขนาดของ
7 ผลกระทบขององค์กรต่อระบบสารสนเทศ 
3. การตัดสินใจเกี่ยวกับเหตุผลในการสร้างระบบสารสนเทศผู้บริหารจะเป็นผู้ให้เหตุผลสาหรับ การสร้างระบบสารสนเทศ 
เหตุผลอันดับแรกอาจจะเป็นเหตุผลด้านเศรษฐกิจ หรือ การให้บริการที่ดีขึ้น หรือให้สถานที่ทางานที่ดีขึน้ ผลกระทบของ 
คอมพิวเตอร์ในองค์กรใด ๆ ส่วนหนึ่งจึงขึน้อยู่กับการตัดสินใจของผู้บริหาร ในระยะแรกเหตุผลในการพัฒนาระบบ 
สารสนเทศเป็นเหตุผลง่าย ๆ โดยทวั่ไปแล้วองค์กรจะนาระบบสารสนเทศมาใช้งานเพื่อให้ประสิทธิภาพสูงขึน้ เพื่อประหยัด 
ค่าใช้จ่ายเพื่อลดจานวนแรงงาน เหตุผลในการ พัฒนาระบบในส่วนที่เกี่ยวกับองค์กร จึงสามารถแบ่งออกเป็น 2 ส่วนใหญ่ 
ๆ คือ องค์ประกอบสภาพแวดล้อมภายนอกและองค์ประกอบภายในองค์กร 
องค์ปรกอบจากสภาพแวดล้อม (Environmental factors) เป็นองค์ประกอบที่อยู่ภายนอกองค์กร ซึ่งมี 
อิทธิพลต่อการนาระบบมาใช้งาน และ การออกแบบระบบสารสนเทศ 
องค์ประกอบภายในองค์กร (Institutional factors) เป็นองค์ประกอบภายในองค์กรซึ่งมีอิทธิพลต่อการนา 
ระบบมาใช้งาน และการออกแบบระบบสารสนเทศ องค์ประกอบเหล่านี้รวมไปถึงคุณค่า บรรทัดฐาน ผลได้ ผลเสียที่ 
กระทบต่อกลยุทธ์ของ
8. บทบาทที่เปลี่ยนไปของระบบสารสนเทศในองค์กร 
ระบบสารสนเทศ ความสามารถในการทางานแบบออนไลน์ และ ความสามารถในการ โต้ตอบกับผู้ใช้ได้กลายเป็นส่วนที่ 
ถูกผสมผสานเข้ากับการทางานใน ทุกเสีย้ววินาทีขององค์กรขนาดใหญ่ ดังนั้นจึงต้องมีการปรับบทบาทที่เปลี่ยนไปของ 
ระบบงานในองค์กรและรูปแบบการทางานที่ถูกหนทางที่จะทาให้องค์กรมีอิทธิพลต่อวิธีการนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้งาน 
คือการตัดสินใจเกี่ยวกับการจัดโครงสร้าง ขององค์ประกอบทางเทคโนโลยีและการกาหนดโครงสร้างขององค์กร 
ผู้วิเคราะห์ ระบบสารสนเทศ (Information system manger) หมายถึงผู้นาของทีมโปรแกรมเมอร์ทีมผู้ 
วิเคราะห์ ผู้บริหารโครงการ รวมทัง้เป็นหัวหน้าผู้บริหารการปฏิบัติงานคอมพิวเตอร์ และพนักงานป้อนข้อมูล 
องค์กรสมัยใหม่จานวนหนึ่ง มีการกาหนดตาแหน่งฝ่ายสารสนเทศให้เป็น ซีไอโอ(Chief Information 
officer: CIO) ซงึ่เป็นตาแหน่งผู้บริหารชัน้สูงสุดที่รับผิดชอบงานด้านสารสนเทศขององค์กร โดยเฉพาะผู้ใช้ทวั่ไป (End 
users) หมายถุงบุคลากรภายนอกฝ่ายสารสนเทศซงึ่เป็นผู้ใช้งานระบบสารสนเทศทสี่ร้างขนึ้มา 
เทคนิคการพัฒนาระบบงานในปัจจุบันได้ให้ความสาคัญแก่คนในกลุ่มนี้มากขึน้ด้วยการเชิญเข้ามาร่วมงาน ในระหว่าง 
การออกแบบและพัฒนาระบบงาน
9. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการและขบวนการทางธุรกิจ 
1. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการด้านการเงิน ทาหน้าที่ในการจัดการสารสนเทศด้านการเงิน ให้แก่ผู้บริหาร และ กลุ่ม 
บุคคลซึ่งต้องการทาการตัดสินใจให้ดีขึน้ ช่วยในการหาโอกาส และ ทราบปัญหาที่เกิดขึน้ได้อย่างรวดเร็วโดยระบบ 
สารสนเทศด้านการเงินนิยมใช้รวมเข้ากับซอฟต์แวร์ในการวางแผนทรัพยากรขององค์กร (Enterprise Resource 
Planning :ERP) ซงึ่เป็นกลุ่มของโปรแกรมที่จัดการ วิเคราะห์ และติดตามการดาเนินธุรกิจ ของแหล่งผลิตหรือสาขา 
ต่าง ๆ ขององค์กร เพื่อให้แน่ใจว่าสารสนเทศด้านการเงินในการปฏิบัติงานสามารถนาไปใช้สนับสนุนความสามารถในการ 
ตัดสินใจให้แก่บุคคลที่ต้องการได้ทันเวลา ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ ด้านการเงิน
9. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการและขบวนการทางธุรกิจ 
2. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการด้านทรัพยากรมนุษย์ ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการด้านทรัพยากรมนุษย์ หรือเรียก 
อีกชื่อหนึ่งว่าระบบสารสนเทศด้านบุคลากร ได้แก่ระบบงานที่เกี่ยวข้องกับพนักงานขององค์กร เนื่องจากการทางานของ 
ทรัพยากรมนุษย์จะเกี่ยวข้องกับทุกส่วนงานขององค์กรดังนัน้ ระบบสารสนเทศ ด้านบุคลากรจึงมีบทบาทที่มีผลต่อ 
ความสาเร็จขององค์กร โดยระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ ด้านทรัพยากรมนุษย์ควรจะมีคุณสมบัติในการวิเคราะห์และ 
วางแผนภาระงาน การจ้างบุคลากร การฝึกอบรม พนักงาน การกาหนดงานให้กับพนักงานและงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับ 
บุคลากรโดยระบบที่มีประสิทธิภาพควรจะสามารถจัดการเรื่องค่าใช้จ่ายด้านบุคลากร ให้น้อยที่สุดใน ขณะที่ยังคงสามารถ 
สนองตอบความต้องการบุคลากร ในการดาเนินงานต่างๆเพื่อดาเนินงานให้บรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กร
9. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการและขบวนการทางธุรกิจ 
3. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการด้านการตลาด 
สนับสนุนการทางานด้านการบริหารการพัฒนาผลิตภัณฑ์ การกระจ่ายผลิต๓ณฑ์ การตัดสินใจเรื่องราคา การโฆษณา 
ผลิตภัณฑ์อย่างมีประสิทธิผล และการทานาย ยอดขาย ส่วนที่นาเข้าไปในระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการด้านการตลาดมักจะ 
ได้มาจากแหล่งข้อมูลภายนอกได้แก่ อินเทอร์เน็ต บริษัทคู่แข่งขันลูกค้า วารสารและนิตยสาร และสิ่งพิมพ์อื่นๆ แตข่้อมูลจาก 
แหล่งข้อมูลในก็ยังคงมีความสาคัญอยู่ ได้แก่ 
1. แผนเชิงกลยุทธ์และนโยบายของบริษัท 
2. ระบบประมวลผลรายการ ในระบบประมวลผลรายการจะประกอบด้วยข้อมูลด้านการขายและด้านการตลาด 
มากมาย 
3. แหล่งข้อมูลภายนอก ข้อมูลจากแหล่งข้อมูลภายนอก ได้แก่ ข้อมูลเกี่ยวกับคู่แข่งขันเช่นข้อมูลเกี่ยวกับสินค้า และ 
บริการใหม่ๆ กลยุทธ์ในการกาหนดราคา จุดแข็งและจุดอ่อนของประเภทผลิตภัณฑ์ที่มีอยู่ การจัดหีบห่อ การตลาด และการ 
กระจายสินค้าไปยังลูกค้าของบริษัทคู่แข่งที่มีอยู่ใน
9. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการและขบวนการทางธุรกิจ 
4. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการด้านการผลิต 
ขบวนการในการผลิตประกอบด้วยงานที่ขึน้ต่อกันมากมายโดยการนาระบบการวางแผนทรัพยากรของ องค์กรมาใช้ 
ร่วมในระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการด้านการผลิตจะช่วยให้การทางานมีความยืดหยุ่น และ มีการจัดหาทรัพยากรที่ 
ต้องการใช้ได้ทันต่อความต้องการโดยจุดประสงค์ของขบวนการผลิตก็คือการผลิตได้ตรงตามความพอใจหรือความต้องการ 
ของลูกค้านัน้เองในระบบด้านเอกสารต่างๆ จะถูกปรับให้อยู่ในรูปของขบวนการออนไลน์ และ การติดต่อสื่อสารข้อมูลจะใช้ 
งานผ่านระบบการแลกเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์และเครือข่ายอินเทอร์เน็ตแทน อีกทัง้ในการวางแผนการใช้ทรัพยากร 
ขององค์กรเพื่อการผลิตจะใช้เครือข่ายอินเทอร์เน็ตและเครือข่ายอินทราเน็ตในองค์กรเพื่อติดต่อกับหน่วยงาน ธุรกิจทัง้ใน 
และตา่งประเทศเพื่อปฏิบัติงานและการควบคุมงานต่างๆ ทัง้แบบศูนย์ กลาง และ แบบกระจายได้

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

Panisara ระบบ mis
Panisara ระบบ misPanisara ระบบ mis
Panisara ระบบ miskrupanisara
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศnprave
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1airly2011
 
ใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdfใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdfNattapon
 
หน่วยที่1
หน่วยที่1หน่วยที่1
หน่วยที่1Sangduan12345
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11Jaohjaaee
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1nattarikaii
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1nattarikaii
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1nattarikaii
 

Mais procurados (14)

Mi sch2
Mi sch2Mi sch2
Mi sch2
 
Panisara ระบบ mis
Panisara ระบบ misPanisara ระบบ mis
Panisara ระบบ mis
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
Chapter2 M1-foundation concepts-thai-62 feb
Chapter2 M1-foundation concepts-thai-62 febChapter2 M1-foundation concepts-thai-62 feb
Chapter2 M1-foundation concepts-thai-62 feb
 
หน่วยที่1
หน่วยที่1หน่วยที่1
หน่วยที่1
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
ใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdfใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdf
 
infomation
infomationinfomation
infomation
 
หน่วยที่1
หน่วยที่1หน่วยที่1
หน่วยที่1
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 

Semelhante a บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ

38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศTippathai Infinity
 
38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศTippathai Infinity
 
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรSanyawadee
 
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรSanyawadee
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศTheerapat Nilchot
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศTheerapat Nilchot
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ053681478
 
จรรยพร
จรรยพรจรรยพร
จรรยพรjunyapron
 
บทที่ 8. ประเภทของระบบสารสนเทศ
บทที่ 8. ประเภทของระบบสารสนเทศบทที่ 8. ประเภทของระบบสารสนเทศ
บทที่ 8. ประเภทของระบบสารสนเทศPokypoky Leonardo
 
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศPokypoky Leonardo
 
ระบบสารสน..[1]
ระบบสารสน..[1]ระบบสารสน..[1]
ระบบสารสน..[1]orathai
 
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจสารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจTrakarnta Samatchai
 
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศTimmy Printhong
 
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่ายระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่ายSassygirl Sassyboy
 

Semelhante a บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ (20)

38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ
 
38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ
 
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
 
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
Dss pp
Dss ppDss pp
Dss pp
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
จรรยพร
จรรยพรจรรยพร
จรรยพร
 
บทที่ 8. ประเภทของระบบสารสนเทศ
บทที่ 8. ประเภทของระบบสารสนเทศบทที่ 8. ประเภทของระบบสารสนเทศ
บทที่ 8. ประเภทของระบบสารสนเทศ
 
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
1
11
1
 
1
11
1
 
1
11
1
 
ระบบสารสน..[1]
ระบบสารสน..[1]ระบบสารสน..[1]
ระบบสารสน..[1]
 
1
11
1
 
Mis 1
Mis 1Mis 1
Mis 1
 
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจสารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
 
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่ายระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
 

Mais de Prakaywan Tumsangwan

บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการบทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการPrakaywan Tumsangwan
 
บทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
บทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหารบทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
บทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหารPrakaywan Tumsangwan
 
บทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
บทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจบทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
บทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจPrakaywan Tumsangwan
 
บทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
บทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจบทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
บทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจPrakaywan Tumsangwan
 
บทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
บทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจบทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
บทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจPrakaywan Tumsangwan
 

Mais de Prakaywan Tumsangwan (6)

บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการบทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
 
บทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
บทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหารบทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
บทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
 
บทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
บทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจบทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
บทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
 
บทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
บทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจบทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
บทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
 
บทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
บทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจบทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
บทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
 
หน่วยที่2
หน่วยที่2หน่วยที่2
หน่วยที่2
 

บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ

  • 2. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายขององค์กรธุรกิจ 2. ระบบสารสนเทศในเชิงธุรกิจ 3. ชนิดของระบบสารสนเทศในการบริหารการจัดองค์กร 4. ระบบสารสนเทศในองค์กร 5. ระดับสารสนเทศในองค์กร 6. ความสาคัญของระบบสารสนเทศในองค์กร 7. ผลกระทบขององค์กรต่อระบบสารสนเทศ 8. บทบาทที่เปลี่ยนไปของระบบสารสนเทศในองค์กร
  • 3. 1 ความหมายขององค์กรธุรกิจ องค์กร (Organization) เป็นระบบที่มีองค์ประกอบ ได้แก่ บุคลากร วัสดุอุปกรณ์ กระบวนการทางาน กฎ กติกา เพื่อร่วมกันทากิจกรรมให้บรรลุประสงค์และเป้าหมายขององค์กร องค์กรมีลักษณะที่คงที่ คือ องค์กรมีระยะเวลาในการดารง คงอยู่ และ ดาเนินการเป็นกิจวัตรหรือมีความสม่าเสมอ มีระเบียบ และ ดาเนินการตามกฎเกณฑ์ เพราะองค์กรเป็นสิ่งที่มีอยู่ ตามกฎหมายและดาเนินงานตามกฎหมาย มีกฎเกณฑ์ กระบวนการในการดาเนินงานภายในองค์กร องค์กรยังเป็น โครงสร้างทางสังคม เพราะเป็นการรวมองค์ประกอบทางสังคม องค์กรยังเป็นส่วนของสิ่งที่ทาหน้าที่ประมวลผลสารสนเทศ ธุรกิจ หมายถึง การดาเนินกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการผลิต การจาหน่าย และ การบริการเพื่อสนองความต้องการของ ผู้บริโภค โดยหวังผลตอบแทนเป็นกาไร ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2545 ได้ให้ความหมายวา่ ธุรกิจ หมายถึง การงานประจา เก่ยีวกับการค้าขาย หรือกิจกรรมอย่างอ่นืที่ไม่ใช่ราชการ องค์กรธุรกิจ หมายถึง กลุ่มคนซงึ่ร่วมกันทากิจกรรมทางธุรกิจเพื่อหวังผลตอบแทนเป็นกาไร และลงทุน
  • 4. 2. ระบบสารสนเทศในเชิงธุรกิจ ในองค์กรโดยทั่วไป จะมีการแบ่งระดับล่าง ผู้บริหารระดับกลาง และ ผู้บริหารระดับจะมีบุคลากรที่ทา หน้าที่รับผิดชอบ ดูแล ได้แก่ ผู้บริหารระดับล่าง ผู้บริหารระดับสูง ซึ่งจะมีกิจกรรมแตกต่างกันออกไป ผู้บริหารระดับล่าง จะรับผิดชอบควบคุมกิจกรรมที่เกิดขึ้นเป็นประจา ในแต่ละวัน ผู้บริหารระดับกลาง จะเป็นระดับซึ่งรับ และ ดา เนินการตามแผนงานของผู้บริหารระดับสูงรวมทั้งดูแล ควบคุมการทา งาน ระดับล่าง ผู้บริหารระดับสูง จะทาหน้าที่ในการตัดสินใจ กาหนดกลยุทธ์ในระยะยาวเกี่ยวกับทิศทางขององค์กร สินค้า หรือ บริการใหม่ ๆ ที่องค์กรจะดา เนินการ จะเห็นได้ว่ากิจกรรมที่เกิดขึ้นของผู้บริหารในแต่ละระดับจะมีความแตกต่างกัน ดังนั้น ความต้องการ สารสนเทศจึงมี ความแตกต่างกัน ระบบสารสนเทศที่จะนาเข้าไปช่วยในการบริหารการจัดการก็จะมีความแตกต่างกันด้วย
  • 5. 3. ชนิดของระบบสารสนเทศในการบริหารการจัดการองค์กร องค์กรธุรกิจต่างๆ ที่ดาเนินกิจการอยู่นัน้ โดยทวั่ไปจะแบ่งระดับในการบริหารการจัดการออกเป็น 3- 4 ระดับ ในขณะเดียวกันองค์กรนัน้ก็มีการแบ่งออกเป็นแผนกต่างๆ ตามหน้าที่การทางาน องค์กรและ ระบบสารสนเทศสามารถแบ่งออกเป็นในระดับต่างๆ ตามบริหารการจัดการได้ 4 ระดับไดแก่ ระบบกล ยุทธ์ ระดับการจัดการระดับความรู้ และ ระดับปฏิบัติการ ในขณะเดียวกันถ้าแบ่งตามหน้าที่การทางาน สามารถแบ่ง ออกเป็น แผนกการขายและการตลาด (Sales and marketing) แผนกการเงิน (Finance) แผนกการบัญชี (Accounting) และ แผนกทรัพยากรบุคคล(Human resources) จึงเกิดระบบสารสนเทศที่เข้าไปแต่ละระดับ และ แต่ละหน้าที่ในองค์กร
  • 6. 3 ชนิดของระบบสารสนเทศในการบริหารการจัดการองค์กร • 1. ระบบสารสนเทศในระดับปฏิบัติงาน (Operational-level system) เป็นระบบ สารสนเทศที่ติดตาม และ ตรวจสอบกิจกรรม และธุรกรรมพื้นฐานของ องค์กร เช่นยอดขาย ใบเสร็จรับเงิน การฝากเงิน การจ่ายเงินเดือน การเคลื่อนย้ายวัตถุในการผลิต วัตถุประสงค์ หลักของ ระบบ ในระดับนีเ้พื่อสามารถตอบคาถามที่เกิดขึน้เป็นประจา ติดตามการเคลื่อนไหวของสารสนเทศทัง้ องค์กรเช่น มีวัตถุดิบ A ในคลังสินค้าจานวนเท่าใด ค่าแรงในเดือนนีจ้านวนเท่าใด เป็นต้น ในการตอบ คาถามประเภทนี้สารสนเทศ จะต้องมีความพร้อม ที่จะเรียก ใช้ได้ ตลอดเวลา เป็นสารสนเทศที่ได้รับ การปรับปรุงให้ทันสมัยเสมอและสารสนเทศนัน้จะต้องมีความถูกต้อง ระบบสารสนเทศนีร้วมไปถึง ระบบซึ่งบันทึกการฝากเงินจากเครื่องรับจ่ายเงินอัตโนมัติ (Automatic teller machine ATM) หรือ ระบบซึ่งติดตามชั่วโมงการทางานของพนักงานในโรงงานในแต่ละวัน
  • 7. 3 ชนิดของระบบสารสนเทศในการบริหารการจัดการองค์กร 2. ระบบสารสนเทศระดับความรู้ (Knowledge-level systems) เป็นระบบที่สนับสนุน พนักงานที่ทางานเกี่ยวกับเทคนิค ข้อมูลต่างๆ เช่น ระบบช่วยเพิ่มผลผลิตของวิศวกร และ นักออกแบบ วัตถุประสงค์ของระบบนี้จะเป็นระบบที่ช่วยธุรกิจในการรวบรวมความรู้ใหม่ๆ เข้าสู่ธุรกิจและช่วยในการ ควบคุมการเคลื่อนย้ายของงานเอกสาร การประยุกต์ใช้งานระบบในระดับนีซึ้่งมีการเติบโตอย่างรวดเร็ว ได้แก่ ระบบสานักงาน (office systems)
  • 8. 3 ชนิดของระบบสารสนเทศในการบริหารการจัดการองค์กร 3. ระบบสารสนเทศในระดับการจัดการ(Management-level system) เป็นระบบ สารสนเทศซึ่งสนับสนุนกิจกรรมการตรวจสอบ ควบคุม ตัดสินใจ และ บริหารงานของผู้บริหารระดับกลาง ที่เกิดขึน้ สาหรับระบบในระดับนี้เช่น งานช่วงนีเ้ป็นไปด้วยหรือไม่ ระบบนีก้็จะทาการเปรียบเทียบ ผลผลิต ปัจจุบัน เดือนที่แล้ว หรือ ปีที่แล้วในช่วงเวลาเดียวกัน ระบบนีป้กติจะให้รายงานเป็นระยะมากกว่าที่อยู่ การหาที่อยู่ การผอ่นบ้าน ของพนักงานในทุกแผนกของกิจการเพื่อดูว่าค่าต้นทุนค่าใช้จ่ายที่เป็นสวัสดิการ พนักงาน เกินกว่างบประมาณที่ตัง้ไว้หรือไม่
  • 9. 3 ชนิดของระบบสารสนเทศในการบริหารการจัดการองค์กร 4. ระบบสารสนเทศในระดับกลยุทธ์ (Strategic-level systems) เป็นระบบสารสนเทศซึ่งสนับสนุน กิจกรรม การวางแผนระยะยาวของผู้บริหารระดับสูง ระบบนีช้่วยผู้บริหารระดับสูงจัดการกับกาหนดกลยุทธ์ และแนวโน้มในระยะ ยาวทัง้องค์กร หลักการของระบบนีเ้กี่ยวข้องกับ การพิจารณาความสามารถ ขององค์กร ที่มี อยู่ในปัจจุบัน ให้ตอบรับกับ การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมภายนอกคาถามสาหรับสารสนเทศระดับนี้เช่น ระดับการจ้างงานใน 5 ปีข้างหน้า กิจการ ควรจะผลิตสินค้า หรือผลิตภัณฑ์ใหม่ อะไรจึงจะเหมาะสมกับสภาวะแวดล้อม และ สถานะ ความสามารถของกิจการ ระบบสารสนเทศสามารถแบ่งออกตามหน้าที่พืน้ฐานในการทางานหน้าที่หลักในการทางานได้แก่ การขายและ การตลาด การผลิต งานบัญชี และงานบุคคล ในแต่ละหน้าที่จะมีระบบสารสนเทศที่เข้าไปสนับสนุนการทางานนัน้ๆ ใน องค์กรขนาดใหญ่ หน้าที่พืน้บานเหล่านีส้ามารถแบ่งออกเป็นหน้าที่ย่อย ซงึ่จะมีระบบสารสนเทศย่อยสนับสนุน เช่น ใน หน้าที่การลิตจะมีระบบย่อย ได้แก่ระบบจัดการสินค้าคงคลัง(Inventory Management systems) ระบบ ควบคุมกระบวนการผลิต (Process Control systems) ระบบวางแผนความต้องการวัตถุดิบ (Material Requirement Planning systems)
  • 10. 4. ระบบสารสนเทศในองค์กร 6 ระบบสารสนเทศหลัก ๆ ในองค์กร ได้แก่ - ระบบประมวลผลธุรกรรมหรือระบบประมวลผลรายการ (TPS: Transaction Processing System) สนองตอบการทางานระดับปฏิบัติการขององค์กร - ระบบงานความรู้ (Knowledge work System: KWS) และ - ระบบสานักงานอัตโนมัติ (Office automation Systems: OAS) สนองตอบการทางานของพนักงาน เทคนิคขององค์กร - ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management Information Systems: MIS) และ - ระบบสนับสนุนการตัดสิน (Decision Support System: DSS) สนองตอบการทางานในระดับการ จัดการขององค์กร - ระบบสนับสนุนผู้บริหารระดับสูง(Executive Support System: ESS) เป็นระบบที่ใช้ในระดับกลยุทธ์ ขององค์กร
  • 11. 5. ระดับสารสนเทศในองค์กร การหาหนทางที่จะใช้เทคโนโลยีในการจัดการสารสนเทศใน พ.ศ.2538 รัฐบาลไทยประกาศอย่างเป็นทางด้าน คอมพิวเตอร์และระบบสื่อสารเป็นตัวนาได้เห็น ความสาคัญของระบบข้อมูลซึ่งมีเทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์และ ระบบสื่อสารเป็นตัวนาและ มีบทบาทสาคัญในการพัฒนาและผลักดันให้เกิด การใช้ทรัพยากรของประเทศอย่างมี ประสิทธิภาพทัง้ในด้านทรัพยากรมนุษย์ วัสดุอุปกรณ์ และเวลา ให้มีประสิทธิภาพสูงสุด รัฐบาลได้ลงทุนโครงการพืน้ฐาน ทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นจานวนมาก เช่น การขยายระบบโทรศัพท์ การขยายเครือข่ายสื่อสาร การสร้างระบบ ฐานข้อมูลทะเบียนราษฎร์ เมื่อพิจารณาระบบสารสนเทศที่เกี่ยวข้องในองค์กรพอที่จะแบ่งการจัดการสารสนเทศขององค์กร ได้ตามจานวนคนที่เกี่ยวข้อง ตามรูปแบบการรวมกลุ่มขององค์กรได้ 3 ระดับ คือ 1. ระบบสารสนเทศระดับบุคคล 2. ระบบสารสนเทศระดับกลุ่ม 3. ระบบสารสนเทศระดับองค์กร
  • 12. 5. ระดับสารสนเทศในองค์กร 1. ระบบสารสนเทศระดับบุคคล ระบบสารสนเทศระดับบุคคล คือ ระบบข้อมูลที่เสริมประสิทธิภาพ และ เพิ่มผลงาน ให้บุคลากรในแต่ละคนในองค์กร ระบบ สารสนเทศ ระดับบุคคลนีมี้แนวทางในการประยุกต์ที่ช่วยให้การทางานในหน้าที่รับผิดชอบ และ ส่วนตัวของผู้นัน้มีคุณภาพ และประสิทธิภาพ ปัจจุบันคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลมีขนาดเล็กลง ราคาถูก แต่ มีความสามารถในการประมวลผลด้วยความเร็วสูงขึน้ ประกอบกับมีโปรแกรมสาเร็จที่ทาให้ผู้ใช้สามารถใช้งานได้ง่าย กว้างขวาง และ คุ้มค่ามากขึน้โปรแกรมสาเร็จในปัจจุบันเริ่ม มรความลงตัวและมีการรวบรวมไว้เป็นชุดโปรแกรม เช่น โปรแกรมประมวลคา ที่ช่วยในการพิมพ์เอกสาร โปรแกรมช่วยทา จดหมายเวียนโปรแกรมที่ใช้ในการจัดทาแผ่นใส เพื่อการบรรยายและทาภาพกราฟิก โปรแกรมที่ช่วยในการทาวารสาร และ หนังสือ โปรแกรมตารางทางาน โปรแกรมช่วยในการจัดเก็บ และ ประมวลผลแฟ้ม ข้อมูล และโปรแกรมช่วยในการสร้าง ตารางการบริหารงาน เป็นต้น ชุดโปรแกรมที่ได้รับความนิยมในปัจจุบัน เป็นโปรแกรมได้รวบรวม โปรแกรมสร้างเอกสาร โปรแกรมจัดทาแผ่นใสหรือข้อความประกอบคาบรรยายและแผ่นประกาศโปรแกรมประมวลผลในรูปแบบตารางทางาน โปรแกรมจัดการฐานข้อมูล เป็นต้น
  • 13. 5 ระดับสารสนเทศในองค์กร 2. ระบบสารสนเทศระดับกลุ่ม ระบบสารสนเทศระดับกลุ่ม คือ ระบบสารสนเทศที่ช่วยเสริมการทางานของกลุ่มบุคคลที่มีเป้าหมาย การทางานกันให้ มีประสิทธิภาพมากขนึ้ เช่น ตัวอย่างของการใช้ระบบสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนงานของแผนก คาว่า การทางานเป็นกลุ่ม หมาถึง กลุ่มบุคคลจานวน 2 คนขนึ้ไปที่ร่วมกันทางานเพื่อ ให้บรรลุเป้าหมาย การประยุกต์ใช้งานคอมพิวเตอร์ในลักษณะของการทางานเป็นกลุ่ม สามารถใช้กับงานต่าง ๆ ได้เช่น ตัวอย่างระบบ บริการลูกค้า หรือ การเสนอขายสินค้าผ่านทางสื่อโทรศัพท์ พนักงานในทีมงานอาจจะมีอยู่หลายคนและใช้เครือข่าย คอมพิวเตอร์ในการเก็บข้อมูลกลางของลูกค้าร่วมกันกล่าวคือ มีข้อมูลเพียงชุดเดียว ที่พนักงานทุกคนจะเข้าถึงได้ ถ้ามีการ เปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติมพนักงานในกลุ่มทางานจะต้องรับรู้ด้วย
  • 14. 5 ระดับสารสนเทศในองค์กร 3. ระบบสารสนเทศระดับองค์กร ระบบสารสนเทศระดับองค์กร คือ ระบบสารสนเทศที่สนับสนุนงานขององค์กรในภาพรวม ระบบในลักษณะนีจ้ะ เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานร่วมกันของหลายแผนก โดยการใช้ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง และ ส่งผ่านถึงกันจากแผนกหนึ่งข้ามไปอีก แผนกหนึ่งได้ ระบบสารสนเทศดังกล่าวนีจึ้งสามารถสนับสนุนงานการใช้ข้อมูล เพื่อการบริหารงานในระดับผู้ปฏิบัติการ และสนับสนุนงานการบริหาร และ จัดการในระดับที่สูงขึน้ได้ด้วยเนื่องจากสามารถให้ข้อมูลจากแผนกต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องมา ประกอบการตัดสินใจ โดยอาจนาข้อมูลมาแสดงในรูปแบบสรุป หรือในแบบฟอร์มที่ต้องการได้ ระบบการประสานงานเพื่อ การสร้างรายได้ให้กับธุรกิจ
  • 15. 6. ความสา คัญของสารสนเทศในองค์กร การพัฒนาระบบสารสนเทศในองค์กรด้วยเหตุดังต่อไปนี้ 1. การบริหารงานมีความซับซ้อนมากขึน้ เนื่องจากปริมาณงานเพิ่มขึน้ องค์กรขยายใหญ่ขึน้ปัญหาภายในและ ภายนอกองค์กรมีมากขึน้ การเตรียมการขายาตัวขององค์กรในอาณาเขต เนื่องจากการขายาตัว ขององค์กร และ ภาวะ เศรษฐกิจของประเทศ 2. ความจาเป็นในเรื่องกรอบเวลา ปัจจุบันผู้บริหารต้องสามารถปฏิบัติงาน ในกรอบของเวลาที่สัน้ลง เพื่อตอบสนอง ต่อการแข่งขันต่างๆ และการที่สังคมมีการใช้ระบบสื่อสารข้อมูลที่ทันสมัยเพิ่มมากขึน้เป็นผลทาให้ การแข่งขันธุรกิจมีมาก ขึน้ตามลาดับ 3. การพัฒนาทางเทคนิค คือ เครื่องมือต่าง ๆ เพื่อเป็นเครื่องช่วยในการตัดสินใจ 4. การตระหนักถึงคุณค่า และ ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างเทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีขนาดเล็กลง ราคาถูกลงมี ความสามารถมากขึน้ การใช้คอมพิวเตอร์จะแพร่หลายอย่าง รวดเร็วระบบส่อสารมีความก้าวหน้ายิ่งขึน้จึงเป็นผลที่จะทาให้ องค์กรต่าง ๆ ต้องใช้เทคโนโลยีในการสร้างMIS
  • 16. 7 ผลกระทบขององค์กรต่อระบบสารสนเทศ 1. การตัดสินใจเกี่ยวกับบทบาทของระบบสารสนเทศองค์กรมีผลกระทบโดยตรงต่อเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยการตัดสินใจ ว่าเทคโนโลยีจะถูกใช้อย่างไรในองค์กร และเทคโนโลยีจะแสดงบทบาทอะไรในองค์กร แสดงถึงงานประยุกต์เปลี่ยนแปลงไป ของระบบสารสนเทศ ระบบสารสนเทศมีการเปลี่ยนแปลงจากระบบ ในช่วงทศวรรษ 1990จึงได้เกิดโครงแบบสาหรับองค์กรเครือข่ายเต็มรูปแบบในโครงแบบใหม่นี้ เครื่อง เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ศูนย์กลางขนาดใหญ่จะเก็บสารสนเทศ(เหมือนห้องสมุด)และทาหน้าที่ประสานสารสนเทศระหว่าง เครื่องคอมพิวเตอร์ตัง้โต๊ะ และ ข่ายงานเฉพาะที่ขนาดเล็กจานวนเป็นร้อย คอมพิวเตอร์นีป้ฏิบัติงานคล้ายโทรศัพท์ดังนัน้ ภาพโดยรวม คือ จากการเป็นเสมือนโรงงานเอกเทศที่ทาการผลิตกลุ่มของ ผลิตภัณฑ์สารสนเทศ ระบบสารสนเทศจะ กลายเป็นเครื่องมือเชิงโต้ตอบโดยตรงแบบเบ็ดเสร็จเกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการ และ การตัดสินใจที่เกิดขึน้ขององค์กรขนาด ใหญ่องค์กรในปัจจุบันจึงขึน้อยู่กับระบบอย่างมาก และแทบจะอยู่รอดไม่ได้ถ้าระบบหยุดทางาน แม้เพียงนาน ๆ ครัง้ เช่น องค์กรขนาดใหญ่ส่วนมากซึ่งกระแสเงินสดหมุนเวียน เชื่อมโยงกับระบบสารสนเทศ
  • 17. 7. ผลกระทบขององค์กรต่อระบบสารสนเทศ 2 การตัดสินใจเกี่ยวกับโปรแกรมสาเร็จรูป องค์กรส่งผลกระทบต่อเทคโนโลยีสารสนเทศโดยผ่านการตัดสินใจว่า ใครจะเป็น ผู้ออกแบบ สร้าง และ ดาเนินการกับเทคโนโลยีชนิดอื่น และ เช่น เดียวกับเทคโนโลยีภายในองค์กร คอมพิวเตอร์สาเร็จรูป ประกอบด้วย 3 ส่วน ส่วนแรก ได้แก่ หน่วยองค์กร หรือที่อย่างเป็นทางการที่เรียก แผนระบบสารสนเทศ(Information System Department) ได้แก่ หน่วยองค์กรอย่างเป็นทางการที่รับผิดชอบต่อหน้าที่ระบบสารสนเทศในองค์กร ส่วนที่ 2 ประกอบด้วย ผู้เชี่ยวชาญระบบสารสนเทศเช่นนักเขียนโปรแกรม หรือ โปรแกรมเมอร์(Programmers) นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) ผู้นาโครงการ (Project Leaders ) และผู้จัดการระบบสารสนเทศ (Information Managers)รวมไปถึงผู้เชี่ยวชาญภายนอก เช่นผู้ขายผู้ผลิตฮาร์ดแวร์ บริษัทซอฟต์แวร์ และบริษัทที่ ปรึกษา ซึ่งเข้ามีบทบาทในการปฏิบัติงานแต่ละวัน และ การวางแผนระยะยาวของระบบสารสนเทศ ส่วนที่ 3 ของระบบสารสนเทศสาเร็จรูป ได้แก่ เทคโนโลยีซอฟต์แวร์ในปัจจุบันระบบสารสนเทศ ทาหน้าที่เป็นตัวแทนการ เปลี่ยนแปลงในองค์กร แนะนากลยุทธ์ทางธุรกิจใหม่ๆ และผลิตภัณฑ์ที่อิงสารสนเทศ ใหม่ ๆ และประสานระหว่างการพัฒนา เทคโนโลยี กับการเปลี่ยนแปลงในองค์กร ที่ได้วางแผนไว้ และขนาดของ
  • 18. 7 ผลกระทบขององค์กรต่อระบบสารสนเทศ 3. การตัดสินใจเกี่ยวกับเหตุผลในการสร้างระบบสารสนเทศผู้บริหารจะเป็นผู้ให้เหตุผลสาหรับ การสร้างระบบสารสนเทศ เหตุผลอันดับแรกอาจจะเป็นเหตุผลด้านเศรษฐกิจ หรือ การให้บริการที่ดีขึ้น หรือให้สถานที่ทางานที่ดีขึน้ ผลกระทบของ คอมพิวเตอร์ในองค์กรใด ๆ ส่วนหนึ่งจึงขึน้อยู่กับการตัดสินใจของผู้บริหาร ในระยะแรกเหตุผลในการพัฒนาระบบ สารสนเทศเป็นเหตุผลง่าย ๆ โดยทวั่ไปแล้วองค์กรจะนาระบบสารสนเทศมาใช้งานเพื่อให้ประสิทธิภาพสูงขึน้ เพื่อประหยัด ค่าใช้จ่ายเพื่อลดจานวนแรงงาน เหตุผลในการ พัฒนาระบบในส่วนที่เกี่ยวกับองค์กร จึงสามารถแบ่งออกเป็น 2 ส่วนใหญ่ ๆ คือ องค์ประกอบสภาพแวดล้อมภายนอกและองค์ประกอบภายในองค์กร องค์ปรกอบจากสภาพแวดล้อม (Environmental factors) เป็นองค์ประกอบที่อยู่ภายนอกองค์กร ซึ่งมี อิทธิพลต่อการนาระบบมาใช้งาน และ การออกแบบระบบสารสนเทศ องค์ประกอบภายในองค์กร (Institutional factors) เป็นองค์ประกอบภายในองค์กรซึ่งมีอิทธิพลต่อการนา ระบบมาใช้งาน และการออกแบบระบบสารสนเทศ องค์ประกอบเหล่านี้รวมไปถึงคุณค่า บรรทัดฐาน ผลได้ ผลเสียที่ กระทบต่อกลยุทธ์ของ
  • 19. 8. บทบาทที่เปลี่ยนไปของระบบสารสนเทศในองค์กร ระบบสารสนเทศ ความสามารถในการทางานแบบออนไลน์ และ ความสามารถในการ โต้ตอบกับผู้ใช้ได้กลายเป็นส่วนที่ ถูกผสมผสานเข้ากับการทางานใน ทุกเสีย้ววินาทีขององค์กรขนาดใหญ่ ดังนั้นจึงต้องมีการปรับบทบาทที่เปลี่ยนไปของ ระบบงานในองค์กรและรูปแบบการทางานที่ถูกหนทางที่จะทาให้องค์กรมีอิทธิพลต่อวิธีการนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้งาน คือการตัดสินใจเกี่ยวกับการจัดโครงสร้าง ขององค์ประกอบทางเทคโนโลยีและการกาหนดโครงสร้างขององค์กร ผู้วิเคราะห์ ระบบสารสนเทศ (Information system manger) หมายถึงผู้นาของทีมโปรแกรมเมอร์ทีมผู้ วิเคราะห์ ผู้บริหารโครงการ รวมทัง้เป็นหัวหน้าผู้บริหารการปฏิบัติงานคอมพิวเตอร์ และพนักงานป้อนข้อมูล องค์กรสมัยใหม่จานวนหนึ่ง มีการกาหนดตาแหน่งฝ่ายสารสนเทศให้เป็น ซีไอโอ(Chief Information officer: CIO) ซงึ่เป็นตาแหน่งผู้บริหารชัน้สูงสุดที่รับผิดชอบงานด้านสารสนเทศขององค์กร โดยเฉพาะผู้ใช้ทวั่ไป (End users) หมายถุงบุคลากรภายนอกฝ่ายสารสนเทศซงึ่เป็นผู้ใช้งานระบบสารสนเทศทสี่ร้างขนึ้มา เทคนิคการพัฒนาระบบงานในปัจจุบันได้ให้ความสาคัญแก่คนในกลุ่มนี้มากขึน้ด้วยการเชิญเข้ามาร่วมงาน ในระหว่าง การออกแบบและพัฒนาระบบงาน
  • 20. 9. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการและขบวนการทางธุรกิจ 1. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการด้านการเงิน ทาหน้าที่ในการจัดการสารสนเทศด้านการเงิน ให้แก่ผู้บริหาร และ กลุ่ม บุคคลซึ่งต้องการทาการตัดสินใจให้ดีขึน้ ช่วยในการหาโอกาส และ ทราบปัญหาที่เกิดขึน้ได้อย่างรวดเร็วโดยระบบ สารสนเทศด้านการเงินนิยมใช้รวมเข้ากับซอฟต์แวร์ในการวางแผนทรัพยากรขององค์กร (Enterprise Resource Planning :ERP) ซงึ่เป็นกลุ่มของโปรแกรมที่จัดการ วิเคราะห์ และติดตามการดาเนินธุรกิจ ของแหล่งผลิตหรือสาขา ต่าง ๆ ขององค์กร เพื่อให้แน่ใจว่าสารสนเทศด้านการเงินในการปฏิบัติงานสามารถนาไปใช้สนับสนุนความสามารถในการ ตัดสินใจให้แก่บุคคลที่ต้องการได้ทันเวลา ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ ด้านการเงิน
  • 21. 9. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการและขบวนการทางธุรกิจ 2. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการด้านทรัพยากรมนุษย์ ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการด้านทรัพยากรมนุษย์ หรือเรียก อีกชื่อหนึ่งว่าระบบสารสนเทศด้านบุคลากร ได้แก่ระบบงานที่เกี่ยวข้องกับพนักงานขององค์กร เนื่องจากการทางานของ ทรัพยากรมนุษย์จะเกี่ยวข้องกับทุกส่วนงานขององค์กรดังนัน้ ระบบสารสนเทศ ด้านบุคลากรจึงมีบทบาทที่มีผลต่อ ความสาเร็จขององค์กร โดยระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ ด้านทรัพยากรมนุษย์ควรจะมีคุณสมบัติในการวิเคราะห์และ วางแผนภาระงาน การจ้างบุคลากร การฝึกอบรม พนักงาน การกาหนดงานให้กับพนักงานและงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับ บุคลากรโดยระบบที่มีประสิทธิภาพควรจะสามารถจัดการเรื่องค่าใช้จ่ายด้านบุคลากร ให้น้อยที่สุดใน ขณะที่ยังคงสามารถ สนองตอบความต้องการบุคลากร ในการดาเนินงานต่างๆเพื่อดาเนินงานให้บรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กร
  • 22. 9. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการและขบวนการทางธุรกิจ 3. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการด้านการตลาด สนับสนุนการทางานด้านการบริหารการพัฒนาผลิตภัณฑ์ การกระจ่ายผลิต๓ณฑ์ การตัดสินใจเรื่องราคา การโฆษณา ผลิตภัณฑ์อย่างมีประสิทธิผล และการทานาย ยอดขาย ส่วนที่นาเข้าไปในระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการด้านการตลาดมักจะ ได้มาจากแหล่งข้อมูลภายนอกได้แก่ อินเทอร์เน็ต บริษัทคู่แข่งขันลูกค้า วารสารและนิตยสาร และสิ่งพิมพ์อื่นๆ แตข่้อมูลจาก แหล่งข้อมูลในก็ยังคงมีความสาคัญอยู่ ได้แก่ 1. แผนเชิงกลยุทธ์และนโยบายของบริษัท 2. ระบบประมวลผลรายการ ในระบบประมวลผลรายการจะประกอบด้วยข้อมูลด้านการขายและด้านการตลาด มากมาย 3. แหล่งข้อมูลภายนอก ข้อมูลจากแหล่งข้อมูลภายนอก ได้แก่ ข้อมูลเกี่ยวกับคู่แข่งขันเช่นข้อมูลเกี่ยวกับสินค้า และ บริการใหม่ๆ กลยุทธ์ในการกาหนดราคา จุดแข็งและจุดอ่อนของประเภทผลิตภัณฑ์ที่มีอยู่ การจัดหีบห่อ การตลาด และการ กระจายสินค้าไปยังลูกค้าของบริษัทคู่แข่งที่มีอยู่ใน
  • 23. 9. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการและขบวนการทางธุรกิจ 4. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการด้านการผลิต ขบวนการในการผลิตประกอบด้วยงานที่ขึน้ต่อกันมากมายโดยการนาระบบการวางแผนทรัพยากรของ องค์กรมาใช้ ร่วมในระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการด้านการผลิตจะช่วยให้การทางานมีความยืดหยุ่น และ มีการจัดหาทรัพยากรที่ ต้องการใช้ได้ทันต่อความต้องการโดยจุดประสงค์ของขบวนการผลิตก็คือการผลิตได้ตรงตามความพอใจหรือความต้องการ ของลูกค้านัน้เองในระบบด้านเอกสารต่างๆ จะถูกปรับให้อยู่ในรูปของขบวนการออนไลน์ และ การติดต่อสื่อสารข้อมูลจะใช้ งานผ่านระบบการแลกเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์และเครือข่ายอินเทอร์เน็ตแทน อีกทัง้ในการวางแผนการใช้ทรัพยากร ขององค์กรเพื่อการผลิตจะใช้เครือข่ายอินเทอร์เน็ตและเครือข่ายอินทราเน็ตในองค์กรเพื่อติดต่อกับหน่วยงาน ธุรกิจทัง้ใน และตา่งประเทศเพื่อปฏิบัติงานและการควบคุมงานต่างๆ ทัง้แบบศูนย์ กลาง และ แบบกระจายได้