O slideshow foi denunciado.
Seu SlideShare está sendo baixado. ×

การเขียนเอกสารประกอบการสอน

Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Próximos SlideShares
Km1
Km1
Carregando em…3
×

Confira estes a seguir

1 de 54 Anúncio

การเขียนเอกสารประกอบการสอน

Baixar para ler offline

โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ
การเขียนเอกสารประกอบการสอน เอกสารคำสอน
เพื่อเตรียมความพร้อมรับการประเมินการสอน
วันที่ 22 เมษายน 2565
มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ
การเขียนเอกสารประกอบการสอน เอกสารคำสอน
เพื่อเตรียมความพร้อมรับการประเมินการสอน
วันที่ 22 เมษายน 2565
มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

Anúncio
Anúncio

Mais Conteúdo rRelacionado

Mais de Prachyanun Nilsook (20)

Anúncio

Mais recentes (20)

การเขียนเอกสารประกอบการสอน

  1. 1. การเขียนเอกสารประกอบการสอน เอกสารคําสอน เพื่อเตรียมความพรอมรับการประเมินการสอน ศาสตราจารย ดร.ปรัชญนันท นิลสุข มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ
  2. 2. ประเด็นสนทนา
  3. 3. Workshop: เอกสารประกอบการสอน (คําสอน) Workshop: องค์ประกอบเอกสารประกอบการสอนและเอกสารคําสอน - ส่งส่วนประกอบตอนต้นหรือส่วนนํา Workshop: การวิเคราะห์รายวิชาและการจัดทําโครงสร้างเอกสาร - ส่งแผนการบริหารการสอนประจํารายวิชา - ส่งแผนการบริหารการสอนประจํารายวิชาแบบ AUN-QA (วันจันทร์หน้า) Workshop: แผนบริหารการสอนประจําบทและโครงสร้างรายบท - ส่งแผนการบริหารการสอนประจําบท Workshop: การจัดทํารายการอ้างอิงด้วย Mendeley Workshop: การเขียนเนื้อหาบทเรียนตัวอย่าง 1 บท - ส่งเนื้อหา 1 บท (วันจันทร์หน้า) Workshop: การนําเสนอตัวอย่างรายวิชาทางสังคมศาสตร์/วิทยาศาสตร์
  4. 4. การประเมินผลการสอน
  5. 5. การประเมินผลการสอน
  6. 6. ขั้นตอนการส่งผลงานวิชาการ สภาวิชาการ
  7. 7. เอกสารประกอบการสอน
  8. 8. เอกสารคําสอน
  9. 9. หนังสือ
  10. 10. ตํารา
  11. 11. ความแตกต่างของผลงาน หนังสือหรือตํารา >> ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก B เรียบเรียงใหม่จากสิ่งที่มีอยู่เดิมแล้ว B+ เขียนใหม่ในวิชาหรือเนื้อหาที่มีอยู่เดิม A เรื่องใหม่ เนื้อหาใหม่ จากเอกสารงานวิจัย A+ บุกเบิกศาสตร์ใหม่ ที่ไม่มีอยู่เดิมจากวิจัย
  12. 12. เอกสารแบบที� ๑ (เอกสารประกอบการสอน) คํานิยาม ผลงานทางวิชาการที�เป็นเอกสารที�ใช้ประกอบในการประเมินผลการการสอนวิชาใด วิชาหนึ�งตามหลักสูตรของมหาวิทยาลัยที�สะท้อนให้เห็นเนื�อหาวิชาและวิธีการสอน อย่างเป็นระบบจัดเป็นเครื�องมือสําคัญของผู้สอนในการใช้ประกอบการสอน รูปแบบ เป็นเอกสารหรือสื�ออื�นๆ ที�เกี�ยวข้องในวิชาที�ตนสอน ประกอบด้วย แผนการสอน หัวข้อบรรยาย (มีรายละเอียดประกอบพอสมควร) และอาจมีสิ�งต่างๆดังต่อไปนี� เพิ�มขึ�นอีกก็ได้ เช่น รายชื�อบทความหรือหนังสืออ่านประกอบ บทเรียบเรียงคัดย่อ เอกสารที�เกี�ยวเนื�อง แผนภูมิ (chart) แถบเสียง (tape) ภาพเคลื�อนไหว (video) ภาพเลื�อน (slide) หรือสื�อการสอนออนไลน์อื�นๆ ซึ�งมีการอ้างอิงแหล่งที�มาอย่าง ถูกต้องตามกฎหมาย การเผยแพร่ อาจเป็นเอกสารที�จัดทําเป็นรูปเล่มหรือถ่ายสําเนาเย็บเล่ม หรือเป็นสื�ออื�นๆ เช่น ซีดีรอม ที�ได้ใช้ประกอบการสอนวิชาใดวิชาหนึ�ง ในหลักสูตรของ มหาวิทยาลัย มาแล้ว ลักษณะคุณภาพ อยู่ในดุลยพินิจของมหาวิทยาลัยที�จะกําหนดเป็นข้อบังคับ การประเมินการสอน ผู้ขอผู้ช่วยศาสตราจารย์
  13. 13. การประเมินการสอน ผู้ขอรองศาสตราจารย์ เอกสารแบบที� ๒ (เอกสารคําสอน สําหรับผู้ขอ รศ.) คํานิยาม ผลงานทางวิชาการที� ใช้สอนวิชาใดวิชาหนึ�งตามหลักสูตรของมหาวิทยาลัยที� สะท้อนให้เห็นเนื�อหาวิชา ที�สอน และวิธีการสอนอย่างเป็ นระบบ โดยอาจ พัฒนาขึ�นจาก เอกสาร ประกอบการสอน จนมีความสมบูรณ์กว่า เอกสาร ประกอบการสอน (ไม่ใช่วิชาเดิมที�เคยขอ ผศ. หมายถึง เอกสาร ประกอบการสอนที�มีอยู่แล้วพัฒนาขึ � น ไม่เคยใช้ขอ ผศ.) จัดเป็ นเครื�องมือ สําคัญของผู้เรียนที�นําไปศึกษาด้วยตนเองหรือเพิ�มเติมขึ�นจากการเรียนในวิชา นั�นๆ รูปแบบ เป็ นเอกสารรูปเล่มหรือสื�ออื�นๆที�เกี�ยวข้องในวิชาที�ตนสอน ประกอบด้วยแผนการ สอน หัวข้อบรรยาย (มีรายละเอียดประกอบพอสมควร) และมีสิ�งต่างๆดังต่อไปนี� เพิ�มขึ�นเช่น รายชื�อบทความหรือหนังสืออ่านประกอบบทเรียบเรียงคัดย่อเอกสารที� เกี�ยวเนื�อง แผนภูมิ (chart) แถบเสียง (tape) ภาพเคลื�อนไหว (video) ภาพเลื�อน (slide) ตัวอย่างหรือกรณีศึกษาที�ใช้ประกอบการอธิบายภาพ แบบฝึ กปฏิบัติ รวมทั�งการอ้างอิงเพื�อขยายความที�มาของสาระและข้อมูล และบรรณานุกรมที� ทันสมัยและถูกต้องตามกฎหมาย การเผยแพร่ ต้องได้รับการจัดทําเป็ นรูปเล่มด้วยการพิมพ์ หรือถ่ายสําเนาเย็บเป็ นเล่ม หรือสื�อ อื�นๆ ที�แสดงหลักฐานว่าได้เผยแพร่ โดยใช้เป็ น “คําสอน ” ให้แก่ผู้เรียนในวิชา นั�นๆมาแล้ว ลักษณะคุณภาพ อยู่ในดุลยพินิจของมหาวิทยาลัยที�จะกําหนดเป็ นข้อบังคับ
  14. 14. องค์ประกอบส่วนที่ 1 1. ส่วนประกอบตอนต้นหรือส่วนนํา 1.1 ปกนอก 1.2 ปกใน 1.3 คํานํา 1.4 สารบัญ , สารบัญภาพ, สารบัญตาราง
  15. 15. องค์ประกอบส่วนที่ 2 2. ส่วนประกอบตอนกลางหรือส่วนเนื้อหา 2.1 แผนบริหารการสอน (1) แผนบริหารการสอนประจําวิชา (2) แผนบริหารการสอนประจําบท 2.2 เนื้อหา
  16. 16. องค์ประกอบส่วนที่ 3 3. ส่วนประกอบตอนท้ายหรือส่วนเสริมเนื้อหา 3.1 บรรณานุกรม 3.2 ภาคผนวก จัดกึ่งกลางหน้า (1) เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบท (2) เอกสารอื่น ๆ เช่น ตารางสถิติ ดัชนีคําศัพท์กิจกรรม เพิ่มเติม
  17. 17. 1.1 ปกนอก 1.1 ปกนอก ควรมีข้อความ ดังนี้ (1) เอกสารประกอบการสอน (2) รายวิชา (3) ชื่อผู้แต่ง (4) คณะ (5) มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม (6) ปี พ.ศ. ที่พิมพ์ หมายเหตุ รูปภาพบนหน้าปกนอกอาจมีหรือไม่มีก็ได้
  18. 18. 1.2 หน้าปกใน (1) เอกสารประกอบการสอน (2) รายวิชา (3) ชื่อผู้แต่ง (4) วุฒิสูงสุดและสาขาที่จบ (5) คณะ (6) มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม (7) ปี พ.ศ. ที่พิมพ์
  19. 19. 1.3 คํานํา ประกอบด้วยสาระสําคัญ ดังนี้ (1) รหัสวิชา ชื่อวิชา ตามหลักสูตรของมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม (2) เนื้อหาของคํานํา กล่าวนํา ความสําคัญและความจําเป็น จุดมุ่งหมาย ในการเรียนการสอนของรายวิชาที่ผลิต สาระสําคัญของรายวิชาที่ ผลิต และประโยชน์ที่ได้จากการทําเอกสารประกอบการสอน (3) ชื่อผู้แต่ง (4) วัน เดือน ปี ที่พิมพ์ (5) ข้อเสนอแนะในการเขียนคํานํา ควรคํานึงถึงในเรื่องต่อไปนี้ 1) ไม่ถ่อมตัวจนเกินไป 2) ไม่ออกตัวโดยไม่เกิดประโยชน์ 3) ไม่ระบุความบกพร่องหรือข้อผิดพลาดต่าง ๆ ซึ่งไม่ควรมี 4) ไม่ระบุความช่วยเหลือจากผู้อื่นที่แสดงว่าผู้เขียนไม่มีความสามารถ 5) ความยาวไม่ควรเกิน 1 หน้ากระดาษ
  20. 20. ตัวอย่างคํานํา
  21. 21. 1.4 สารบัญ (1) สารบัญ (อยู่กึ่งกลางหน้า) (2) หน้า (ชิดขวา) (3) คํานํา (หมายเลขหน้าของคํานําให้ใส่เลขอยู่ในวงเล็บ หรือ ใช้ตัวอักษร ก ข) (4) สารบัญอื่น ๆ (ถ้ามี) ได้แก่ สารบัญภาพ สารบัญตาราง (5) แผนบริหารการสอนประจําวิชา (6) แผนบริหารการสอนประจําบท (7) บทที่ (บทที่ 2. (8) หัวข้อย่อยของแต่ละบท (อาจมีหมายเลขหรือไม่มีก็ได้) (9) บทสรุปท้ายบท (10) แบบฝึกหัดท้ายบท (11) เอกสารอ้างอิง (ประจําบท) (12) บรรณานุกรม (13) ภาคผนวก (ถ้ามี)
  22. 22. ลักษณะของสารบัญ
  23. 23. Workshop#1 ส่งงานส่วนประกอบตอนต้น Workshop: องค์ประกอบเอกสารประกอบการสอนและเอกสารคําสอน - ส่งส่วนประกอบตอนต้นหรือส่วนนํา - หน้าปกนอก - หน้าปกใน - คํานํา - สารบัญ - สารบัญภาพ - สารบัญตาราง
  24. 24. 2.1 แผนบริหารการสอน (1) (1) แผนบริหารการสอนประจําวิชา ประกอบด้วย รายละเอียดของหัวข้อที่สําคัญดังต่อไปนี้ 1) รหัสวิชา ชื่อวิชา (ไทย และ อังกฤษ)จํานวนหน่วยกิต - ชั่วโมงและเวลาเรียน ทั้งหมด 16 สัปดาห์ (ไม่รวม เวลาในการสอบวัดผล ประเมินผล) รหัสวิชา รายวิชา (ภาษาไทย).. (ภาษาอังกฤษ. (จํานวนหน่วยกิต - ชั่วโมง) 2) คําอธิบายรายวิชา ตรงตามหลักสูตรของมหาวิทยาลัย 3) วัตถุประสงค์ทั่วไป (โดยเน้นทั้งด้านพุทธิพิสัย, จิตพิสัย และทักษะพิสัย) 4) เนื้อหา นําเนื้อหาในคําอธิบายรายวิชามากําหนดเป็นหัวข้อใหญ่ หัวข้อรอง ตามเนื้อหาในแต่ละบทและ กําหนดเวลา 5) วิธีสอนและกิจกรรม 6) สื่อการเรียนการสอน 7) การวัดผลและประเมินผล
  25. 25. แผนบริหารการสอนประจําวิชา
  26. 26. คําอธิบายรายวิชา
  27. 27. วัตถุประสงค์ทั่วไป Course Leaning Outcome : CLO Knowledge : ความรู้ ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… Skill : ทักษะ ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… Attitude/ Attribute : เจตคติ /คุณลักษณะ คุณธรรมจริยธรรม ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………
  28. 28. การวิเคราะห์เนื้อหาบทเรียน บทที่ 1 ......................................................................................................... ...... คาบ ………………………………………………………………………….. บทที่ 2 ....................................................................................................... ...... คาบ ………………………………………………………………………….. บทที่ 3 ....................................................................................................... ...... คาบ ………………………………………………………………………….. บทที่ 4 ....................................................................................................... ...... คาบ ………………………………………………………………………….. บทที่ 5 ....................................................................................................... ...... คาบ ………………………………………………………………………….. เนื้อหาบทเรียนทั้งรายวิชาเป็นไปตามหลักสูตรของมหาวิทยาลัย มีเนื้อหาสอดคล้อง ครบถ้วนตามคําอธิบาย รายวิชาของแต่ละวิชา แบ่งเป็นบท เป็นตอน และระบุจํานวนคาบสอน
  29. 29. แผนผังมโนทัศน์เนื้อหาบทเรียน
  30. 30. Workshop#2 ส่งแผนการบริหารการสอน Workshop: การวิเคราะห์รายวิชาและการจัดทําโครงสร้างเอกสาร - ส่งแผนการบริหารการสอนประจํารายวิชา 1) รหัสวิชา ชื่อวิชา 2) คําอธิบายรายวิชา ตรงตามหลักสูตรของมหาวิทยาลัย 3) วัตถุประสงค์ทั่วไป (โดยเน้นทั้งด้านพุทธิพิสัย, จิตพิสัย และทักษะพิสัย 4)เนื้อหา หัวข้อใหญ่ หัวข้อรอง ตามเนื้อหาในแต่ละบทและคาบเวลา 5) วิธีสอนและกิจกรรม 6) สื่อการเรียนการสอน 7) การวัดผลและประเมินผล
  31. 31. 2.1 แผนบริหารการสอน (2) (2) แผนบริหารการสอนประจําบท (หนึ่งหน้ากระดาษทุกบท) เนื้อหาสาระของแต่ละบทให้มีความชัดเจนทั้งด้านวัตถุประสงค์ เนื้อหา วิธีสอนและกิจกรรม สื่อ และ การประเมินผล ซึ่งประกอบด้วย รายละเอียดของหัวข้อ ดังต่อไปนี้ 1) แผนบริหารการสอนประจําบทที่ ....... 2) หัวข้อเนื้อหาประจําบท 3) วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม 4) วิธีสอนและกิจกรรมการเรียนการสอนประจําบท 5) สื่อการเรียนการสอนประจําบท 6) การวัดผลและการประเมินผลประจําบท
  32. 32. หัวข้อเนื้อหาประจําบท หัวข้อหลัก - หัวข้อรอง - หัวข้อย่อย - หัวข้อย่อย - หัวข้อรอง - หัวข้อย่อย - หัวข้อย่อย - หัวข้อรอง - หัวข้อย่อย - หัวข้อย่อย หัวข้อหลัก หัวข้อรอง หัวข้อย่อย
  33. 33. การวิเคราะห์วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม Competency Knowledge : ความรู้ ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… Skill : ทักษะ ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… Attitude/ Attribute : เจตคติ /คุณลักษณะ คุณธรรมจริยธรรม ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………
  34. 34. วิธีสอนและกิจกรรมการเรียนการสอนประจําบท 1) การเรียนรูจากกรณีศึกษา 2) การเรียนรูจากกระบวนการกระจางคานิยม 3) การเรียนรูโดยบูรณาการการปฏิบัติงานจริง ในสถานศึกษา 4) การบรรยายเชิงปฏิสัมพันธ 5) การเรียนรูแบบรวมมือ 6) การเรียนรูโดยการสืบสอบ 7) การเรียนรูตามแนวทฤษฎีสรรสรางนิยม (Constructivism) 8) การเรียนรูแบบผสมผสาน โดยบูรณาการเทคโนโลยีดิจิทัล 9) การเรียนรูแบบหองเรียนกลับดาน 10) การเรียนรูโดยใชสถานการณ/ปรากฏการณ/ฉากทัศนเปน พื้นฐาน 11) การเรียนรูโดยใชโครงงานเปนฐาน 12) การเรียนรูโดยใชการวิจัยเปนฐาน 13) การเรียนรูโดยใชปญหาเปนฐาน 14) การเรียนรูเชิงผลิตภาพ 15) การเรียนรูดวยการนําตนเอง 16) การเรียนรูโดยวิธีโสเครติส 17) การเรียนรูแบบจุลภาค 18) การเรียนรูแบบจินตวิศวกรรม 19) MIAP 20) Team-based Learning 21) Workplace-based Learning 22) MOOC (Massive Open Online Course) ฯลฯ
  35. 35. สื่อการเรียนการสอนประจําบท
  36. 36. การวัดผลและการประเมินผลประจําบท
  37. 37. Workshop#3 ส่งแผนการบริหารการสอนประจําบท (2) แผนบริหารการสอนประจําบท (ส่งตัวอย่างหนึ่งหน้ากระดาษ) 1) แผนบริหารการสอนประจําบทที่ ....... 2) หัวข้อเนื้อหาประจําบท 3) วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม 4) วิธีสอนและกิจกรรมการเรียนการสอนประจําบท 5) สื่อการเรียนการสอนประจําบท 6) การวัดผลและการประเมินผลประจําบท
  38. 38. 2.2 เนื้อหา หรือ หัวข้อบรรยาย เป็นรายละเอียดของเนื้อหาสาระในรายวิชาที่สอดคล้องและครอบคลุมเนื้อหาในคําอธิบายรายวิชา และเป็นไปตามหัวข้อใหญ่ หัวข้อรอง ซึ่งกําหนดไว้ในแผนการบริหารการสอนประจําวิชา และแผน บริหารการสอนประจําบท ซึ่งรายละเอียดของแต่ละบท เป็นดังนี้ (1) บทที่ ...... (วางตําแหน่งกึ่งกลางหน้าด้านขวาเสมอและไม่ต้อง ใส่หมายเลขหน้า) (2) หัวข้อเรื่อง ใส่ด้านล่างของบทที่และตําแหน่งกึ่งกลาง (3) ความนํา เป็นการเกริ่นนําเรื่องราวทั่ว ๆ ไปที่จะนํามาเขียนเนื้อหา ในบทนั้นควรมีความยาวไม่เกิน 15 บรรทัด หรือ 1 ย่อหน้า (4) เนื้อหาตามลําดับหัวข้อใหญ่ หัวข้อรอง และหัวข้อย่อยโดย มีรายละเอียดประกอบพอสมควร และอาจมีต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ เพิ่มเติม เช่น รายชื่อบทความหรือหนังสือประกอบบทเรียบเรียง บทคัดย่อเอกสารที่เกี่ยวข้อง รูปภาพ ตาราง แผนภูมิ (Chart) แถบเสียง (Tape) การนําเสนอภาพนิ่ง (Power point) โดยเนื้อหาในแต่ละบทควรมีปริมาณใกล้เคียงกัน ยกเว้นบทนํา (5) บทสรุป เป็นการสรุปเนื้อหาสาระที่สําคัญของบทนั้น ๆ (6) คําถามท้ายบท ในแต่ละบทควรมีปริมาณใกล้เคียงกัน และมีคําเฉลย ในภาคผนวก (หากคําตอบเป็นแบบปรนัย) (7) เอกสารอ้างอิง เป็นเอกสารที่นํามาใช้อ้างอิงประกอบเนื้อหาในแต่ละบท
  39. 39. 2.2 เนื้อหา (1)(2) (1) บทที่ ...... (วางตําแหน่งกึ่งกลางหน้าด้านขวาเสมอและไม่ต้อง ใส่หมายเลขหน้า) (2) หัวข้อเรื่อง ใส่ด้านล่างของบทที่และตําแหน่งกึ่งกลาง
  40. 40. 2.2 เนื้อหา (3) (3) ความนํา หนึ่งย่อหน้ากระดาษ บทนี้จะอธิบายความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และโปรแกรมทางธุรกิจ เพื่อให้ ผู้เรียนได้เข้าใจและรับรู้ถึงการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีที่เกิดขึ้นใหม่ มีการพัฒนาอย่าง ต่อเนื่องตั้งแต่สมัยที่เครื่องคอมพิวเตอร์มีขนาดใหญ่มาก จนกระทั่งปัจจุบันมีคอมพิวเตอร์ ขนาดเล็กลงจนสามารถพกพาไปไหนได้ และได้กลายเป็นส่วนหนึ่งที่จําเป็นสําหรับมนุษย์ใน ศตวรรษที่ 21 สังเกตได้จากการนํามาใช้ในชีวิตประจําวัน เช่น แชท ดูหนัง ฟังเพลง เล่น เกมส์ ท่องอินเทอร์เน็ต ตลอดจนการซื้อขายทําธุรกรรมผ่านระบบคอมพิวเตอร์ออนไลน์
  41. 41. 2.2 เนื้อหา (4) (4) เนื้อหาตามลําดับหัวข้อหลัก หัวข้อรอง และหัวข้อย่อย มีรายละเอียดประกอบ พอสมควร หัวข้อหลัก การพัฒนาทักษะการฟังและการดู - หัวข้อรอง - หัวข้อย่อย - หัวข้อย่อย - หัวข้อรอง - หัวข้อย่อย - หัวข้อย่อย - หัวข้อรอง - หัวข้อย่อย - หัวข้อย่อย
  42. 42. 2.2 เนื้อหา (5) (5) บทสรุป เป็นการสรุปเนื้อหาสาระที่สําคัญของบทนั้น ๆ บทสรุป หน่งย่อหน้าก่อนจบบท การออกแบบการจัดการเรียนรู้แบบ AUN-QA ควรจะต้องมีการจัดทําสาระ รายวิชาของแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา (มคอ.3) ที่สอดคล้องกับ Program Learning Outcome : PLO , Expected Learning Outcome : ELO, Course Learning Outcome : CLO เพื่อเป็นแนวทางหลักในการจัดทําเอกสารประกอบการ สอนรายวิชา ซึ่งจะมีองค์ประกอบอยู่ 3 ส่วนคือ ส่วนประกอบส่วนต้น ส่วนประกอบ เนื้อหา และส่วนประกอบตอนท้าย จะทําให้เนื้อหาในแต่ละบทเรียนสอดคล้องกับ ผลลัพธ์การเรียนรู้รายวิชานั่นเอง
  43. 43. 2.2 เนื้อหา (6) (6) คําถามท้ายบท - แบบฝึกหัดท้ายบทเรียน - แบบทดสอบหลังเรียน - แบบประเมินผลทักษะ - แบบวัดความพึงพอใจ - กิจกรรมประกอบบทเรียน - การบ้าน
  44. 44. 2.2 เนื้อหา (7) (7) เอกสารอ้างอิงประจําบท
  45. 45. 2.2 เนื้อหา การอ้างอิงท้ายบทเรียนด้วย Mendeley
  46. 46. Workshop#4 ส่งเอกสารอ้างอิงท้ายบทด้วย Mendeley
  47. 47. 3. ส่วนประกอบตอนท้ายหรือส่วนเสริมเนื้อหา ประกอบด้วย บรรณานุกรม ที่ใช้ประกอบเนื้อหาในรายวิชานั้น ภาคผนวก และอื่น ๆ 3.1 บรรณานุกรม 3.2 ภาคผนวก จัดกึ่งกลางหน้า (1) เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบท (2) เอกสารอื่น ๆ เช่น ตารางสถิติ ดัชนีคําศัพท์กิจกรรมเพิ่มเติม
  48. 48. 3.1 บรรณานุกรม
  49. 49. 3.2 ภาคผนวก
  50. 50. Workshop#5 การเขียนเนื้อหาบทเรียนตัวอย่าง 1 บท ส่งเนื้อหาบทเรียนตัวอย่าง 1 บท ไม่จํากัดจํานวนหน้า (1) บทที่ ...... (2) หัวข้อเรื่อง (3) ความนํา (4) เนื้อหาตามลําดับหัวข้อใหญ่ หัวข้อรอง และหัวข้อย่อย (5) บทสรุป (6) คําถามท้ายบท หรือกิจกรรมท้ายบท (7) เอกสารอ้างอิง ด้วย Mendeley
  51. 51. บทสรุปการเขียนเอกสารประกอบการสอน อาจารย์ผู้สอนควรจะต้องมีแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา (มคอ.3) ที่ สอดคล้องกับ Program Learning Outcome : PLO , Expected Learni ng Outcome : ELO, Course Learning Outcome : CLO เพื่อเป็น แนวทางหลักในการจัดทําเอกสารประกอบการสอนรายวิชา ซึ่งจะมี องค์ประกอบอยู่ 3 ส่วนคือ ส่วนประกอบส่วนต้น ส่วนประกอบเนื้อหา และ ส่วนประกอบตอนท้าย จะทําให้เนื้อหาในแต่ละบทเรียนสอดคล้องกับ ผลลัพธ์การเรียนรู้รายวิชานั่นเอง (Outcome-Based Education : OBE) อันเป็นเป้าประสงค์หลักของการประเมินการสอนของอาจาร์มหาวิทยาลัย
  52. 52. คําถาม
  53. 53. วิทยากร ศาสตราจารย ดร.ปรัชญนันท นิลสุข ภาควิชาครุศาสตรเทคโนโลยีและสารสนเทศ คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ 081-7037515 prachyanunn@kmutnb.ac.th http://www.prachyanun.com

×