Anúncio

สอบก้าวหน้า ดร.ชเนศ รัตนอุบล

ศาสตราจารย์ em ศ.ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
29 de Jul de 2021
Anúncio

Mais conteúdo relacionado

Similar a สอบก้าวหน้า ดร.ชเนศ รัตนอุบล(20)

Mais de Prachyanun Nilsook(20)

Anúncio

สอบก้าวหน้า ดร.ชเนศ รัตนอุบล

  1. ระบบจัดการร่องรอยหลักฐานดิจิทัลการเข้าร่วมกิจกรรมนักศึกษาด้วยการรู้จาใบหน้า ผ่านเทคโนโลยีอัจฉร ิยะเพื่อการเร ียนรู้เชิงบร ิการ Digital Forensic Management System Attending Student Activities with Facial Recognition Through Intelligent Technology for Service Learning ชเนศ รัตนอุบล ผู้วิจัย รศ.ดร.ปณิตา วรรณพิรุณ อาจารย์ที่ปร ึกษาหลัก ศ.ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข อาจารย์ที่ปร ึกษาร่วม สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา ภาควิชาครุศาสตร์เทคโนโลยีและสารสนเทศ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ การสอบป้องกันวิทยานิพนธ์
  2. ระบบจัดการร่องรอยหลักฐานดิจิทัลการเข้าร่วมกิจกรรมนักศึกษาด้วยการรู้จาใบหน้าผ่านเทคโนโลยีอัจฉร ิยะเพื่อการเร ียนรู้เชิงบร ิการ Digital Forensic Management System Attending Student Activities with Facial Recognition Through Intelligent Technology for Service Learning ศาสตราจารย์เกียรติคุณดร.นิพนธ์ ศุขปร ีดี ประธานกรรมการ ขอกราบสวัสดีคณะกรรมการสอบป้องกันวิทยานิพนธ์ รศ.ดร.ปณิตา วรรณพิรุณ กรรมการ ศ.ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข กรรมการ รศ.ดร.พัลลภ พิร ิยะสุรวงศ์ กรรมการ รศ.ดร. อนุชาติ ศร ีศิร ิวัฒน์ กรรมการ ดร. ก้องเกียรติ หิรัญเกิด กรรมการ
  3. . . . . การสอบป้องกันว ิทยานิพนธ์ เร ื่อง ระบบจัดการร่องรอยหลักฐานดิจิทัลการเข้าร่วมกิจกรรม นักศึกษาด้วยการรู้จาใบหน้าผ่านเทคโนโลยีอัจฉร ิ ยะ เพื่อการเร ี ยนรู้เชิงบร ิ การ ความเป็นมาและ ความสาคัญของปัญหา
  4. ความเป็นมาและ ความสาคัญของปัญหา Digital Forensic Facial Recognition Intelligent Technology
  5. . . . . การสอบป้องกันว ิทยานิพนธ์ เร ื่อง ระบบจัดการร่องรอยหลักฐานดิจิทัลการเข้าร่วมกิจกรรม นักศึกษาด้วยการรู้จาใบหน้าผ่านเทคโนโลยีอัจฉร ิ ยะ เพื่อการเร ี ยนรู้เชิงบร ิ การ เอกสารและงานว ิจัย ที่เกี่ยวข้อง
  6. เอกสารและงานว ิจัยที่เกี่ยวข้อง Digital Forensic Management System Evaluation Digital forensics Activities tracking IoT Face Recognition Face Search Mobile Technology Service Learning Input
  7. . . . . การสอบป้องกันว ิทยานิพนธ์ เร ื่อง ระบบจัดการร่องรอยหลักฐานดิจิทัลการเข้าร่วมกิจกรรม นักศึกษาด้วยการรู้จาใบหน้าผ่านเทคโนโลยีอัจฉร ิ ยะ เพื่อการเร ี ยนรู้เชิงบร ิ การ วัตถุประสงค์ การว ิจัย
  8. 01 วัตถุประสงค์การว ิจัย 02 03 04 05 เพื่อศึกษากระบวนการจัดการร่องรอยหลักฐานดิจิทัล การเข้าร่วมกิจกรรมนักศึกษาด้วยการรู้จาใบหน้าผ่านเทคโนโลยี อัจฉร ิยะเพื่อการเร ียนรู้เชิงบร ิการ เพื่อออกแบบสถาปัตยกรรมของระบบจัดการร่องรอยหลักฐานดิจิทัล การเข้าร่วมกิจกรรมนักศึกษาด้วยการรู้จาใบหน้าผ่านเทคโนโลยี อัจฉร ิยะเพื่อการเร ียนรู้เชิงบร ิการ เพื่อพัฒนาระบบจัดการร่องรอยหลักฐานดิจิทัลการเข้าร่วม กิจกรรมนักศึกษาด้วยการรู้จาใบหน้าผ่านเทคโนโลยีอัจฉร ิยะ เพื่อการเร ียนรู้เชิงบร ิการ เพื่อประเมินการเร ียนรู้เชิงบร ิการของนักศึกษาที่ใช้ระบบจัดการ ร่องรอยหลักฐานดิจิทัลการเข้าร่วมกิจกรรมนักศึกษาด้วย การรู้จาใบหน้าผ่านเทคโนโลยีอัจฉร ิยะเพื่อการเร ียนรู้เชิงบร ิการ เพื่อประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาที่ใช้ระบบจัดการร่องรอย หลักฐานดิจิทัลการเข้าร่วมกิจกรรมนักศึกษาด้วยการรู้จาใบหน้า ผ่านเทคโนโลยีอัจฉร ิยะเพื่อการเร ียนรู้เชิงบร ิการ
  9. . . . . การสอบป้องกันว ิทยานิพนธ์ เร ื่อง ระบบจัดการร่องรอยหลักฐานดิจิทัลการเข้าร่วมกิจกรรม นักศึกษาด้วยการรู้จาใบหน้าผ่านเทคโนโลยีอัจฉร ิ ยะ เพื่อการเร ี ยนรู้เชิงบร ิ การ กรอบแนวคิด การว ิจัย
  10. . . . . การสอบป้องกันว ิทยานิพนธ์ เร ื่อง ระบบจัดการร่องรอยหลักฐานดิจิทัลการเข้าร่วมกิจกรรม นักศึกษาด้วยการรู้จาใบหน้าผ่านเทคโนโลยีอัจฉร ิ ยะ เพื่อการเร ี ยนรู้เชิงบร ิ การ กรอบแนวคิด การว ิจัย ร่องรอยหลักฐาน ดิจิทัล - ใบหน้า - ชื่อ-สกุล - สังกัด การจัดการร่องรอย หลักฐานดิจิทัล - นาเข้าข้อมูล - ตรวจสอบ - รายงาน การรู้จาใบหน้า - ตรวจจับ - สร้างภาพพิมพ์ - จาแนกใบหน้า - ตรวจสอบ - ระบุตัวตน สรรพสิ่งอัจฉร ิ ยะ - อุปกรณ์ - การประมวล - ความถูกต้อง กิจกรรมนักศึกษา - การมีส่วนร่วม - การบาเพ็ญ ประโยชน์ - วิชาการ - คุณธรรม - ศิลปวัฒนธรรม โมบายเทคโนโลยี - พิกัด - เวลา - สถานที่ ระบบจัดการร่องรอยหลักฐานดิจิทัลการเข้าร่วมกิจกรรมนักศึกษาด้วยการรู้จาใบหน้า ผ่านเทคโนโลยีโมบายเชื่อมโยงทุกสรรพสิ่งเพื่อการเร ี ยนรู้เชิงบร ิ การ ผลลัพธ์การประเมินการเร ี ยนรู้เชิงบร ิ การ การมีส่วนร่วม การบาเพ็ญประโยชน์ วิชาการ คุณธรรม ศิลปวัฒนธรรม
  11. . . . . การสอบป้องกันว ิทยานิพนธ์ เร ื่อง ระบบจัดการร่องรอยหลักฐานดิจิทัลการเข้าร่วมกิจกรรม นักศึกษาด้วยการรู้จาใบหน้าผ่านเทคโนโลยีอัจฉร ิ ยะ เพื่อการเร ี ยนรู้เชิงบร ิ การ ขอบเขต การว ิจัย
  12. . . . . การสอบป้องกันว ิทยานิพนธ์ เร ื่อง ระบบจัดการร่องรอยหลักฐานดิจิทัลการเข้าร่วมกิจกรรม นักศึกษาด้วยการรู้จาใบหน้าผ่านเทคโนโลยีอัจฉร ิ ยะ เพื่อการเร ี ยนรู้เชิงบร ิ การ ขอบเขต การว ิจัย 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ▪ ประชากร คือ นักศึกษาระดับปร ิญญาตร ีของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลรัตนโกสินทร์ ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2562 ▪ กลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาระดับปร ิญญาตร ีของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลรัตนโกสินทร์ ชั้นปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2562 จานวน 100 คน ได้มาโดยวิธีการเลือกแบบเจาะจง 2. ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัย ▪ ตัวแปรต้น คือ ระบบจัดการร่องรอยหลักฐานดิจิทัลการเข้าร่วมกิจกรรม นักศึกษาด้วยการรู้จาใบหน้าผ่านเทคโนโลยีอัจฉร ิยะเพื่อการเร ียนรู้เชิงบร ิการ ▪ ตัวแปรตาม คือ การเร ียนรู้เชิงบร ิการ 3. ระยะเวลาที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ 4 สัปดาห์
  13. . . . . การสอบป้องกันว ิทยานิพนธ์ เร ื่อง ระบบจัดการร่องรอยหลักฐานดิจิทัลการเข้าร่วมกิจกรรม นักศึกษาด้วยการรู้จาใบหน้าผ่านเทคโนโลยีอัจฉร ิ ยะ เพื่อการเร ี ยนรู้เชิงบร ิ การ ว ิธีการดาเนิน การว ิจัย
  14. 01 ว ิธีการดาเนินการว ิจัย 02 03 04 05 ศึกษากระบวนการจัดการร่องรอยหลักฐานดิจิทัล การเข้าร่วมกิจกรรมนักศึกษาด้วยการรู้จาใบหน้าผ่านเทคโนโลยี อัจฉร ิยะเพื่อการเร ียนรู้เชิงบร ิการ ออกแบบสถาปัตยกรรมของระบบจัดการร่องรอยหลักฐานดิจิทัลการ เข้าร่วมกิจกรรมนักศึกษาด้วยการรู้จาใบหน้าผ่านเทคโนโลยีอัจฉร ิยะ เพื่อการเร ียนรู้เชิงบร ิการ พัฒนาระบบจัดการร่องรอยหลักฐานดิจิทัลการเข้าร่วม กิจกรรมนักศึกษาด้วยการรู้จาใบหน้าผ่านเทคโนโลยีอัจฉร ิยะ เพื่อการเร ียนรู้เชิงบร ิการ ประเมินการเร ียนรู้เชิงบร ิการของนักศึกษาที่ใช้ระบบจัดการร่องรอย หลักฐานดิจิทัลการเข้าร่วมกิจกรรมนักศึกษาด้วย การรู้จาใบหน้าผ่านเทคโนโลยีอัจฉร ิยะเพื่อการเร ียนรู้เชิงบร ิการ ประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาที่ใช้ระบบจัดการร่องรอยหลักฐาน ดิจิทัลการเข้าร่วมกิจกรรมนักศึกษาด้วยการรู้จาใบหน้า ผ่านเทคโนโลยีอัจฉร ิยะเพื่อการเร ียนรู้เชิงบร ิการ
  15. . . . . การสอบป้องกันว ิทยานิพนธ์ เร ื่อง ระบบจัดการร่องรอยหลักฐานดิจิทัลการเข้าร่วมกิจกรรม นักศึกษาด้วยการรู้จาใบหน้าผ่านเทคโนโลยีอัจฉร ิ ยะ เพื่อการเร ี ยนรู้เชิงบร ิ การ ผลการว ิจัย
  16. 01 ผลการว ิจัย 02 03 04 05 ผลการศึกษากระบวนการจัดการร่องรอยหลักฐานดิจิทัล การเข้าร่วมกิจกรรมนักศึกษาด้วยการรู้จาใบหน้าผ่านเทคโนโลยี อัจฉร ิยะเพื่อการเร ียนรู้เชิงบร ิการ สถาปัตยกรรมของระบบจัดการร่องรอยหลักฐานดิจิทัลการเข้าร่วม กิจกรรมนักศึกษาด้วยการรู้จาใบหน้าผ่านเทคโนโลยีอัจฉร ิยะเพื่อการ เร ียนรู้เชิงบร ิการ ระบบจัดการร่องรอยหลักฐานดิจิทัลการเข้าร่วม กิจกรรมนักศึกษาด้วยการรู้จาใบหน้าผ่านเทคโนโลยีอัจฉร ิยะ เพื่อการเร ียนรู้เชิงบร ิการ ผลการประเมินการเร ียนรู้เชิงบร ิการของนักศึกษาที่ใช้ระบบจัดการ ร่องรอยหลักฐานดิจิทัลการเข้าร่วมกิจกรรมนักศึกษาด้วย การรู้จาใบหน้าผ่านเทคโนโลยีอัจฉร ิยะเพื่อการเร ียนรู้เชิงบร ิการ ผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาที่ใช้ระบบจัดการร่องรอย หลักฐานดิจิทัลการเข้าร่วมกิจกรรมนักศึกษาด้วยการรู้จาใบหน้า ผ่านเทคโนโลยีอัจฉร ิยะเพื่อการเร ียนรู้เชิงบร ิการ
  17. 01 ผลการว ิจัย ศึกษากระบวนการจัดการร่องรอยหลักฐานดิจิทัล การเข้าร่วมกิจกรรมนักศึกษาด้วยการรู้จาใบหน้าผ่านเทคโนโลยี อัจฉร ิยะเพื่อการเร ียนรู้เชิงบร ิการ ผลการวิเคราะห์ร่องรอยหลักฐานดิจิทัล เกณฑ์ตัวชี้วัด ความจ าเป็ น ความเป็นไปได้ ความรู ้ เทคโนโลยี งบประมาณ บุ ค ลากร ระบบเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ • เทคโนโลยีโทรศัพท์มือถือ • Cloud Computing • ระบบการสื่อสาร Inbuilt • ข้อมูลเคร ือข่ายคอมพิวเตอร์ ✓ ✓ ✓ ✓ ข้อพิจารณาทางกฎหมาย ✓ ✓ ✓ ✓ เทคโนโลยีความสามารถในจัดการกับข้อมูล ✓ ✓ ✓ ✓ การศึกษาวิจัย ✓ ✓ ✓
  18. 01 ผลการว ิจัย ศึกษากระบวนการจัดการร่องรอยหลักฐานดิจิทัล การเข้าร่วมกิจกรรมนักศึกษาด้วยการรู้จาใบหน้าผ่านเทคโนโลยี อัจฉร ิยะเพื่อการเร ียนรู้เชิงบร ิการ ผลการวิเคราะห์การจัดการร่องรอยหลักฐานดิจิทัล เกณฑ์ตัวชี้วัด ความจ าเป็ น ความเป็นไปได้ ความรู ้ เทคโนโลยี งบประมาณ บุ ค ลากร นิติวิทยาศาสตร์แบบดิจิทัลระบบการจัดการ (DFRMS) ✓ ✓ ✓ ✓ เข้ารหัสลับแบบดิจิทัล ✓ ✓ ✓ ✓ การตรวจสอบข้อมูล ✓ ✓ การป้องกันข้อมูล ✓ ✓ ✓ ✓ ✓
  19. 01 ผลการว ิจัย กระบวนการจัดการร่องรอยหลักฐานดิจิทัล การเข้าร่วมกิจกรรมนักศึกษาด้วยการรู้จาใบหน้า ผ่านเทคโนโลยีอัจฉร ิยะเพื่อการเร ียนรู้เชิงบร ิการ ข้อ ข้อคาถาม ความคิดเห็น 1 ท่านมีความเห็นอย่างไรกับการขาดการเข้าร่วม กิจกรรมนักศึกษา ก. อะไรเป็นสาเหตุหลักของการขาดการเข้าร่วม กิจกรรมนักศึกษา ข. อะไรคือปัญหาระบบการเช็คชื่อการเข้าร่วม กิจกรรมนักศึกษาในปัจจุบันนี้ • สมุดบันทึกกิจกรรมสามารถที่จะปลอมแปลงลายเซ็นได้ • สมุดบันทึกกิจกรรมสามารถฝากกันลงชื่อได้ • กิจกรรมไม่น่าสนใจ • อากาศร้อนสาหรับการทากิจกรรมอยู่ด้านนอก • การเช็คชื่อใช้คนและเวลามากไป 2 ท่านมีความเห็นอย่างไรการใช้ระบบคอมพิวเตอร์ใน การเก็บข้อมูลการ เข้าร่วมกิจกรรมนักศึกษา • น่าจะทาให้การทางานรวดเร็วขึ้น • การนาข้อมูลมาใช้ได้ง่าย • เก็บข้อมูลได้นานและเป็นระเบียบ • ป้องกันการทุจร ิตในการเก็บข้อมูลลงทะเบียน 3 ท่านเห็นด้วยหร ือไม่กับการใช้ระบบรู้จาใบหน้าในการ จัดการงานด้านนักศึกษา กรุณาให้เหตุผลประกอบ • เห็นด้วย เพราะจาทาให้ไม่ต้องพกสมุดบันทึก ไม่มีการ หายหร ือการปลอมแปลงลายมือ • ไม่เห็นด้วย เพราะอาจจะต้องใช้งบประมาณเพิ่ม 4 “ระบบจัดการร่องรอยหลักฐานดิจิทัลการเข้าร่วม กิจกรรมนักศึกษาด้วยการรู้จาใบหน้าผ่านเทคโนโลยี อัจฉร ิยะเพื่อการเร ียนรู้เชิงบร ิการ” ท่านคิดว่าควร ประกอบด้วยข้อมูลนาเข้า อะไรบ้าง เพราะเหตุใด ก. ข้อมูลพื้นฐานนักศึกษา ข. ข้อมูลกิจกรรมนักศึกษา • ชื่อนามสกุล • ชั้นปี • สาขา • เพศ • รูปภาพ • ชื่อกิจกรรม • วันที่จัดกิจกรรม • เวลาที่จัดกิจกรรม 5 “ระบบจัดการร่องรอยหลักฐานดิจิทัลการเข้าร่วม กิจกรรมนักศึกษาด้วยการรู้จาใบหน้าผ่านเทคโนโลยี อัจฉร ิยะเพื่อการเร ียนรู้เชิงบร ิการ” ท่านคิดว่าระบบนี้ ควรผลิตสารสนเทศอะไรได้บ้าง • รายการกิจกรรมที่นักศึกษาแต่ละคนเข้าร่วม • รายชื่อนักศึกษาในแต่ละกิจกรรม • การแสดงรายการแบ่งตามเงื่อนไขอื่นๆ เช่นชั้นปี สาขา 6 ข้อเสนอแนะและข้อคิดเห็นอื่นๆ นอกจากรูปภาพ ควรเช็คชื่อจากกล้องวิดีโอได้ด้วยเพราะมีการ ถ่ายวิดีโออยู่แล้ว ในช่วงฝุ่นละออง PM 2.5 และการระบาดของ COVID-19 มี การเว้นระยะห่างทางสังคมและการใส่หน้ากากอนามัยทาให้ ตรวจสอบใบหน้าของนักศึกษาและรูปในบัตรไม่ได้
  20. 02 สถาปัตยกรรมของระบบจัดการร่องรอยหลักฐาน ดิจิทัลการเข้าร่วมกิจกรรมนักศึกษาด้วยการรู้จา ใบหน้าผ่านเทคโนโลยีอัจฉร ิยะเพื่อการเร ียนรู้เชิง บร ิการ ผลการว ิจัย Activities Photographer Photographer Photographer - activity - picture - pool Type of activities Type of activities Type of activities Type of activities Face Recognition Face Search Photo Student Data Set 1-3 Photo Photo Photo Photo Photo Photo Photo Photo
  21. 02 สถาปัตยกรรมของระบบจัดการร่องรอยหลักฐานดิจิทัลการเข้าร่วม กิจกรรมนักศึกษาด้วยการรู้จาใบหน้าผ่านเทคโนโลยีอัจฉร ิยะเพื่อการ เร ียนรู้เชิงบร ิการ ผลการว ิจัย Inputs Activities log and report Student Data Activities log display Recognition & Mapping Data Retrieving Data Matching Printing Display Digital Forensic Management System
  22. 02 ผลการว ิจัย สถาปัตยกรรมของระบบจัดการร่องรอยหลักฐาน ดิจิทัลการเข้าร่วมกิจกรรมนักศึกษาด้วยการรู้จา ใบหน้าผ่านเทคโนโลยีอัจฉร ิยะเพื่อการเร ียนรู้เชิง บร ิการ
  23. 03 ระบบจัดการร่องรอยหลักฐานดิจิทัลการเข้าร่วม กิจกรรมนักศึกษาด้วยการรู้จาใบหน้าผ่านเทคโนโลยีอัจฉร ิยะ เพื่อการเร ียนรู้เชิงบร ิการ ผลการว ิจัย
  24. 03 ระบบจัดการร่องรอยหลักฐานดิจิทัลการเข้าร่วม กิจกรรมนักศึกษาด้วยการรู้จาใบหน้าผ่านเทคโนโลยีอัจฉร ิยะ เพื่อการเร ียนรู้เชิงบร ิการ ผลการว ิจัย
  25. 03 ระบบจัดการร่องรอยหลักฐานดิจิทัลการเข้าร่วม กิจกรรมนักศึกษาด้วยการรู้จาใบหน้าผ่านเทคโนโลยีอัจฉร ิยะ เพื่อการเร ียนรู้เชิงบร ิการ ผลการว ิจัย
  26. 03 ระบบจัดการร่องรอยหลักฐานดิจิทัลการเข้าร่วมกิจกรรม นักศึกษาด้วยการรู้จาใบหน้าผ่านเทคโนโลยีอัจฉร ิยะเพื่อ การเร ียนรู้เชิงบร ิการ ผลการว ิจัย
  27. 03 ระบบจัดการร่องรอยหลักฐานดิจิทัลการเข้าร่วม กิจกรรมนักศึกษาด้วยการรู้จาใบหน้าผ่านเทคโนโลยีอัจฉร ิยะ เพื่อการเร ียนรู้เชิงบร ิการ ลาดับกิจกรรม ผลการบันทึกการเข้าร่วมกิจกรรม สมุดบันทึกกิจกรรม ระบบจัดการฯ กลุ่ม1 กลุ่ม 2 เฉลี่ย กลุ่ม1 กลุ่ม 2 เฉลี่ย 1 20 25 22.5 81 92 86.5 2 26 33 29.5 89 94 91.5 3 35 34 34.5 94 98 96 4 31 21 26 94 95 94.5 5 22 22 22 96 97 96.5 6 34 27 30.5 97 99 98 7 12 38 25 89 91 90 8 23 44 33.5 95 89 92 9 39 34 36.5 97 96 96.5 10 37 31 34 90 94 92 Avg 27.9 30.9 29.4 92.2 94.5 93.35 T-test (2-Tails) สมุดบันทึกกิจกรรม 0.23 Sig* ระบบจัดการร่องรอยหลักฐานดิจิทัลการเข้าร่วมกิจกรรม 0.13 Sig* ค่าเปร ียบเทียบ 2 กลุ่ม 0.00 Sig* ผลการว ิจัย
  28. 03 ระบบจัดการร่องรอยหลักฐานดิจิทัลการเข้าร่วม กิจกรรมนักศึกษาด้วยการรู้จาใบหน้าผ่านเทคโนโลยีอัจฉร ิยะ เพื่อการเร ียนรู้เชิงบร ิการ กิจกรรม การบันทึกวิดีโอ ระบบที่ไม่มีอัลกอร ิทึมสาหรับทาเคร ื่องหมายรูปร่างใบหน้า ระบบที่มีอัลกอร ิทึมสาหรับทาเคร ื่องหมายรูปร่างใบหน้า ชุดที่ 1 ชุดที่ 2 ค่าเฉลี่ย ชุดที่ 1 ชุดที่ 2 ค่าเฉลี่ย 1 79 81 80 81 92 86.5 2 80 79 79.5 89 94 91.5 3 88 90 89 94 98 96 4 82 83 82.5 94 95 94.5 5 82 84 83 96 97 96.5 6 77 82 79.5 97 99 98 7 84 86 85 89 91 90 8 75 72 73.5 95 89 92 9 81 86 83.5 97 96 96.5 10 91 88 89.5 90 94 92 Avg 81.9 83.1 82.5 92.2 94.5 93.35 T-test (2-Tails) เปร ียบเที่ยบระหว่าง มีและไม่มี อัลกอร ิทึมสาหรับทาเคร ื่องหมายรูปร่างใบหน้า 0.0001 Sig* ผลการว ิจัย
  29. 04 ผลการประเมินการเร ียนรู้เชิงบร ิการของนักศึกษาที่ ใช้ระบบจัดการร่องรอยหลักฐานดิจิทัลการเข้าร่วม กิจกรรมนักศึกษาด้วยการรู้จาใบหน้าผ่านเทคโนโลยี อัจฉร ิยะเพื่อการเร ียนรู้เชิงบร ิการ ผลการว ิจัย ลาดับ ข้อความ ระดับความคิดเห็น ഥ 𝒙 S.D. ความพึงพอใจ 1 ผู้เร ียนได้สะท้อนความคิดจากการทากิจกรรม บร ิการสังคมตามความรู้ความสามารถประสบการณ์ และการเตร ียมการของผู้เร ียนเอง 4.27 0.7 ระดับมาก 2 ผู้สอนเป็นเพียงผู้ให้คาแนะนา และให้คาปร ึกษา อย่างใกล้ชิด 3.85 0.73 ระดับมาก 3 กิจกรรมบร ิการสังคมเป็นกิจกรรมที่สอดคล้องกับ ความต้องการที่แท้จร ิงของชุมชน 4.27 0.7 ระดับมาก 4 กิจกรรมบร ิการสังคมเป็นกิจกรรมที่สอดคล้องกับ วัตถุประสงค์ของรายวิชาผู้เร ียน 4.13 1.1 ระดับมาก 5 มีโอกาสนาองค์ความรู้ของผู้เร ียนที่มีมาพัฒนาตาม ความต้องการของชุมชน 3.87 0.74 ระดับมาก 6 การวัดและประเมินผลเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของ เร ื่องที่เร ียน 4.4 0.98 ระดับมาก 7 มีการใช้ผลการประเมินการเร ียนรู้ของผู้เร ียน ประกอบกับการประเมินผลของผู้สอน 3.97 0.89 ระดับมาก 8 มีการประเมินความพึงพอใจของกิจกรรมการเร ียนรู้ ด้วยการบร ิการสังคม ชุมชน 4.27 0.7 ระดับมาก 9 ผู้เร ียนได้เข้าร่วมกิจกรรมบร ิการสังคมของ มหาวิทยาลัยสม่าเสมอ 3.85 0.73 ระดับมาก 10 ผู้เร ียนลงทะเบียนผ่านระบบจัดการร่องรอย หลักฐานดิจิทัล 4.53 0.64 ระดับมาก ที่สุด รวม 4.14 0.79 ระดับมาก ผลการประเมินการเร ียนรู้เชิงบร ิการ อยู่ในระดับ “มาก” ഥ x = 4.14, SD = 0.79
  30. 05 ผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาที่ ใช้ระบบจัดการร่องรอยหลักฐานดิจิทัลการเข้า ร่วมกิจกรรมนักศึกษาด้วยการรู้จาใบหน้า ผ่านเทคโนโลยีอัจฉร ิยะเพื่อการเร ียนรู้เชิง บร ิการ ผลการว ิจัย ลาดับ ข้อความ ระดับความคิดเห็น ഥ 𝒙 S.D. ความ เหมาะสม 1 ระบบใช้งานง่าย สะดวก เป็นมิตรกับผู้ใช้ 4.62 0.11 มาก 2 ความชัดเจนของคาอธิบายการใช้ระบบ 4.65 0.20 มาก 3 ระบบมีการประมวลผลที่รวดเร็ว แม่นยาและถูกต้อง ตรงตามความต้องการ 4.98 0.67 มากที่สุด 4 ระบบสามารถทางานตามความต้องการของผู้ใช้ 4.42 0.74 มาก 5 ระบบมีการแจ้งเตือนการทางาน เมื่อข้อมูลผิดพลาด 4.45 0.14 มาก 6 ระบบมีการแสดงผลรายงานที่ถูกต้อง 4.92 0.08 มากที่สุด 7 ระบบสามารถช่วยลดขั้นตอนในการทางาน 5.00 0.00 มากที่สุด 8 ระบบสามารถลดระยะเวลาการทางาน 4.96 0.06 มากที่สุด 9 ระบบมีความพร้อมในการให้บร ิการแก่ผู้ใช้อยู่เสมอ 4.92 0.65 มากที่สุด 10 ระบบมีแนวโน้มที่จะพัฒนาเพิ่มเติมได้ 5.00 0.00 มากที่สุด 11 การสื่อสารระหว่างผู้ใช้กับระบบเป็นขั้นตอนเข้าใจได้ 5.00 0.00 มากที่สุด 12 สามารถเข้าถึงระบบเพื่อใช้งานได้อย่างรวดเร็วโดยไม่ ต้องใช้อุปกรณ์เสร ิม 5.00 0.00 มากที่สุด 13 การจัดอบรมหร ือให้ข้อมูลเกี่ยวกับการใช้ระบบ 4.32 0.23 ปานกลาง 14 ความสะดวกของการติดตั้ง/ติดต่อระบบ 4.77 0.09 มากที่สุด 15 มีช่องทางการติดต่อผู้ดูแลระบบ หร ือมีเจ้าหน้าที่บร ิการ 5.00 0.00 มากที่สุด 16 ความพึงพอใจที่มีต่อระบบโดยรวม 4.57 0.67 มากที่สุด 17 คาถามปลายเปิดข้อเสนอแนะเพิ่มเติมในการปรับปรุง และพัฒนาระบบ ไม่มีข้อแนะนาเพิ่มเติม ความพึงพอใจที่มีต่อระบบโดยรวม มีความพึงพอใจอยู่ในระดับ “มาก” ഥ x = 4.57, SD = 0.67
  31. . . . . การสอบป้องกันว ิทยานิพนธ์ เร ื่อง ระบบจัดการร่องรอยหลักฐานดิจิทัลการเข้าร่วมกิจกรรม นักศึกษาด้วยการรู้จาใบหน้าผ่านเทคโนโลยีอัจฉร ิ ยะ เพื่อการเร ี ยนรู้เชิงบร ิ การ สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
  32. สรุปผลและอภิปราย ผลการว ิจัย ▪ กระบวนการจัดการร่องรอยหลักฐานดิจิทัลการเข้าร่วมกิจกรรมนักศึกษาด้วยการรู้จาใบหน้า ผ่านเทคโนโลยีอัจฉร ิยะเพื่อการเร ียนรู้เชิงบร ิการ การจดจาใบหน้าโดยใช้ระบบการจัดการ ร่องรอยหลักฐานดิจิทัลหร ือ DFMS ซึ่งภาพรวมจะเก็บมาเพื่อรวบรวมคะแนนการมีส่วนร่วม เพื่อวิเคราะห์ ประการที่หนึ่งภาพถ่ายและวิดีโอของกิจกรรมในมหาวิทยาลัยที่มีนักศึกษาอยู่ ประการที่สองทดลองจับภาพเพื่อให้ได้ภาพใบหน้าในมุมต่าง ๆ และอารมณ์ที่แตกต่างกัน โดยมี 100 ภาพเพื่อสร้างรูปแบบใบหน้าสาหรับนักเร ียนแต่ละคน ▪ สถาปัตยกรรมของระบบจัดการร่องรอยหลักฐานดิจิทัลการเข้าร่วมกิจกรรมนักศึกษาด้วยการ รู้จาใบหน้าผ่านเทคโนโลยีอัจฉร ิยะเพื่อการเร ียนรู้เชิงบร ิการ ได้ออกแบบเพื่อจัดการกับ “หลักฐานดิจิทัล” โดยมีระบบย่อยได้แก่ ระบบการจดจาใบหน้า ระบคลังภาพถ่ายและวิดีโอ ของกิจกรรมในมหาวิทยาลัย
  33. สรุปผลและอภิปราย ผลการว ิจัย ▪ ระบบจัดการร่องรอยหลักฐานดิจิทัลการเข้าร่วมกิจกรรมนักศึกษาด้วยการรู้จาใบหน้าผ่าน เทคโนโลยีอัจฉร ิยะเพื่อการเร ียนรู้เชิงบร ิการ ได้พัฒนาตามสถาปัตยกรรมที่ได้ออกแบบและ ผ่านการประเมินความเหมาะสมของผู้เชี่ยวชาญ ▪ ผลการประเมินการเร ียนรู้เชิงบร ิการของนักศึกษาที่ใช้ระบบจัดการร่องรอยหลักฐานดิจิทัลการ เข้าร่วมกิจกรรมนักศึกษาด้วยการรู้จาใบหน้าผ่านเทคโนโลยีอัจฉร ิยะเพื่อการเร ียนรู้เชิงบร ิการ พบว่าหลังจากเปิดใช้บร ิการระบบจัดการร่องรอยหลักฐานดิจิทัลการเข้าร่วมกิจกรรม นักศึกษาแล้ว มีจานวนผู้เข้าร่วมเพิ่มขึ้นและสอดคล้องกันถึงร้อยละ 30-40 ในช่วงปี การศึกษาที่ผ่านมา
  34. สรุปผลและอภิปราย ผลการว ิจัย ▪ ผลการความพึงพอใจของนักศึกษาที่ใช้ระบบจัดการร่องรอยหลักฐานดิจิทัลการเข้าร่วม กิจกรรมนักศึกษาด้วยการรู้จาใบหน้าผ่านเทคโนโลยีอัจฉร ิยะเพื่อการเร ียนรู้เชิงบร ิการ ภาพรวมมีนักศึกษาคิดว่าได้รับความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ( ҧ 𝑥 = 4.14, S.D. = 0.97) จาก ผลการประเมินในทุกด้าน
  35. สรุปผลและอภิปราย อภิปรายผลการว ิจัย ▪ กระบวนการจัดการร่องรอยหลักฐานดิจิทัลการเข้าร่วมกิจกรรมนักศึกษาด้วย การรู้จาใบหน้าผ่านเทคโนโลยีอัจฉร ิยะเพื่อการเร ียนรู้เชิงบร ิการ แบ่ง ออกเป็น 3 ส่วน ได้แก่ (1) ผลการสังเคราะห์เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง (Document Synthesis) (2) ผลการสัมภาษณ์แบบเชิงลึก (In depth interview) (3) พัฒนากระบวนการ (Process Development) ผลการ วางแผนกระบวนการจัดการร่องรอยหลักฐานดิจิทัลการเข้าร่วมกิจกรรม นักศึกษาด้วยการรู้จาใบหน้าผ่านเทคโนโลยีอัจฉร ิยะเพื่อการเร ียนรู้เชิง บร ิการ
  36. สรุปผลและอภิปราย อภิปรายผลการว ิจัย ▪ สถาปัตยกรรมได้ออกแบบและอธิบายรายละเอียดของ สถาปัตยกรรมโดยอธิบายเป็น 3 ส่วน ได้แก่ 1) ปัจจัยนาเข้า (Input) คือสิ่งที่ต้องให้ระบบเร ียนรู้และจดจาได้แก่ลักษณะ ใบหน้าของผู้ได้ 2) กระบวนการ (Process) คือกระบวนจัดการ ร่องรอยหลักฐานดิจิทัลและกระบวนการตรวจสอบและจดจา ใบหน้า และ 3) ผลลัพธ์ (Output) คือเอกสารและรายงานต่าง ๆ จากการวิเคราะห์และสรุปผลของระบบที่พัฒนาขึ้น
  37. สรุปผลและอภิปราย อภิปรายผลการว ิจัย ▪ ระบบจัดการร่องรอยหลักฐานดิจิทัลการเข้าร่วมกิจกรรมนักศึกษา ด้วยการรู้จาใบหน้าผ่านเทคโนโลยีอัจฉร ิยะเพื่อการเร ียนรู้เชิง บร ิการ ที่พัฒนาขึ้นใช้ Internet of Things และการตรวจจับ ใบหน้า ซึ่งทาให้ระบบมีประสิทธิภาพและเหมาะสมต่อการใช้งาน
  38. ข้อเสนอแนะในการว ิจัยครั้งต่อไป 1. ในระหว่างการพัฒนาและใช้งานระบบ การวิจัยครั้งนี้พบว่าระบบที่มีอัลกอร ิธึมจับกรอบ ใบหน้า Face shape algorithm) ตรวจพบใบหน้าของนักศึกษาและดึงข้อมูลอย่างแม่นยาจาก ฐานข้อมูลได้ถึง 93.35% สูงกว่าผลลัพธ์จากระบบเดิม 10.85 % ที่ไม่มีอัลกอร ิธึมจับกรอบหน้า สาหรับงานวิจัยในอนาคต นักวิจัยควรทาการทดสอบโดยสร้างหน้ากากอนามัยขึ้นมาไม่น้อยไป เนื่องจากมาสก์ในโลกจร ิงมีความแตกต่างกัน ซึ่งรวมถึงรูปร่าง สี และความครอบคลุมของจมูก
  39. ข้อเสนอแนะในการว ิจัยครั้งต่อไป 2. ระบบที่พัฒนา ควรมีการพัฒนาระบบปฏิสัมพันธ์แบบอัตโนมัติ ร่วมกับเทคโนโลยีเชื่อมโยง สรรพสิ่ง IoT เพื่อเป็นระบบที่ไม่รบกวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 3. ระบบที่พัฒนา ควรเชื่อมต่อกับระบบเกรดและทะเบียนเพื่อบันทึกข้อมูลร่วมกัน 4. การพัฒนาระบบ ฯ ควรมีการนาเข้าข้อมูลในรูปแบบที่หลากหลายขึ้นจะทาให้การทางานสะดวก ยิ่งขึ้น
  40. . . . . การสอบป้องกันว ิทยานิพนธ์ เร ื่อง ระบบจัดการร่องรอยหลักฐานดิจิทัลการเข้าร่วมกิจกรรม นักศึกษาด้วยการรู้จาใบหน้าผ่านเทคโนโลยีอัจฉร ิ ยะ เพื่อการเร ี ยนรู้เชิงบร ิ การ บทความ ที่ได้รับตีพิมพ์
  41. บทความที่ได้รับ การตีพิมพ์ International Journal of Education and Information Technologies
  42. บทความที่ได้รับ การตีพิมพ์ 2021 3rd International Conference on Computer Communication and the Internet
  43. บทความที่ได้รับ การตีพิมพ์ 2021 3rd International Conference on Computer Communication and the Internet
  44. Question? ระบบจัดการร่องรอยหลักฐานดิจิทัลการเข้าร่วมกิจกรรมนักศึกษาด้วยการรู้จาใบหน้าผ่านเทคโนโลยีอัจฉร ิยะเพื่อการเร ียนรู้เชิงบร ิการ Digital Forensic Management System Attending Student Activities with Facial Recognition Through Intelligent Technology for Service Learning ขอขอบพระคุณกรรมการสอบป้องกันวิทยานิพนธ์ และผู้รับฟังทุกท่าน
  45. ระบบจัดการร่องรอยหลักฐานดิจิทัลการเข้าร่วมกิจกรรมนักศึกษาด้วยการรู้จาใบหน้าผ่านเทคโนโลยีอัจฉร ิยะเพื่อการเร ียนรู้เชิงบร ิการ Digital Forensic Management System Attending Student Activities with Facial Recognition Through Intelligent Technology for Service Learning ศาสตราจารย์เกียรติคุณดร.นิพนธ์ ศุขปร ีดี ประธานกรรมการ ขอขอบพระคุณกรรมการสอบป้องกันวิทยานิพนธ์ รศ.ดร.ปณิตา วรรณพิรุณ กรรมการ ศ.ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข กรรมการ รศ.ดร.พัลลภ พิร ิยะสุรวงศ์ กรรมการ รศ.ดร. อนุชาติ ศร ีศิร ิวัฒน์ กรรมการ ดร. ก้องเกียรติ หิรัญเกิด กรรมการ
Anúncio