Anúncio
Anúncio

Mais conteúdo relacionado

Apresentações para você(20)

Similar a การสอบป้องกัน ดร.ธนสาร รุจิรา(20)

Anúncio

Mais de Prachyanun Nilsook(20)

Último(20)

Anúncio

การสอบป้องกัน ดร.ธนสาร รุจิรา

  1. การสอบป้องกันวิทยานิพนธ์ หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา การพัฒนาตัวบ่งชี้สถาปัตยกรรมองค์การดิจิทัล สาหรับสถานศึกษาอาชีวศึกษา เพื่อการเปลี่ยนผ่านสู่องค์การดิจิทัลสมรรถนะสูง Development of Digital Enterprise Architecture Indicators of Vocational Education for Digital Transformation to High-Performance Digital Organization คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ(มจพ.) รศ.ดร.ปณิตา วรรณพิรุณ ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม นายธนสาร รุจิรา นักศึกษาปริญญาเอก ศาสตราจารย์ ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก
  2. คณะกรรมการ สอบป้องกันวิทยานิพนธ์ ศ.ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก รศ.ดร.ปณิตา วรรณพิรุณ ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ่วม รศ.ดร.ประกอบ กรณีกิจ กรรมการ รศ.ดร.สุรพล บุญลือ กรรมการ รศ.ดร.พัลลภ พิริยะสุรวงศ์ กรรมการ ศ.ดร.มนต์ชัย เทียนทอง ประธานกรรมการ
  3. Introduction
  4. พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา รัฐบาล การพัฒนาตัวบ่งชี้สถาปัตยกรรมองค์การดิจิทัลสาหรับสถานศึกษาอาชีวศึกษา เพื่อการเปลี่ยนผ่านสู่องค์การดิจิทัลสมรรถนะสูง
  5. ตรีนุช เทียนทอง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
  6. ตรีนุช เทียนทอง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ดร.สุเทพ แก่งสันเทียะ เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา การพัฒนาตัวบ่งชี้สถาปัตยกรรมองค์การดิจิทัลสาหรับสถานศึกษาอาชีวศึกษา เพื่อการเปลี่ยนผ่านสู่องค์การดิจิทัลสมรรถนะสูง ศูนย์ความเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษา
  7. การพัฒนาตัวบ่งชี้สถาปัตยกรรมองค์การดิจิทัลสาหรับสถานศึกษาอาชีวศึกษา เพื่อการเปลี่ยนผ่านสู่องค์การดิจิทัลสมรรถนะสูง
  8. HCEC การพัฒนาตัวบ่งชี้สถาปัตยกรรมองค์การดิจิทัลสาหรับสถานศึกษาอาชีวศึกษา เพื่อการเปลี่ยนผ่านสู่องค์การดิจิทัลสมรรถนะสูง
  9. HCEC การพัฒนาตัวบ่งชี้สถาปัตยกรรมองค์การดิจิทัลสาหรับสถานศึกษาอาชีวศึกษา เพื่อการเปลี่ยนผ่านสู่องค์การดิจิทัลสมรรถนะสูง
  10. VEC DVEC HPO DVEC การพัฒนาตัวบ่งชี้สถาปัตยกรรมองค์การดิจิทัลสาหรับสถานศึกษาอาชีวศึกษา เพื่อการเปลี่ยนผ่านสู่องค์การดิจิทัลสมรรถนะสูง
  11. การพัฒนาตัวบ่งชี้สถาปัตยกรรมองค์การดิจิทัลสาหรับสถานศึกษาอาชีวศึกษา เพื่อการเปลี่ยนผ่านสู่องค์การดิจิทัลสมรรถนะสูง วัตถุประสงค์การวิจัย 1. เพื่อศึกษากระบวนการเปลี่ยนผ่านสถานศึกษา อาชีวศึกษาสู่องค์การดิจิทัลสมรรถนะสูง 2. เพื่อออกแบบสถาปัตยกรรมองค์การดิจิทัลสาหรับ สถานศึกษาอาชีวศึกษาเพื่อการเปลี่ยนผ่าน สู่องค์การดิจิทัลสมรรถนะสูง
  12. การพัฒนาตัวบ่งชี้สถาปัตยกรรมองค์การดิจิทัลสาหรับสถานศึกษาอาชีวศึกษา เพื่อการเปลี่ยนผ่านสู่องค์การดิจิทัลสมรรถนะสูง วัตถุประสงค์การวิจัย 3. เพื่อพัฒนาตัวบ่งชี้สถาปัตยกรรมองค์การดิจิทัล สาหรับสถานศึกษาอาชีวศึกษาเพื่อการเปลี่ยนผ่าน สู่องค์การดิจิทัลสมรรถนะสูง 4. เพื่อประเมินสถานศึกษาอาชีวศึกษาด้วยตัวบ่งชี้ สถาปัตยกรรมองค์กรดิจิทัลสาหรับสถานศึกษา อาชีวศึกษาเพื่อการเปลี่ยนผ่านสู่องค์กรดิจิทัล สมรรถนะสูง
  13. การพัฒนาตัวบ่งชี้สถาปัตยกรรมองค์การดิจิทัลสาหรับสถานศึกษาอาชีวศึกษา เพื่อการเปลี่ยนผ่านสู่องค์การดิจิทัลสมรรถนะสูง ขอบเขตการวิจัย ผู้บริหารหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย ในสถานศึกษาอาชีวศึกษา จานวน 270 คน ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากร สถานศึกษาสังกัดสานักงาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษา จานวน 874 แห่ง กลุ่มตัวอย่าง *ตารางKrejcie & Morgan
  14. การพัฒนาตัวบ่งชี้สถาปัตยกรรมองค์การดิจิทัลสาหรับสถานศึกษาอาชีวศึกษา เพื่อการเปลี่ยนผ่านสู่องค์การดิจิทัลสมรรถนะสูง กรอบแนวคิดการวิจัย
  15. การพัฒนาตัวบ่งชี้สถาปัตยกรรมองค์การดิจิทัลสาหรับสถานศึกษาอาชีวศึกษา เพื่อการเปลี่ยนผ่านสู่องค์การดิจิทัลสมรรถนะสูง
  16. การพัฒนาตัวบ่งชี้สถาปัตยกรรมองค์การดิจิทัลสาหรับสถานศึกษาอาชีวศึกษา เพื่อการเปลี่ยนผ่านสู่องค์การดิจิทัลสมรรถนะสูง นิยามศัพท์เฉพาะ กรอบแนวทางการบริหารจัดการสถานศึกษาอาชีวศึกษา เพื่อการเปลี่ยน การสถานศึกษาสู่องค์การดิจิทัลสมรรถนะสูง มี 6 ด้าน ได้แก่ สถาปัตยกรรม ด้านธุรกิจ, สถาปัตยกรรมด้านข้อมูล, สถาปัตยกรรมด้านทรัพยากรบุคคล, สถาปัตยกรรมด้านแอปพลิเคชัน, สถาปัตยกรรมด้านโครงสร้างพื้นฐาน และ สถาปัตยกรรมด้านความมั่นคงปลอดภัยข้อมูล 1. สถาปัตยกรรมองค์การดิจิทัล
  17. การพัฒนาตัวบ่งชี้สถาปัตยกรรมองค์การดิจิทัลสาหรับสถานศึกษาอาชีวศึกษา เพื่อการเปลี่ยนผ่านสู่องค์การดิจิทัลสมรรถนะสูง นิยามศัพท์เฉพาะ ข้อกาหนดที่บ่งบอกถึงสถาปัตยกรรมองค์การดิจิทัลของ สถานศึกษาสังกัดสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา แบ่งเป็น 6 มาตรฐาน จานวน 24 ตัวบ่งชี้ 2. ตัวบ่งชี้สถาปัตยกรรมองค์การดิจิทัล
  18. การพัฒนาตัวบ่งชี้สถาปัตยกรรมองค์การดิจิทัลสาหรับสถานศึกษาอาชีวศึกษา เพื่อการเปลี่ยนผ่านสู่องค์การดิจิทัลสมรรถนะสูง นิยามศัพท์เฉพาะ สถานศึกษาสังกัดสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ทั้งภาครัฐและเอกชน ทาหน้าที่บริการวิชาชีพแก่ชุมชน ผลิตและ พัฒนากาลังคน เพื่อตอบสนองต่อ ความต้องการของประเทศตาม เป้าหมายยุทธศาสตร์ชาติ 3. สถานศึกษาอาชีวศึกษา
  19. การพัฒนาตัวบ่งชี้สถาปัตยกรรมองค์การดิจิทัลสาหรับสถานศึกษาอาชีวศึกษา เพื่อการเปลี่ยนผ่านสู่องค์การดิจิทัลสมรรถนะสูง นิยามศัพท์เฉพาะ สถานศึกษาสังกัดสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ทั้งภาครัฐและเอกชน ทาหน้าที่บริการวิชีพแก่ชุมชน ผลิตและพัฒนา กาลังคน เพื่อตอบสนองต่อความต้องการของประเทศตามเป้าหมาย ยุทธศาสตร์ชาติ โดยการบริหารจัดการภายในสถานศึกษา ด้วยการนาเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในกระบวนการทางาน การจัดการ เรียนการสอน 4. สถานศึกษาอาชีวศึกษาดิจิทัล
  20. การพัฒนาตัวบ่งชี้สถาปัตยกรรมองค์การดิจิทัลสาหรับสถานศึกษาอาชีวศึกษา เพื่อการเปลี่ยนผ่านสู่องค์การดิจิทัลสมรรถนะสูง นิยามศัพท์เฉพาะ สถานศึกษาสังกัดสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ทั้ง ภาครัฐและเอกชน ทาหน้าที่บริการวิชีพแก่ชุมชน ผลิตและพัฒนากาลังคน เพื่อตอบสนองต่อความต้องการของประเทศตามเป้าหมายยุทธศาสตร์ ชาติ โดยการบริหารจัดการภายในสถานศึกษา ด้วยการนาเทคโนโลยี ดิจิทัลที่ทันสมัยมาใช้ในกระบวนการทางานและการจัดการเรียนการสอน ได้มาตรฐานสากล เพื่อตอบสนองต่อความต้องการของประเทศตาม เป้าหมายยุทธศาสตร์ชาติ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5. สถานศึกษาอาชีวศึกษาดิจิทัลสมรรถนะสูง
  21. Review
  22. การพัฒนาตัวบ่งชี้สถาปัตยกรรมองค์การดิจิทัลสาหรับสถานศึกษาอาชีวศึกษา เพื่อการเปลี่ยนผ่านสู่องค์การดิจิทัลสมรรถนะสูง เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 1. การจัดการศึกษาอาชีวศึกษา 2. สถาปัตยกรรมองค์การ (Enterprise Architecture) 3. การเปลี่ยนผ่านยุคดิจิทัล (Digital Transformation) 4. การพัฒนาตัวบ่งชี้ 5. องค์การสมรรถนะสูง (High-Performance Organization) 6. นโยบายและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับเทคโนโลยีดิจิทัลการศึกษา
  23. Methodology
  24. ขั้นตอนการวิจัย การพัฒนาตัวบ่งชี้สถาปัตยกรรมองค์การดิจิทัลสาหรับสถานศึกษาอาชีวศึกษา เพื่อการเปลี่ยนผ่านสู่องค์การดิจิทัลสมรรถนะสูง ระยะที่ 1 ระยะที่ 2 ระยะที่ 3 ระยะที่ 4 ศึกษากระบวนการเปลี่ยนผ่านสถานศึกษาอาชีวศึกษา สู่องค์การดิจิทัลสมรรถนะสูง ออกแบบสถาปัตยกรรมองค์การดิจิทัล Focus Group 21 คน (ผู้บริหารระดับสูง, ผู้บริหาร, ด้าน IT) ประเมินความเหมาะสม พัฒนาตัวบ่งชี้สถาปัตยกรรมองค์การดิจิทัล ร่างตัวบ่งชี้ Delphi ประเมินความเหมาะสม ตัวบ่งชี้ ประเมินสถานศึกษาด้วย ตัวบ่งชี้สถาปัตยกรรมองค์การดิจิทัล ตัวบ่งชี้ สถานศึกษาประเมินตนเอง สรุปผล
  25. Result
  26. ผลการวิจัย การพัฒนาตัวบ่งชี้สถาปัตยกรรมองค์การดิจิทัลสาหรับสถานศึกษาอาชีวศึกษา เพื่อการเปลี่ยนผ่านสู่องค์การดิจิทัลสมรรถนะสูง ระยะที่ 1 ระยะที่ 2 ระยะที่ 3 ระยะที่ 4 นโยบาย กระบวนการทางาน บุคลากร โครงสร้างพื้นฐาน กระบวนการเปลี่ยนผ่านฯ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ผลการประเมินความเหมาะสม - ค่าเฉลี่ย 4.70 - ความเหมาะสม อยู่ในระดับมากที่สุด นโยบาย กระบวนการทางาน บุคลากร โครงสร้างพื้นฐาน กระบวนการเปลี่ยนผ่านฯ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ผลการประเมินความเหมาะสม - ค่าเฉลี่ย 4.81 - ความเหมาะสม อยู่ในระดับมากที่สุด ผลการประเมินสถานศึกษา
  27. Discussion
  28. สถานศึกษาอาชีวศึกษา 159 แห่ง สถานศึกษา อาชีวศึกษา ดิจิทัล 97 แห่ง สถานศึกษา อาชีวศึกษา ดิจิทัล สมรรถนะสูง 14 แห่ง อภิปรายผลการวิจัย การพัฒนาตัวบ่งชี้สถาปัตยกรรมองค์การดิจิทัลสาหรับสถานศึกษาอาชีวศึกษา เพื่อการเปลี่ยนผ่านสู่องค์การดิจิทัลสมรรถนะสูง
  29. การพัฒนาตัวบ่งชี้สถาปัตยกรรมองค์การดิจิทัลสาหรับสถานศึกษาอาชีวศึกษา เพื่อการเปลี่ยนผ่านสู่องค์การดิจิทัลสมรรถนะสูง งาน 2020 the 3rd International Conference on Education Research and Policy (ICERP 2020)
  30. การพัฒนาตัวบ่งชี้สถาปัตยกรรมองค์การดิจิทัลสาหรับสถานศึกษาอาชีวศึกษา เพื่อการเปลี่ยนผ่านสู่องค์การดิจิทัลสมรรถนะสูง งาน International Conference on Information and Education Technology (ICIET 2021)
  31. การพัฒนาตัวบ่งชี้สถาปัตยกรรมองค์การดิจิทัลสาหรับสถานศึกษาอาชีวศึกษา เพื่อการเปลี่ยนผ่านสู่องค์การดิจิทัลสมรรถนะสูง Synthesis of Vocational Education College Transformation Process toward High-Performance Digital Organization International Journal ofInformation andEducation IJIET 2020Vol.10(11):832-837ISSN:2010-3689 Doi:10.18178/ijiet.2020.10.11.1466
  32. การพัฒนาตัวบ่งชี้สถาปัตยกรรมองค์การดิจิทัลสาหรับสถานศึกษาอาชีวศึกษา เพื่อการเปลี่ยนผ่านสู่องค์การดิจิทัลสมรรถนะสูง Vocational Education Digital Enterprise Architecture Framework (VEDEAF) 20219thInternational Conference onInformation andEducation Technology(ICIET) DOI:10.1109/ICIET51873.2021.9419576
  33. ขอบพระคุณ คณะกรรมการสอบป้องกันวิทยานิพนธ์ ศ.ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก รศ.ดร.ปณิตา วรรณพิรุณ ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ่วม รศ.ดร.ประกอบ กรณีกิจ กรรมการ รศ.ดร.สุรพล บุญลือ กรรมการ รศ.ดร.พัลลภ พิริยะสุรวงศ์ กรรมการ ศ.ดร.มนต์ชัย เทียนทอง ประธานกรรมการ
Anúncio