SlideShare a Scribd company logo
1 of 34
พรบ. คอมพิวเตอร์
     2550
มาตรา ๑
 พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติว่าด้วย
  การกระทำาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.
  ๒๕๕๐”
มาตรา ๒
 พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำาหนด
  สามสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
  เป็นต้นไป
มาตรา ๓
 ในพระราชบัญญัตินี้ “ระบบคอมพิวเตอร์” หมายความว่า อุปกรณ์หรือชุดอุปกรณ์
  ของคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมการทำางานเข้าด้วยกัน โดยได้มีการกำาหนดคำาสั่ง ชุดคำา
  สั่ง หรือสิ่งอืนใด และแนวทางปฏิบัติงานให้อุปกรณ์หรือชุดอุปกรณ์ทำาหน้าที่
                 ่
  ประมวลผลข้อมูลโดยอัตโนมัติ
  “ข้อมูลคอมพิวเตอร์” หมายความว่า ข้อมูล ข้อความ คำาสั่ง ชุดคำาสั่ง หรือสิ่งอืน
                                                                              ่
  ใดบรรดาที่อยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ในสภาพที่ระบบคอมพิวเตอร์อาจประมวลผล
  ได้ และให้หมายความรวมถึงข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ตามกฎหมายว่าด้วยธุรกรรม
  ทางอิเล็กทรอนิกส์ด้วย
  “ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์” หมายความว่า ข้อมูลเกียวกับการติดต่อสื่อสาร
                                                          ่
  ของระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งแสดงถึงแหล่งกำาเนิด ต้นทาง ปลายทาง เส้นทาง
  เวลา วันที่ ปริมาณ ระยะเวลาชนิดของบริการ หรืออื่น ๆ ที่เกียวข้องกับการ
                                                              ่
  ติดต่อสื่อสารของระบบคอมพิวเตอร์นั้น
  “ผู้ให้บริการ” หมายความว่า
  (๑) ผู้ให้บริการแก่บุคคลอื่นในการเข้าสู่อินเทอร์เน็ต หรือให้สามารถติดต่อถึงกัน
  โดยประการอื่น โดยผ่านทางระบบคอมพิวเตอร์ ทั้งนี้ ไม่ว่าจะเป็นการให้บริการ
  ในนามของตนเอง หรือในนามหรือเพื่อประโยชน์ของบุคคลอื่น
  (๒) ผู้ให้บริการเก็บรักษาข้อมูลคอมพิวเตอร์เพื่อประโยชน์ของบุคคลอื่น
  “ผู้ใช้บริการ” หมายความว่า ผู้ใช้บริการของผู้ให้บริการไม่ว่าต้องเสียค่าใช้
  บริการหรือไม่ก็ตาม
  “พนักงานเจ้าหน้าที่” หมายความว่า ผู้ซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งให้ปฏิบัติการตามพระ
มาตรา ๔
 ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศ
  และการสื่อสารรักษาการตามพระราชบัญญัตนี้   ิ
  และให้มีอำานาจออกกฎกระทรวง เพื่อปฏิบัตการ
                                          ิ
  ตามพระราชบัญญัตินี้ กฎกระทรวงนั้น เมือได้
                                        ่
  ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บงคับได้
                                      ั
หมวด ๑ ความผิดเกี่ยว
  กับคอมพิวเตอร์
มาตรา ๕
 ผู้ใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งระบบคอมพิวเตอร์ที่มี
  มาตรการป้องกันการเข้าถึงโดยเฉพาะและ
  มาตรการนั้น มิได้มีไว้สำาหรับตน ต้องระวาง
  โทษจำาคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่ง
  หมื่นบาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ
มาตรา ๖
 ผู้ใดล่วงรู้มาตรการป้องกันการเข้าถึงระบบ
  คอมพิวเตอร์ที่ผู้อื่นจัดทำาขึ้นเป็นการเฉพาะถ้านำา
  มาตรการดังกล่าวไปเปิดเผยโดยมิชอบ ในประการ
  ที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ผู้อื่น ต้องระวาง
  โทษจำาคุกไม่เกินหนึงปี หรือปรับไม่เกินสองหมื่น
                         ่
  บาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ
มาตรา ๗
 ผู้ใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่มี
  มาตรการป้องกันการเข้าถึงโดยเฉพาะและ
  มาตรการนั้นมิได้มีไว้สำาหรับตน ต้องระวางโทษจำา
  คุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้ง
  จำาทั้งปรับ
มาตรา ๘
 ผู้ใดกระทำาด้วยประการใดโดยมิชอบด้วยวิธีการ
  ทางอิเล็กทรอนิกส์เพื่อดักรับไว้ซึ่งข้อมูล
  คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นที่อยู่ระหว่างการส่งในระบบ
  คอมพิวเตอร์ และข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้นมิได้มีไว้
  เพื่อประโยชน์สาธารณะหรือเพื่อให้บุคคลทั่วไปใช้
  ประโยชน์ได้ต้องระวางโทษจำาคุกไม่เกินสามปี
  หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ
มาตรา ๙
 ผู้ใดทำาให้เสียหาย ทำาลาย แก้ไข เปลี่ยนแปลง
  หรือเพิ่มเติมไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน ซึ่งข้อมูล
  คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยมิชอบ ต้องระวาง
  โทษจำาคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึงแสน
                                           ่
  บาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ
มาตรา ๑๐
 ผู้ใดกระทำาด้วยประการใดโดยมิชอบ เพื่อให้การ
  ทำางานของระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นถูกระงับ
  ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนจนไม่สามารถทำางาน
  ตามปกติได้ต้องระวางโทษจำาคุกไม่เกินห้าปี หรือ
  ปรับไม่เกินหนึงแสนบาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ
                ่
มาตรา ๑๑
 ผู้ใดส่งข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือจดหมาย
  อิเล็กทรอนิกส์แก่บคคลอื่นโดยปกปิดหรือปลอม
                    ุ
  แปลงแหล่งที่มาของการส่งข้อมูลดังกล่าว อัน
  เป็นการรบกวนการใช้ระบบคอมพิวเตอร์ของบุคคล
  อื่นโดยปกติสข ต้องระวางโทษปรับไม่เกินหนึง
                ุ                          ่
  แสนบาท
มาตรา ๑๒
 ถ้าการกระทำาความผิดตามมาตรา ๙ หรือมาตรา ๑๐
  (๑) ก่อให้เกิดความเสียหายแก่ประชาชน ไม่วาความเสีย
                                             ่
  หายนั้นจะเกิดขึ้นในทันทีหรือในภายหลัง และไม่วาจะ่
  เกิดขึนพร้อมกันหรือไม่ ต้องระวางโทษจำาคุกไม่เกินสิบปี
        ้
  และปรับไม่เกินสองแสนบาท
  (๒) เป็นการกระทำาโดยประการที่น่าจะเกิดความเสียหาย
  ต่อข้อมูลคอมพิวเตอร์ หรือระบบคอมพิวเตอร์ที่เกี่ยวกับ
  การรักษาความมั่นคงปลอดภัยของประเทศ ความ
  ปลอดภัยสาธารณะ ความมั่นคงในทางเศรษฐกิจของ
  ประเทศ หรือการบริการสาธารณะ หรือเป็นการกระทำาต่อ
  ข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือระบบคอมพิวเตอร์ที่มีไว้เพื่อ
  ประโยชน์สาธารณะ ต้องระวางโทษจำาคุกตั้งแต่สามปีถง    ึ
  สิบห้าปี และปรับตังแต่หกหมื่นบาทถึงสามแสนบาท
                    ้
  ถ้าการกระทำาความผิดตาม (๒) เป็นเหตุให้ผอื่นถึงแก่
                                          ู้
มาตรา ๑๓
 ผู้ใดจำาหน่ายหรือเผยแพร่ชดคำาสั่งที่จัดทำาขึ้นโดย
                             ุ
  เฉพาะเพื่อนำาไปใช้เป็นเครื่องมือในการกระ
  ทำาความผิดตามมาตรา ๕ มาตรา ๖ มาตรา ๗
  มาตรา ๘ มาตรา ๙ มาตรา ๑๐ หรือมาตรา ๑๑
  ต้องระวางโทษจำาคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกิน
  สองหมื่นบาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ
มาตรา ๑๔
 ผูใดกระทำาความผิดทีระบุไว้ดังต่อไปนี้ ต้องระวางโทษจำาคุกไม่เกิน
    ้                    ่
  ห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึงแสนบาท หรือทั้งจำาทังปรับ
                           ่                   ้
  (๑) นำาเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ปลอมไม่ว่า
  ทังหมดหรือบางส่วน หรือข้อมูลคอมพิวเตอร์อันเป็นเท็จ โดย
      ้
  ประการทีน่าจะเกิดความเสียหายแก่ผอื่นหรือประชาชน
            ่                          ู้
  (๒) นำาเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์อันเป็นเท็จ
  โดยประการที่นาจะเกิดความเสียหายต่อความมั่นคงของประเทศ
                   ่
  หรือก่อให้เกิดความตืนตระหนกแก่ประชาชน
                       ่
  (๓) นำาเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ใด ๆ อันเป็น
  ความผิดเกี่ยวกับความมั่นคงแห่งราชอาณาจักรหรือความผิดเกียว     ่
  กับการก่อการร้ายตามประมวลกฎหมายอาญา
  (๔) นำาเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ใด ๆ ที่มี
  ลักษณะอันลามกและข้อมูลคอมพิวเตอร์นนประชาชนทัวไปอาจเข้า
                                           ั้          ่
  ถึงได้
  (๕) เผยแพร่หรือส่งต่อซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์โดยรู้อยู่แล้วว่าเป็น
มาตรา ๑๕
 ผู้ให้บริการผู้ใดจงใจสนับสนุนหรือยินยอมให้มี
  การกระทำาความผิดตามมาตรา ๑๔ ในระบบ
  คอมพิวเตอร์ที่อยู่ในความควบคุมของตน ต้อง
  ระวางโทษเช่นเดียวกับผู้กระทำาความผิดตาม
  มาตรา ๑๔
มาตรา ๑๖
 ผูใดนำาเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ที่ประชาชนทั่วไปอาจเข้า
    ้
  ถึงได้ซงข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่ปรากฏเป็นภาพของผู้อน
          ึ่                                            ื่
  และภาพนั้นเป็นภาพที่เกิดจากการสร้างขึ้น ตัดต่อ เติม
  หรือดัดแปลงด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์หรือวิธีการอื่น
  ใด ทั้งนี้ โดยประการที่น่าจะทำาให้ผอื่นนั้นเสียชือเสียง
                                     ู้            ่
  ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย ต้อง
  ระวางโทษจำาคุกไม่เกินสามปี หรือ
  ปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ ถ้าการกระทำา
  ตามวรรคหนึ่ง เป็นการนำาเข้าข้อมูลคอมพิวเตอร์โดย
  สุจริต ผูกระทำาไม่มีความผิด ความผิดตามวรรคหนึ่งเป็น
             ้
  ความผิดอันยอมความได้ ถ้าผูเสียหายในความผิดตาม
                               ้
  วรรคหนึ่งตายเสียก่อนร้องทุกข์ ให้บิดา มารดา คูสมรส ่
มาตรา ๑๗
 ผู้ใดกระทำาความผิดตามพระราชบัญญัตินนอกราช
                                          ี้
  อาณาจักรและ
  (๑) ผู้กระทำาความผิดนันเป็นคนไทย และรัฐบาล
                        ้
  แห่งประเทศที่ความผิดได้เกิดขึ้นหรือผู้เสียหายได้
  ร้องขอให้ลงโทษ หรือ
  (๒) ผู้กระทำาความผิดนันเป็นคนต่างด้าว และ
                          ้
  รัฐบาลไทยหรือคนไทยเป็นผู้เสียหายและผู้เสีย
  หายได้ร้องขอให้ลงโทษ
  จะต้องรับโทษภายในราชอาณาจักร
หมวด ๒ พนักงาน
   เจ้าหน้าที่
มาตรา ๑๘
   ภายใต้บังคับมาตรา ๑๙ เพื่อประโยชน์ในการสืบสวนและสอบสวนในกรณีที่มีเหตุอันควร
    เชื่อได้ว่ามีการกระทำาความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ ให้พนักงานเจ้าหน้าทีมีอำานาจอย่าง
                                                                                 ่
    หนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ เฉพาะทีจำาเป็นเพื่อประโยชน์ในการใช้เป็นหลักฐานเกี่ยวกับ
                                       ่
    การกระทำาความผิดและหาตัวผู้กระทำาความผิด
    (๑) มีหนังสือสอบถามหรือเรียกบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการกระทำาความผิดตามพระราช
    บัญญัตนี้มาเพื่อให้ถ้อยคำา ส่งคำาชีแจงเป็นหนังสือ หรือส่งเอกสาร ข้อมูล หรือหลักฐาน
            ิ                            ้
    อื่นใดทีอยู่ในรูปแบบทีสามารถเข้าใจได้
              ่              ่
    (๒) เรียกข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์จากผู้ให้บริการเกียวกับการติดต่อสื่อสารผ่านระบบ
                                                               ่
    คอมพิวเตอร์หรือจากบุคคลอื่นทีเกี่ยวข้อง
                                     ่
    (๓) สั่งให้ผู้ให้บริการส่งมอบข้อมูลเกี่ยวกับผู้ใช้บริการที่ตองเก็บตามมาตรา ๒๖ หรือที่อยู่
                                                                 ้
    ในความครอบครองหรือควบคุมของผู้ให้บริการให้แก่พนักงานเจ้าหน้าที่
    (๔) ทำาสำาเนาข้อมูลคอมพิวเตอร์ ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ จากระบบคอมพิวเตอร์ที่มี
    เหตุอันควรเชื่อได้ว่ามีการกระทำาความผิดตามพระราชบัญญัตนี้ ในกรณีทระบบ
                                                                   ิ          ี่
    คอมพิวเตอร์นั้นยังมิได้อยู่ในความครอบครองของพนักงานเจ้าหน้าที่
    (๕) สั่งให้บคคลซึงครอบครองหรือควบคุมข้อมูลคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์ทใช้เก็บข้อมูล
                   ุ     ่                                                         ี่
    คอมพิวเตอร์ ส่งมอบข้อมูลคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์ดังกล่าวให้แก่พนักงานเจ้าหน้าที่
    (๖) ตรวจสอบหรือเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ ข้อมูลคอมพิวเตอร์ ข้อมูลจราจรทาง
    คอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์ที่ใช้เก็บข้อมูลคอมพิวเตอร์ของบุคคลใด อันเป็นหลักฐานหรือ
    อาจใช้เป็นหลักฐานเกี่ยวกับการกระทำาความผิด หรือเพื่อสืบสวนหาตัวผู้กระทำาความผิด
    และสั่งให้บุคคลนั้นส่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ ที่เกี่ยวข้องเท่าที่
    จำาเป็นให้ดวยก็ได้
                 ้
    (๗) ถอดรหัสลับของข้อมูลคอมพิวเตอร์ของบุคคลใด หรือสั่งให้บุคคลทีเกี่ยวข้องกับการ
                                                                            ่
    เข้ารหัสลับของข้อมูลคอมพิวเตอร์ ทำาการถอดรหัสลับ หรือให้ความร่วมมือกับพนักงาน
มาตรา ๑๙
   การใช้อำานาจของพนักงานเจ้าหน้าทีตามมาตรา ๑๘ (๔) (๕) (๖) (๗) และ
                                         ่
    (๘) ให้พนักงานเจ้าหน้าทียื่นคำาร้องต่อศาลที่มีเขตอำานาจเพื่อมีคำาสั่งอนุญาตให้พนักงาน
                             ่
    เจ้าหน้าที่ดำาเนินการตามคำาร้อง ทั้งนี้ คำาร้องต้องระบุเหตุอันควรเชื่อได้ว่าบุคคลใดกระทำา
    หรือกำาลังจะกระทำาการอย่างหนึ่งอย่างใดอันเป็นความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ เหตุทต้อง     ี่
    ใช้อำานาจ ลักษณะของการกระทำาความผิด รายละเอียดเกี่ยวกับอุปกรณ์ทใช้ในการกระ  ี่
    ทำาความผิดและผู้กระทำาความผิด เท่าทีสามารถจะระบุได้ ประกอบคำาร้องด้วยในการ
                                              ่
    พิจารณาคำาร้องให้ศาลพิจารณาคำาร้องดังกล่าวโดยเร็วเมื่อศาลมีคำาสั่งอนุญาตแล้ว ก่อน
    ดำาเนินการตามคำาสั่งของศาล ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ส่งสำาเนาบันทึกเหตุอันควรเชื่อที่
    ทำาให้ต้องใช้อำานาจตามมาตรา ๑๘ (๔) (๕) (๖) (๗) และ (๘) มอบให้เจ้าของหรือผู้
    ครอบครองระบบคอมพิวเตอร์นั้นไว้เป็นหลักฐาน แต่ถ้าไม่มีเจ้าของหรือผู้ครอบครอง
    เครื่องคอมพิวเตอร์อยู่ ณ ที่นั้น ให้พนักงานเจ้าหน้าทีส่งมอบสำาเนาบันทึกนั้นให้แก่
                                                            ่
    เจ้าของหรือ
    ผู้ครอบครองดังกล่าวในทันทีทกระทำาได้ให้พนักงานเจ้าหน้าทีผู้เป็นหัวหน้าในการดำาเนิน
                                    ี่                              ่
    การตามมาตรา ๑๘ (๔) (๕) (๖) (๗) และ
    (๘) ส่งสำาเนาบันทึกรายละเอียดการดำาเนินการและเหตุผลแห่งการดำาเนินการให้ศาลทีมี             ่
    เขตอำานาจภายในสี่สิบแปดชั่วโมงนับแต่เวลาลงมือดำาเนินการ เพื่อเป็นหลักฐานการทำา
    สำาเนาข้อมูลคอมพิวเตอร์ตามมาตรา ๑๘ (๔) ให้กระทำาได้เฉพาะเมื่อมีเหตุอันควรเชื่อได้
    ว่ามีการกระทำาความผิดตามพระราชบัญญัตนี้ และต้องไม่เป็นอุปสรรคในการดำาเนินกิจการ
                                                  ิ
    ของเจ้าของหรือผู้ครอบครองข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้นเกินความจำาเป็น การยึดหรืออายัด
    ตามมาตรา ๑๘ (๘) นอกจากจะต้องส่งมอบสำาเนาหนังสือแสดงการยึดหรืออายัดมอบให้
    เจ้าของหรือผู้ครอบครองระบบคอมพิวเตอร์นั้นไว้เป็นหลักฐานแล้ว พนักงานเจ้าหน้าทีจะ          ่
    สั่งยึดหรืออายัดไว้เกินสามสิบวันมิได้ ในกรณีจำาเป็นทีต้องยึดหรืออายัดไว้นานกว่านั้น ให้
                                                              ่
    ยื่นคำาร้องต่อศาลทีมีเขตอำานาจเพื่อขอขยายเวลายึดหรืออายัดได้ แต่ศาลจะอนุญาตให้
                        ่
มาตรา ๒๐
 ในกรณีที่การกระทำาความผิดตามพระราชบัญญัตนี้    ิ
  เป็นการทำาให้แพร่หลายซึงข้อมูลคอมพิวเตอร์ ที่อาจ
                            ่
  กระทบกระเทือนต่อความมั่นคงแห่งราชอาณาจักร ตามที่
  กำาหนดไว้ในภาคสองลักษณะ ๑ หรือลักษณะ ๑/๑ แห่ง
  ประมวลกฎหมายอาญา หรือที่มีลักษณะขัดต่อความสงบ
  เรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน พนักงานเจ้า
  หน้าที่โดยได้รับความเห็นชอบจากรัฐมนตรีอาจยื่นคำาร้อง
  พร้อมแสดงพยานหลักฐานต่อศาลที่มีเขตอำานาจขอให้มี
  คำาสั่งระงับการทำาให้แพร่หลายซึงข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้น
                                   ่
  ได้ ในกรณีที่ศาลมีคำาสั่งให้ระงับการทำาให้แพร่หลายซึง ่
  ข้อมูลคอมพิวเตอร์ตามวรรคหนึ่ง ให้พนักงานเจ้าหน้าที่
  ทำาการระงับการทำาให้แพร่หลายนั้นเอง หรือสั่งให้ผู้ให้
มาตรา ๒๑
 ในกรณีที่พนักงานเจ้าหน้าที่พบว่า ข้อมูลคอมพิวเตอร์ใด
  มีชดคำาสั่งไม่พึงประสงค์รวมอยู่ดวย พนักงานเจ้าหน้าที่
     ุ                             ้
  อาจยื่นคำาร้องต่อศาลที่มีเขตอำานาจเพื่อขอให้มีคำาสั่งห้าม
  จำาหน่ายหรือเผยแพร่ หรือสั่งให้เจ้าของหรือผู้ครอบครอง
  ข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้นระงับการใช้ ทำาลายหรือแก้ไข
  ข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้นได้ หรือจะกำาหนดเงื่อนไขในการใช้
  มีไว้ในครอบครอง หรือเผยแพร่ชดคำาสั่งไม่พึงประสงค์ดัง
                                     ุ
  กล่าวก็ได้ชดคำาสั่งไม่พึงประสงค์ตามวรรคหนึ่งหมายถึง
                ุ
  ชุดคำาสั่งที่มีผลทำาให้ขอมูลคอมพิวเตอร์ หรือระบบ
                          ้
  คอมพิวเตอร์หรือชุดคำาสั่งอื่นเกิดความเสียหาย ถูก
  ทำาลาย ถูกแก้ไขเปลียนแปลงหรือเพิ่มเติมขัดข้อง หรือ
                        ่
  ปฏิบัตงานไม่ตรงตามคำาสั่งที่กำาหนดไว้ หรือโดยประการ
         ิ
มาตรา ๒๒
 ห้ามมิให้พนักงานเจ้าหน้าที่เปิดเผยหรือส่งมอบ
  ข้อมูลคอมพิวเตอร์ ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์
  หรือข้อมูลของผู้ใช้บริการ ที่ได้มาตามมาตรา ๑๘
  ให้แก่บคคลใดความในวรรคหนึ่งมิให้ใช้บงคับกับ
           ุ                             ั
  การกระทำาเพื่อประโยชน์ในการดำาเนินคดีกับผู้
  กระทำาความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ หรือเพื่อ
  ประโยชน์ในการดำาเนินคดีกับพนักงานเจ้าหน้าที่
  เกี่ยวกับการใช้อำานาจหน้าที่
  โดยมิชอบ หรือเป็นการกระทำาตามคำาสั่งหรือที่ได้
  รับอนุญาตจากศาลพนักงานเจ้าหน้าที่ผู้ใดฝ่าฝืน
  วรรคหนึ่งต้องระวางโทษจำาคุกไม่เกินสามปี หรือ
มาตรา ๒๓
 พนักงานเจ้าหน้าที่ผู้ใดกระทำาโดยประมาทเป็น
  เหตุให้ผู้อื่นล่วงรู้ข้อมูลคอมพิวเตอร์ข้อมูลจราจร
  ทางคอมพิวเตอร์ หรือข้อมูลของผู้ใช้บริการ ที่ได้
  มาตามมาตรา ๑๘ ต้องระวางโทษจำาคุกไม่เกิน
  หนึงปี หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจำาทั้ง
     ่
  ปรับ
มาตรา ๒๔
 ผู้ใดล่วงรู้ข้อมูลคอมพิวเตอร์ ข้อมูลจราจรทาง
  คอมพิวเตอร์หรือข้อมูลของผู้ใช้บริการ ที่พนักงาน
  เจ้าหน้าที่ได้มาตามมาตรา ๑๘ และเปิดเผยข้อมูล
  นั้นต่อผู้หนึ่งผู้ใด ต้องระวางโทษจำาคุกไม่เกินสอง
  ปี หรือปรับไม่เกินสีหมื่นบาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ
                         ่
มาตรา ๒๕
 ข้อมูล ข้อมูลคอมพิวเตอร์ หรือข้อมูลจราจรทาง
  คอมพิวเตอร์ที่พนักงานเจ้าหน้าที่ได้มาตามพระ
  ราชบัญญัตนี้ ให้อ้างและรับฟังเป็นพยานหลักฐาน
               ิ
  ตามบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา
  ความอาญาหรือกฎหมายอื่นอันว่าด้วยการสืบ
  พยานได้ แต่ต้องเป็นชนิดที่มิได้เกิดขึ้นจากการ
  จูงใจมีคำามั่นสัญญา ขู่เข็ญ หลอกลวง หรือโดยมิ
  ชอบประการอื่น
มาตรา ๒๖
 ผูให้บริการต้องเก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ไว้
    ้
  ไม่น้อยกว่าเก้าสิบวันนับแต่วันที่ขอมูลนั้นเข้าสู่ระบบ
                                      ้
  คอมพิวเตอร์ แต่ในกรณีจำาเป็นพนักงานเจ้าหน้าที่จะสั่ง
  ให้ผให้บริการผูใดเก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์
       ู้          ้
  ไว้เกินเก้าสิบวัน แต่ไม่เกินหนึ่งปีเป็นกรณีพิเศษเฉพาะ
  รายและเฉพาะคราวก็ได้ ผูให้บริการจะต้องเก็บรักษา
                               ้
  ข้อมูลของผูใช้บริการเท่าที่จำาเป็นเพื่อให้สามารถระบุตัวผู้
               ้
  ใช้บริการ นับตั้งแต่เริ่มใช้บริการและต้องเก็บรักษาไว้เป็น
  เวลาไม่น้อยกว่าเก้าสิบวันนับตั้งแต่การใช้บริการสิ้นสุดลง
  ความในวรรคหนึ่งจะใช้กบผูให้บริการประเภทใด อย่างไร
                             ั ้
  และเมื่อใด ให้เป็นไปตามที่รัฐมนตรีประกาศในราชกิจจา
  นุเบกษา
มาตรา ๒๗
 ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามคำาสังของศาลหรือพนักงานเจ้า
                         ่
  หน้าที่ที่สงตามมาตรา ๑๘ หรือมาตรา ๒๐ หรือไม่
             ั่
  ปฏิบติตามคำาสั่งของศาลตามมาตรา ๒๑ ต้อง
       ั
  ระวางโทษปรับไม่เกินสองแสนบาทและปรับเป็น
  รายวันอีกไม่เกินวันละห้าพันบาทจนกว่าจะปฏิบติ
                                             ั
  ให้ถูกต้อง
มาตรา ๒๘
 การแต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่ตามพระราชบัญญัติ
  นี้ ให้รัฐมนตรีแต่งตั้งจากผู้มีความรู้และความ
  ชำานาญเกี่ยวกับระบบคอมพิวเตอร์ และมี
  คุณสมบัติตามที่รัฐมนตรีกำาหนด
มาตรา ๒๙
 ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตนี้ ให้พนักงานเจ้า
                                        ิ
  หน้าที่เป็นพนักงานฝ่ายปกครองหรือตำารวจชันผูใหญ่ตาม
                                           ้ ้
  ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามีอำานาจรับคำา
  ร้องทุกข์หรือรับคำากล่าวโทษ และมีอำานาจในการสืบสวน
  สอบสวนเฉพาะความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ ในการจับ
  ควบคุม ค้น การทำาสำานวนสอบสวนและดำาเนินคดีผู้
  กระทำาความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ บรรดาที่เป็นอำานาจ
  ของพนักงานฝ่ายปกครองหรือตำารวจชันผู้ใหญ่ หรือ
                                      ้
  พนักงานสอบสวนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความ
  อาญา ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ประสานงานกับพนักงาน
  สอบสวนผู้รบผิดชอบเพื่อดำาเนินการตามอำานาจหน้าที่ต่อ
              ั
  ไป ให้นายกรัฐมนตรีในฐานะผูกำากับดูแลสำานักงานตำารวจ
                              ้
มาตรา ๓๐
 ในการปฏิบติหน้าที่ พนักงานเจ้าหน้าที่ตองแสดง
            ั                             ้
  บัตรประจำาตัวต่อบุคคลซึ่งเกี่ยวข้อง บัตรประจำาตัว
  ของพนักงานเจ้าหน้าที่ให้เป็นไปตามแบบที่
  รัฐมนตรีประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ที่มา
 http://www.cowboythai.com/forum/index.php
  ?topic=1443.msg9206;topicseen

More Related Content

What's hot

พรบ
พรบพรบ
พรบappea
 
พรบ คอมพิวเตอร์
พรบ คอมพิวเตอร์พรบ คอมพิวเตอร์
พรบ คอมพิวเตอร์sw2
 
พระราชบัญญัติ
พระราชบัญญัติพระราชบัญญัติ
พระราชบัญญัติpantt
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 2550
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 2550พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 2550
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 2550Piw ARSENAL
 
พรบ(1)
พรบ(1)พรบ(1)
พรบ(1)Wuttipat
 
พระราชบัญญัติคอม
พระราชบัญญัติคอมพระราชบัญญัติคอม
พระราชบัญญัติคอมS.W.2
 

What's hot (11)

พ.ร.บ. คอมฯ
พ.ร.บ. คอมฯพ.ร.บ. คอมฯ
พ.ร.บ. คอมฯ
 
พรบ.Computer
พรบ.Computerพรบ.Computer
พรบ.Computer
 
พรบ
พรบพรบ
พรบ
 
พรบ คอมพิวเตอร์
พรบ คอมพิวเตอร์พรบ คอมพิวเตอร์
พรบ คอมพิวเตอร์
 
พระราชบัญญัติ
พระราชบัญญัติพระราชบัญญัติ
พระราชบัญญัติ
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 2550
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 2550พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 2550
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 2550
 
พรบ(1)
พรบ(1)พรบ(1)
พรบ(1)
 
พรบ
พรบพรบ
พรบ
 
Com
ComCom
Com
 
พรบ 2550
พรบ 2550พรบ 2550
พรบ 2550
 
พระราชบัญญัติคอม
พระราชบัญญัติคอมพระราชบัญญัติคอม
พระราชบัญญัติคอม
 

Viewers also liked

พรบ
พรบพรบ
พรบpotogus
 
พรบ
พรบพรบ
พรบpotogus
 
Jstor the scholarly journal archive business 2
Jstor the scholarly journal archive  business 2Jstor the scholarly journal archive  business 2
Jstor the scholarly journal archive business 2nongnong
 
Creative common ( cc )
Creative common ( cc )Creative common ( cc )
Creative common ( cc )puriizz
 
พรบ
พรบพรบ
พรบpotogus
 
พรบ
พรบพรบ
พรบpotogus
 
พรบ
พรบพรบ
พรบpotogus
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ new
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์  new พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์  new
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ new Lookkate Pichawee
 
Creative commons
Creative commonsCreative commons
Creative commonsPattapon
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์Lookkate Pichawee
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์Lookkate Pichawee
 

Viewers also liked (13)

พรบ
พรบพรบ
พรบ
 
พรบ
พรบพรบ
พรบ
 
Jstor the scholarly journal archive business 2
Jstor the scholarly journal archive  business 2Jstor the scholarly journal archive  business 2
Jstor the scholarly journal archive business 2
 
Creative common ( cc )
Creative common ( cc )Creative common ( cc )
Creative common ( cc )
 
พรบ
พรบพรบ
พรบ
 
พรบ
พรบพรบ
พรบ
 
Creative
CreativeCreative
Creative
 
พรบ
พรบพรบ
พรบ
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ new
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์  new พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์  new
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ new
 
Creative commons
Creative commonsCreative commons
Creative commons
 
Travian
TravianTravian
Travian
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 

Similar to พรบ

พระราชบัญญัติ2
พระราชบัญญัติ2พระราชบัญญัติ2
พระราชบัญญัติ2snoopymay
 
พระราชบัญญัติ2
พระราชบัญญัติ2พระราชบัญญัติ2
พระราชบัญญัติ2snoopymay
 
พระราชบัญญัติ2
พระราชบัญญัติ2พระราชบัญญัติ2
พระราชบัญญัติ2snoopymay
 
พรบ คอมพิวเตอร์
พรบ คอมพิวเตอร์พรบ คอมพิวเตอร์
พรบ คอมพิวเตอร์sw2
 
พรบ คอมพิวเตอร์
พรบ คอมพิวเตอร์พรบ คอมพิวเตอร์
พรบ คอมพิวเตอร์sw2
 
พรบ คอมพิวเตอร์
พรบ คอมพิวเตอร์พรบ คอมพิวเตอร์
พรบ คอมพิวเตอร์sw2
 
พรบ คอมพิวเตอร์
พรบ คอมพิวเตอร์พรบ คอมพิวเตอร์
พรบ คอมพิวเตอร์sw2
 
พรบ คอมพิวเตอร์
พรบ คอมพิวเตอร์พรบ คอมพิวเตอร์
พรบ คอมพิวเตอร์sw2
 
พรบ คอมพิวเตอร์
พรบ คอมพิวเตอร์พรบ คอมพิวเตอร์
พรบ คอมพิวเตอร์sw2
 
พรบ คอมพิวเตอร์
พรบ คอมพิวเตอร์พรบ คอมพิวเตอร์
พรบ คอมพิวเตอร์sw2
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1unpung
 
งานคอมพ์Pp2003 2007
งานคอมพ์Pp2003 2007งานคอมพ์Pp2003 2007
งานคอมพ์Pp2003 2007Sugapor
 
งานคอมพ์Pp2003 2007
งานคอมพ์Pp2003 2007งานคอมพ์Pp2003 2007
งานคอมพ์Pp2003 2007Sugapor
 
พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์
พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์
พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์kungzaza12
 
พรบ.การกระทำผิดเกี่ยวกับคอม
พรบ.การกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพรบ.การกระทำผิดเกี่ยวกับคอม
พรบ.การกระทำผิดเกี่ยวกับคอมNut Kongprem
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์S.W.2
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์S.W.2
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์S.W.2
 

Similar to พรบ (19)

พระราชบัญญัติ2
พระราชบัญญัติ2พระราชบัญญัติ2
พระราชบัญญัติ2
 
พระราชบัญญัติ2
พระราชบัญญัติ2พระราชบัญญัติ2
พระราชบัญญัติ2
 
พรบ
พรบพรบ
พรบ
 
พระราชบัญญัติ2
พระราชบัญญัติ2พระราชบัญญัติ2
พระราชบัญญัติ2
 
พรบ คอมพิวเตอร์
พรบ คอมพิวเตอร์พรบ คอมพิวเตอร์
พรบ คอมพิวเตอร์
 
พรบ คอมพิวเตอร์
พรบ คอมพิวเตอร์พรบ คอมพิวเตอร์
พรบ คอมพิวเตอร์
 
พรบ คอมพิวเตอร์
พรบ คอมพิวเตอร์พรบ คอมพิวเตอร์
พรบ คอมพิวเตอร์
 
พรบ คอมพิวเตอร์
พรบ คอมพิวเตอร์พรบ คอมพิวเตอร์
พรบ คอมพิวเตอร์
 
พรบ คอมพิวเตอร์
พรบ คอมพิวเตอร์พรบ คอมพิวเตอร์
พรบ คอมพิวเตอร์
 
พรบ คอมพิวเตอร์
พรบ คอมพิวเตอร์พรบ คอมพิวเตอร์
พรบ คอมพิวเตอร์
 
พรบ คอมพิวเตอร์
พรบ คอมพิวเตอร์พรบ คอมพิวเตอร์
พรบ คอมพิวเตอร์
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
งานคอมพ์Pp2003 2007
งานคอมพ์Pp2003 2007งานคอมพ์Pp2003 2007
งานคอมพ์Pp2003 2007
 
งานคอมพ์Pp2003 2007
งานคอมพ์Pp2003 2007งานคอมพ์Pp2003 2007
งานคอมพ์Pp2003 2007
 
พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์
พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์
พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์
 
พรบ.การกระทำผิดเกี่ยวกับคอม
พรบ.การกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพรบ.การกระทำผิดเกี่ยวกับคอม
พรบ.การกระทำผิดเกี่ยวกับคอม
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 

พรบ

  • 2. มาตรา ๑  พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติว่าด้วย การกระทำาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐”
  • 3. มาตรา ๒  พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำาหนด สามสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เป็นต้นไป
  • 4. มาตรา ๓  ในพระราชบัญญัตินี้ “ระบบคอมพิวเตอร์” หมายความว่า อุปกรณ์หรือชุดอุปกรณ์ ของคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมการทำางานเข้าด้วยกัน โดยได้มีการกำาหนดคำาสั่ง ชุดคำา สั่ง หรือสิ่งอืนใด และแนวทางปฏิบัติงานให้อุปกรณ์หรือชุดอุปกรณ์ทำาหน้าที่ ่ ประมวลผลข้อมูลโดยอัตโนมัติ “ข้อมูลคอมพิวเตอร์” หมายความว่า ข้อมูล ข้อความ คำาสั่ง ชุดคำาสั่ง หรือสิ่งอืน ่ ใดบรรดาที่อยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ในสภาพที่ระบบคอมพิวเตอร์อาจประมวลผล ได้ และให้หมายความรวมถึงข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ตามกฎหมายว่าด้วยธุรกรรม ทางอิเล็กทรอนิกส์ด้วย “ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์” หมายความว่า ข้อมูลเกียวกับการติดต่อสื่อสาร ่ ของระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งแสดงถึงแหล่งกำาเนิด ต้นทาง ปลายทาง เส้นทาง เวลา วันที่ ปริมาณ ระยะเวลาชนิดของบริการ หรืออื่น ๆ ที่เกียวข้องกับการ ่ ติดต่อสื่อสารของระบบคอมพิวเตอร์นั้น “ผู้ให้บริการ” หมายความว่า (๑) ผู้ให้บริการแก่บุคคลอื่นในการเข้าสู่อินเทอร์เน็ต หรือให้สามารถติดต่อถึงกัน โดยประการอื่น โดยผ่านทางระบบคอมพิวเตอร์ ทั้งนี้ ไม่ว่าจะเป็นการให้บริการ ในนามของตนเอง หรือในนามหรือเพื่อประโยชน์ของบุคคลอื่น (๒) ผู้ให้บริการเก็บรักษาข้อมูลคอมพิวเตอร์เพื่อประโยชน์ของบุคคลอื่น “ผู้ใช้บริการ” หมายความว่า ผู้ใช้บริการของผู้ให้บริการไม่ว่าต้องเสียค่าใช้ บริการหรือไม่ก็ตาม “พนักงานเจ้าหน้าที่” หมายความว่า ผู้ซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งให้ปฏิบัติการตามพระ
  • 5. มาตรา ๔  ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารรักษาการตามพระราชบัญญัตนี้ ิ และให้มีอำานาจออกกฎกระทรวง เพื่อปฏิบัตการ ิ ตามพระราชบัญญัตินี้ กฎกระทรวงนั้น เมือได้ ่ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บงคับได้ ั
  • 6. หมวด ๑ ความผิดเกี่ยว กับคอมพิวเตอร์
  • 7. มาตรา ๕  ผู้ใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งระบบคอมพิวเตอร์ที่มี มาตรการป้องกันการเข้าถึงโดยเฉพาะและ มาตรการนั้น มิได้มีไว้สำาหรับตน ต้องระวาง โทษจำาคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่ง หมื่นบาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ
  • 8. มาตรา ๖  ผู้ใดล่วงรู้มาตรการป้องกันการเข้าถึงระบบ คอมพิวเตอร์ที่ผู้อื่นจัดทำาขึ้นเป็นการเฉพาะถ้านำา มาตรการดังกล่าวไปเปิดเผยโดยมิชอบ ในประการ ที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ผู้อื่น ต้องระวาง โทษจำาคุกไม่เกินหนึงปี หรือปรับไม่เกินสองหมื่น ่ บาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ
  • 9. มาตรา ๗  ผู้ใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่มี มาตรการป้องกันการเข้าถึงโดยเฉพาะและ มาตรการนั้นมิได้มีไว้สำาหรับตน ต้องระวางโทษจำา คุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้ง จำาทั้งปรับ
  • 10. มาตรา ๘  ผู้ใดกระทำาด้วยประการใดโดยมิชอบด้วยวิธีการ ทางอิเล็กทรอนิกส์เพื่อดักรับไว้ซึ่งข้อมูล คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นที่อยู่ระหว่างการส่งในระบบ คอมพิวเตอร์ และข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้นมิได้มีไว้ เพื่อประโยชน์สาธารณะหรือเพื่อให้บุคคลทั่วไปใช้ ประโยชน์ได้ต้องระวางโทษจำาคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ
  • 11. มาตรา ๙  ผู้ใดทำาให้เสียหาย ทำาลาย แก้ไข เปลี่ยนแปลง หรือเพิ่มเติมไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน ซึ่งข้อมูล คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยมิชอบ ต้องระวาง โทษจำาคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึงแสน ่ บาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ
  • 12. มาตรา ๑๐  ผู้ใดกระทำาด้วยประการใดโดยมิชอบ เพื่อให้การ ทำางานของระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นถูกระงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนจนไม่สามารถทำางาน ตามปกติได้ต้องระวางโทษจำาคุกไม่เกินห้าปี หรือ ปรับไม่เกินหนึงแสนบาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ ่
  • 13. มาตรา ๑๑  ผู้ใดส่งข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือจดหมาย อิเล็กทรอนิกส์แก่บคคลอื่นโดยปกปิดหรือปลอม ุ แปลงแหล่งที่มาของการส่งข้อมูลดังกล่าว อัน เป็นการรบกวนการใช้ระบบคอมพิวเตอร์ของบุคคล อื่นโดยปกติสข ต้องระวางโทษปรับไม่เกินหนึง ุ ่ แสนบาท
  • 14. มาตรา ๑๒  ถ้าการกระทำาความผิดตามมาตรา ๙ หรือมาตรา ๑๐ (๑) ก่อให้เกิดความเสียหายแก่ประชาชน ไม่วาความเสีย ่ หายนั้นจะเกิดขึ้นในทันทีหรือในภายหลัง และไม่วาจะ่ เกิดขึนพร้อมกันหรือไม่ ต้องระวางโทษจำาคุกไม่เกินสิบปี ้ และปรับไม่เกินสองแสนบาท (๒) เป็นการกระทำาโดยประการที่น่าจะเกิดความเสียหาย ต่อข้อมูลคอมพิวเตอร์ หรือระบบคอมพิวเตอร์ที่เกี่ยวกับ การรักษาความมั่นคงปลอดภัยของประเทศ ความ ปลอดภัยสาธารณะ ความมั่นคงในทางเศรษฐกิจของ ประเทศ หรือการบริการสาธารณะ หรือเป็นการกระทำาต่อ ข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือระบบคอมพิวเตอร์ที่มีไว้เพื่อ ประโยชน์สาธารณะ ต้องระวางโทษจำาคุกตั้งแต่สามปีถง ึ สิบห้าปี และปรับตังแต่หกหมื่นบาทถึงสามแสนบาท ้ ถ้าการกระทำาความผิดตาม (๒) เป็นเหตุให้ผอื่นถึงแก่ ู้
  • 15. มาตรา ๑๓  ผู้ใดจำาหน่ายหรือเผยแพร่ชดคำาสั่งที่จัดทำาขึ้นโดย ุ เฉพาะเพื่อนำาไปใช้เป็นเครื่องมือในการกระ ทำาความผิดตามมาตรา ๕ มาตรา ๖ มาตรา ๗ มาตรา ๘ มาตรา ๙ มาตรา ๑๐ หรือมาตรา ๑๑ ต้องระวางโทษจำาคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกิน สองหมื่นบาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ
  • 16. มาตรา ๑๔  ผูใดกระทำาความผิดทีระบุไว้ดังต่อไปนี้ ต้องระวางโทษจำาคุกไม่เกิน ้ ่ ห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึงแสนบาท หรือทั้งจำาทังปรับ ่ ้ (๑) นำาเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ปลอมไม่ว่า ทังหมดหรือบางส่วน หรือข้อมูลคอมพิวเตอร์อันเป็นเท็จ โดย ้ ประการทีน่าจะเกิดความเสียหายแก่ผอื่นหรือประชาชน ่ ู้ (๒) นำาเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์อันเป็นเท็จ โดยประการที่นาจะเกิดความเสียหายต่อความมั่นคงของประเทศ ่ หรือก่อให้เกิดความตืนตระหนกแก่ประชาชน ่ (๓) นำาเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ใด ๆ อันเป็น ความผิดเกี่ยวกับความมั่นคงแห่งราชอาณาจักรหรือความผิดเกียว ่ กับการก่อการร้ายตามประมวลกฎหมายอาญา (๔) นำาเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ใด ๆ ที่มี ลักษณะอันลามกและข้อมูลคอมพิวเตอร์นนประชาชนทัวไปอาจเข้า ั้ ่ ถึงได้ (๕) เผยแพร่หรือส่งต่อซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์โดยรู้อยู่แล้วว่าเป็น
  • 17. มาตรา ๑๕  ผู้ให้บริการผู้ใดจงใจสนับสนุนหรือยินยอมให้มี การกระทำาความผิดตามมาตรา ๑๔ ในระบบ คอมพิวเตอร์ที่อยู่ในความควบคุมของตน ต้อง ระวางโทษเช่นเดียวกับผู้กระทำาความผิดตาม มาตรา ๑๔
  • 18. มาตรา ๑๖  ผูใดนำาเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ที่ประชาชนทั่วไปอาจเข้า ้ ถึงได้ซงข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่ปรากฏเป็นภาพของผู้อน ึ่ ื่ และภาพนั้นเป็นภาพที่เกิดจากการสร้างขึ้น ตัดต่อ เติม หรือดัดแปลงด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์หรือวิธีการอื่น ใด ทั้งนี้ โดยประการที่น่าจะทำาให้ผอื่นนั้นเสียชือเสียง ู้ ่ ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย ต้อง ระวางโทษจำาคุกไม่เกินสามปี หรือ ปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ ถ้าการกระทำา ตามวรรคหนึ่ง เป็นการนำาเข้าข้อมูลคอมพิวเตอร์โดย สุจริต ผูกระทำาไม่มีความผิด ความผิดตามวรรคหนึ่งเป็น ้ ความผิดอันยอมความได้ ถ้าผูเสียหายในความผิดตาม ้ วรรคหนึ่งตายเสียก่อนร้องทุกข์ ให้บิดา มารดา คูสมรส ่
  • 19. มาตรา ๑๗  ผู้ใดกระทำาความผิดตามพระราชบัญญัตินนอกราช ี้ อาณาจักรและ (๑) ผู้กระทำาความผิดนันเป็นคนไทย และรัฐบาล ้ แห่งประเทศที่ความผิดได้เกิดขึ้นหรือผู้เสียหายได้ ร้องขอให้ลงโทษ หรือ (๒) ผู้กระทำาความผิดนันเป็นคนต่างด้าว และ ้ รัฐบาลไทยหรือคนไทยเป็นผู้เสียหายและผู้เสีย หายได้ร้องขอให้ลงโทษ จะต้องรับโทษภายในราชอาณาจักร
  • 20. หมวด ๒ พนักงาน เจ้าหน้าที่
  • 21. มาตรา ๑๘  ภายใต้บังคับมาตรา ๑๙ เพื่อประโยชน์ในการสืบสวนและสอบสวนในกรณีที่มีเหตุอันควร เชื่อได้ว่ามีการกระทำาความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ ให้พนักงานเจ้าหน้าทีมีอำานาจอย่าง ่ หนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ เฉพาะทีจำาเป็นเพื่อประโยชน์ในการใช้เป็นหลักฐานเกี่ยวกับ ่ การกระทำาความผิดและหาตัวผู้กระทำาความผิด (๑) มีหนังสือสอบถามหรือเรียกบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการกระทำาความผิดตามพระราช บัญญัตนี้มาเพื่อให้ถ้อยคำา ส่งคำาชีแจงเป็นหนังสือ หรือส่งเอกสาร ข้อมูล หรือหลักฐาน ิ ้ อื่นใดทีอยู่ในรูปแบบทีสามารถเข้าใจได้ ่ ่ (๒) เรียกข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์จากผู้ให้บริการเกียวกับการติดต่อสื่อสารผ่านระบบ ่ คอมพิวเตอร์หรือจากบุคคลอื่นทีเกี่ยวข้อง ่ (๓) สั่งให้ผู้ให้บริการส่งมอบข้อมูลเกี่ยวกับผู้ใช้บริการที่ตองเก็บตามมาตรา ๒๖ หรือที่อยู่ ้ ในความครอบครองหรือควบคุมของผู้ให้บริการให้แก่พนักงานเจ้าหน้าที่ (๔) ทำาสำาเนาข้อมูลคอมพิวเตอร์ ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ จากระบบคอมพิวเตอร์ที่มี เหตุอันควรเชื่อได้ว่ามีการกระทำาความผิดตามพระราชบัญญัตนี้ ในกรณีทระบบ ิ ี่ คอมพิวเตอร์นั้นยังมิได้อยู่ในความครอบครองของพนักงานเจ้าหน้าที่ (๕) สั่งให้บคคลซึงครอบครองหรือควบคุมข้อมูลคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์ทใช้เก็บข้อมูล ุ ่ ี่ คอมพิวเตอร์ ส่งมอบข้อมูลคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์ดังกล่าวให้แก่พนักงานเจ้าหน้าที่ (๖) ตรวจสอบหรือเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ ข้อมูลคอมพิวเตอร์ ข้อมูลจราจรทาง คอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์ที่ใช้เก็บข้อมูลคอมพิวเตอร์ของบุคคลใด อันเป็นหลักฐานหรือ อาจใช้เป็นหลักฐานเกี่ยวกับการกระทำาความผิด หรือเพื่อสืบสวนหาตัวผู้กระทำาความผิด และสั่งให้บุคคลนั้นส่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ ที่เกี่ยวข้องเท่าที่ จำาเป็นให้ดวยก็ได้ ้ (๗) ถอดรหัสลับของข้อมูลคอมพิวเตอร์ของบุคคลใด หรือสั่งให้บุคคลทีเกี่ยวข้องกับการ ่ เข้ารหัสลับของข้อมูลคอมพิวเตอร์ ทำาการถอดรหัสลับ หรือให้ความร่วมมือกับพนักงาน
  • 22. มาตรา ๑๙  การใช้อำานาจของพนักงานเจ้าหน้าทีตามมาตรา ๑๘ (๔) (๕) (๖) (๗) และ ่ (๘) ให้พนักงานเจ้าหน้าทียื่นคำาร้องต่อศาลที่มีเขตอำานาจเพื่อมีคำาสั่งอนุญาตให้พนักงาน ่ เจ้าหน้าที่ดำาเนินการตามคำาร้อง ทั้งนี้ คำาร้องต้องระบุเหตุอันควรเชื่อได้ว่าบุคคลใดกระทำา หรือกำาลังจะกระทำาการอย่างหนึ่งอย่างใดอันเป็นความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ เหตุทต้อง ี่ ใช้อำานาจ ลักษณะของการกระทำาความผิด รายละเอียดเกี่ยวกับอุปกรณ์ทใช้ในการกระ ี่ ทำาความผิดและผู้กระทำาความผิด เท่าทีสามารถจะระบุได้ ประกอบคำาร้องด้วยในการ ่ พิจารณาคำาร้องให้ศาลพิจารณาคำาร้องดังกล่าวโดยเร็วเมื่อศาลมีคำาสั่งอนุญาตแล้ว ก่อน ดำาเนินการตามคำาสั่งของศาล ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ส่งสำาเนาบันทึกเหตุอันควรเชื่อที่ ทำาให้ต้องใช้อำานาจตามมาตรา ๑๘ (๔) (๕) (๖) (๗) และ (๘) มอบให้เจ้าของหรือผู้ ครอบครองระบบคอมพิวเตอร์นั้นไว้เป็นหลักฐาน แต่ถ้าไม่มีเจ้าของหรือผู้ครอบครอง เครื่องคอมพิวเตอร์อยู่ ณ ที่นั้น ให้พนักงานเจ้าหน้าทีส่งมอบสำาเนาบันทึกนั้นให้แก่ ่ เจ้าของหรือ ผู้ครอบครองดังกล่าวในทันทีทกระทำาได้ให้พนักงานเจ้าหน้าทีผู้เป็นหัวหน้าในการดำาเนิน ี่ ่ การตามมาตรา ๑๘ (๔) (๕) (๖) (๗) และ (๘) ส่งสำาเนาบันทึกรายละเอียดการดำาเนินการและเหตุผลแห่งการดำาเนินการให้ศาลทีมี ่ เขตอำานาจภายในสี่สิบแปดชั่วโมงนับแต่เวลาลงมือดำาเนินการ เพื่อเป็นหลักฐานการทำา สำาเนาข้อมูลคอมพิวเตอร์ตามมาตรา ๑๘ (๔) ให้กระทำาได้เฉพาะเมื่อมีเหตุอันควรเชื่อได้ ว่ามีการกระทำาความผิดตามพระราชบัญญัตนี้ และต้องไม่เป็นอุปสรรคในการดำาเนินกิจการ ิ ของเจ้าของหรือผู้ครอบครองข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้นเกินความจำาเป็น การยึดหรืออายัด ตามมาตรา ๑๘ (๘) นอกจากจะต้องส่งมอบสำาเนาหนังสือแสดงการยึดหรืออายัดมอบให้ เจ้าของหรือผู้ครอบครองระบบคอมพิวเตอร์นั้นไว้เป็นหลักฐานแล้ว พนักงานเจ้าหน้าทีจะ ่ สั่งยึดหรืออายัดไว้เกินสามสิบวันมิได้ ในกรณีจำาเป็นทีต้องยึดหรืออายัดไว้นานกว่านั้น ให้ ่ ยื่นคำาร้องต่อศาลทีมีเขตอำานาจเพื่อขอขยายเวลายึดหรืออายัดได้ แต่ศาลจะอนุญาตให้ ่
  • 23. มาตรา ๒๐  ในกรณีที่การกระทำาความผิดตามพระราชบัญญัตนี้ ิ เป็นการทำาให้แพร่หลายซึงข้อมูลคอมพิวเตอร์ ที่อาจ ่ กระทบกระเทือนต่อความมั่นคงแห่งราชอาณาจักร ตามที่ กำาหนดไว้ในภาคสองลักษณะ ๑ หรือลักษณะ ๑/๑ แห่ง ประมวลกฎหมายอาญา หรือที่มีลักษณะขัดต่อความสงบ เรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน พนักงานเจ้า หน้าที่โดยได้รับความเห็นชอบจากรัฐมนตรีอาจยื่นคำาร้อง พร้อมแสดงพยานหลักฐานต่อศาลที่มีเขตอำานาจขอให้มี คำาสั่งระงับการทำาให้แพร่หลายซึงข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้น ่ ได้ ในกรณีที่ศาลมีคำาสั่งให้ระงับการทำาให้แพร่หลายซึง ่ ข้อมูลคอมพิวเตอร์ตามวรรคหนึ่ง ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ ทำาการระงับการทำาให้แพร่หลายนั้นเอง หรือสั่งให้ผู้ให้
  • 24. มาตรา ๒๑  ในกรณีที่พนักงานเจ้าหน้าที่พบว่า ข้อมูลคอมพิวเตอร์ใด มีชดคำาสั่งไม่พึงประสงค์รวมอยู่ดวย พนักงานเจ้าหน้าที่ ุ ้ อาจยื่นคำาร้องต่อศาลที่มีเขตอำานาจเพื่อขอให้มีคำาสั่งห้าม จำาหน่ายหรือเผยแพร่ หรือสั่งให้เจ้าของหรือผู้ครอบครอง ข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้นระงับการใช้ ทำาลายหรือแก้ไข ข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้นได้ หรือจะกำาหนดเงื่อนไขในการใช้ มีไว้ในครอบครอง หรือเผยแพร่ชดคำาสั่งไม่พึงประสงค์ดัง ุ กล่าวก็ได้ชดคำาสั่งไม่พึงประสงค์ตามวรรคหนึ่งหมายถึง ุ ชุดคำาสั่งที่มีผลทำาให้ขอมูลคอมพิวเตอร์ หรือระบบ ้ คอมพิวเตอร์หรือชุดคำาสั่งอื่นเกิดความเสียหาย ถูก ทำาลาย ถูกแก้ไขเปลียนแปลงหรือเพิ่มเติมขัดข้อง หรือ ่ ปฏิบัตงานไม่ตรงตามคำาสั่งที่กำาหนดไว้ หรือโดยประการ ิ
  • 25. มาตรา ๒๒  ห้ามมิให้พนักงานเจ้าหน้าที่เปิดเผยหรือส่งมอบ ข้อมูลคอมพิวเตอร์ ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ หรือข้อมูลของผู้ใช้บริการ ที่ได้มาตามมาตรา ๑๘ ให้แก่บคคลใดความในวรรคหนึ่งมิให้ใช้บงคับกับ ุ ั การกระทำาเพื่อประโยชน์ในการดำาเนินคดีกับผู้ กระทำาความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ หรือเพื่อ ประโยชน์ในการดำาเนินคดีกับพนักงานเจ้าหน้าที่ เกี่ยวกับการใช้อำานาจหน้าที่ โดยมิชอบ หรือเป็นการกระทำาตามคำาสั่งหรือที่ได้ รับอนุญาตจากศาลพนักงานเจ้าหน้าที่ผู้ใดฝ่าฝืน วรรคหนึ่งต้องระวางโทษจำาคุกไม่เกินสามปี หรือ
  • 26. มาตรา ๒๓  พนักงานเจ้าหน้าที่ผู้ใดกระทำาโดยประมาทเป็น เหตุให้ผู้อื่นล่วงรู้ข้อมูลคอมพิวเตอร์ข้อมูลจราจร ทางคอมพิวเตอร์ หรือข้อมูลของผู้ใช้บริการ ที่ได้ มาตามมาตรา ๑๘ ต้องระวางโทษจำาคุกไม่เกิน หนึงปี หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจำาทั้ง ่ ปรับ
  • 27. มาตรา ๒๔  ผู้ใดล่วงรู้ข้อมูลคอมพิวเตอร์ ข้อมูลจราจรทาง คอมพิวเตอร์หรือข้อมูลของผู้ใช้บริการ ที่พนักงาน เจ้าหน้าที่ได้มาตามมาตรา ๑๘ และเปิดเผยข้อมูล นั้นต่อผู้หนึ่งผู้ใด ต้องระวางโทษจำาคุกไม่เกินสอง ปี หรือปรับไม่เกินสีหมื่นบาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ ่
  • 28. มาตรา ๒๕  ข้อมูล ข้อมูลคอมพิวเตอร์ หรือข้อมูลจราจรทาง คอมพิวเตอร์ที่พนักงานเจ้าหน้าที่ได้มาตามพระ ราชบัญญัตนี้ ให้อ้างและรับฟังเป็นพยานหลักฐาน ิ ตามบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา ความอาญาหรือกฎหมายอื่นอันว่าด้วยการสืบ พยานได้ แต่ต้องเป็นชนิดที่มิได้เกิดขึ้นจากการ จูงใจมีคำามั่นสัญญา ขู่เข็ญ หลอกลวง หรือโดยมิ ชอบประการอื่น
  • 29. มาตรา ๒๖  ผูให้บริการต้องเก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ไว้ ้ ไม่น้อยกว่าเก้าสิบวันนับแต่วันที่ขอมูลนั้นเข้าสู่ระบบ ้ คอมพิวเตอร์ แต่ในกรณีจำาเป็นพนักงานเจ้าหน้าที่จะสั่ง ให้ผให้บริการผูใดเก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ ู้ ้ ไว้เกินเก้าสิบวัน แต่ไม่เกินหนึ่งปีเป็นกรณีพิเศษเฉพาะ รายและเฉพาะคราวก็ได้ ผูให้บริการจะต้องเก็บรักษา ้ ข้อมูลของผูใช้บริการเท่าที่จำาเป็นเพื่อให้สามารถระบุตัวผู้ ้ ใช้บริการ นับตั้งแต่เริ่มใช้บริการและต้องเก็บรักษาไว้เป็น เวลาไม่น้อยกว่าเก้าสิบวันนับตั้งแต่การใช้บริการสิ้นสุดลง ความในวรรคหนึ่งจะใช้กบผูให้บริการประเภทใด อย่างไร ั ้ และเมื่อใด ให้เป็นไปตามที่รัฐมนตรีประกาศในราชกิจจา นุเบกษา
  • 30. มาตรา ๒๗  ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามคำาสังของศาลหรือพนักงานเจ้า ่ หน้าที่ที่สงตามมาตรา ๑๘ หรือมาตรา ๒๐ หรือไม่ ั่ ปฏิบติตามคำาสั่งของศาลตามมาตรา ๒๑ ต้อง ั ระวางโทษปรับไม่เกินสองแสนบาทและปรับเป็น รายวันอีกไม่เกินวันละห้าพันบาทจนกว่าจะปฏิบติ ั ให้ถูกต้อง
  • 31. มาตรา ๒๘  การแต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่ตามพระราชบัญญัติ นี้ ให้รัฐมนตรีแต่งตั้งจากผู้มีความรู้และความ ชำานาญเกี่ยวกับระบบคอมพิวเตอร์ และมี คุณสมบัติตามที่รัฐมนตรีกำาหนด
  • 32. มาตรา ๒๙  ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตนี้ ให้พนักงานเจ้า ิ หน้าที่เป็นพนักงานฝ่ายปกครองหรือตำารวจชันผูใหญ่ตาม ้ ้ ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามีอำานาจรับคำา ร้องทุกข์หรือรับคำากล่าวโทษ และมีอำานาจในการสืบสวน สอบสวนเฉพาะความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ ในการจับ ควบคุม ค้น การทำาสำานวนสอบสวนและดำาเนินคดีผู้ กระทำาความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ บรรดาที่เป็นอำานาจ ของพนักงานฝ่ายปกครองหรือตำารวจชันผู้ใหญ่ หรือ ้ พนักงานสอบสวนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความ อาญา ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ประสานงานกับพนักงาน สอบสวนผู้รบผิดชอบเพื่อดำาเนินการตามอำานาจหน้าที่ต่อ ั ไป ให้นายกรัฐมนตรีในฐานะผูกำากับดูแลสำานักงานตำารวจ ้
  • 33. มาตรา ๓๐  ในการปฏิบติหน้าที่ พนักงานเจ้าหน้าที่ตองแสดง ั ้ บัตรประจำาตัวต่อบุคคลซึ่งเกี่ยวข้อง บัตรประจำาตัว ของพนักงานเจ้าหน้าที่ให้เป็นไปตามแบบที่ รัฐมนตรีประกาศในราชกิจจานุเบกษา