Anúncio

Mais conteúdo relacionado

Apresentações para você(20)

Similar a หลักการจัดซื้อ บทที่ 1.pptx(20)

Anúncio

Último(20)

หลักการจัดซื้อ บทที่ 1.pptx

  1. หลักการจัดซื้อ บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
  2. หลักการในการจัดซื้อ วัตถุประสงค์ ในการจัดซื้อ เข ้าใจการบริหารการจัดซื้อ สามารถอธิบายความหมายของการจัดซื้อได ้ ทราบนโยบายการจัดซื้อ ทราบวัตถุประสงค์ของการจัดซอื้ เข ้าใจหน้าที่เกี่ยวกับการจัดซอื้สินค ้า
  3. หลักการในการจัดซื้อ วัตถุประสงค์ ในการจัดซื้อ (ต่อ) ทราบความรับผิดชอบของฝ่ ายจัดซื้อ เข ้าใจการสารวจความต ้องการของลูกค ้า สามารถจัดเตรียมสารสนเทศในการจัดซื้อสินค ้าและวัตถุดิบ เข ้าใจหลักการพิจารณาจัดซื้อสินค ้า  เข ้าใจหลักการคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค ้า เข ้าใจวิธีการบริหารการจัดซื้อ
  4. บทนาในการบริหารการจัดซื้อ การจัดซื้อ เป็นการได ้มาซึ้งวัสดุชิ้นส่วนหรือสินค ้าที่องค์การธุรกิจ ต ้องการใช ้ ด ้วยต ้นทุนที่ต่าสุด จากแหล่งผู้ขายที่เชื่อถือได ้บางครั้งจะต ้องมีการ พิจารณาเลือกระหว่างการซอื้จากแหล่ง ภายนอกและการผลิตใช ้เอง ภายในองค์การ
  5. การซื้อจากแหล่งผู้ขายนอกมีสาเหตุ จาก ผู้ขายเชื่อถือได ้คุณภาพของวัตถุดิบสม่าเสมอ เวลารอคอยแน่นอน ราคา สมเหตุสมผล วัตถุดิบหรือชิ้นส่วนที่จัดซื้อเป็นที่มีมาตรฐานหาซื้อได ้ง่าย ต ้นทุนจากการจัดซื้อต่ากว่าการผลิตเอง กาลังการผลิตที่มีอยู่ใช ้เตม็ที่ แล ้ว และไม่ต ้องการเพิ่มกาลังการผลิตอีก เทคโนโลยีการผลิตชิ้นส่วนนั้นเปลี่ยนแปลงเร็วมาก ในบางครั้งควรผลิต เองถ ้ายังมี กาลังการผลิตเหลืออยู่บางส่วน และต ้องการใช ้กาลังการผลิต ให ้เต็มประสิ่ทธิภาพ
  6. การซื้อจากแหล่งผู้ขายนอกมีสาเหตุ จาก วัตถุดิบหรือชิ้นส่วนที่ใช ้เป็นชิ้นส่วนเฉพาะที่เป็นลิขสิทธิ์เฉพาะสาหรับ ธุรกิจ ต ้นทุนจากการซิ้อสูงกว่าการผลิตเอง เป็นการรับประกันคุณภาพและปริมาณของวัตถุดิบหรือชิ้นส่วนนั้น ความต ้องการของสินค ้าสาเร็จรูปที่ใช ้วัตถุดิบหรือชิ้นส่วนนั้น ค่อนข ้างสม่าเสมอ ต ้องการควบคุมกระบวนการผลิตทั้งหมด
  7. ความหมายของการจัดซื้อ การจัดซื้อคือ กิจกรรมของผู้จัดซอื้โดยยึดหลัก 5R’s พิจารณา เลือกซื้อ สินค ้าให ้ได ้ คุณสมบัติที่ถูกต ้อง (Right Quality) จานวนที่ถูกต ้อง (Right Quantity) เลือกซื้อจากแหล่งที่ถูกต ้อง ( Right source) ในราคาที่ถูกต ้อง (Right price) ตรงต่อความต ้องการของลูกค ้ามากที่สุด (Right needs) โดยสามารถนาออกขายแล ้วมีกาไร
  8. ความหมายของการจัดซื้อ ◦ การจัดซื้อ คือ การกาหนดประมาณความต ้องการใช ้ของกิจการ การ สรรหา การคัดเลือกแหล่งขาย ในราคาที่เหมาะสม เงื่อนไข การชาระ เงินที่น่าพอใจ การจัดทาใบสั่งซื้อ การติดตามผลการ สั่งซื้อ เพื่อให ้ ได ้มา ซึ้งวัสดุอุปกรณ์ในเวลาที่กาหนดไว ้ ◦ การจัดซื้อ คือ ภารกิจเพื่อให ้ได ้มาซึ้งวัตถุดิบ วัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช ้ตามที่กิจการต ้องการ โดยมีคุณสมบัติที่ ถูกต ้อง จานวนที่ ถูกต ้อง จังหวะเวลาที่ถูกต ้อง ราคาที่ถูกต ้อง จากแหล่งขายที่ถูกต ้อง และจัดส่งไปยังสถานที่อย่างถูกต ้อง ใน สภาพที่พร ้อมที่จะผลิต จัด จาหน่าย และเพื่อใช ้งาน
  9. นโยบายการจัดซื้อ นโยบายการจัดซื้อ หมายถึง การจัดซื้อสินค ้า วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องใช ้ให ้ดีที่สุด ให ้ได ้คุณสมบัติที่ถูกต ้อง ปริมาณที่ ถูกต ้อง เวลาที่ถูกต ้อง ราคาที่เหมาะสม จากแหล่งขายที่ถูกต ้อง และ จัดส่งไปยังสถานที่ที่ถูกต ้อง
  10. การจัดซื้อมีขั้นตอนที่ต ้องกาหนดไว ้ใน นโยบายของ หน่วยงานดังนี้ 1. การเลือกแหล่งซื้อ 2. กาหนดจานวนแหล่งจัดซื้อที่นาเข ้าสู่การตัดสินใจ
  11. หลักการกาหนดวิธีปฏิบัติในการสงั่ซื้อ สินค ้า ดังนี้ การปฎิบัติงานที่กาหนดไว ้ต ้องเหมาะสม ให ้ผลสาเร็จรวดเร็ว ง่ายที่สุด มีความแน่นอน และเป็นที่พึงพอใจต่อผู้ปฎิบัติงาน ยึดหลักความง่ายเป็นสิ่งสาคัญ ควรตัดระบบขัน้ตอนที่ยุ่งยากซับซ ้อน อันเป็นสาเหตุทา ให ้การสั่งซื้อล่าช ้า และมีโอกาสผิดพลาดได ้ง่าย การ จัดซื้อสินค ้าของกิจการขายปลกี ต ้องอาศัยความรวดเร็ว ถูกต ้อง และ ได ้รับผลกาไร ส่วนการจัดซื้อของกิจการ โรงงานผลิต ต ้องเป็นไปตาม กาหนดตารางเวลาการผลิต
  12. หลักการกาหนดวิธีปฏิบัติในการสงั่ซื้อ สินค ้า ดังนี้ (ต่อ) วิธีปฏิบัติในการสั่งซื้อสินค ้าจะต ้องมีกาหนดไว ้อย่างแน่นอน ผู้ปฏิบัติงานทุกคนเข ้าใจ ระเบียบแบบแผนในการจัดซื้อ ทั้งนี้เพื่อลด ความขัดแย ้ง ขจัดข ้อสงสัยที่จะทาให ้เกิดการ โต ้แย ้งผิดใจกันระหว่าง ผู้ร่วมงาน และเป็นการป้องกันการปฏิบัติงานซ้าซ ้อน ทุกขั้นตอนของการปฎิบัติงานจัดซื้อ จะต ้องกาหนดอานาจหน้าทคี่วาม รับผิดชอบและ ขอบเขตการปฏิบัติงานทุกคนในฝ่ ายไว ้อย่างแนน่อน การปฏิบัติงานจัดซื้อต ้องยืดหยุ่น ได ้ปรับให ้เข ้ากับสถานการณ์ ฝ่ าย ขาย ฝ่ ายส่งเสริมการขาย และสอดคล ้อง ประสานงานกับทุกฝ่ ายงานที่ เกี่ยวข ้อง
  13. วัตถุประสงค์ของการจัดซื้อ 1. สามารถจัดซื้อวัสดุ หรือสินค ้าเป็นไปตามข ้อกาหนด รายละเอียดใน เอกสารสั่งซื้อ และสามารถใช ้งานได ้ตามความ ต ้องการขององค์กร ด ้วย ความรวดเร็ว ไม่มีความเสี่ยง สินค ้า ราคาต่าสุด ทาให ้กิจการมีกาไรมาก ขึ้นในภาวะที่สามารถ แข่งขันกับผู้ค ้ารายอื่น ๆ ได ้ 2. เพื่อให ้ได ้สินค ้าที่มีคุณภาพ และปริมาณที่เหมาะสมกับผู้ซื้อ และ ผู้ใช ้งาน ความต ้องการของฝ่ ายต่าง ๆ ในองค์การและ สอดคล ้องกับ นโยบายขององค์การ 3. เพื่อให ้ได ้สินค ้าตามจานวนโดยไม่ขาดตอน และการลงทุนใน สต็อก ต่าสุด สอดคล ้องกับจานวนสั่งซื้อที่ประหยัดตามสภาวะ ความต ้องการ ของตลาด นอกจากนั้นยังมีวัตถุประสงค์เพื่อ หลีกเลี่ยงปัญหาการซื้อ สินค ้าซ้าซ ้อน สินค ้าชารุด เสียหายและ ล ้าสมัย
  14. วัตถุประสงค์ของการจัดซื้อ (ต่อ) 4. หาแหล่งจัดซื้อได ้ในระดับสากลทั้งการจัดซื้อแบบธรรมดา และ การ จัดซื้อในตลาดกลางทางอิเล็กทรอนิกส์ โดยใช ้มาตรการพาเรโต ซึ้ง มูลค่าสูง แต่จานวนผู้ขายและรายการสินค ้าน้อย สามารถจัดซื้อวัตถุดิบ ชิ้นส่วนประกอบ เพื่อนามาผลิตสินค ้า เพื่อส่งมอบให ้แก่ลูกค ้า ที่มี คุณภาพดี ปริมาณถูกต ้อง ตรง เวลา สถานที่ที่กาหนด ราคาเหมาะสม และแน่นอน ส่วนการ จ่ายเงินในการลงทุนต ้องเหมาะสมกับวัสดุ หรือ สินค ้าและ เป็นไปตามราคาที่ตกลงกันไว ้ 5. สามารถนาความล ้าสมัย และเทคโนโลยี เพื่อนามาจัดซื้อ และนา ข ้อมูลที่ได ้จากการป้อนเข ้าและผลลัพธ์ที่ได ้มาเพื่อ ประกอบการ ตัดสินใจ ให ้สามารถตัดสินใจได ้อย่างรวดเร็ว เพื่อ หลีกเลี่ยงปัญหาใน การสั่งซื้อสินค ้าซ้าซ ้อน ชารุด ล ้าสมัย 6. สามารถนากลยุทธ์จัดซื้อมาเพื่อให ้สามารถประสานงานกับ ลูกค ้า และ ผู้ขายปัจจัยการผลิตเพื่อสร ้างขีดความสามารถใน การแข่งขันทางธุรกิจ
  15. หน้าที่เกี่ยวกับการจัดซื้อสินค้า 1. รับผิดชอบในการวางแผน เพื่อดาเนินการจัดซื้อให ้สอดคล ้องกับกลยุทธ์ องค์กร 2. ประสานงานกับทุกฝ่ ายเพื่อให ้ได ้มาซึ่งวัสดุ วัตถุดิบ สินค ้าที่ต ้องการ 3. รับผิดชอบในการออกใบสั่งซื้อ การรับสินค ้า จนถึงการส่งสินค ้าเก็บเข ้า คลังสินค ้า 4. กาหนดทิศทางในการจัดซื้อ โดยการหาทางเลือกระหว่างการจัดซื้อการ กระจายสินค ้า และการจัดเก็บว่าวิธีการใดส่งผลดีที่สุด 5. รับผิดชอบในการบริหารสารสนเทศที่เกี่ยวกับงานจัดซื้อ รับผิดชอบในการ นาสารสนเทศ มาใช ้ในการวางแผน ปฏิบัติงาน และควบคุมให ้การจัดซื้อ เป็น ตามข ้อกาหนด ิ ิ
  16. หน้าที่หลักของการจัดซื้อได้แก่ การเก็บและรวบรวมข่าวสารเกี่ยวกับการจัดซื้อ การค ้นคว ้าวิจัยตลาดเศรษฐกิจ ความเปลี่ยนแปลงของวัสดุ การ วิเคราะห์วัสดุและราคาวัสดุ การจัดซื้อสินค ้า การจัดการงานวัสดุ
  17. หน้าที่หลักของการจัดซื้อได้แก่ หน้าที่รอง การกาหนดมาตรฐานวัสดุ การกาหนดคุณลักษณะเฉพาะ การ ทางาน ประมาณวัสดุ การควบคุมวัสดุ และการพิจารณาว่าจะซื้อ เช่า หรือผลิต สินค ้าเอง หน้าที่อื่นที่เกี่ยวกับการจัดซื้อ การประกันภัยสินค ้า การตรวจสอบวัสดุการจาหน่ายของเสีย หรือของ เหลือใช ้และงานคลังวัสดุ
  18. ความรับผิดชอบของฝ ่ ายจัดซื้อ 1. คุณภาพสินค ้า o บอกตรายี่ห ้อสินค ้าที่ต ้องการให ้ชัดเจน o ระบุคุณลักษณะเฉพาะ o กาหนดคุณสมบัติตามตัวอย่าง o กาหนดคุณสมบัติตามมาตรฐานทางตลาด o วิธีผสม อาจใช ้หลายวิธี
  19. ความรับผิดชอบของฝ ่ ายจัดซื้อ (ต่อ) 2. ปริมาณสินค ้าที่ถูกต ้อง o ราคาและต ้นทุนการผลิตสินค ้า ในแต่ละหน่วยของสินค ้า o ค่าใช ้จ่ายในการสั่งซื้อสินค ้า การออกใบสั่งซื้อ การเก็บรักษาสินค ้า การเจรจาตกลงซื้อหรือการเสี่ยงกับวัสดุขาดมือ o ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นกับวัสดุคงเหลือ
  20. ความรับผิดชอบของฝ ่ ายจัดซื้อ (ต่อ) 3. เวลาที่ถูกต ้องในการได ้สินค ้า o สั่งซื้อเมื่อสินค ้าหมด o สั่งซื้อเมื่อคาดว่าราคาสินค ้าจะสูงขึ้น o สั่งซื้อล่วงหน้า
  21. ความรับผิดชอบของฝ ่ ายจัดซื้อ (ต่อ) 4. สถานที่ที่ถูกต ้อง 5. ราคาที่ถูกต ้อง ◦ ราคาที่เกิดจากอุปสงค์ ◦ ราคาที่เกิดจากการแข่งขัน ◦ ราคาที่มีความสัมพันธ์กันต ้นทุน
  22. ความรับผิดชอบของฝ ่ ายจัดซื้อ (ต่อ) 6. ผู้ขายที่ถูกต ้อง ข ้อมูลที่เกี่ยวกับผู้ขาย ◦ ประสบการณ์ที่เคยติดต่อซื้อขายกัน ◦ การติดต่อกับบุคคลหรือกิจการ ซึ่งถือว่าทันสมัยมาก และแน่นอน ◦ แหล่งข่าวที่เป็นเอกสารต่าง ๆ
  23. ปัจจัยเพื่อการประเมินผู้ขาย ◦ มีวิสัยทัศน์ที่ดี และมีแผนธุรกิจที่แน่นอน หรือไม่ ◦ มีฐานความรู้ในผลิตภัณฑ์ของตนเองและซัพพลายเชนที่เกี่ยวข ้อง หรือไม่ ◦ มีความซื่อสัตย์ จริงใจ และยุติธรรม ต่อผู้จัดซอื้อย่างไร ◦ ความคิดก ้าวหน้าในการปรับปรุงสินค ้าและกรรมวิธีให ้ดีอยู่เสมอ หรือไม่ ◦ มีฐานะการเงินเป็นอย่างไร ◦ มีความสามารถที่จะจัดส่งสินค ้าได ้อย่างถูกต ้อง
  24. ปัจจัยเพื่อการประเมินผู้ขาย (ต่อ) ◦ มีการกาหนดราคาพอสมควร ◦ มีความสัมพันธ์ และอัธยาศัยไมตรีที่ดีตอ่ผู้จัดซื้อ ◦ คุณสมบัติสินค ้าที่ต ้องการซอื้ ◦ มีราคาที่เหมาะสม ◦ จานวนที่ถูกต ้อง ◦ การจัดส่งสินค ้าได ้ทันเวลาตามกาหนดและสถานที่ที่ต ้องการ ◦ บริการด ้านอื่น ๆ ที่มีให ้เป็นการเครดิตลูกค ้า
  25. การสารวจความต ้องการของผู้บริโภค 1. การเลือกสรรสินค ้า ◦ ◦ ความกว ้าง ◦ ◦ ความลึก ◦ ◦ การมีสินค ้าที่สม่าเสมอ
  26. การสารวจความต ้องการของผู้บริโภค 2. วงจรชีวิตสินค ้า ◦ ◦ ขั้นแนะนา ◦ ◦ ขั้นเจริญเติบโต ◦ ◦ ขั้นเติบโตเต็มที่ ◦ ◦ ขั้นอิ่มตัว ◦ ◦ ขั้นถดถอย
  27. การจัดการสารสนเทศในงานจัดซื้อสินค ้า และวัตถุดิบ 1. ข ้อมูลที่ผ่านมา 2. ดูจากรายการสินค ้าในสต็อก 3. การร ้องขอของลูกค ้า 4. การร ้องเรียนของลูกค ้า 5. การเปรียบเทียบกับคู่แข่งขัน 6. แหล่งอื่น ๆ
  28. หลักการพิจารณาจัดซื้อสินค ้า 1. ผู้รับผิดชอบฝ่ ายจัดซื้อสินค ้าต ้องจัดซื้อสินค ้าให ้ดีที่สุด 2. นโยบายการจัดซื้อสินค ้าต ้องชัดเจน 3. ควรเลือกซื้อสินค ้าจากพ่อค ้าส่ง พนักงานขาย หรือโรงงานผู้ผลิต ตัวแทน จาหน่ายสินค ้าเพียง 2-3 รายเท่านั้น
  29. หลักการพิจารณาจัดซื้อสินค ้า 4. ควรสนับสนุนสินค ้าที่ผลิตขึ้นภายในประเทศที่มีคุณภาพระดับปาน กลาง ให ้มีมากที่สุดเท่าที่จะทาได ้และให ้เหมาะสมกับความต ้องการ ของลูกค ้า 5. ฝ่ ายจัดซื้อต ้องดาเนินงานจัดซื้อให ้บรรลุตามเป้าหมาย ที่ตั้งไว ้ 6. ฝ่ ายจัดซื้อควรมีการประสานงาน ร่วมมือกับฝ่ ายอื่น ๆ ของกิจการเพื่อ ดาเนินงานโดยมุ่งบรรลุเป้าหมายของกิจการเป็นสาคัญ 7. ฝ่ ายจัดซื้อควรเจรจาตกลงจัดซื้อกับผู้ขายหรือตัวแทนจาหน่ายด ้วย ความ ยุติธรรม
  30. วิธีการบริหารการจัดซื้อ 1. การจัดซื้อร่วมกัน 2. การจัดซื้อโดยรวมศูนย์ 3. การจัดซื้อโดยมีคณะกรรมการ 4. การจัดซื้อเพื่อการฝากขาย 5. การจัดซื้อแบบการเช่าสถานที่ขาย 6. การจัดซื้อราคาขาดตัว
  31. วิธีการบริหารการจัดซื้อ (ต่อ) 7. การจัดซื้อแบบลดตามปริมาณ 8. การจัดซื้อแบบมีส่วนลดการค ้า 9. การจัดซื้อแบบมีส่วนลดการส่งเสริมการขาย 10. การจัดซื้อแบบมีส่วนลดตามฤดูกาล
  32. การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค ้า 1. ผู้ขายปัจจัยการผลิต 2. ผู้ให ้บริการตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์ 3. ผู้ให ้บริการประมูลราคา 4. การซื้อจากเกษตรกรโดยตรง 5. การซื้อจากผู้ผลิต ◦ ◦ ต ้องการราคาถูกกว่า ◦ ◦ เพื่อให ้ได ้สินค ้ารุ่นใหม่มาขายอย่างรวดเร็ว ◦ ◦ การกาหนดคุณสมบัติพิเศษเฉพาะที่ห ้างต ้องการได ้
  33. การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค ้า (ต่อ) 6. ศูนย์รวมผู้ผลิต 7. ผู้ค ้าส่ง ◦ ◦ ผู้ค ้าส่งที่ให ้บริการเตม็ที่ ◦ ◦ ผู้ค ้าส่งที่ให ้บริการจากัด ◦ ◦ ผู้ค ้าส่งประเภทผู้จัดวางสินค ้าบนชั้นวางสินค ้า 8. ร ้านค ้าปลีกแบบอื่น 9. ตลาดกลางขายส่งสินค ้า
  34. แบบฝึกหัด 1. ให ้อธิบายหลักการบริหาร ความหมาย นโยบาย วัตถุประสงค์ และ หน้าที่ที่เกี่ยวข ้องในการจัดซื้อ 2. ให ้อธิบายความรับผิดชอบของฝ่ ายจัดซื้อ การสารวจความ ต ้องการ ของลูกค ้าการจัดการสารสนเทศในการจัดซื้อสินค ้า และวัตถุดิบ 3. ให ้อธิบายหลักการในการจัดซื้อสินค ้า และหลักการคัดเลือก แหล่ง จัดซื้อสินค ้า 4. การบริหารการจัดซื้อมีวิธีใดบ ้าง
Anúncio