SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 5
Baixar para ler offline
สุขภาพและระบบประกันสุขภาพ
(Health & Healthcare system)
Pitsanu Duangkartok
สุขภาพและระบบประกันสุขภาพ (Health & Healthcare system)
องค์การอนามัยโลกนิยามความหมายของ “สุขภาพ” ไว้ว่า “สภาวะแห่งความสมบูรณ์ทางร่างกาย จิตใจ และสุขภาวะ
ทางสังคม ไม่ใช่เพียงการปราศจากโรคภัยไข้เจ็บเท่านั้น” (WHO 2001, p.1)
สุขภาพในบริบทของสังคมไทย มี 4 มิติหลัก ได้แก่ กายคือการไม่เจ็บป่วย มีปัจจัย 4 เพียงพอ สามารถเข้าบริการและได้รับ
การดูแลที่ดี จิตคือการมีจิตใจที่มีความสุข ไม่เครียด สังคมคือการอยู่สภาพแวดล้อมมที่ดี ได้รับการบริการจากภาครัฐอย่างเท่า
เทียมและปัญญา โดยการมีสุขภาวะทางปัญญา คือการรู้เท่าทันและแยกแยะความดีความชั่ว ความมีประโยชน์ ความมีโทษได้
ซึ่งนำไปสู่ความมีจิตอันดีงามและเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่
เป้าหมายของระบบสุขภาพ (WHO) คือการให้ทุกคนเข้าถึงการบริการทางสุขภาพ ครอบคลุมทุกคน มีคุณณภาพและมี
ความปลอดภัย
ภารกิจหลักด้านสุขภาพ ประกอบด้วย 1. รักษา เป็นบทบาทของแพทย์และเภสัชกรในเรื่องยา 2. ส่งเสริม เป็นการ
ส่งเสริมสุขภาพที่ดี เช่น พยาบาล 3. ป้องกัน เป็นการป้องกันการป่วย ได้แก่ กำจัดยุงลาย 4. ฟื้นฟู เป็นการฟื้นฟูร่างกายให้
กลับมาปกติ เช่น นักกายภาพบำบัด แพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู 5. การคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ เป็นการคุ้มครองผู้บริโภคจาก
การบริโภคผลิตภัณฑ์ทางสุขภาพ
ระบบบริการสุขภาพ แบ่งเป็น
↬ Self Care Level คือ การดูแลสุขภาพด้วยตนเอง เช่น การเลือดกำเดาไหลก็สามารถรักษาได้ด้วยตนเอง
↬ Primary Health of Care Level การสาธารณสุขมูลฐาน ดําเนินการด้านสุขภาพโดย อสม. (อาสาสมัครสาธารณสุข
มูลฐาน) โดยการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การรักษาพยาบาล และการฟื้นฟู เช่น ศูนย์สาธารณสุขมูลฐาน
ชุมชน (ศสมช.)
↬ Primary Care Level เป็นบริการแบบองค์รวม (holistic approach) โดยบุคลากรทางการแพทย์ เช่น ศูนย์
สุขภาพชุมชนเมือง (ศสม.), โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) มีพยาบาลและเจ้าหน้าที่สาธารณสุขดูแล,
สถานบริการสาธารณสุขชุมชน (สสช.)
↬ Secondary Care Level เป็นบริการโดยแพทย์ที่มีความเชี่ยวชาญสูงปานกลาง มีเภสัชกรทำงานรวมอยู่ด้วย เป็น
การจัดบริการในระดับโรงพยาบาล เช่น โรงพยาบาลชุมชน (รพช.) ได้แก่ โรงพยาบาลสันกำแพง
↬ Tertiary Care level ใช้บุคลากรทางการแพทย์ที่เชี่ยวชาญ ใช้เทคโนโลยีทางการแพทย์ขั้นสูง มีแพทย์เฉพาะทาง
เช่น โรงพยาบาลทั่วไป (รพท.) คือโรงพยาบาลประจำจังหวัดส่วนใหญ่, โรงพยาบาลศูนย์ (รพศ.) เช่นโรงพยาบาล
เชียงรายประชานุเคราะห์, สถาบันเฉพาะทาง เช่น สถาบันมะเร็งแห่งชาติ, โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย เช่นโรงพยาบาล
มหาราชนครเชียงใหม่
*ใช้จำนวนเตียงที่รองรับได้ในการ
แบ่งประเภท
สถานพยาบาลสุขภาพเอกชน เช่น โรงพยาบาลกรุงเทพ โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ โรงพยาบาลเทพปัญญา
ระบบประกันสุขภาพ (Healthcare system) การประกัน คือการเปลี่ยนความไม่แน่นอนให้เป็นความแน่นอน
ในระดับบุคคลจะเกิดความไม่แน่นอน (Uncertainty) ทางการแพทย์ ได้แก่
↬ การได้รับโรค (contacting diseases)
↬ ความรุนแรงของการเจ็บป่วย (severity of illness)
↬ ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล (medical expenditure) -> ส่งผลต่อสถานะทางการเงินของครอบครัว
ในระดับสังคมจะเกิดความไม่เป็นธรรม (Inequity)
↬ การจ่ายเงิน (financial contribution)
↬ การเข้าถึงและการใช้บริการ (access & utilization)
↬ ค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ (expenditure)
ประเภทของการประกันสุขภาพ
↬ การสร้างหลักประกันโดยระบบภาษี (Tax-based health system: Beveridge Model) ข้อดีคือ มีค่าบริหาร
จัดการต่ำ มีความเป็นธรรมเพราะเก็บตามรายได้ ข้อเสียคือ มีความไม่แน่นอน ถูกการเมืองแทรกแซงได้ง่าย การขาด
ประสิทธิภาพของระบบราชการ
↬ การประกันสุขภาพแบบบังคับ (Compulsory health insurance: Bismarck Model) ข้อดีคือ มีความแน่นอน
ของเงิน เงินไหลไปสู่การประกันสุขภาพเห็นอย่างชัดเจน ตอบสนองต่อความต้องการของประชาชน ช่วยให้ผู้จ่ายเบี้ย
ประกัน ตระหนักในสิทธิของตน ได้ตามความจำเป็น จ่ายตามความสามารถ ข้อเสียคือ ค่าบริหารจัดการสูง มีปัญหาการ
ควบคุมรายจ่าย ในสังคมผู้สูงอายุจะทำให้ภาระการจ่ายเงินของคนทำงานเพิ่มขึ้น ถ้าประชาชนส่วนใหญ่ทำงานนอกระบบ
จะมีปัญหาในการบริหารจัดการ
↬ การประกันสุขภาพแบบสมัครใจ (Voluntary health insurance) ข้อดีคือ ประชาชนมีอิสระในการตัดสินใจ เป็น
แหล่งเงินเพิ่มเติมมาจากการประกันภาคบังคับ ช่วยให้ผู้จ่ายเบี้ยประกันตระหนักในสิทธิของตน สถานพยาบาลต้องเพิ่ม
คุณภาพบริการ เพื่อจูงใจประชาชน ข้อเสียคือ เป็นแหล่งการเงินที่ไม่มั่นคง ผู้เอาประกันมักจะเป็นผู้ป่วย (adverse
selection) ผู้เอาประกันใช้บริการมากเกินจำเป็น (moral hazard) ผู้รับประกันเลือกเฉพาะผู้เอาประกันที่มีความเสี่ยงน้อย
อัตราการจายเบี้ยประกันไม่สัมพันธ์กับรายได้
หลักประกันด้านสุขภาพของคนไทย
↬ ระบบหลัก ↬ ระบบเสริม
➻ ระบบข้าราชการ ➻ กองทุนทดแทนแรงงาน
➻ พนักงานรัฐวิสาหกิจ ➻ การประกันอุบัติภัยจากการใช้รถ
➻ โครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า (30 บาท) ➻ ประกันสุขภาพเอกชน
➻ ระบบประกันสังคม
โครงสร้างระบบประกันสุขภาพ ประกอบด้วย
↬ หลักการและแนวคิด (Concept) ↬ ความครอบคลุม (Coverage)
↬ ผู้รับสิทธิประโยชน์ (Benefitiary) ↬ ชุดสิทธิประโยชน์ (Benefit packages)
↬ แหล่งทุน (Source of funding) ↬ ระบบการจ่ายเงิน (Financing system)
↬ การควบคุมคุณภาพมาตรฐานบริการ (Quality control)
รูปแบบการประกันสุขภาพไทย การเหมาจ่ายรายหัว (Capitation) คือผู้ถือบัตรทองจะไปพบแพทย์ที่โรงพยาบาลกี่ครั้งโรงพยาบาลก็จะได้เงินเท่าเดิม
↬ โครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า (Universal Healthcare Coverage : UC) ค่าใช้จ่ายมาจากการเก็บภาษี
จุดประสงค์เพื่อความยุติธรรม มีประสิทธิภาพ หลากหลาย ป้องกันและส่งเสริมสุขภาพ ในประเทศไทยมีอยู่ประมาณ 47
ล้านคน โดยทุกคนได้รับสิทธิ โดยจ่ายเป็นรายหัว, Disease Related Group หรือ DRG เป็นการเหมาจ่ายตามกลุ่ม
โรคด้วยราคากลาง ทำให้ผลักความเสี่ยงในการบริหารเงินทั้งหมดไปให้โรงพยาบาล ควบคุมโดยกลไกของรัฐบาล
↬ สวัสดิการข้าราชการ (Civil Servant Medic al Benefit Scheme : CSMBS) เป็นเงินสวัสดิการจากหน่วยงานมา
จากภาษี ในประเทศไทยมีอยู่ประมาณ 7-8 ล้านคน ผู้ที่ได้รับประโยชน์คือ ข้าราชการ บิดา-มารดา คู่สมรส บุตร สิ่งที่
ได้รับคือ ค่ารักษาพยาบาล, ค่ายาและเวชภัณฑ์, ค่าห้องและค่าอาหาร, ค่าตรวจร่างกายประจำปี โดยเบิกจ่ายจาก
กรมบัญชีกลางเป็นครั้งๆไป จัดการโดยสำนักงานตรวจเงินแผ่นดิน (สตง.) และ พระราชบัญญัติส่งเสริมการจัด
สวัสดิการสังคม
↬ สวัสดิการพนักงานรัฐวิสาหกิจ เป็นเงินสวัสดิการจากหน่วยงานมาจากผลประกอบการ ผู้ที่ได้รับประโยชน์คือ
พนักงานรัฐวิสาหกิจ ได้รับสวัสดิการมากกว่าพนักงานข้าราชการ โดยเบิกจ่ายจากเป็นครั้งๆไป จัดการโดยหน่วยงาน
รัฐวิสาหกิจ
↬ ประกันสังคม (Social Security Scheme;SSS) เป็นประกันสุขภาพแบบบังคับให้กับผู้ประกันตน ซึ่งแหล่งเงินมาจาก
รัฐ นายจ้าง และลูกจ้างในประเทศไทยมีอยู่ประมาณ 8 ล้านคน ผู้ที่ได้รับประโยชน์คือ ผู้ประกันตน ค่าใช้จ่ายที่ได้รับคือ
เจ็บป่วยหรือประสบอันตราย, คลอดบุตร, ทุพพลภาพ, เสียชีวิต, สงเคราะห์บุตร, ชราภาพ, ว่างงาน โดยจ่ายเป็นรายหัว
จัดการโดยสำนักงานประกันสังคม
↬ กองทุนเงินทดแทน (workmen’s compensation) เป็นประกันสุขภาพแบบบังคับ เป็นกองทุนค่ารักษาพยาบาลแก่
ลูกจ้างแทนนายจ้างกรณีเจ็บป่วยจากการทำงาน มีอยู่ประมาณ 8 ล้านคน ผู้ที่ได้รับประโยชน์คือ ผู้ประกันตน ค่าใช้จ่าย
ที่ได้รับคือ เจ็บป่วยหรือประสบอันตราย, ทุพพลภาพ, เสียชีวิต เก็บจากนายจ้าง จ่ายเป็นครั้งๆไป จัดการโดยสำนักงาน
กองทุนทดแทนแรงงาน
↬ การประกันอุบัติภัยจากการใช้รถ (Traffic Accident Protection Scheme :TAPS) เป็นประกันสุขภาพแบบ
บังคับ เป็นหลักประกันด้านการรักษาพยาบาลแก่ผู้ประสบภัยจากรถ ครอบคลุมรถทุกคันที่จดทะเบียนกับกรมการขนส่ง
โดยจ่ายให้กับผู้ประสบภัยจากรถ โดยค่ารักษาพยาบาลในวงเงินไม่เกิน 50,000 บาทและค่าเสียหายกรณีเสียชีวิต
เจ้าของรถเป็นผู้จ่ายค่าเบี้ยประกัน เมื่อเกิดเหตจะจ่ายค่าบริการสูงสุด จัดการโดย สำนักงานกองทุนทดแทน
ผู้ประสบภัยจากรถ, บริษัทประกันภัย
↬ ประกันสุขภาพเอกชน (Private insurance)
เป็นประกันสุขภาพแบบสมัครใจ ผู้ที่ได้รับ
ประโยชน์และจ่ายค่าเบี้ยประกันคือ ผู้ประกันตน
โดยประโยชน์ที่ได้รับขึ้นอยู่กับบริษัทประกัน
กำหนด การจ่ายเงินส่วนใหญ่จะจ่ายตามจริง
จัดการโดยบริษัทประกัน
สุขภาพและระบบประกันสุขภาพ (Health &healthcare system) by pitsanu duangkartok

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

ภาพรวมเรื่องการให้รหัส icd10 ในสถานบริการ Medical Record & Coding Review
ภาพรวมเรื่องการให้รหัส icd10 ในสถานบริการ Medical Record & Coding Reviewภาพรวมเรื่องการให้รหัส icd10 ในสถานบริการ Medical Record & Coding Review
ภาพรวมเรื่องการให้รหัส icd10 ในสถานบริการ Medical Record & Coding ReviewSakarin Habusaya
 
พฤติกรรมสุขภาพ
พฤติกรรมสุขภาพพฤติกรรมสุขภาพ
พฤติกรรมสุขภาพFon Pimnapa
 
ระบบบริการสุขภาพภาครัฐ
ระบบบริการสุขภาพภาครัฐระบบบริการสุขภาพภาครัฐ
ระบบบริการสุขภาพภาครัฐWC Triumph
 
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทยการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทยsoftganz
 
ปฏิบัติการปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ สู่ความเป็นธรรมทางสุขภาพ - Social Determinan...
ปฏิบัติการปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ สู่ความเป็นธรรมทางสุขภาพ - Social Determinan...ปฏิบัติการปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ สู่ความเป็นธรรมทางสุขภาพ - Social Determinan...
ปฏิบัติการปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ สู่ความเป็นธรรมทางสุขภาพ - Social Determinan...JuSNet (Just Society Network)
 
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ Utai Sukviwatsirikul
 
อบรมสอ.อสมป่าบอน
อบรมสอ.อสมป่าบอนอบรมสอ.อสมป่าบอน
อบรมสอ.อสมป่าบอนBallista Pg
 
งานส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคช่องปาก
งานส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคช่องปากงานส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคช่องปาก
งานส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคช่องปากtechno UCH
 
4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy
4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy
4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copyWatcharin Chongkonsatit
 
การดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัย
การดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัยการดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัย
การดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัยBallista Pg
 
ทันตสุขภาพผู้สูงอายุ
ทันตสุขภาพผู้สูงอายุทันตสุขภาพผู้สูงอายุ
ทันตสุขภาพผู้สูงอายุBallista Pg
 
Hospital Information System (HIS) (March 13, 2018)
Hospital Information System (HIS) (March 13, 2018)Hospital Information System (HIS) (March 13, 2018)
Hospital Information System (HIS) (March 13, 2018)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน  มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน Dbeat Dong
 
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุสมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตUtai Sukviwatsirikul
 
โรงเรียนผู้สูงอายุ
โรงเรียนผู้สูงอายุโรงเรียนผู้สูงอายุ
โรงเรียนผู้สูงอายุgel2onimal
 

Mais procurados (20)

ภาพรวมเรื่องการให้รหัส icd10 ในสถานบริการ Medical Record & Coding Review
ภาพรวมเรื่องการให้รหัส icd10 ในสถานบริการ Medical Record & Coding Reviewภาพรวมเรื่องการให้รหัส icd10 ในสถานบริการ Medical Record & Coding Review
ภาพรวมเรื่องการให้รหัส icd10 ในสถานบริการ Medical Record & Coding Review
 
พฤติกรรมสุขภาพ
พฤติกรรมสุขภาพพฤติกรรมสุขภาพ
พฤติกรรมสุขภาพ
 
Structure of Health Systems
Structure of Health Systems Structure of Health Systems
Structure of Health Systems
 
ระบบบริการสุขภาพภาครัฐ
ระบบบริการสุขภาพภาครัฐระบบบริการสุขภาพภาครัฐ
ระบบบริการสุขภาพภาครัฐ
 
3 dynamic of behavioural management
3 dynamic of behavioural management3 dynamic of behavioural management
3 dynamic of behavioural management
 
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทยการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
 
ปฏิบัติการปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ สู่ความเป็นธรรมทางสุขภาพ - Social Determinan...
ปฏิบัติการปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ สู่ความเป็นธรรมทางสุขภาพ - Social Determinan...ปฏิบัติการปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ สู่ความเป็นธรรมทางสุขภาพ - Social Determinan...
ปฏิบัติการปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ สู่ความเป็นธรรมทางสุขภาพ - Social Determinan...
 
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
 
อบรมสอ.อสมป่าบอน
อบรมสอ.อสมป่าบอนอบรมสอ.อสมป่าบอน
อบรมสอ.อสมป่าบอน
 
งานส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคช่องปาก
งานส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคช่องปากงานส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคช่องปาก
งานส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคช่องปาก
 
4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy
4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy
4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy
 
Hospital Informatics (November 26, 2021)
Hospital Informatics (November 26, 2021)Hospital Informatics (November 26, 2021)
Hospital Informatics (November 26, 2021)
 
การดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัย
การดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัยการดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัย
การดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัย
 
ทันตสุขภาพผู้สูงอายุ
ทันตสุขภาพผู้สูงอายุทันตสุขภาพผู้สูงอายุ
ทันตสุขภาพผู้สูงอายุ
 
Hospital Information System (HIS) (March 13, 2018)
Hospital Information System (HIS) (March 13, 2018)Hospital Information System (HIS) (March 13, 2018)
Hospital Information System (HIS) (March 13, 2018)
 
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน  มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
 
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุสมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
 
การพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน
การพัฒนาระบบสุขภาพชุมชนการพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน
การพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
โรงเรียนผู้สูงอายุ
โรงเรียนผู้สูงอายุโรงเรียนผู้สูงอายุ
โรงเรียนผู้สูงอายุ
 

Semelhante a สุขภาพและระบบประกันสุขภาพ (Health &healthcare system) by pitsanu duangkartok

ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพ
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพ
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพweeraboon wisartsakul
 
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัยระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัยChuchai Sornchumni
 
TAEM10:Avoiding_prosecution
TAEM10:Avoiding_prosecutionTAEM10:Avoiding_prosecution
TAEM10:Avoiding_prosecutiontaem
 
สรุปการประชุุมกลุ่มที่ 4
สรุปการประชุุมกลุ่มที่ 4สรุปการประชุุมกลุ่มที่ 4
สรุปการประชุุมกลุ่มที่ 4thaitrl
 
บทสรุปผู้บริหาร
บทสรุปผู้บริหารบทสรุปผู้บริหาร
บทสรุปผู้บริหารthaitrl
 
ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 1/2
ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 1/2ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 1/2
ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 1/2patientrightsth
 
นักจัดการสาธารณสุขศตวรรษที่ 21 พิษณุโลก
นักจัดการสาธารณสุขศตวรรษที่ 21 พิษณุโลกนักจัดการสาธารณสุขศตวรรษที่ 21 พิษณุโลก
นักจัดการสาธารณสุขศตวรรษที่ 21 พิษณุโลกChuchai Sornchumni
 
จักราวุธ คำทวี อบรม กศน.ตำบล รุ่น ๑ ปี ๕๔ สิทธิประโยชน์ประกันสังคม
จักราวุธ คำทวี อบรม กศน.ตำบล รุ่น ๑ ปี ๕๔ สิทธิประโยชน์ประกันสังคมจักราวุธ คำทวี อบรม กศน.ตำบล รุ่น ๑ ปี ๕๔ สิทธิประโยชน์ประกันสังคม
จักราวุธ คำทวี อบรม กศน.ตำบล รุ่น ๑ ปี ๕๔ สิทธิประโยชน์ประกันสังคมนายจักราวุธ คำทวี
 
สรุปการประชุุมกลุ่มที่ 3
สรุปการประชุุมกลุ่มที่ 3สรุปการประชุุมกลุ่มที่ 3
สรุปการประชุุมกลุ่มที่ 3thaitrl
 
สรุปการประชุมกลุ่มที่ 1
สรุปการประชุมกลุ่มที่ 1สรุปการประชุมกลุ่มที่ 1
สรุปการประชุมกลุ่มที่ 1thaitrl
 
การประกันชีวิต นางสาว ณัฏฐณิชา หุนสนธิ ม.61
การประกันชีวิต นางสาว ณัฏฐณิชา หุนสนธิ ม.61การประกันชีวิต นางสาว ณัฏฐณิชา หุนสนธิ ม.61
การประกันชีวิต นางสาว ณัฏฐณิชา หุนสนธิ ม.61Manow Butnow
 
พระปกเกล้า20170527
พระปกเกล้า20170527พระปกเกล้า20170527
พระปกเกล้า20170527Chuchai Sornchumni
 
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์Apichat kon
 
พฤติกรรมการดูแลสุขภาพ
พฤติกรรมการดูแลสุขภาพพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ
พฤติกรรมการดูแลสุขภาพssuserb84afe
 
ผลการประชาพิจารณ์
ผลการประชาพิจารณ์ผลการประชาพิจารณ์
ผลการประชาพิจารณ์thaitrl
 

Semelhante a สุขภาพและระบบประกันสุขภาพ (Health &healthcare system) by pitsanu duangkartok (20)

ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพ
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพ
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพ
 
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัยระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
 
TAEM10:Avoiding_prosecution
TAEM10:Avoiding_prosecutionTAEM10:Avoiding_prosecution
TAEM10:Avoiding_prosecution
 
สรุปการประชุุมกลุ่มที่ 4
สรุปการประชุุมกลุ่มที่ 4สรุปการประชุุมกลุ่มที่ 4
สรุปการประชุุมกลุ่มที่ 4
 
บทสรุปผู้บริหาร
บทสรุปผู้บริหารบทสรุปผู้บริหาร
บทสรุปผู้บริหาร
 
Primary Health Care System_Padkao T
Primary Health Care System_Padkao TPrimary Health Care System_Padkao T
Primary Health Care System_Padkao T
 
ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 1/2
ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 1/2ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 1/2
ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 1/2
 
นักจัดการสาธารณสุขศตวรรษที่ 21 พิษณุโลก
นักจัดการสาธารณสุขศตวรรษที่ 21 พิษณุโลกนักจัดการสาธารณสุขศตวรรษที่ 21 พิษณุโลก
นักจัดการสาธารณสุขศตวรรษที่ 21 พิษณุโลก
 
Sha update
Sha updateSha update
Sha update
 
จักราวุธ คำทวี อบรม กศน.ตำบล รุ่น ๑ ปี ๕๔ สิทธิประโยชน์ประกันสังคม
จักราวุธ คำทวี อบรม กศน.ตำบล รุ่น ๑ ปี ๕๔ สิทธิประโยชน์ประกันสังคมจักราวุธ คำทวี อบรม กศน.ตำบล รุ่น ๑ ปี ๕๔ สิทธิประโยชน์ประกันสังคม
จักราวุธ คำทวี อบรม กศน.ตำบล รุ่น ๑ ปี ๕๔ สิทธิประโยชน์ประกันสังคม
 
สรุปการประชุุมกลุ่มที่ 3
สรุปการประชุุมกลุ่มที่ 3สรุปการประชุุมกลุ่มที่ 3
สรุปการประชุุมกลุ่มที่ 3
 
Ethics in Emergency Medicine
Ethics in Emergency MedicineEthics in Emergency Medicine
Ethics in Emergency Medicine
 
สรุปการประชุมกลุ่มที่ 1
สรุปการประชุมกลุ่มที่ 1สรุปการประชุมกลุ่มที่ 1
สรุปการประชุมกลุ่มที่ 1
 
การประกันชีวิต นางสาว ณัฏฐณิชา หุนสนธิ ม.61
การประกันชีวิต นางสาว ณัฏฐณิชา หุนสนธิ ม.61การประกันชีวิต นางสาว ณัฏฐณิชา หุนสนธิ ม.61
การประกันชีวิต นางสาว ณัฏฐณิชา หุนสนธิ ม.61
 
District health system
District health systemDistrict health system
District health system
 
พระปกเกล้า20170527
พระปกเกล้า20170527พระปกเกล้า20170527
พระปกเกล้า20170527
 
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
 
พฤติกรรมการดูแลสุขภาพ
พฤติกรรมการดูแลสุขภาพพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ
พฤติกรรมการดูแลสุขภาพ
 
ความเป็นมาพรบ.คุ้มครองผู้เสียหายฯ
ความเป็นมาพรบ.คุ้มครองผู้เสียหายฯความเป็นมาพรบ.คุ้มครองผู้เสียหายฯ
ความเป็นมาพรบ.คุ้มครองผู้เสียหายฯ
 
ผลการประชาพิจารณ์
ผลการประชาพิจารณ์ผลการประชาพิจารณ์
ผลการประชาพิจารณ์
 

Mais de pitsanu duangkartok

cancer therapy by pitsanu_duangkartok ...
cancer therapy by pitsanu_duangkartok ...cancer therapy by pitsanu_duangkartok ...
cancer therapy by pitsanu_duangkartok ...pitsanu duangkartok
 
บทนำเกี่ยวกับโรคมะเร็ง (Cancer introduction).pdf
บทนำเกี่ยวกับโรคมะเร็ง (Cancer introduction).pdfบทนำเกี่ยวกับโรคมะเร็ง (Cancer introduction).pdf
บทนำเกี่ยวกับโรคมะเร็ง (Cancer introduction).pdfpitsanu duangkartok
 
การลดลงของ MHC Class I ในมะเร็ง ตอนที่ 2.pdf
การลดลงของ MHC Class I ในมะเร็ง ตอนที่ 2.pdfการลดลงของ MHC Class I ในมะเร็ง ตอนที่ 2.pdf
การลดลงของ MHC Class I ในมะเร็ง ตอนที่ 2.pdfpitsanu duangkartok
 
MHC Class I Downregulation in Cancer Part 1
MHC Class I Downregulation in Cancer Part 1MHC Class I Downregulation in Cancer Part 1
MHC Class I Downregulation in Cancer Part 1pitsanu duangkartok
 
Melatonin a New Way to Reduce Self-Harm.pdf
Melatonin a New Way to Reduce Self-Harm.pdfMelatonin a New Way to Reduce Self-Harm.pdf
Melatonin a New Way to Reduce Self-Harm.pdfpitsanu duangkartok
 
Carbohydrates และ Glycobiology.pdf
Carbohydrates และ Glycobiology.pdfCarbohydrates และ Glycobiology.pdf
Carbohydrates และ Glycobiology.pdfpitsanu duangkartok
 
โครงสร้างและคุณสมบัติของคาร์โบไฮเดรตและไขมัน.pdf
โครงสร้างและคุณสมบัติของคาร์โบไฮเดรตและไขมัน.pdfโครงสร้างและคุณสมบัติของคาร์โบไฮเดรตและไขมัน.pdf
โครงสร้างและคุณสมบัติของคาร์โบไฮเดรตและไขมัน.pdfpitsanu duangkartok
 
มลพิษทางน้ำ (Water pollution).pdf
มลพิษทางน้ำ (Water pollution).pdfมลพิษทางน้ำ (Water pollution).pdf
มลพิษทางน้ำ (Water pollution).pdfpitsanu duangkartok
 
อาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdf
อาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdfอาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdf
อาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdfpitsanu duangkartok
 
Cellular Pathology พิษณุ ดวงกระโทก.pdf
Cellular Pathology พิษณุ ดวงกระโทก.pdfCellular Pathology พิษณุ ดวงกระโทก.pdf
Cellular Pathology พิษณุ ดวงกระโทก.pdfpitsanu duangkartok
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดpitsanu duangkartok
 
สรีรวิทยา (part 3)
สรีรวิทยา (part 3)สรีรวิทยา (part 3)
สรีรวิทยา (part 3)pitsanu duangkartok
 

Mais de pitsanu duangkartok (20)

cancer therapy by pitsanu_duangkartok ...
cancer therapy by pitsanu_duangkartok ...cancer therapy by pitsanu_duangkartok ...
cancer therapy by pitsanu_duangkartok ...
 
บทนำเกี่ยวกับโรคมะเร็ง (Cancer introduction).pdf
บทนำเกี่ยวกับโรคมะเร็ง (Cancer introduction).pdfบทนำเกี่ยวกับโรคมะเร็ง (Cancer introduction).pdf
บทนำเกี่ยวกับโรคมะเร็ง (Cancer introduction).pdf
 
steroid.pdf
steroid.pdfsteroid.pdf
steroid.pdf
 
Hormone exercise
Hormone exerciseHormone exercise
Hormone exercise
 
การลดลงของ MHC Class I ในมะเร็ง ตอนที่ 2.pdf
การลดลงของ MHC Class I ในมะเร็ง ตอนที่ 2.pdfการลดลงของ MHC Class I ในมะเร็ง ตอนที่ 2.pdf
การลดลงของ MHC Class I ในมะเร็ง ตอนที่ 2.pdf
 
MHC Class I Downregulation in Cancer Part 1
MHC Class I Downregulation in Cancer Part 1MHC Class I Downregulation in Cancer Part 1
MHC Class I Downregulation in Cancer Part 1
 
Melatonin a New Way to Reduce Self-Harm.pdf
Melatonin a New Way to Reduce Self-Harm.pdfMelatonin a New Way to Reduce Self-Harm.pdf
Melatonin a New Way to Reduce Self-Harm.pdf
 
Carbohydrates และ Glycobiology.pdf
Carbohydrates และ Glycobiology.pdfCarbohydrates และ Glycobiology.pdf
Carbohydrates และ Glycobiology.pdf
 
โครงสร้างและคุณสมบัติของคาร์โบไฮเดรตและไขมัน.pdf
โครงสร้างและคุณสมบัติของคาร์โบไฮเดรตและไขมัน.pdfโครงสร้างและคุณสมบัติของคาร์โบไฮเดรตและไขมัน.pdf
โครงสร้างและคุณสมบัติของคาร์โบไฮเดรตและไขมัน.pdf
 
มลพิษทางน้ำ (Water pollution).pdf
มลพิษทางน้ำ (Water pollution).pdfมลพิษทางน้ำ (Water pollution).pdf
มลพิษทางน้ำ (Water pollution).pdf
 
อาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdf
อาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdfอาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdf
อาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdf
 
Pharmaceutical Suspensions.pptx
Pharmaceutical Suspensions.pptxPharmaceutical Suspensions.pptx
Pharmaceutical Suspensions.pptx
 
Metabolism and Energy.pdf
Metabolism and Energy.pdfMetabolism and Energy.pdf
Metabolism and Energy.pdf
 
Ecosystem part 2
Ecosystem part 2Ecosystem part 2
Ecosystem part 2
 
ecosystem
ecosystemecosystem
ecosystem
 
Photosynthesis
PhotosynthesisPhotosynthesis
Photosynthesis
 
Cellular Pathology พิษณุ ดวงกระโทก.pdf
Cellular Pathology พิษณุ ดวงกระโทก.pdfCellular Pathology พิษณุ ดวงกระโทก.pdf
Cellular Pathology พิษณุ ดวงกระโทก.pdf
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
 
Common Chemotherapy Drugs.pdf
Common Chemotherapy Drugs.pdfCommon Chemotherapy Drugs.pdf
Common Chemotherapy Drugs.pdf
 
สรีรวิทยา (part 3)
สรีรวิทยา (part 3)สรีรวิทยา (part 3)
สรีรวิทยา (part 3)
 

สุขภาพและระบบประกันสุขภาพ (Health &healthcare system) by pitsanu duangkartok

  • 2. สุขภาพและระบบประกันสุขภาพ (Health & Healthcare system) องค์การอนามัยโลกนิยามความหมายของ “สุขภาพ” ไว้ว่า “สภาวะแห่งความสมบูรณ์ทางร่างกาย จิตใจ และสุขภาวะ ทางสังคม ไม่ใช่เพียงการปราศจากโรคภัยไข้เจ็บเท่านั้น” (WHO 2001, p.1) สุขภาพในบริบทของสังคมไทย มี 4 มิติหลัก ได้แก่ กายคือการไม่เจ็บป่วย มีปัจจัย 4 เพียงพอ สามารถเข้าบริการและได้รับ การดูแลที่ดี จิตคือการมีจิตใจที่มีความสุข ไม่เครียด สังคมคือการอยู่สภาพแวดล้อมมที่ดี ได้รับการบริการจากภาครัฐอย่างเท่า เทียมและปัญญา โดยการมีสุขภาวะทางปัญญา คือการรู้เท่าทันและแยกแยะความดีความชั่ว ความมีประโยชน์ ความมีโทษได้ ซึ่งนำไปสู่ความมีจิตอันดีงามและเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ เป้าหมายของระบบสุขภาพ (WHO) คือการให้ทุกคนเข้าถึงการบริการทางสุขภาพ ครอบคลุมทุกคน มีคุณณภาพและมี ความปลอดภัย ภารกิจหลักด้านสุขภาพ ประกอบด้วย 1. รักษา เป็นบทบาทของแพทย์และเภสัชกรในเรื่องยา 2. ส่งเสริม เป็นการ ส่งเสริมสุขภาพที่ดี เช่น พยาบาล 3. ป้องกัน เป็นการป้องกันการป่วย ได้แก่ กำจัดยุงลาย 4. ฟื้นฟู เป็นการฟื้นฟูร่างกายให้ กลับมาปกติ เช่น นักกายภาพบำบัด แพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู 5. การคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ เป็นการคุ้มครองผู้บริโภคจาก การบริโภคผลิตภัณฑ์ทางสุขภาพ ระบบบริการสุขภาพ แบ่งเป็น ↬ Self Care Level คือ การดูแลสุขภาพด้วยตนเอง เช่น การเลือดกำเดาไหลก็สามารถรักษาได้ด้วยตนเอง ↬ Primary Health of Care Level การสาธารณสุขมูลฐาน ดําเนินการด้านสุขภาพโดย อสม. (อาสาสมัครสาธารณสุข มูลฐาน) โดยการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การรักษาพยาบาล และการฟื้นฟู เช่น ศูนย์สาธารณสุขมูลฐาน ชุมชน (ศสมช.) ↬ Primary Care Level เป็นบริการแบบองค์รวม (holistic approach) โดยบุคลากรทางการแพทย์ เช่น ศูนย์ สุขภาพชุมชนเมือง (ศสม.), โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) มีพยาบาลและเจ้าหน้าที่สาธารณสุขดูแล, สถานบริการสาธารณสุขชุมชน (สสช.) ↬ Secondary Care Level เป็นบริการโดยแพทย์ที่มีความเชี่ยวชาญสูงปานกลาง มีเภสัชกรทำงานรวมอยู่ด้วย เป็น การจัดบริการในระดับโรงพยาบาล เช่น โรงพยาบาลชุมชน (รพช.) ได้แก่ โรงพยาบาลสันกำแพง ↬ Tertiary Care level ใช้บุคลากรทางการแพทย์ที่เชี่ยวชาญ ใช้เทคโนโลยีทางการแพทย์ขั้นสูง มีแพทย์เฉพาะทาง เช่น โรงพยาบาลทั่วไป (รพท.) คือโรงพยาบาลประจำจังหวัดส่วนใหญ่, โรงพยาบาลศูนย์ (รพศ.) เช่นโรงพยาบาล เชียงรายประชานุเคราะห์, สถาบันเฉพาะทาง เช่น สถาบันมะเร็งแห่งชาติ, โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย เช่นโรงพยาบาล มหาราชนครเชียงใหม่ *ใช้จำนวนเตียงที่รองรับได้ในการ แบ่งประเภท
  • 3. สถานพยาบาลสุขภาพเอกชน เช่น โรงพยาบาลกรุงเทพ โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ โรงพยาบาลเทพปัญญา ระบบประกันสุขภาพ (Healthcare system) การประกัน คือการเปลี่ยนความไม่แน่นอนให้เป็นความแน่นอน ในระดับบุคคลจะเกิดความไม่แน่นอน (Uncertainty) ทางการแพทย์ ได้แก่ ↬ การได้รับโรค (contacting diseases) ↬ ความรุนแรงของการเจ็บป่วย (severity of illness) ↬ ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล (medical expenditure) -> ส่งผลต่อสถานะทางการเงินของครอบครัว ในระดับสังคมจะเกิดความไม่เป็นธรรม (Inequity) ↬ การจ่ายเงิน (financial contribution) ↬ การเข้าถึงและการใช้บริการ (access & utilization) ↬ ค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ (expenditure) ประเภทของการประกันสุขภาพ ↬ การสร้างหลักประกันโดยระบบภาษี (Tax-based health system: Beveridge Model) ข้อดีคือ มีค่าบริหาร จัดการต่ำ มีความเป็นธรรมเพราะเก็บตามรายได้ ข้อเสียคือ มีความไม่แน่นอน ถูกการเมืองแทรกแซงได้ง่าย การขาด ประสิทธิภาพของระบบราชการ ↬ การประกันสุขภาพแบบบังคับ (Compulsory health insurance: Bismarck Model) ข้อดีคือ มีความแน่นอน ของเงิน เงินไหลไปสู่การประกันสุขภาพเห็นอย่างชัดเจน ตอบสนองต่อความต้องการของประชาชน ช่วยให้ผู้จ่ายเบี้ย ประกัน ตระหนักในสิทธิของตน ได้ตามความจำเป็น จ่ายตามความสามารถ ข้อเสียคือ ค่าบริหารจัดการสูง มีปัญหาการ ควบคุมรายจ่าย ในสังคมผู้สูงอายุจะทำให้ภาระการจ่ายเงินของคนทำงานเพิ่มขึ้น ถ้าประชาชนส่วนใหญ่ทำงานนอกระบบ จะมีปัญหาในการบริหารจัดการ ↬ การประกันสุขภาพแบบสมัครใจ (Voluntary health insurance) ข้อดีคือ ประชาชนมีอิสระในการตัดสินใจ เป็น แหล่งเงินเพิ่มเติมมาจากการประกันภาคบังคับ ช่วยให้ผู้จ่ายเบี้ยประกันตระหนักในสิทธิของตน สถานพยาบาลต้องเพิ่ม คุณภาพบริการ เพื่อจูงใจประชาชน ข้อเสียคือ เป็นแหล่งการเงินที่ไม่มั่นคง ผู้เอาประกันมักจะเป็นผู้ป่วย (adverse selection) ผู้เอาประกันใช้บริการมากเกินจำเป็น (moral hazard) ผู้รับประกันเลือกเฉพาะผู้เอาประกันที่มีความเสี่ยงน้อย อัตราการจายเบี้ยประกันไม่สัมพันธ์กับรายได้ หลักประกันด้านสุขภาพของคนไทย ↬ ระบบหลัก ↬ ระบบเสริม ➻ ระบบข้าราชการ ➻ กองทุนทดแทนแรงงาน ➻ พนักงานรัฐวิสาหกิจ ➻ การประกันอุบัติภัยจากการใช้รถ ➻ โครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า (30 บาท) ➻ ประกันสุขภาพเอกชน ➻ ระบบประกันสังคม
  • 4. โครงสร้างระบบประกันสุขภาพ ประกอบด้วย ↬ หลักการและแนวคิด (Concept) ↬ ความครอบคลุม (Coverage) ↬ ผู้รับสิทธิประโยชน์ (Benefitiary) ↬ ชุดสิทธิประโยชน์ (Benefit packages) ↬ แหล่งทุน (Source of funding) ↬ ระบบการจ่ายเงิน (Financing system) ↬ การควบคุมคุณภาพมาตรฐานบริการ (Quality control) รูปแบบการประกันสุขภาพไทย การเหมาจ่ายรายหัว (Capitation) คือผู้ถือบัตรทองจะไปพบแพทย์ที่โรงพยาบาลกี่ครั้งโรงพยาบาลก็จะได้เงินเท่าเดิม ↬ โครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า (Universal Healthcare Coverage : UC) ค่าใช้จ่ายมาจากการเก็บภาษี จุดประสงค์เพื่อความยุติธรรม มีประสิทธิภาพ หลากหลาย ป้องกันและส่งเสริมสุขภาพ ในประเทศไทยมีอยู่ประมาณ 47 ล้านคน โดยทุกคนได้รับสิทธิ โดยจ่ายเป็นรายหัว, Disease Related Group หรือ DRG เป็นการเหมาจ่ายตามกลุ่ม โรคด้วยราคากลาง ทำให้ผลักความเสี่ยงในการบริหารเงินทั้งหมดไปให้โรงพยาบาล ควบคุมโดยกลไกของรัฐบาล ↬ สวัสดิการข้าราชการ (Civil Servant Medic al Benefit Scheme : CSMBS) เป็นเงินสวัสดิการจากหน่วยงานมา จากภาษี ในประเทศไทยมีอยู่ประมาณ 7-8 ล้านคน ผู้ที่ได้รับประโยชน์คือ ข้าราชการ บิดา-มารดา คู่สมรส บุตร สิ่งที่ ได้รับคือ ค่ารักษาพยาบาล, ค่ายาและเวชภัณฑ์, ค่าห้องและค่าอาหาร, ค่าตรวจร่างกายประจำปี โดยเบิกจ่ายจาก กรมบัญชีกลางเป็นครั้งๆไป จัดการโดยสำนักงานตรวจเงินแผ่นดิน (สตง.) และ พระราชบัญญัติส่งเสริมการจัด สวัสดิการสังคม ↬ สวัสดิการพนักงานรัฐวิสาหกิจ เป็นเงินสวัสดิการจากหน่วยงานมาจากผลประกอบการ ผู้ที่ได้รับประโยชน์คือ พนักงานรัฐวิสาหกิจ ได้รับสวัสดิการมากกว่าพนักงานข้าราชการ โดยเบิกจ่ายจากเป็นครั้งๆไป จัดการโดยหน่วยงาน รัฐวิสาหกิจ ↬ ประกันสังคม (Social Security Scheme;SSS) เป็นประกันสุขภาพแบบบังคับให้กับผู้ประกันตน ซึ่งแหล่งเงินมาจาก รัฐ นายจ้าง และลูกจ้างในประเทศไทยมีอยู่ประมาณ 8 ล้านคน ผู้ที่ได้รับประโยชน์คือ ผู้ประกันตน ค่าใช้จ่ายที่ได้รับคือ เจ็บป่วยหรือประสบอันตราย, คลอดบุตร, ทุพพลภาพ, เสียชีวิต, สงเคราะห์บุตร, ชราภาพ, ว่างงาน โดยจ่ายเป็นรายหัว จัดการโดยสำนักงานประกันสังคม ↬ กองทุนเงินทดแทน (workmen’s compensation) เป็นประกันสุขภาพแบบบังคับ เป็นกองทุนค่ารักษาพยาบาลแก่ ลูกจ้างแทนนายจ้างกรณีเจ็บป่วยจากการทำงาน มีอยู่ประมาณ 8 ล้านคน ผู้ที่ได้รับประโยชน์คือ ผู้ประกันตน ค่าใช้จ่าย ที่ได้รับคือ เจ็บป่วยหรือประสบอันตราย, ทุพพลภาพ, เสียชีวิต เก็บจากนายจ้าง จ่ายเป็นครั้งๆไป จัดการโดยสำนักงาน กองทุนทดแทนแรงงาน ↬ การประกันอุบัติภัยจากการใช้รถ (Traffic Accident Protection Scheme :TAPS) เป็นประกันสุขภาพแบบ บังคับ เป็นหลักประกันด้านการรักษาพยาบาลแก่ผู้ประสบภัยจากรถ ครอบคลุมรถทุกคันที่จดทะเบียนกับกรมการขนส่ง โดยจ่ายให้กับผู้ประสบภัยจากรถ โดยค่ารักษาพยาบาลในวงเงินไม่เกิน 50,000 บาทและค่าเสียหายกรณีเสียชีวิต เจ้าของรถเป็นผู้จ่ายค่าเบี้ยประกัน เมื่อเกิดเหตจะจ่ายค่าบริการสูงสุด จัดการโดย สำนักงานกองทุนทดแทน ผู้ประสบภัยจากรถ, บริษัทประกันภัย ↬ ประกันสุขภาพเอกชน (Private insurance) เป็นประกันสุขภาพแบบสมัครใจ ผู้ที่ได้รับ ประโยชน์และจ่ายค่าเบี้ยประกันคือ ผู้ประกันตน โดยประโยชน์ที่ได้รับขึ้นอยู่กับบริษัทประกัน กำหนด การจ่ายเงินส่วนใหญ่จะจ่ายตามจริง จัดการโดยบริษัทประกัน