SlideShare a Scribd company logo
1 of 34
Download to read offline
แ ผ น พั ฒ น า ก า ร วิ จั ย ป ร ะ จํา ป ง บ ป ร ะ ม า ณ ๒ ๕ ๕ ๕ – ๒ ๕ ๕ ๙
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ๑ |
ห น า
แผนพัฒนาการวิจัย
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย
ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙
**********************************
๑.๑ ประวัติและความเปนมาของวิทยาลัยสงฆเลย
พระเดชพระคุณพระสุนทรปริยัติเมธี (พระมหาพรหมา จนฺทโสภโณ)๑
เจาคณะจังหวัดเลย ได
ปรารภที่จะดําเนินการพัฒนาขยายโอกาสทางการศึกษาระดับอุดมศึกษาสําหรับคณะสงฆจังหวัดเลย โดยมี
ความประสงคที่จะใหภิกษุและสามเณรทั้งในเขตจังหวัดเลย จังหวัดใกลเคียง และมาจากจังหวัดอื่นไดศึกษา
เลาเรียนวิชาการชั้นสูง โดยเนนใหศึกษาเขาใจวิชาการดานพระพุทธศาสนาและศาสตรแขนงอื่นๆ ที่จัด
การศึกษาในระดับอุดมศึกษา ที่นอกเหนือจากการศึกษาพระปริยัติธรรมแผนกธรรม-บาลี ที่จัดการศึกษาอยู
แลวใหกวางขวางยิ่งขึ้น
เมื่อคราวประชุมเมื่อวันที่ ๕ สิงหาคม ๒๕๓๗ สภาสงฆจังหวัดโดยมีพระเดชพระคุณพระสุนทรปริยัติ
เมธี เจาคณะจังหวัดเลย เปนองคประธาน มีมติเห็นชอบใหดําเนินการขออนุมัติจากวิทยาเขตขอนแกน เพื่อ
ขยายหองเรียน หลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน วิชาเอกการสอนภาษาไทย
โดยใหมีการจัดการศึกษาขึ้นที่วัดศรีวิชัยวนาราม อําเภอเมือง จังหวัดเลย การบริหารงานภายใตสังกัดวิทยาเขต
ขอนแกน
เมื่อวันที่ ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๓๘ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย มีมติใหสภาสงฆจังหวัด
เลยจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาได และใหนิสิตรุนแรกจํานวน ๓๘ รูป เดินทางไปเรียนที่คณะครุศาสตร
วิทยาเขตขอนแกน
เมื่อวันที่ ๒๒ กุมภาพันธ ๒๕๓๙ สภามหาวิทยาลัยมีมติอนุมัติใหวิทยาเขตขอนแกนจัดตั้งศูนย
การศึกษาขึ้นที่วัดศรีวิชัยวนาราม ตําบลกุดปอง อําเภอเมือง จังหวัดเลย โดยมีพระเดชพระคุณพระสุนทร
ปริยัติเมธี (สมณศักดิ์ในขณะนั้น) เปนผูชวยอธิการบดีประจําศูนยการศึกษามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช
วิทยาลัยจังหวัดเลยเปนรูปแรก
เมื่อวันที่ ๒๗ สิงหาคม ๒๕๔๑ สภามหาวิทยาลัยมีมติใหยกฐานะศูนยการศึกษามหาวิทยาลัยมหาจุฬา
ลงกรณราชวิทยาลัยจังหวัดเลยขึ้นเปน “วิทยาลัยสงฆเลย”
แ ผ น พั ฒ น า ก า ร วิ จั ย ป ร ะ จํา ป ง บ ป ร ะ ม า ณ ๒ ๕ ๕ ๕ – ๒ ๕ ๕ ๙
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ๒ |
ห น า
การกอสรางวิทยาลัยสงฆเลยแหงใหม (จากศรีวิชัยสูศรีสองรัก)
เมื่อป พ.ศ. ๒๕๔๘ พระมหาจักรพรรณ มหาวีโร รองผูอํานวยการวิทยาลัยสงฆเลย พรอมดวยคณะ
ผูบริหารในขณะนั้น ไดดําเนินการจัดหาพื้นที่ที่เหมาะสมเพื่อจัดสรางวิทยาลัยสงฆเลยแหงใหมเพื่อตอบสนอง
ความตองการการขยายตัวของนิสิต/นักศึกษาของวิทยาลัยสงฆเลยซึ่งนับวันจะเพิ่มมากขึ้น โดยคณะผูบริหารได
ดําเนินการติดตอประสานงานขอใชที่ดินบริเวณปาโคกใหญ (โซน-อี) หมูที่ ๕ ตําบลศรีสองรัก อําเภอเมือง
จังหวัดเลย ตอสํานักงานสํานักงานปฏิรูปที่ดิน (สปก.-๔๐๑) จังหวัดเลย
เมื่อวันที่ ๒๘ มีนาคม ๒๕๔๙ ที่ประชุมคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินจังหวัดเลย โดยมีผูวาราชการจังหวัด
เลยเปนประธาน ไดมีมติเห็นชอบใหวิทยาลัยสงฆเลยใชพื้นที่ดินเขตปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ซึ่งตั้งอยูหมูที่
๕ ตําบลศรีสองรัก อําเภอเมือง จังหวัดเลย โดยมีเนื้อที่ ๕๐ ไร ๓ งาน ๗๖ ตารางวา ระยะหางจาก กม.ศูนย
๑๓ กิโลเมตร โดยมีนายธงชัย สิงอุดม หัวหนาฝายบริหารงานทั่วไป เปนผูเสนอขอใชที่ดินเพื่อกอสรางวิทยาลัย
สงฆเลยแหงใหม และสํานักงานปฏิรูปที่ดินจังหวัดเลย ไดสงหนังสือเสนอขอใชที่ดินตอสํานักงานปฏิรูปที่ดิน
เพื่อเกษตรกรรม กระทรวงเกษตรและสหกรณ
เมื่อวันที่ ๓ กันยายน ๒๕๕๑ คราวประชุมครั้งที่ ๓/๒๕๕๑ สํานักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม
กระทรวงเกษตรและสหกรณ กรุงเทพมหานคร มีมติอนุมัติใหวิทยาลัยสงฆเลยใชที่ดินเพื่อการกอสรางวิทยาลัย
สงฆเลยแหงใหม โดยมีพระมหาลิขิต รตนรํสี รองผูอํานวยการวิทยาลัยสงฆเลย และ ผศ.ดร.ประชารัชต โพธิ
ประชา เขารวมประชุมชี้แจงเหตุผลการขอใชที่ดิน
เมื่อวันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๕๑ สํานักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม กระทรวงเกษตรและสหกรณ ได
ออกหนังสืออนุญาตใหวิทยาลัยสงฆเลยใชที่ดินเพื่อกิจการสาธารณูปโภคและกิจการอื่นๆ ในเขตปฏิรูปที่ดิน ที่
๔๐๗/๒๕๕๑ ซึ่งตั้งอยูเลขที่ ๑๑๙ หมู ๕ ตําบลศรีสองรัก อําเภอเมือง จังหวัดเลย
เมื่อป ๒๕๕๒ วิทยาลัยสงฆเลยไดรับงบประมาณเพื่อกอสรางอาคารเรียนวิทยาลัยสงฆเลย ณ พื้นที่
แหงใหมนี้ ในวงเงิน ๑๙,๐๐๐,๐๐๐ บาท โดยไดรับความเมตตาอนุเคราะหจากเจาประคุณสมเด็จพระพุฒา
จารย ประธานคณะผูปฏิบัติหนาที่สมเด็จพระสังฆราช ไดประทานอนุญาตใหใชชื่ออาคารเรียนวา “อาคาร
สมเด็จพระพุฒาจารย (เกี่ยว อุปเสโณ)” การกอสรางอาคารเรียนไดเริ่มตั้งแตวันที่ ๒๔ มิถุนายน ๒๕๕๒ –
๑๙ มิถุนายน ๒๕๕๓
เมื่อวันที่ ๑๕ มิถุนายน ๒๕๕๓ วิทยาลัยสงฆเลยไดทําการยายจากวัดศรีวิชัยวนาราม มาตั้ง ณ
สํานักงานใหม เลขที่ ๑๑๙ หมู ๕ ตําบลศรีสองรัก อําเภอเมือง จังหวัดเลย เปนการถาวร โดยมีวัตถุประสงค
เพื่อขยายโอกาสทางการศึกษา เพื่อสนองนโยบายของรัฐบาลและคณะสงฆในการกระจายโอกาสทางการศึกษา
ใหทั่วถึงแกพระภิกษุสามเณรและประชาชนทั่วไปในทองถิ่น
ผูบริหารวิทยาลัยสงฆเลย อดีต-ปจจุบัน
๑. พระสุนทรปริยัติเมธี (พรหมา จนฺทโสภโณ น.ธ.เอก,ป.ธ.๕,พธ.ม. (กิตติมศักดิ์)
แ ผ น พั ฒ น า ก า ร วิ จั ย ป ร ะ จํา ป ง บ ป ร ะ ม า ณ ๒ ๕ ๕ ๕ – ๒ ๕ ๕ ๙
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ๓ |
ห น า
ศศ.ด.(กิตติมศักดิ์) ผูชวยอธิการบดีประจําศูนยการศึกษาวัดศรีวิชัยวนาราม(พ.ศ.๒๕๓๙-
๒๕๕๑)
๒. พระรัตนกวี (เสาร อภินนฺโท ป.ธ. ๗,พธ.บ.) รักษาการผูอํานวยการวิทยาลัยสงฆเลย
(พ.ศ. ๒๕๕๑-๒๕๕๒)
๓. พระสุวรรณธีราจารย (มูลตรี มหพฺพโล น.ธ.เอก,ป.ธ.๔,พธ.บ.,กศ.ม.) ผูอํานวยวิทยาลัยสงฆเลย
(๒๕๕๒-๒๕๕๐)
๔. พระมหาจักรพรรณ มหาวีโร (ป.ธ.๖,พธ.บ.,M.A.,Ph.D.) ผูอํานวยการวิทยาลัยสงฆเลย
(๒๕๕๐-๒๕๕๔)
๕. พระมหาภิรัฐกรณ อํสุมาลี (ป.ธ.๙,พธ.บ.,พธ.ม.) ผูอํานวยการวิทยาลัยสงฆเลย (๒๕๕๔ –
ปจจุบัน)
หลักสูตรปจจุบันที่วิทยาลัยสงฆเลยไดเปดดําเนินการเรียนการสอน อยู ๓ สาขาวิชา คือ
๑. สาขาวิชาการสอนภาษาไทย
๒. สาขาวิชารัฐศาสตร วิชาเอกการปกครอง
๓. สาขาวิชาพระพุทธศาสนา
โครงการหลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต ๑ สาขาวิชา คือ
๑. สาขาวิชาพระพุทธศาสนา
โครงการหลักสูตรประกาศนียบัตร มีอยู ๑ โครงการ คือ
๑. โครงการหลักสูตรประกาศนียบัตรการบริหารกิจการคณะสงฆ (ป.บส.)
แ ผ น พั ฒ น า ก า ร วิ จั ย ป ร ะ จํา ป ง บ ป ร ะ ม า ณ ๒ ๕ ๕ ๕ – ๒ ๕ ๕ ๙
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ๔ |
ห น า
โครงสรางการบริหารสวนงานวิทยาลัยสงฆเลย
พระมหาภิรัฐกรณ อํสุมาลี
ผูอํานวยการวิทยาลัยสงฆเลย
พระมหาลิขิต รตนรํสี
รองผูอํานวยการฝายวิชาการ
นายประสงค หัสรินทร
รก.ฝายบริหารงานทั่วไป
นายธงชัย สิงอุดม
รองผูอํานวยการฝายบริหาร
คณะกรรมการประจําวิทยาลัยสงฆเลย
นายประสงค หัสรินทร
หัวหนาฝายวางแผนและวิชาการ
นางสาวชรินรัตน ชัยสุข
นักวิเคราะหนโยบายและแผน
นายอุทัย ทิพวารี
นักวิชาการพัสดุ
นางมัทนาวดี แจงกระจาง
เจาหนาที่บรรณาคาร
นางสาวทัศนีย ราชูโส
เจาหนาที่บรรณาคาร
นายนพพล ทองพูน
เจาหนาที่พระสอนศีลธรรมฯ
นายทองพูน เจริญสุข
นักวิขาการศึกษา
นายเจียระไน แจงกระจาง
เจาหนาที่ธุรการ
นายตอ ผิวศิริ
พนักงานขับรถ
นางอรพิน รักแม
แมบาน
นายสัญญา ปตุโส
นักการภารโรง
นายสุรชัย อุปญญา
นักการภารโรง
นายเสด็จ พรหมพทุธา
คนสวน
นางสาวยาติมา วงศอินทร
เจาหนาที่บรรณารักษ
นางสาวภัทรวดี กินรีสี
นักวิชาการศึกษา(ทะเบียนและ
วัดผล)
นายพัทธนันท นวลนอย
นักวิชาการคอมพิวเตอร
นางสาวศิริลักษณ ชัยสิทธิ์
นักประชาสัมพันธ
นางสาวรัชนีวรรณ อาสาชนา
นักวิชาการการเงินและบัญชี
นางสาวพนิดา สํานักดี
นักวิชาการการเงินและบัญชี
พระมหาสังเวช จนฺทโสภี,ดร.
หัวหนาสาขาวิชาการสอนภาษาไทย
พระไพรเวศน จิตฺตทนฺโต
หัวหนาสาขาวิชารัฐศาสตร
พระมหาสุภวิชญ ปภสฺสโร
หัวหนาสาขาวิชา
พระมหาลิขิต รตนรํสี
อาจารยประจํา
พระมหาจินดา ถิรเมธี
อาจารยประจํา
พระสุบรรณ จนฺทสุวณโณ
อาจารยประจํา
พระครูประทีปธรรมธัช,ดร.
อาจารยประจํา
นายประสงค หัสรินทร
อาจารยประจํา
พระมหาประพันธ สิริปฺโญ
อาจารยประจํา
นายธงชัย สิงหอุดม
อาจารยประจํา
ดร.ชาลภณ วงศคง
อาจารยประจํา
นางสาวอาภรณรัตน เลิศไผรอด
อาจารยประจํา
พระมหาภิรัฐกรณ อํสุมาลี
อาจารยประจํา
ดร.บรรพต แคไธสง
อาจารยประจํา
พระครูสิทธิธรรมาภรณ
อาจารยประจํา
พระอธิการดวงแกว กิตติธโร
อาจารยประจํา
อาจารยประจําบัญฑิตวิทยาลัย
พระมหาธานินทร อาทิตวโร,ดร.
อาจารยประจํา
ดร.ปภัสสร กิมสุวรรณวงศ
อาจารยประจํา
พระปลัดบุญเพ็ง วรธมฺโม,ดร.
อาจารยประจํา
ดร.สรัญญา กุมพล
อาจารยประจํา
ผศ.ดร.จักรพรรณ วงศพรพวัณ
อาจารยประจํา
แ ผ น พั ฒ น า ก า ร วิ จั ย ป ร ะ จํา ป ง บ ป ร ะ ม า ณ ๒ ๕ ๕ ๕ – ๒ ๕ ๕ ๙
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ๕ |
ห น า
ปรัชญาของมหาวิทยาลัย
"จัดการศึกษาพระพุทธศาสนา บูรณาการกับศาสตรสมัยใหม พัฒนาจิตใจและสังคม"
ปณิธานของมหาวิทยาลัย
เปนสถานศึกษาพระไตรปฎกและวิชาชั้นสูงสําหรับพระภิกษุ สามเณรและคฤหัสถ
วิสัยทัศนของมหาวิทยาลัย
มุงพัฒนามหาวิทยาลัยเปนศูนยกลางการศึกษาพระพุทธศาสนาระดับนานาชาติ โดยจัดการศึกษา
และพัฒนาองคความรูบูรณาการกับศาสตรสมัยใหม ใหนําไปสูการพัฒนาจิตใจและสังคมอยางยั่งยืน
พันธกิจมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย มุงปฏิบัติพันธกิจสําคัญ ในฐานะสถาบันอุดมศึกษาที่มี
คุณภาพและไดมาตรฐาน โดยจัดการเรียนการสอนในลักษณะของการนําความรูดานพระพุทธศาสนาบูรณาการ
กับศาสตรสมัยใหม ใหเกิดเปนองคความรูที่นําไปสูการพัฒนาจิตใจและสังคมอยางยั่งยืน ซึ่งมีสาระสําคัญ ๕
ดาน ดังนี้
๑) มุงเนนการสรางบัณฑิตและบุคลากร ที่ผานการศึกษาอบรม เปนผูมีคุณธรรมนําความรู มีปฏิปทา
นาเลื่อมใส ใฝรู ใฝคิด เปนผูนําทางจิตใจและปญญา มีโลกทัศนกวางไกล มีความสามารถและทักษะในการ
แกปญหา มีศรัทธาอุทิศตนเพื่อพระพุทธศาสนาและพัฒนาสังคม
๒) มุงสงเสริมการศึกษา คนควาวิจัยใหกาวไปสูความเปนเลิศทางวิชาการดานพระพุทธศาสนา เพื่อ
สรางองคความรูใหมในการพัฒนามนุษย สังคมและสิ่งแวดลอม ใหอยูรวมกันไดอยางสมดุลและสันติสุข รวมทั้ง
การสรางเครือขายกับสถาบันที่มีชื่อเสียงทั้งในประเทศและตางประเทศเพื่อพัฒนาคุณภาพของนักวิจัยให
นําไปสูความเปนสากล
๓) มุงเนนการใหบริการทางวิชาการในรูปแบบที่หลากหลาย มีการบริการหรือบริหารเพื่อใหพัฒนา
พระพุทธศาสนา พัฒนาคุณภาพชีวิตและความเปนอยูของประชาชน มีความมุงมั่นในการใหการบริการวิชาการ
ดานพระพุทธศาสนาแกคณะสงฆและสังคม รวมทั้งสงเสริมการเรียนรู และความรวมมืออันดีระหวางพระ
พุทธศาสนิกชนในระดับชาติและนานาชาติ
๔) มุงสงเสริมการศึกษาผสมผสานทางวัฒนธรรมและการมีสวนรวมในประชาคมโลกดาน
พระพุทธศาสนา โดยการทะนุบํารุงและอนุรักษศิลปวัฒนธรรมของสังคมไทย เปนรากฐานของการพัฒนาอยาง
มีคุณภาพ เพื่อนําไปสูการรักษาความแตกตางทางวัฒนธรรมและคานิยมที่พึงประสงคใหเกิดขึ้นบุคคล องคกร
และสังคม
๕) ปรับปรุงโครงสรางองคกร กฎระเบียบ การบริหาร และพัฒนาบุคลากร ใหเกิดการบริหารการ
เปลี่ยนแปลง โดยยึดหลักการบริหารจัดการอยางมีประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาล
เอกลักษณมหาวิทยาลัย
แ ผ น พั ฒ น า ก า ร วิ จั ย ป ร ะ จํา ป ง บ ป ร ะ ม า ณ ๒ ๕ ๕ ๕ – ๒ ๕ ๕ ๙
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ๖ |
ห น า
บริการวิชาการดานพระพุทธศาสนา
อัตลักษณมหาวิทยาลัย
ประยุกตพระพุทธศาสนาเพื่อพัฒนาจิตใจและสังคม
อัตลักษณบัณฑิตของมหาวิทยาลัย
มีศรัทธาอุทิศตนเพื่อพระพุทธศาสนา
ประเด็นยุทธศาสตร
สงเสริมการวิจัยและพัฒนาองคความรูเพื่อเพิ่มศักยภาพการวิจัยทางพระพุทธศาสนาระดับภูมิภาค
และระดับชาติ
เปาประสงค
วิทยาลัยมีผลงานวิจัยทางพระพุทธศาสนาที่ไดรับการเผยแพร นําไปใชประโยชนและเปนที่ยอมรับใน
ระดับภูมิภาคและระดับชาติ
ตัวชี้วัด
๑. จํานวนบุคลากรสายวิชาการและสายสนับสนุนไดรับการเสริมสรางศักยภาพดานการวิจัยไมนอยกวารอย
ละ ๖๕ ของบุคลากรทั้งหมด
๒. จัดทําวารสาร สื่อสิ่งพิมพผลงานวิจัยอยางนอย ๑ หัวเรื่องที่ไดรับการบรรจุไวในบัญชีรายชื่อศูนยดัชนี
การอางอิงวารสารไทย (Thai-journal Citation Index : TCI)
๓. เผยแพรผลงานทางวิชาการและงานสรางสรรครอยละ ๕๐ ของผลงานวิจัยในปงบประมาณ
๔. สรางเวทีเผยแพรงานวิจัยทั้งระดับภูมิภาคและระดับชาติ
๕. การใชผลงานวิจัยในการเรียนการสอนรอยละ ๓๐ ของผลงานวิจัยทั้งหมดในปงบประมาณ
๖. การใชผลงานวิจัยในการพัฒนางานรอยละ ๒๐ ของผลงานวิจัยทั้งหมดในปงบประมาณ
๗. การใชผลงานวิจัยในการพัฒนาสังคมรอยละ ๑๐ ของผลงานวิจัยทั้งหมดในปงบประมาณ
๘. การใชผลงานวิจัยในการพัฒนากิจการคณะสงฆรอยละ ๑๐ ของผลงานวิจัยทั้งหมดในปงบประมาณ
๙. ผลงานวิจัยไดรับการอางอิงหรือตีพิมพในระดับภูมิภาคและระดับชาติรอยละ ๓ ของผลงานวิจัย
ทั้งหมดในปงบประมาณ
๑๐. บุคลากรหรือสวนงานไดรับรางวัลทางการวิจัยระดับภูมิภาคและระดับชาติ ปละ ๑ รางวัล
๑๑. บุคลากรหรือสวนงานไดรับการยกยองทางการวิจัยรอยละ ๑ ของบุคลากรรวมทั้งวิทยาลัย
๑๒. มีระบบฐานขอมูลงานวิจัย
๑๓. มีหองปฏิบัติการวิจัยและเจาหนาที่วิจัยหรือนักวิชาการหรือผูทรงคุณวุฒิประจําสวนงาน
๑๔. มีระบบงานวิจัยตามวงจร PDCA
กลยุทธที่ ๑ พัฒนานักวิจัย ผลิตผลงานวิจัยดานพระพุทธศาสนาที่ครอบคลุมทุกกลุมความรูและสราง
เครือขายความรวมมือนักวิจัยและการวิจัยระดับภูมิภาคและระดับชาติ
แ ผ น พั ฒ น า ก า ร วิ จั ย ป ร ะ จํา ป ง บ ป ร ะ ม า ณ ๒ ๕ ๕ ๕ – ๒ ๕ ๕ ๙
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ๗ |
ห น า
มาตรการ
๑.๑ พัฒนาบุคลากรดานการวิจัยไมนอยกวารอยละ ๕๕
โครงการ/กิจกรรม
๑.๑ โครงการอบรมเขียนขอเสนอโครงการวิจัย
๑.๒ โครงการอบรมเขียนบทความ วิจัย
กลยุทธที่ ๒ สงเสริมใหมีการเผยแพรผลงานวิจัยในระดับภูมิภาคและระดับชาติ
มาตรการ
๒.๑ ยกระดับมาตรฐานวารสารและบรรจุไวในบัญชีรายชื่อศูนยดัชนีการอางอิงวารสารไทย (Thai-
journal Citation Index : TCI) อยางนอย ๑ หัวเรื่องวารสาร
๒.๒ จัดเวทีเผยแพรผลงานวิจัยระดับภูมิภาคและระดับชาติ ปละ ๑ ครั้ง
โครงการ/กิจกรรม
๒.๑ โครงการเผยแพรผลงานทางวิชาการและงานสรางสรรค
กลยุทธที่ ๓ สงเสริมและสนับสนุนการนําองคความรูจากการวิจัยไปใชในการเรียนการสอน พัฒนาตน
พัฒนางาน พัฒนาสังคมและกิจการคณะสงฆทั้งในระดับภูมิภาคและระดับชาติ
มาตรการ
๓.๑ สงเสริมใหนําผลงานวิจัยไปใชในการจัดการเรียนการสอน
๓.๒ สงเสริมใหนําผลงานวิจัยไปใชในการพัฒนาตน พัฒนางาน
๓.๓ สงเสริมใหนําผลงานวิจัยไปใชในการพัฒนาสังคม และกิจการคณะสงฆ
โครงการ/กิจกรรม
๘.๑ โครงการสงเสริมการนําผลการวิจัยไปพัฒนาเปนตําราทางวิชาการ สื่อการเรียนการสอน
กิจการคณะสงฆ
กลยุทธที่ ๔ สงเสริมใหผลการวิจัยไดรับการอางอิง การนําเสนอ การนําไปใช การตีพิมพและไดรับรางวัล
ระดับภูมิภาคและระดับชาติ
มาตรการ
๔.๑ สงเสริมและสนับสนุนผลการวิจัยใหไดรับการอางอิง การนําเสนอ การนําไปใช การตีพิมพ และไดรับ
รางวัลระดับภูมิภาค
โครงการ/กิจกรรม
๔.๑ โครงการสนับสนุนใหบุคลากรที่มีผลงานวิจัยไดรับการพิจารณาความดีความชอบในการประเมินผล
งาน
กลยุทธที่ ๕ พัฒนาระบบการบริหารการจัดการงานวิจัยระดับภูมิภาคและระดับชาติ
มาตรการ
๕.๑ จัดทําระบบฐานขอมูลงานวิจัยตามมาตรฐานระดับนานาชาติ
แ ผ น พั ฒ น า ก า ร วิ จั ย ป ร ะ จํา ป ง บ ป ร ะ ม า ณ ๒ ๕ ๕ ๕ – ๒ ๕ ๕ ๙
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ๘ |
ห น า
๕.๒ สงเสริมการจัดตั้งศูนยวิจัยประจําสวนงานระดับคณะ สํานักสถาบัน
โครงการ/กิจกรรม
๕.๑ โครงการพัฒนาระบบฐานขอมูลงานวิจัย
แ ผ น พั ฒ น า ก า ร วิ จั ย ป ร ะ จํา ป ง บ ป ร ะ ม า ณ ๒ ๕ ๕ ๕ – ๒ ๕ ๕ ๙
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ๙ | ห น า
จัดการศึกษาและเผยแผพระพุทธศาสนาในอนุภาคลุมแมน้ําโขง
Educational Management and Buddhism Propagation in the Particle of Makong Basin
๑. ผลิตบัณฑิตใหไดคุณลักษณะที่มหาวิทยาลัยพึงประสงค ๙ ประการ ๒. วิจัยพระพุทธศาสนาและสังคมศาสตร
๓. บริการวิชาการดานพระพุทธศาสนาและสังคมศาสตร ๔. ทะนุบํารุงศิลปะ วัฒนธรรม
ประเด็นยุทธศาสตรที่ ๑
การผลิตบัณฑิตและการพัฒนาการ
จัดการเรียนการสอนที่มีคุณภาพและ
มาตรฐาน
ประเด็นยุทธศาสตรที่ ๒
สงเสริมการวิจัยและพัฒนาองคความรู
เพื่อเพิ่มศักยภาพการวิจัยทาง
พระพุทธศาสนาระดับนานาชาติ
ประเด็นยุทธศาสตรที่ ๓
การบริการวิชาการแกสังคม
และชุมชนทุกระดับ
ประเด็นยุทธศาสตรที่ ๔
การทํานุบํารุง
พระพุทธศาสนา
ศิลปวัฒนธรรมและวิถีชีวิต
ชุมชนอยางยั่งยืน
ประเด็นยุทธศาสตรที่ ๕
พัฒนาระบบการบริหาร
จัดการที่มีประสิทธิภาพตาม
หลักธรรมาภิบาล
 บัณฑิตไดงานทําและนายจางพึงพอใจ
 อาจารยมีตําแหนงทางวิชาการและมีผลงาน
วิชาการ
 หลักสูตรเปนไปตามเกณฑ และมีการปรับปรุง
 ผลงานวิชาการไดตีพิมพนําไปใชประโยชน
 คณะสงฆ สังคม ชุมชน ไดนําเอาองคความรูใน
เรื่องที่มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
วิทยาลัยสงฆเลย เชี่ยวชาญไปใชในการแกปญหา
 เรียนรูการวิจัยที่เปน
ประโยชนตอการพัฒนาสังคม
ชุมชน และพระพุทธศาสนา
 เปนผูนําในการใหบริการ
วิชาการดานพระพุทธศาสนาที่
มีคุณภาพและไดมาตรฐาน
 นิสิต/บุคลากร/อาจารย มี
บทบาทในการสงเสริม
พระพุทธศาสนา ทํานุบํารุง
ศิลปะและวัฒนธรรม
 มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลง
กรณราชวิทยาลัย วิทยาลัย
สงฆเลย การบริหารจัดการ
ตามหลักการบริหารกิจการ
บานเมืองที่ดี
 ใหผลผลิตเพิ่มขึ้นทั้ง ๔
ผลผลิต
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย (Strategy Map) วิทยาลัยสงฆเลย
วิสัยทัศน
Vision
พันธกิจ
Mission
มิติประสิทธิผล (Dimensional Effect )
แ ผ น พั ฒ น า ก า ร วิ จั ย ป ร ะ จํา ป ง บ ป ร ะ ม า ณ ๒ ๕ ๕ ๕ – ๒ ๕ ๕ ๙
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ๑๐ | ห น า
มิติคุณภาพ (Dimensional Performance)
มิติกระบวนการภายใน (Internal Processes Dimensional)
 บัณฑิตมีศรัทธา อุทิศตนเพื่อพระพุทธศาสนา
 อาจารยมีความเชี่ยวชาญ
 หลักสูตรไดมาตรฐาน
 ผลงานวิชาการเปนที่ยอมรับ
 คณะสงฆ สังคม ชุมชน ไดรับความรูที่ถูกตอง
อยางทั่วถึงและนําไปแกปญหา
 ผลงานวิจัยเปนที่ยอมรับและ
นําไปใชประโยชนในการพัฒนา
ทองถิ่น ภูมิภาคตะวันออกเฉียง
เหนือ
 ผลงานวิจัยหรือผลงานทาง
ดานภาษาไทยไดรับการตีพิมพ
เผยแพร หรือไดรับรางวัลใน
ระดับชาติ เชน รับรางวัลปูชนีย
บุคคลดานภาษาไทย
 การบริการวิชาการมีคุณภาพ
เปนที่ยอมรับในระดับทองถิ่น
ระดับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
 นิสิต/บุคลากร/อาจารย เห็น
คุณคาของกิจกรรมทะนุบํารุง
ดานพระพุทธศาสนา ศิลปะและ
วัฒนธรรม
 มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลง
กรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ
เลย ภาพลักษณที่ดี มีชื่อเสียง
ในระดับทองถิ่น ระดับภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ
 ผลงานมีคุณภาพตามความ
ตองการของผูบริหารและทัน
เวลา
 ระบบการทํางานคลองตัว มี
คุณภาพ โปรงใส ตรวจสอบได
 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพมีประสิทธิผล
 การพัฒนาหลักสูตรใหไดมาตรฐานและทันสมัยอยางตอเนื่อง
 การจัดการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ
 การพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
วิทยาลัยสงฆเลย ใหมีคุณภาพทางวิชาการ
 สรางเครือขายความเปนผูเชี่ยวชาญดานพระพุทธศาสนา ใน
ประเด็นสาธารณะที่จําเปนตอการพัฒนาประเทศดานสงเสริม
คุณธรรม จริยธรรม
 สรางองคความรูและนวัตกรรมเพื่อสนับสนุนการดําเนินงาน
ดานพระพุทธศาสนาสังคม และชุมชน
 แสวงหาทุนวิจัยจากแหลงทุน
ภายใน – ภายนอก
 นําองคความรูที่ไดจากการ
วิจัยมาบูรณาการเพื่อพัฒนาการ
เรียนการสอน การบริการ
วิชาการแกสังคมและชุมชน
 ผลงานวิจัยที่ตรงตามความ
ตองการของสังคมและชุมชน
 สรางแรงจูงใจในการทําวิจัย
 สรางเครือขายในการสนับสนุนการ
ทําวิจัยรวมกับหนวยงานภายนอก
เชนเทศบาล อบต. ฯลฯ
 สรางความรวมมือทางดาน
วิชาการและดานสงเสริม
คุณธรรม จริยธรรม กับหนวย
งานตางๆทั้งภาครัฐและเอกชน
 นําความรูที่มหาวิทยาลัยมหา
จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
วิทยาลัยสงฆเลย เชี่ยวชาญสู
สังคม
 สรางบรรยากาศทางวิชาการ
ในมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ
ราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย
 ปลูกฝงจิตสํานึกความเปน
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ
ราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย
ในหมูนิสิต/บุคลากร/อาจารย
ตามอัตลักษณบัณฑิต มีศรัทธา
อุทิศตนเพื่อพระพุทธศาสนา
 เผยแผความรูดาน
พระพุทธศาสนา
 มีการทํางานเชิงรุก
 ลดขั้นตอนและ
ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน
 สรางบรรยากาศการ
ทํางานที่มีความสุข
 สงเสริมการจัดการ
ความรู
 สรางสภาพแวดลอมที่
เอื้อตอการทํางาน
 สงเสริมการใชทรัพยากร
รวมกันอยางประหยัดและ
คุมคา
แ ผ น พั ฒ น า ก า ร วิ จั ย ป ร ะ จํา ป ง บ ป ร ะ ม า ณ ๒ ๕ ๕ ๕ – ๒ ๕ ๕ ๙
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ๑๑ | ห น า
 มีการพัฒนาอาจารยและบุคลากรอยางตอเนื่อง โดยมีการจัด
โครงการพัฒนาบุคลากรสายวิชาการและสายสนับสนุน
 มีปจจัยพื้นฐานตางๆครบถวน (นําเทคโนโลยีมาใช
พัฒนาการเรียนการสอน มีสภาพแวดลอมที่เหมาะสม มีอาคาร
– สถานที่ ที่เอื้อตอการเรียนรู
 สรางคานิยมความเปนมหาวิทยาลัยสงฆ
 ปลูกฝงคานิยมองคกรในการเปนมหาวิทยาลัยที่เปน
อัตลักษณ ประยุกตพระพุทธศาสนาเพื่อพัฒนาจิตใจและสังคม
เอกลักษณ การบริการดานพระพุทธศาสนา
อัตลักษณบัณฑิต มีศรัทธาอุทิศตนเพื่อพระพุทธศาสนา
 นําเทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัยมาใชในการประชาสัมพันธ
เผยแพร
 พัฒนาบุคลากรดานการวิจัย
อยางตอเนื่อง
 นําเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช
เพื่อเก็บขอมูลและเผยแพร
ผลงานวิจัย
 พัฒนาบุคลากรดานบริการ
วิชาการพระพุทธศาสนาอยาง
ตอเนื่อง เชน สงบุคลากรไป
เรียนตอหลักสูตรวิปสสนา
กรรมฐาน ฯลฯ
 ปลูกฝงจิตสํานึกการใหบริการ
วิชาการดานพระพุทธศาสนา
และสงเสริมคุณธรรม จริยธรรม
 นําเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช
เพื่อเผยแผผลงานทางวิชาการ
 นําเทคโนโลยีมาใชในการ
ประชาสัมพันธ เผยแผหรือ
สงเสริมความเปนศิลปะ
วัฒนธรรม
 สงเสริมจิตสํานึกความเปน
ไทย โดยการมีประกาศ
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ
ราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย
เรื่อง ใหแตงกายชุดพื้นเมือง
ทุกวันพฤหัสบดี
 กําหนดสมรรถนะบุคลากรให
สอดคลองกับภารกิจ
 มุงเนนใหบุคลากรเกง ดี มี
สวนรวมและทันตอการ
เปลี่ยนแปลง
 นําเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช
ในระบบการบริหารจัดการ
มิติการเรียนรูและการพัฒนาองคกร (Dimensions of Learning and evelopment)
Organizational
แ ผ น พั ฒ น า ก า ร วิ จั ย ป ร ะ จํา ป ง บ ป ร ะ ม า ณ ๒ ๕ ๕ ๕ – ๒ ๕ ๕ ๙
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ๑๒ | ห น า
แสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตรชาติ ยุทธศาสตรกระทรวงศึกษาธิการ ยุทธศาสตรสํานักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
ยุทธศาสตรมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย และยุทธศาสตรมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย
ยุทธศาสตร
ชาติ
ยุทธศาสตร
กระทรวง
ยุทธศาสตร
สกอ.
นโยบายที่ ๒
การพัฒนาสังคมและคุณภาพชีวิต
นโยบายที่ ๖ วิทยาศาสตร
เทคโนโลยี การวิจัย และนวัตกรรม
นโยบายที่ ๘
บริหารกิจการบานเมืองที่ดี
การสรางโอกาสทางการศึกษาและการเรียนรูตลอดชีวิต
การปลูกจิตสํานึกและ
กระตุนใหเกิดการทํานุ
บํารุงศิลปวัฒนธรรมไทย
การพัฒนาขีดความสามารถ
ของประเทศ โดยใชความรูเปนฐาน
การยกระดับคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา
การสรางโอกาสทาง
การศึกษาและการ
เรียนรูตลอดชีวิต
การศึกษาและวิจัย
เพื่อทํานุบํารุง
ศิลปวัฒนธรรมไทย
การพัฒนาขีดความสามารถ
ของประเทศ
โดยใชความรูเปนฐาน
การพัฒนาระบบบริหารจัดการ
และกฎหมายดานการศึกษา
ยุทธศาสตร
มจร.สวนกลาง
๑.การผลิตบัณฑิตและการพัฒนาการ
จัดการเรียนการสอนที่มีคุณภาพและ
มาตรฐาน
๓.การบริการวิชาการ
แกสังคมและชุมชน
ทุกระดับ
๔.การทํานุบํารุง
พระพุทธศาสนา ศิลปะ
วัฒนธรรม อยางยั่งยืน
๒.สงเสริมการวิจัยและพัฒนาองค
ความรูเพื่อเพิ่มศักยภาพการวิจัย
ทางพระพุทธศาสนาระดับ
นานาชาติ
๕.พัฒนาระบบการบริหารจัดการ
ที่มีประสิทธิภาพตาม
หลักธรมาภิบาล
แ ผ น พั ฒ น า ก า ร วิ จั ย ป ร ะ จํา ป ง บ ป ร ะ ม า ณ ๒ ๕ ๕ ๕ – ๒ ๕ ๕ ๙
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ๑๓ | ห น า
เปาประสงค
ยุทธศาสตร
วิทยาลัยสงฆ
เลย
๑.การผลิตบัณฑิตและการพัฒนาการ
จัดการเรียนการสอนที่มีคุณภาพและ
มาตรฐาน
๓.การบริการ
วิชาการแกสังคม
และชุมชนทุกระดับ
๔.การทํานุบํารุง
พระพุทธศาสนา ศิลปะ
วัฒนธรรม อยางยั่งยืน
๕.พัฒนาระบบการบริหารจัดการ
ที่มีประสิทธิภาพตาม
หลักธรรมาภิบาล
๒.สงเสริมการวิจัยและพัฒนาองค
ความรูเพื่อเพิ่มศักยภาพการวิจัย
ทางพระพุทธศาสนาระดับ
นานาชาติ
 บัณฑิตที่ไดรับการศึกษาเปนผูมี
ภูมิคุมกัน มีคุณธรรม จริยธรรม ทักษะทาง
ปญญา มีทักษะความสัมพันธระหวางบุคคล
มีความรับผิดชอบ มีทักษะวิเคราะหเชิง
คณิตศาสตร และการสื่อสารและการใช
เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อใหสามารถ
ปฏิบัติงานไดทุกแหงทั่วโลก
 มหาวิทยาลัยมุงพัฒนารูปแบบการ
จัดการเรียนการสอนที่มีคุณภาพและได
มาตรฐานสากล สามารถ ตอบสนองตอ
ความตองการของสังคม
 มหาวิทยาลัยเปน
แหลงเรียนรูและ
ใหบริการวิชาการ
ทางดาน
พระพุทธศาสนาแก
สังคมและชุมชนทุก
ระดับ
 มหาวิทยาลัยเปนแหลง
เรียนรูทางดานพุทธ
ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม
และภูมิปญญาทองถิ่น
อยางยั่งยืน
 มหาวิทยาลัยมีผลงานวิจัย
ทางพระพุทธศาสนาที่ไดรับการ
เผยแพร นําไปใชประโยชนและ
เปนที่ยอมรับในระดับชาติและ
นานาชาติ
 มหาวิทยาลัยมีระบบบริหาร
จัดการที่มีประสิทธิภาพตามหลัก
ธรรมาภิบาล
แ ผ น พั ฒ น า ก า ร วิ จั ย ป ร ะ จํา ป ง บ ป ร ะ ม า ณ ๒ ๕ ๕ ๕ – ๒ ๕ ๕ ๙
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ๑๔ | ห น า
รายงานผลวิเคราะหความสอดคลองระหวางแผนกลยุทธและแผนปฏิบัติการประจําป
แผน
กลยุทธ
มจร.
วส.เลย
แผน
ปฏิบัติการ
ประจําป
ปรัชญา จัดการศึกษาพระพุทธศาสนา บูรณาการกับศาสตรสมัยใหม พัฒนาจิตใจและสังคม
ปณิธาน ศึกษาพระไตรปฎกและวิชาชั้นสูงสําหรับพระภิกษุสามเณรและคฤหัสถ
วิสัยทัศน จัดการศึกษาและเผยแผพระพุทธศาสนาในอนุภาคลุมแมน้ําโขง
Educational Management and Buddhism Propagation in the Particle of Makong Basin
พันธกิจ
๑.มุงมั่นการสรางบัณฑิตใหมี
ภูมิคุมกัน มีคุณธรรม จริยธรรม
ทักษะทางปญญา
๒.มุงสงเสริมการศึกษา คนควาวิจัยใหกาว
ไปสูความเปนเลิศทางวิชาการ
๓.มุนเนนการใหบริการทางวิชาการใน
รูปแบบที่หลากหลาย
๕. ปรับปรุงโครงสรางองคกร
ปรับปรุงกฎระเบียบ การบริหาร
ยุทธศาสตร
๑.การผลิตบัณฑิตและการพัฒนาการจัดการเรียน
การสอนที่มีคุณภาพและมาตรฐาน
๒.สงเสริมการวิจัยและ
พัฒนาองคความรูเพื่อ
เพิ่มศักยภาพการวิจัย
ทางพระพุทธศาสนา
ระดับนานาชาติ
๓. การบริการวิชาการ
แกสังคมและชุมชนทุก
ระดับ
๔.การทํานุบํารุง
พระพุทธศาสนา
ศิลปวัฒนธรรมและวิถี
ชีวิตชุมชนอยางยั่งยืน
๕.พัฒนาระบบการ
บริหารจัดการที่มี
ประสิทธิภาพตาม
หลักธรรมาภิบาล
ยุทธศาสตร
แผนปฏิบัติการ
ประจําป ๒.สงเสริมการวิจัยและ
พัฒนาองคความรูเพื่อ
เพิ่มศักยภาพการวิจัย
ทางพระพุทธศาสนา
ระดับภูมิภาค
๓. การบริการวิชาการ
แกสังคมและชุมชนทุก
ระดับ
๔.การทํานุบํารุง
พระพุทธศาสนา
ศิลปวัฒนธรรมและวิถี
ชีวิตชุมชนอยางยั่งยืน
๑.การผลิตบัณฑิตและการพัฒนาการจัดการเรียน
การสอนที่มีคุณภาพและมาตรฐาน
๔.มุงสงเสริมการศึกษา
ผสมผสานทางวัฒนธรรม
แ ผ น พั ฒ น า ก า ร วิ จั ย ป ร ะ จํา ป ง บ ป ร ะ ม า ณ ๒ ๕ ๕ ๕ – ๒ ๕ ๕ ๙
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ๑๕ | ห น า
แผน
ปฏิบัติการ
ประจําป
เปาประสงค
 บัณฑิตที่ไดรับการศึกษาเปนผูมีภูมิคุมกัน มี
คุณธรรม จริยธรรม ทักษะทาง
ปญญา มีทักษะความสัมพันธระหวางบุคคล มี
ความรับผิดชอบ มีทักษะวิเคราะหเชิงคณิตศาสตร
และการสื่อสารและการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ
เพื่อใหสามารถปฏิบัติงานไดทุกแหงทั่วโลก
 มหาวิทยาลัยมุงพัฒนารูปแบบการจัดการเรียน
การสอนที่มีคุณภาพและได
มาตรฐานสากล สามารถตอบสนองตอความ
ตองการของสังคม
 มหาวิทยาลัยมี
ผลงานวิจัยทาง
พระพุทธศาสนาที่ไดรับ
การเผยแพร นําไปใช
ประโยชนและเปนที่
ยอมรับในระดับชาติและ
นานาชาติ
 มหาวิทยาลัยเปน
แหลงเรียนรูและ
ใหบริการวิชาการ
ทางดาน
พระพุทธศาสนาแก
สังคมและชุมชนทุก
ระดับ
 มหาวิทยาลัยเปน
แหลงเรียนรูทางดาน
พุทธศาสนา
ศิลปวัฒนธรรมและภูมิ
ปญญาทองถิ่นอยาง
ยั่งยืน
 บริหารจัดการ
วิทยาลัยสงฆเลย
ที่มีประสิทธิภาพและ
เปนองคกรแหง
การเรียนรู
แ ผ น พั ฒ น า ก า ร วิ จั ย ป ร ะ จํา ป ง บ ป ร ะ ม า ณ ๒ ๕ ๕ ๕ – ๒ ๕ ๕ ๙
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ๑๖ |
ห น า
นโยบายพัฒนาการวิจัย
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
วิทยาลัยสงฆเลย
****************************************
หลักการและเหตุผล
มหาวิทยาลัยสงฆเลยมุงสงเสริมการศึกษา คนควาวิจัยใหกาวไปสูความเปนเลิศทางวิชาการดาน
พระพุทธศาสนา เพื่อสรางองคความรูใหมในการพัฒนามนุษย สังคมและสิ่งแวดลอม ใหอยูรวมกันไดอยาง
สมดุลและสันติสุข รวมทั้งการสรางเครือขายกับสถาบันที่มีชื่อเสียงทั้งในประเทศและตางประเทศเพื่อพัฒนา
คุณภาพของนักวิจัยใหนําไปสูความเปนสากล
วัตถุประสงค
เพื่อเปนแนวทางในการประพฤติปฏิบัติของนักวิจัยทั่วไป โดยมีลักษณะเปนขอพึงสังวรมากกวาจะ
เปนขอบังคับ อันจะนําไปสูการเสริมสรางจรรยาบรรณในหมูนักวิจัย
กรอบนโยบายการพัฒนาการวิจัย
การวิจัยและคนควา เพื่อสรางองคความรูควบคูไปกับกระบวนการเรียนการสอน เนนการพัฒนาองคความรูใน
พระไตรปฎก โดยวิธีสหวิทยาการแลวนําองคความรูที่คนพบมาประยุกตใชแกปญหา ศีลธรรม และจริยธรรมของสังคม รวมทั้ง
พัฒนา คุณภาพงานวิชาการดานพระพุทธศาสนา
กลยุทธการการพัฒนาการวิจัย
กลยุทธที่ ๑ พัฒนานักวิจัย ผลิตผลงานวิจัยดานพระพุทธศาสนาที่ครอบคลุมทุกกลุมความรูและสราง
เครือขายความรวมมือนักวิจัยและการวิจัยระดับชาติและนานาชาติ
กลยุทธที่ ๒ สงเสริมใหมีการเผยแพรผลงานวิจัยในระดับภูมิภาคและระดับชาติ
กลยุทธที่ ๓ สงเสริมและสนับสนุนการนําองคความรูจากการวิจัยไปใชในการเรียนการสอน พัฒนา
ตน พัฒนางาน พัฒนาสังคมและกิจการคณะสงฆทั้งในระดับภูมิภาคและระดับชาติ
กลยุทธที่ ๔ สงเสริมใหผลการวิจัยไดรับการอางอิง การนําเสนอ การนําไปใช การตีพิมพและไดรับ
รางวัลระดับภูมิภาคและระดับชาติ
กลยุทธที่ ๕ พัฒนาระบบการบริหารการจัดการงานวิจัยระดับภูมิภาคและระดับชาติ
กลยุทธที่ ๖ สงเสริมใหผลการวิจัยไดรับการอางอิง การนําเสนอ การนําไปใช การตีพิมพและไดรับ
รางวัลระดับภูมิภาคและระดับชาติ
กลยุทธที่ ๗ พัฒนาระบบการบริหารการจัดการงานวิจัยระดับภูมิภาคและระดับชาติ
แ ผ น พั ฒ น า ก า ร วิ จั ย ป ร ะ จํา ป ง บ ป ร ะ ม า ณ ๒ ๕ ๕ ๕ – ๒ ๕ ๕ ๙
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ๑๗ |
ห น า
ยุทธศาสตรการพัฒนา
๑. สงเสริมการวิจัยและพัฒนาองคความรูเพื่อเพิ่มศักยภาพการวิจัยทางพระพุทธศาสนาระดับภูมิภาคและระดับชาติ
มีเปาประสงค
๒. สรางแรงจูงใจในการทํางานวิจัย สรางความตระหนักวางานวิจัยเปนภารกิจของอาจารยในวิทยาลัย
สงฆเลย
๓. สรางความเข็มแข็งและคุณภาพในการวิจัย
๔. สรางชื่อเสียงและใชประโยชนจากผลงานวิจัย
๕. สงเสริมและสนับสนุนการถายทอดเทคโนโลยี สูชุมชน และหนวยงานทั้งภาครัฐและเอกชนเพื่อการ
พัฒนาอาชีพ
๖. สรางเครือขายความรวมมือทางวิชาการและเทคโนโลยีกับสถาบันหรือหนวยงานอื่นๆ
๗. สงเสริมงานวิจัยดานการพัฒนาทองถิ่นในเขตจังหวัดหนองบัวลําภู จังหวัดเลย และในเขตจังหวัด
อื่นๆ
แผนพัฒนางานวิจัย แบงออกเปน ๔ ดาน
๑. การพัฒนางานดานการบริหารจัดการ
๒. การพัฒนานักวิจัย
๓. การพัฒนาคุณภาพงานวิจัย
๔. การพัฒนาดานการบริการวิชาการและถายทอดเทคโนโลยี
๑. การพัฒนางานดานการบริหารจัดการ ไดแก
๑.๑ พัฒนาระบบการบริหารจัดการในสถาบันวิจัยและพัฒนาใหมีประสิทธิภาพ รวดเร็ว โปรงใส
เปนธรรม และตรวจสอบได
๑.๒ ปรับปรุงระเบียบและขอบังคับตางๆ ใหเอื้อตอการทําวิจัยและถายทอด
๑.๓ จัดทําขอมูลฐานวิจัย
๑.๔ จัดหาและประชาสัมพันธแหลงทุน ใหนักวิจัย
๒. การพัฒนานักวิจัย ไดแก
๒.๑ สงเสริมใหมีนักวิจัยเพิ่มขึ้น
๒.๒ จัดใหมีการอบรมนักวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพนักวิจัย
๒.๓ สงเสริมและสนับสนุนใหนักวิจัยไดนําเสนอผลงานวิจัย สิ่งประดิษฐ นวัตกรรมตางๆ
ทั้งในประเทศและตางประเทศ
๒.๔ สนับสนุนการดําเนินการวิจัย เชน จัดหางบประมาณ กองทุนอุดหนุนการวิจัย ทั้งจากแหลงทุน
ภายนอกและแหลงทุนภายในใหครอบคลุมบุคลากร ทั้งคณาจารยขาราชการและนักศึกษาของมหาวิทยาลัย
๒.๕ สงเสริมใหคณาจารยแตละทานมีผลงานวิจัยอยางตอเนื่อง อยางนอยเปนการวิจัยใน
ระดับพัฒนาการเรียนการสอน หรือวิจัยในชั้นเรียน
๓. การพัฒนาคุณภาพงานวิจัย ไดแก
แ ผ น พั ฒ น า ก า ร วิ จั ย ป ร ะ จํา ป ง บ ป ร ะ ม า ณ ๒ ๕ ๕ ๕ – ๒ ๕ ๕ ๙
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ๑๘ |
ห น า
๓.๑ สรางเครือขายความรวมมือทางดานวิชาการและงานวิจัย กับมหาวิทยาลัยสถานศึกษาและ
องคกรอื่น
๓.๒ จัดใหมีคณะกรรมการพิจารณาขอเสนอโครงการวิจัยและรายงานการวิจัย กรรมการตรวจ
ประเมินและติดตามผลงานวิจัย เพื่อสรางมาตรฐานงานวิจัย
๓.๓ จัดใหมีหนวยงานหรือศูนยวิจัยเฉพาะทางเพื่อวิจัยในแนวลึกหรือเฉพาะดานมากขึ้น
๓.๔ สงเสริมการวิจัยและถายทอดเทคโนโลยีเพื่อการใหบริการแกประชาชนและชุมชนทองถิ่นตาม
ความตองการและสนองตอบตอความจําเปนในการพัฒนาชุมชนทองถิ่น และจังหวัด
๓.๕ จัดใหมีการประชุมสัมมนาเพื่อนําเสนอผลงานวิจัย สิ่งประดิษฐ และนวัตกรรม เพื่อนําเสนอ
ผลงานวิจัยสิ่งประดิษฐ และนวัตกรรม เพื่อใหนักวิจัย และนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาไดแสดงผลงาน
๔. การพัฒนาดานการบริการวิชาการและถายทอดเทคโนโลยี ไดแก
๔.๑ จัดใหมีระบบฐานขอมูลและสารสนเทศที่เกี่ยวของกับการเผยแพรผลงานวิจัย นวัตกรรม
สิ่งประดิษฐ เพื่อการสืบคน และถายทอดเทคโนโลยีผานระบบสารสนเทศ
๒.๒ จัดใหมีระบบจัดการความรู (Knowledge management) ที่เกิดจากองคความรูจากการวิจัย
๔.๓ สงเสริมใหการถายทอดความรูเทคโนโลยี นวัตกรรม และสิ่งประดิษฐ ลงสูกลุมเปาหมายเพื่อ
เผยแพรในวงวิชาการ หรือนําไปใชประโยชนไดจริง
๔.๔ จัดใหมีกลไกการคัดสรร วิเคราะห และสังเคราะหความรูที่กอใหเกิดประโยชนแกชุมชนและ
สังคมผานชองทางตางๆ
๔.๕ จัดใหมีกลไกการเชื่อมโยงหรือการใหบริการวิชาการ อันเนื่องมาจากการวิจัย องคความรู
สิ่งประดิษฐ หรือนวัตกรรม ระหวางนักวิจัยกับผูสนใจ ชุมชนหรือสังคม
ตารางแสดงประมาณการงบประมาณโครงการ/แผนการวิจัย
แ ผ น พั ฒ น า ก า ร วิ จั ย ป ร ะ จํา ป ง บ ป ร ะ ม า ณ ๒ ๕ ๕ ๕ – ๒ ๕ ๕ ๙
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ๑๙ |
ห น า
ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙
ปงบประ
มาณ
โครงการ/กิจกรรม
รหัสงบประมาณ(บาท)
รวม(บาท)เงินงบประมาณ เงินนอก
งบประมาณ
๒๕๕๕ โครงการวิจัยติดตามผลพุทธศาสตรบัณฑิต ๑๕,๐๐๐ ๑๕,๐๐๐
โครงการวิจัยการบริการดานการเรียนการสอน
ของวิทยาลัยสงฆเลย
๑๕,๐๐๐ ๑๕,๐๐๐
โครงการสนับสนุนบุคลากรเพื่อเพิ่มศักยภาพ
ดานงานวิจัย
๖๐,๐๐๐ ๖๐,๐๐๐
โครงการสรางและพัฒนาเครือขายความรวมมือ
ดานการวิจัย
๓๐,๐๐๐ ๓๐,๐๐๐
๒๕๕๖ โครงการวิจัยติดตามผลพุทธศาสตรบัณฑิต ๑๕,๐๐๐ ๑๕,๐๐๐
โครงการวิจัยการบริการดานการเรียนการสอน
ของวิทยาลัยสงฆเลย
๑๕,๐๐๐ ๑๕,๐๐๐
โครงการสนับสนุนบุคลากรเพื่อเพิ่มศักยภาพ
ดานงานวิจัย
๖๐,๐๐๐ ๖๐,๐๐๐
โครงการสรางและพัฒนาเครือขายความรวมมือ
ดานการวิจัย
๓๐,๐๐๐ ๓๐,๐๐๐
๒๕๕๗ โครงการวิจัยติดตามผลพุทธศาสตรบัณฑิต รอการจัดสรรงบ
โครงการวิจัยการบริการดานการเรียนการสอน
ของวิทยาลัยสงฆเลย
รอการจัดสรรงบ
โครงการสนับสนุนบุคลากรเพื่อเพิ่มศักยภาพ
ดานงานวิจัย
รอการจัดสรรงบ
โครงการสรางและพัฒนาเครือขายความรวมมือ
ดานการวิจัย
รอการจัดสรรงบ
๒๕๕๘ โครงการวิจัยติดตามผลพุทธศาสตรบัณฑิต รอการจัดสรรงบ
โครงการวิจัยการบริการดานการเรียนการสอน
ของวิทยาลัยสงฆเลย
รอการจัดสรรงบ
โครงการสนับสนุนบุคลากรเพื่อเพิ่มศักยภาพ
ดานงานวิจัย
รอการจัดสรรงบ
โครงการสรางและพัฒนาเครือขายความรวมมือ
ดานการวิจัย
รอการจัดสรรงบ
๒๕๕๙ โครงการวิจัยติดตามผลพุทธศาสตรบัณฑิต รอการจัดสรรงบ
โครงการวิจัยการบริการดานการเรียนการสอน
ของวิทยาลัยสงฆเลย
รอการจัดสรรงบ
โครงการสนับสนุนบุคลากรเพื่อเพิ่มศักยภาพ
ดานงานวิจัย
รอการจัดสรรงบ
โครงการสรางและพัฒนาเครือขายความรวมมือ
ดานการวิจัย
รอการจัดสรรงบ
แ ผ น พั ฒ น า ก า ร วิ จั ย ป ร ะ จํา ป ง บ ป ร ะ ม า ณ ๒ ๕ ๕ ๕ – ๒ ๕ ๕ ๙
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ๒๐ | ห น า
ตารางแสดงรายละเอียดแผนพัฒนาการวิจัย ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๙
ยุทธศาสตรที่ ๑
สงเสริมการวิจัยและพัฒนาองคความรูเพื่อเพิ่มศักยภาพการวิจัยทางพระพุทธศาสนาระดับภูมิภาคและระดับชาติ
เปาประสงคที่ ๑
วิทยาลัยมีผลงานวิจัยทางพระพุทธศาสนาที่ไดรับการเผยแพร นําไปใชประโยชนและเปนที่ยอมรับในระดับภูมิภาคและระดับชาติ
กลยุทธ มาตรการ โครงการ/กิจกรรม ตัวชี้วัด หนวยนับ
เปาหมาย
๒๕๕๕ ๒๕๕๖ ๒๕๕๗ ๒๕๕๘ ๒๕๕๙
กลยุทธที่ ๑
พั ฒ น า นั ก วิ จั ย
ผลิตผลงานวิจัยดาน
พ ร ะ พุ ท ธ ศ าส น า ที่
ครอบคลุมทุกกลุมความรู
และสรางเครือขายความ
รวมมือนักวิจัยและการ
วิจัยระดับชาติและ
นานาชาติ
๑.๑ พัฒนาบุคลากร
ดานการวิจัยไมนอยกวา
รอยละ ๖๕%
๑.๑ โครงการอบรม
เขียนขอเสนอโครงการวิจัย
๑.๒ โครงการอบรม
เขียนบทความ วิจัย
๑.๑ จํานวนบุคลากร
สายวิชาการและสาย
สนับสนุน ไดรับการ
เสริมสรางศักยภาพดาน
การวิจัยไมนอยกวารอย
ละ ๖๕ ของบุคลากร
ทั้งหมด
รอยละ ๗๐ ๗๐ ๗๐ ๗๐ ๗๐
แ ผ น พั ฒ น า ก า ร วิ จั ย ป ร ะ จํา ป ง บ ป ร ะ ม า ณ ๒ ๕ ๕ ๕ – ๒ ๕ ๕ ๙
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ๒๑ | ห น า
กลยุทธ มาตรการ โครงการ/กิจกรรม ตัวชี้วัด หนวยนับ
เปาหมาย
๒๕๕๕ ๒๕๕๖ ๒๕๕๗ ๒๕๕๘ ๒๕๕๙
กลยุทธที่ ๒
สงเสริมใหมีการ
เผยแพรผลงานวิจัยใน
ร ะ ดั บ ภู มิ ภ า ค แ ล ะ
ระดับชาติ
๒ . ๑ ย ก ร ะ ดั บ
มาตรฐานวารสารและ
บรรจุไวในบัญชีรายชื่อ
ศูนยดัชนีการอางอิง
วาร ส าร ไท ย ( Thai-
journal Citation Index
: TCI) อยางนอย ๑ หัว
เรื่องวารสาร
๗.๒ จัดเวทีเผยแพร
ผลงานวิจัยระดับภูมิภาค
และระดับชาติ ปละ ๑ ครั้ง
๒.๑ โครงการเผยแพร
ผลงานทางวิชาการและงาน
สรางสรรค
๒.๑ จัดทําวารสาร
สื่อสิ่งพิมพผลงานวิจัย
อยางนอย ๑ หัวเรื่องที่
ไดรับการบรรจุไวใน
บัญชีรายชื่อศูนยดัชนี
การอางอิงวารสารไทย
(Thai-journal Citation
Index : TCI)
๒.๒ เผยแพรผลงาน
ทางวิชาการและงาน
สรางสรรครอยละ ๕๐
ของผลงานวิจัยใน
ปงบประมาณ
๒. ๓ ส ร าง เ ว ที
เผยแพรงานวิจัยทั้ง
ระ ดับ ภูมิภาคแล ะ
ระดับชาติ
- จัดเวทีเผยแพร
งานวิจัยระดับชาติ
อยางนอยปละ ๑ ครั้ง
- จัดเวทีเผยแพร
งานวิจัยระดับนานาชาติ
จํานวน
รอยละ
จํานวน
-
๕๐
-
-
๕๐
-
-
๗๐
-
-
๕๐
-
๑
๗๐
๑
แ ผ น พั ฒ น า ก า ร วิ จั ย ป ร ะ จํา ป ง บ ป ร ะ ม า ณ ๒ ๕ ๕ ๕ – ๒ ๕ ๕ ๙
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ๒๒ | ห น า
กลยุทธ มาตรการ โครงการ/กิจกรรม ตัวชี้วัด หนวยนับ
เปาหมาย
๒๕๕๕ ๒๕๕๖ ๒๕๕๗ ๒๕๕๘ ๒๕๕๙
อยางนอยปละ ๑ ครั้ง
กลยุทธที่ ๓
สงเสริมและสนับสนุน
การนําองคความรูจาก
การวิจัยไปใชในการเรียน
การสอน พัฒนาตน
พัฒนางาน พัฒนาสังคม
และกิจการคณะสงฆทั้ง
ในระดับภูมิภาคและ
ระดับชาติ
๓.๑ สงเสริมใหนํา
ผลงานวิจัยไปใชในการ
จัดการเรียนการสอน
๓.๒ สงเสริมใหนํา
ผลงานวิจัยไปใชในการ
พัฒนาตน พัฒนางาน
๓.๓ สงเสริมใหนํา
ผลงานวิจัยไปใชในการ
พัฒนาสังคม และกิจการ
คณะสงฆ
๓.๑ โครงการสงเสริม
การนําผลการวิจัยไปพัฒนา
เปนตําราทางวิชาการ สื่อ
การเรียนการสอน
๓.๑ การใชงานวิจัย
ในการเรียนการสอน
ร อ ย ล ะ ๓ ๐ ข อ ง
ผลงานวิจัยที่สําเร็จใน
ปงบประมาณนั้นๆ
๓.๒ การใชงาน
วิจัยในการพัฒนางาน
ร อ ย ล ะ ๒ ๐ ข อ ง
ผลงานวิจัยที่สําเร็จใน
ปงบประมาณนั้นๆ
๓.๓ การใชงาน
วิจัยในการพัฒนาสังคม
ร อ ย ล ะ ๑ ๐ ข อ ง
ผลงานวิจัยทั้งหมดใน
ปงบประมาณนั้นๆ
๓.๔ การใชงาน
วิจั ย ในก าร พั ฒ น า
กิจการคณะสงฆรอยละ
๑๐ ของผลงานวิจัย
ทั้งหมดในปงบประมาณ
นั้นๆ
รอยละ
รอยละ
เรื่อง
N/A
N/A
๑
๓๐
๒๐
๑
๓๐
๒๐
๑
๓๐
๒๐
๑
๓๐
๒๐
๑
แ ผ น พั ฒ น า ก า ร วิ จั ย ป ร ะ จํา ป ง บ ป ร ะ ม า ณ ๒ ๕ ๕ ๕ – ๒ ๕ ๕ ๙
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ๒๓ | ห น า
กลยุทธ มาตรการ โครงการ/กิจกรรม ตัวชี้วัด หนวยนับ
เปาหมาย
๒๕๕๕ ๒๕๕๖ ๒๕๕๗ ๒๕๕๘ ๒๕๕๙
กลยุทธที่ ๔
สงเสริมใหผลการวิจัย
ไดรับการอางอิง การ
นําเสนอ การนําไปใช
การตีพิมพและไดรับ
รางวัลระดับภูมิภาคและ
ระดับชาติ
๔.๑ สงเสริมและ
สนับสนุนผลการวิจัยให
ไดรับการอางอิง การ
นําเสนอ การนําไปใช การ
ตีพิมพ และไดรับรางวัล
ระดับภูมิภาค
๔.๑ โครงการสนับสนุน
ใหบุคลากรที่มีผลงานวิจัย
ไดรับการพิจารณาความดี
ค ว า ม ช อ บ ใ น ก า ร
ประเมินผลงาน
๔.๑ ผลงานวิจัย
ไดรับการอางอิงหรือ
ตีพิมพ รอยละ ๓ ของ
ผลงานวิจัยที่สําเร็จใน
ปงบประมาณ
๔.๒ บุคลากรหรือ
สวนงาน ไดรับรางวัล
ทางการวิจัย ระดับ
ภูมิภาคและระดับชาติ
ปละ ๑ รางวัล
๔.๓ บุคลากรหรือ
สวนงานไดรับการยก
ยองทางการวิจัย รอย
ละ ๑ ของบุคลากร
รวมทั้งวิทยาลัย
รอยละ
จํานวน
รอยละ
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
๑
-
๓
๑
-
แ ผ น พั ฒ น า ก า ร วิ จั ย ป ร ะ จํา ป ง บ ป ร ะ ม า ณ ๒ ๕ ๕ ๕ – ๒ ๕ ๕ ๙
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ๒๔ | ห น า
กลยุทธ มาตรการ โครงการ/กิจกรรม ตัวชี้วัด หนวยนับ
เปาหมาย
๒๕๕๕ ๒๕๕๖ ๒๕๕๗ ๒๕๕๘ ๒๕๕๙
กลยุทธที่ ๕
พัฒนาระบบการ
บริ ห าร ก าร จั ดก าร
งานวิจัยระดับภูมิภาค
และระดับชาติ
๕.๑ จัดทําระบบ
ฐานขอมูลงานวิจัยตาม
มาตรฐานระดับนานาชาติ
๕.๒ สงเสริมการ
จัดตั้งศูนยวิจัยประจําสวน
งานระดับคณะ สํานัก
สถาบัน
๕.๑ โครงการพัฒนา
ระบบฐานขอมูลงานวิจัย
๕ . ๑ มี ร ะ บ บ
ฐานขอมูลงานวิจัย
๕.๒ มีหองปฏิบัติ
การวิจัยและเจาหนาที่
วิจัยหรือนักวิชาการ
หรือผูทรงคุณวุฒิประจํา
สวนงาน
๕.๓ มีระบบงาน
วิจัยตามวงจร PDCA
ระบบ
แหง
ระบบ
-
-
-
-
-
-
-
-
-
๑
๑
-
๑
๑
๑
แ ผ น พั ฒ น า ก า ร วิ จั ย ป ร ะ จํา ป ง บ ป ร ะ ม า ณ ๒ ๕ ๕ ๕ – ๒ ๕ ๕ ๙
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ๒๕ |
ห น า
โครงการตามแผนปฏิบัติการ
โครงการพัฒนาการวิจัย
๑. ผลผลิตที่ ๔ ผลงานวิจัย : งบอุดหนุนโครงการวิจัย จํานวน ๔ โครงการ
ลําดับ รายการ เวลาดําเนินการ หมายเหตุ
๑ โครงการวิจัยติดตามผลพุทธศาสตรบัณฑิต ต.ค.๕๕ – ก.ย.๕๖
๒ โครงการวิจัยการบริการดานการเรียนการสอนของวิทยาลัย
สงฆเลย
ต.ค.๕๕ – ก.ย.๕๖
๓ โครงการสนับสนุนบุคลากรเพื่อเพิ่มศักยภาพดานงานวิจัย ต.ค.๕๕ – ก.ย.๕๖
๔ โครงการสรางและพัฒนาเครือขายความรวมมือดานการวิจัย ต.ค.๕๕ – ก.ย.๕๖
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555   2559
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555   2559
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555   2559
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555   2559
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555   2559
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555   2559
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555   2559
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555   2559
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555   2559

More Related Content

What's hot

Kick off nrct
Kick off nrctKick off nrct
Kick off nrct
rattapol
 

What's hot (6)

Libcampubon2 Case study website local information
Libcampubon2 Case study website local informationLibcampubon2 Case study website local information
Libcampubon2 Case study website local information
 
ตอม
ตอมตอม
ตอม
 
ความมั่นคงแห่งชาติและภัยคุกคาม
ความมั่นคงแห่งชาติและภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติและภัยคุกคาม
ความมั่นคงแห่งชาติและภัยคุกคาม
 
Kick off nrct
Kick off nrctKick off nrct
Kick off nrct
 
V 265
V 265V 265
V 265
 
สถานการณ์และแนวโน้มใหม่ของโลกกับการกำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาของไทย
สถานการณ์และแนวโน้มใหม่ของโลกกับการกำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาของไทยสถานการณ์และแนวโน้มใหม่ของโลกกับการกำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาของไทย
สถานการณ์และแนวโน้มใหม่ของโลกกับการกำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาของไทย
 

Similar to แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555 2559

แผนกลยุทธ์วิทยาลัยสงฆ์เลย 2550-2554
แผนกลยุทธ์วิทยาลัยสงฆ์เลย 2550-2554แผนกลยุทธ์วิทยาลัยสงฆ์เลย 2550-2554
แผนกลยุทธ์วิทยาลัยสงฆ์เลย 2550-2554
pentanino
 
สารสนเทศ 53
สารสนเทศ  53สารสนเทศ  53
สารสนเทศ 53
saenphinit
 
แผนปฏิบัติการประจำปี2555
แผนปฏิบัติการประจำปี2555แผนปฏิบัติการประจำปี2555
แผนปฏิบัติการประจำปี2555
pentanino
 
หนังสืออบรม
หนังสืออบรมหนังสืออบรม
หนังสืออบรม
Mr-Dusit Kreachai
 
หนังสือเชิญอบรมหลักสูตร
หนังสือเชิญอบรมหลักสูตรหนังสือเชิญอบรมหลักสูตร
หนังสือเชิญอบรมหลักสูตร
Mr-Dusit Kreachai
 
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
pentanino
 
รายงานการประชุมคณะกรรมการสหวิทยาเขตสมเด็จ ครั้งที่2-55
รายงานการประชุมคณะกรรมการสหวิทยาเขตสมเด็จ ครั้งที่2-55 รายงานการประชุมคณะกรรมการสหวิทยาเขตสมเด็จ ครั้งที่2-55
รายงานการประชุมคณะกรรมการสหวิทยาเขตสมเด็จ ครั้งที่2-55
somdetpittayakom school
 
Ebook semina 2 jul 09
Ebook semina 2 jul 09Ebook semina 2 jul 09
Ebook semina 2 jul 09
Kasem S. Mcu
 
ระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจรระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจร
pentanino
 
บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
นายจักราวุธ คำทวี
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
วรากร หลวงโย
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
วรากร หลวงโย
 

Similar to แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555 2559 (20)

แผนกลยุทธ์วิทยาลัยสงฆ์เลย 2550-2554
แผนกลยุทธ์วิทยาลัยสงฆ์เลย 2550-2554แผนกลยุทธ์วิทยาลัยสงฆ์เลย 2550-2554
แผนกลยุทธ์วิทยาลัยสงฆ์เลย 2550-2554
 
Sar boripat2558
Sar boripat2558Sar boripat2558
Sar boripat2558
 
ประวัติอไ..
ประวัติอไ..ประวัติอไ..
ประวัติอไ..
 
ประวัติอไ..
ประวัติอไ..ประวัติอไ..
ประวัติอไ..
 
ประวัติอไ..
ประวัติอไ..ประวัติอไ..
ประวัติอไ..
 
สารสนเทศ 53
สารสนเทศ  53สารสนเทศ  53
สารสนเทศ 53
 
แผนปฏิบัติการประจำปี2555
แผนปฏิบัติการประจำปี2555แผนปฏิบัติการประจำปี2555
แผนปฏิบัติการประจำปี2555
 
หนังสืออบรม
หนังสืออบรมหนังสืออบรม
หนังสืออบรม
 
หนังสือเชิญอบรมหลักสูตร
หนังสือเชิญอบรมหลักสูตรหนังสือเชิญอบรมหลักสูตร
หนังสือเชิญอบรมหลักสูตร
 
หนังสือ
หนังสือหนังสือ
หนังสือ
 
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
 
รายงานการประชุมคณะกรรมการสหวิทยาเขตสมเด็จ ครั้งที่2-55
รายงานการประชุมคณะกรรมการสหวิทยาเขตสมเด็จ ครั้งที่2-55 รายงานการประชุมคณะกรรมการสหวิทยาเขตสมเด็จ ครั้งที่2-55
รายงานการประชุมคณะกรรมการสหวิทยาเขตสมเด็จ ครั้งที่2-55
 
Ebook semina 2 jul 09
Ebook semina 2 jul 09Ebook semina 2 jul 09
Ebook semina 2 jul 09
 
ระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจรระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจร
 
V 300
V 300V 300
V 300
 
บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
 
V 274
V 274V 274
V 274
 
แผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 2 ข้อมูลทั่วไป2
แผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 2 ข้อมูลทั่วไป2แผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 2 ข้อมูลทั่วไป2
แผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 2 ข้อมูลทั่วไป2
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
 

More from pentanino

การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนาการพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
pentanino
 
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทยการพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
pentanino
 
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรมการบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
pentanino
 
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหารการนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
pentanino
 
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
pentanino
 
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
pentanino
 
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
pentanino
 
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
pentanino
 
ประกาศการปฏิบัติธรรม
ประกาศการปฏิบัติธรรมประกาศการปฏิบัติธรรม
ประกาศการปฏิบัติธรรม
pentanino
 
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
pentanino
 
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
pentanino
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
pentanino
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
pentanino
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
pentanino
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
pentanino
 
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญาสุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
pentanino
 
สาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครอง
สาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครองสาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครอง
สาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครอง
pentanino
 
สาขาวิชาการสอนภาษาไทย
สาขาวิชาการสอนภาษาไทยสาขาวิชาการสอนภาษาไทย
สาขาวิชาการสอนภาษาไทย
pentanino
 
สาขาวิชาพระพุทธศาสนา
สาขาวิชาพระพุทธศาสนาสาขาวิชาพระพุทธศาสนา
สาขาวิชาพระพุทธศาสนา
pentanino
 

More from pentanino (20)

การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนาการพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
 
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทยการพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
 
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรมการบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
 
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหารการนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
 
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
 
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
 
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
 
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
 
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
 
ประกาศการปฏิบัติธรรม
ประกาศการปฏิบัติธรรมประกาศการปฏิบัติธรรม
ประกาศการปฏิบัติธรรม
 
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
 
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
 
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญาสุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
 
สาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครอง
สาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครองสาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครอง
สาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครอง
 
สาขาวิชาการสอนภาษาไทย
สาขาวิชาการสอนภาษาไทยสาขาวิชาการสอนภาษาไทย
สาขาวิชาการสอนภาษาไทย
 
สาขาวิชาพระพุทธศาสนา
สาขาวิชาพระพุทธศาสนาสาขาวิชาพระพุทธศาสนา
สาขาวิชาพระพุทธศาสนา
 

แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555 2559

  • 1. แ ผ น พั ฒ น า ก า ร วิ จั ย ป ร ะ จํา ป ง บ ป ร ะ ม า ณ ๒ ๕ ๕ ๕ – ๒ ๕ ๕ ๙ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ๑ | ห น า แผนพัฒนาการวิจัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙ ********************************** ๑.๑ ประวัติและความเปนมาของวิทยาลัยสงฆเลย พระเดชพระคุณพระสุนทรปริยัติเมธี (พระมหาพรหมา จนฺทโสภโณ)๑ เจาคณะจังหวัดเลย ได ปรารภที่จะดําเนินการพัฒนาขยายโอกาสทางการศึกษาระดับอุดมศึกษาสําหรับคณะสงฆจังหวัดเลย โดยมี ความประสงคที่จะใหภิกษุและสามเณรทั้งในเขตจังหวัดเลย จังหวัดใกลเคียง และมาจากจังหวัดอื่นไดศึกษา เลาเรียนวิชาการชั้นสูง โดยเนนใหศึกษาเขาใจวิชาการดานพระพุทธศาสนาและศาสตรแขนงอื่นๆ ที่จัด การศึกษาในระดับอุดมศึกษา ที่นอกเหนือจากการศึกษาพระปริยัติธรรมแผนกธรรม-บาลี ที่จัดการศึกษาอยู แลวใหกวางขวางยิ่งขึ้น เมื่อคราวประชุมเมื่อวันที่ ๕ สิงหาคม ๒๕๓๗ สภาสงฆจังหวัดโดยมีพระเดชพระคุณพระสุนทรปริยัติ เมธี เจาคณะจังหวัดเลย เปนองคประธาน มีมติเห็นชอบใหดําเนินการขออนุมัติจากวิทยาเขตขอนแกน เพื่อ ขยายหองเรียน หลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน วิชาเอกการสอนภาษาไทย โดยใหมีการจัดการศึกษาขึ้นที่วัดศรีวิชัยวนาราม อําเภอเมือง จังหวัดเลย การบริหารงานภายใตสังกัดวิทยาเขต ขอนแกน เมื่อวันที่ ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๓๘ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย มีมติใหสภาสงฆจังหวัด เลยจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาได และใหนิสิตรุนแรกจํานวน ๓๘ รูป เดินทางไปเรียนที่คณะครุศาสตร วิทยาเขตขอนแกน เมื่อวันที่ ๒๒ กุมภาพันธ ๒๕๓๙ สภามหาวิทยาลัยมีมติอนุมัติใหวิทยาเขตขอนแกนจัดตั้งศูนย การศึกษาขึ้นที่วัดศรีวิชัยวนาราม ตําบลกุดปอง อําเภอเมือง จังหวัดเลย โดยมีพระเดชพระคุณพระสุนทร ปริยัติเมธี (สมณศักดิ์ในขณะนั้น) เปนผูชวยอธิการบดีประจําศูนยการศึกษามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลัยจังหวัดเลยเปนรูปแรก เมื่อวันที่ ๒๗ สิงหาคม ๒๕๔๑ สภามหาวิทยาลัยมีมติใหยกฐานะศูนยการศึกษามหาวิทยาลัยมหาจุฬา ลงกรณราชวิทยาลัยจังหวัดเลยขึ้นเปน “วิทยาลัยสงฆเลย”
  • 2. แ ผ น พั ฒ น า ก า ร วิ จั ย ป ร ะ จํา ป ง บ ป ร ะ ม า ณ ๒ ๕ ๕ ๕ – ๒ ๕ ๕ ๙ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ๒ | ห น า การกอสรางวิทยาลัยสงฆเลยแหงใหม (จากศรีวิชัยสูศรีสองรัก) เมื่อป พ.ศ. ๒๕๔๘ พระมหาจักรพรรณ มหาวีโร รองผูอํานวยการวิทยาลัยสงฆเลย พรอมดวยคณะ ผูบริหารในขณะนั้น ไดดําเนินการจัดหาพื้นที่ที่เหมาะสมเพื่อจัดสรางวิทยาลัยสงฆเลยแหงใหมเพื่อตอบสนอง ความตองการการขยายตัวของนิสิต/นักศึกษาของวิทยาลัยสงฆเลยซึ่งนับวันจะเพิ่มมากขึ้น โดยคณะผูบริหารได ดําเนินการติดตอประสานงานขอใชที่ดินบริเวณปาโคกใหญ (โซน-อี) หมูที่ ๕ ตําบลศรีสองรัก อําเภอเมือง จังหวัดเลย ตอสํานักงานสํานักงานปฏิรูปที่ดิน (สปก.-๔๐๑) จังหวัดเลย เมื่อวันที่ ๒๘ มีนาคม ๒๕๔๙ ที่ประชุมคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินจังหวัดเลย โดยมีผูวาราชการจังหวัด เลยเปนประธาน ไดมีมติเห็นชอบใหวิทยาลัยสงฆเลยใชพื้นที่ดินเขตปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ซึ่งตั้งอยูหมูที่ ๕ ตําบลศรีสองรัก อําเภอเมือง จังหวัดเลย โดยมีเนื้อที่ ๕๐ ไร ๓ งาน ๗๖ ตารางวา ระยะหางจาก กม.ศูนย ๑๓ กิโลเมตร โดยมีนายธงชัย สิงอุดม หัวหนาฝายบริหารงานทั่วไป เปนผูเสนอขอใชที่ดินเพื่อกอสรางวิทยาลัย สงฆเลยแหงใหม และสํานักงานปฏิรูปที่ดินจังหวัดเลย ไดสงหนังสือเสนอขอใชที่ดินตอสํานักงานปฏิรูปที่ดิน เพื่อเกษตรกรรม กระทรวงเกษตรและสหกรณ เมื่อวันที่ ๓ กันยายน ๒๕๕๑ คราวประชุมครั้งที่ ๓/๒๕๕๑ สํานักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม กระทรวงเกษตรและสหกรณ กรุงเทพมหานคร มีมติอนุมัติใหวิทยาลัยสงฆเลยใชที่ดินเพื่อการกอสรางวิทยาลัย สงฆเลยแหงใหม โดยมีพระมหาลิขิต รตนรํสี รองผูอํานวยการวิทยาลัยสงฆเลย และ ผศ.ดร.ประชารัชต โพธิ ประชา เขารวมประชุมชี้แจงเหตุผลการขอใชที่ดิน เมื่อวันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๕๑ สํานักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม กระทรวงเกษตรและสหกรณ ได ออกหนังสืออนุญาตใหวิทยาลัยสงฆเลยใชที่ดินเพื่อกิจการสาธารณูปโภคและกิจการอื่นๆ ในเขตปฏิรูปที่ดิน ที่ ๔๐๗/๒๕๕๑ ซึ่งตั้งอยูเลขที่ ๑๑๙ หมู ๕ ตําบลศรีสองรัก อําเภอเมือง จังหวัดเลย เมื่อป ๒๕๕๒ วิทยาลัยสงฆเลยไดรับงบประมาณเพื่อกอสรางอาคารเรียนวิทยาลัยสงฆเลย ณ พื้นที่ แหงใหมนี้ ในวงเงิน ๑๙,๐๐๐,๐๐๐ บาท โดยไดรับความเมตตาอนุเคราะหจากเจาประคุณสมเด็จพระพุฒา จารย ประธานคณะผูปฏิบัติหนาที่สมเด็จพระสังฆราช ไดประทานอนุญาตใหใชชื่ออาคารเรียนวา “อาคาร สมเด็จพระพุฒาจารย (เกี่ยว อุปเสโณ)” การกอสรางอาคารเรียนไดเริ่มตั้งแตวันที่ ๒๔ มิถุนายน ๒๕๕๒ – ๑๙ มิถุนายน ๒๕๕๓ เมื่อวันที่ ๑๕ มิถุนายน ๒๕๕๓ วิทยาลัยสงฆเลยไดทําการยายจากวัดศรีวิชัยวนาราม มาตั้ง ณ สํานักงานใหม เลขที่ ๑๑๙ หมู ๕ ตําบลศรีสองรัก อําเภอเมือง จังหวัดเลย เปนการถาวร โดยมีวัตถุประสงค เพื่อขยายโอกาสทางการศึกษา เพื่อสนองนโยบายของรัฐบาลและคณะสงฆในการกระจายโอกาสทางการศึกษา ใหทั่วถึงแกพระภิกษุสามเณรและประชาชนทั่วไปในทองถิ่น ผูบริหารวิทยาลัยสงฆเลย อดีต-ปจจุบัน ๑. พระสุนทรปริยัติเมธี (พรหมา จนฺทโสภโณ น.ธ.เอก,ป.ธ.๕,พธ.ม. (กิตติมศักดิ์)
  • 3. แ ผ น พั ฒ น า ก า ร วิ จั ย ป ร ะ จํา ป ง บ ป ร ะ ม า ณ ๒ ๕ ๕ ๕ – ๒ ๕ ๕ ๙ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ๓ | ห น า ศศ.ด.(กิตติมศักดิ์) ผูชวยอธิการบดีประจําศูนยการศึกษาวัดศรีวิชัยวนาราม(พ.ศ.๒๕๓๙- ๒๕๕๑) ๒. พระรัตนกวี (เสาร อภินนฺโท ป.ธ. ๗,พธ.บ.) รักษาการผูอํานวยการวิทยาลัยสงฆเลย (พ.ศ. ๒๕๕๑-๒๕๕๒) ๓. พระสุวรรณธีราจารย (มูลตรี มหพฺพโล น.ธ.เอก,ป.ธ.๔,พธ.บ.,กศ.ม.) ผูอํานวยวิทยาลัยสงฆเลย (๒๕๕๒-๒๕๕๐) ๔. พระมหาจักรพรรณ มหาวีโร (ป.ธ.๖,พธ.บ.,M.A.,Ph.D.) ผูอํานวยการวิทยาลัยสงฆเลย (๒๕๕๐-๒๕๕๔) ๕. พระมหาภิรัฐกรณ อํสุมาลี (ป.ธ.๙,พธ.บ.,พธ.ม.) ผูอํานวยการวิทยาลัยสงฆเลย (๒๕๕๔ – ปจจุบัน) หลักสูตรปจจุบันที่วิทยาลัยสงฆเลยไดเปดดําเนินการเรียนการสอน อยู ๓ สาขาวิชา คือ ๑. สาขาวิชาการสอนภาษาไทย ๒. สาขาวิชารัฐศาสตร วิชาเอกการปกครอง ๓. สาขาวิชาพระพุทธศาสนา โครงการหลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต ๑ สาขาวิชา คือ ๑. สาขาวิชาพระพุทธศาสนา โครงการหลักสูตรประกาศนียบัตร มีอยู ๑ โครงการ คือ ๑. โครงการหลักสูตรประกาศนียบัตรการบริหารกิจการคณะสงฆ (ป.บส.)
  • 4. แ ผ น พั ฒ น า ก า ร วิ จั ย ป ร ะ จํา ป ง บ ป ร ะ ม า ณ ๒ ๕ ๕ ๕ – ๒ ๕ ๕ ๙ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ๔ | ห น า โครงสรางการบริหารสวนงานวิทยาลัยสงฆเลย พระมหาภิรัฐกรณ อํสุมาลี ผูอํานวยการวิทยาลัยสงฆเลย พระมหาลิขิต รตนรํสี รองผูอํานวยการฝายวิชาการ นายประสงค หัสรินทร รก.ฝายบริหารงานทั่วไป นายธงชัย สิงอุดม รองผูอํานวยการฝายบริหาร คณะกรรมการประจําวิทยาลัยสงฆเลย นายประสงค หัสรินทร หัวหนาฝายวางแผนและวิชาการ นางสาวชรินรัตน ชัยสุข นักวิเคราะหนโยบายและแผน นายอุทัย ทิพวารี นักวิชาการพัสดุ นางมัทนาวดี แจงกระจาง เจาหนาที่บรรณาคาร นางสาวทัศนีย ราชูโส เจาหนาที่บรรณาคาร นายนพพล ทองพูน เจาหนาที่พระสอนศีลธรรมฯ นายทองพูน เจริญสุข นักวิขาการศึกษา นายเจียระไน แจงกระจาง เจาหนาที่ธุรการ นายตอ ผิวศิริ พนักงานขับรถ นางอรพิน รักแม แมบาน นายสัญญา ปตุโส นักการภารโรง นายสุรชัย อุปญญา นักการภารโรง นายเสด็จ พรหมพทุธา คนสวน นางสาวยาติมา วงศอินทร เจาหนาที่บรรณารักษ นางสาวภัทรวดี กินรีสี นักวิชาการศึกษา(ทะเบียนและ วัดผล) นายพัทธนันท นวลนอย นักวิชาการคอมพิวเตอร นางสาวศิริลักษณ ชัยสิทธิ์ นักประชาสัมพันธ นางสาวรัชนีวรรณ อาสาชนา นักวิชาการการเงินและบัญชี นางสาวพนิดา สํานักดี นักวิชาการการเงินและบัญชี พระมหาสังเวช จนฺทโสภี,ดร. หัวหนาสาขาวิชาการสอนภาษาไทย พระไพรเวศน จิตฺตทนฺโต หัวหนาสาขาวิชารัฐศาสตร พระมหาสุภวิชญ ปภสฺสโร หัวหนาสาขาวิชา พระมหาลิขิต รตนรํสี อาจารยประจํา พระมหาจินดา ถิรเมธี อาจารยประจํา พระสุบรรณ จนฺทสุวณโณ อาจารยประจํา พระครูประทีปธรรมธัช,ดร. อาจารยประจํา นายประสงค หัสรินทร อาจารยประจํา พระมหาประพันธ สิริปฺโญ อาจารยประจํา นายธงชัย สิงหอุดม อาจารยประจํา ดร.ชาลภณ วงศคง อาจารยประจํา นางสาวอาภรณรัตน เลิศไผรอด อาจารยประจํา พระมหาภิรัฐกรณ อํสุมาลี อาจารยประจํา ดร.บรรพต แคไธสง อาจารยประจํา พระครูสิทธิธรรมาภรณ อาจารยประจํา พระอธิการดวงแกว กิตติธโร อาจารยประจํา อาจารยประจําบัญฑิตวิทยาลัย พระมหาธานินทร อาทิตวโร,ดร. อาจารยประจํา ดร.ปภัสสร กิมสุวรรณวงศ อาจารยประจํา พระปลัดบุญเพ็ง วรธมฺโม,ดร. อาจารยประจํา ดร.สรัญญา กุมพล อาจารยประจํา ผศ.ดร.จักรพรรณ วงศพรพวัณ อาจารยประจํา
  • 5. แ ผ น พั ฒ น า ก า ร วิ จั ย ป ร ะ จํา ป ง บ ป ร ะ ม า ณ ๒ ๕ ๕ ๕ – ๒ ๕ ๕ ๙ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ๕ | ห น า ปรัชญาของมหาวิทยาลัย "จัดการศึกษาพระพุทธศาสนา บูรณาการกับศาสตรสมัยใหม พัฒนาจิตใจและสังคม" ปณิธานของมหาวิทยาลัย เปนสถานศึกษาพระไตรปฎกและวิชาชั้นสูงสําหรับพระภิกษุ สามเณรและคฤหัสถ วิสัยทัศนของมหาวิทยาลัย มุงพัฒนามหาวิทยาลัยเปนศูนยกลางการศึกษาพระพุทธศาสนาระดับนานาชาติ โดยจัดการศึกษา และพัฒนาองคความรูบูรณาการกับศาสตรสมัยใหม ใหนําไปสูการพัฒนาจิตใจและสังคมอยางยั่งยืน พันธกิจมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย มุงปฏิบัติพันธกิจสําคัญ ในฐานะสถาบันอุดมศึกษาที่มี คุณภาพและไดมาตรฐาน โดยจัดการเรียนการสอนในลักษณะของการนําความรูดานพระพุทธศาสนาบูรณาการ กับศาสตรสมัยใหม ใหเกิดเปนองคความรูที่นําไปสูการพัฒนาจิตใจและสังคมอยางยั่งยืน ซึ่งมีสาระสําคัญ ๕ ดาน ดังนี้ ๑) มุงเนนการสรางบัณฑิตและบุคลากร ที่ผานการศึกษาอบรม เปนผูมีคุณธรรมนําความรู มีปฏิปทา นาเลื่อมใส ใฝรู ใฝคิด เปนผูนําทางจิตใจและปญญา มีโลกทัศนกวางไกล มีความสามารถและทักษะในการ แกปญหา มีศรัทธาอุทิศตนเพื่อพระพุทธศาสนาและพัฒนาสังคม ๒) มุงสงเสริมการศึกษา คนควาวิจัยใหกาวไปสูความเปนเลิศทางวิชาการดานพระพุทธศาสนา เพื่อ สรางองคความรูใหมในการพัฒนามนุษย สังคมและสิ่งแวดลอม ใหอยูรวมกันไดอยางสมดุลและสันติสุข รวมทั้ง การสรางเครือขายกับสถาบันที่มีชื่อเสียงทั้งในประเทศและตางประเทศเพื่อพัฒนาคุณภาพของนักวิจัยให นําไปสูความเปนสากล ๓) มุงเนนการใหบริการทางวิชาการในรูปแบบที่หลากหลาย มีการบริการหรือบริหารเพื่อใหพัฒนา พระพุทธศาสนา พัฒนาคุณภาพชีวิตและความเปนอยูของประชาชน มีความมุงมั่นในการใหการบริการวิชาการ ดานพระพุทธศาสนาแกคณะสงฆและสังคม รวมทั้งสงเสริมการเรียนรู และความรวมมืออันดีระหวางพระ พุทธศาสนิกชนในระดับชาติและนานาชาติ ๔) มุงสงเสริมการศึกษาผสมผสานทางวัฒนธรรมและการมีสวนรวมในประชาคมโลกดาน พระพุทธศาสนา โดยการทะนุบํารุงและอนุรักษศิลปวัฒนธรรมของสังคมไทย เปนรากฐานของการพัฒนาอยาง มีคุณภาพ เพื่อนําไปสูการรักษาความแตกตางทางวัฒนธรรมและคานิยมที่พึงประสงคใหเกิดขึ้นบุคคล องคกร และสังคม ๕) ปรับปรุงโครงสรางองคกร กฎระเบียบ การบริหาร และพัฒนาบุคลากร ใหเกิดการบริหารการ เปลี่ยนแปลง โดยยึดหลักการบริหารจัดการอยางมีประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาล เอกลักษณมหาวิทยาลัย
  • 6. แ ผ น พั ฒ น า ก า ร วิ จั ย ป ร ะ จํา ป ง บ ป ร ะ ม า ณ ๒ ๕ ๕ ๕ – ๒ ๕ ๕ ๙ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ๖ | ห น า บริการวิชาการดานพระพุทธศาสนา อัตลักษณมหาวิทยาลัย ประยุกตพระพุทธศาสนาเพื่อพัฒนาจิตใจและสังคม อัตลักษณบัณฑิตของมหาวิทยาลัย มีศรัทธาอุทิศตนเพื่อพระพุทธศาสนา ประเด็นยุทธศาสตร สงเสริมการวิจัยและพัฒนาองคความรูเพื่อเพิ่มศักยภาพการวิจัยทางพระพุทธศาสนาระดับภูมิภาค และระดับชาติ เปาประสงค วิทยาลัยมีผลงานวิจัยทางพระพุทธศาสนาที่ไดรับการเผยแพร นําไปใชประโยชนและเปนที่ยอมรับใน ระดับภูมิภาคและระดับชาติ ตัวชี้วัด ๑. จํานวนบุคลากรสายวิชาการและสายสนับสนุนไดรับการเสริมสรางศักยภาพดานการวิจัยไมนอยกวารอย ละ ๖๕ ของบุคลากรทั้งหมด ๒. จัดทําวารสาร สื่อสิ่งพิมพผลงานวิจัยอยางนอย ๑ หัวเรื่องที่ไดรับการบรรจุไวในบัญชีรายชื่อศูนยดัชนี การอางอิงวารสารไทย (Thai-journal Citation Index : TCI) ๓. เผยแพรผลงานทางวิชาการและงานสรางสรรครอยละ ๕๐ ของผลงานวิจัยในปงบประมาณ ๔. สรางเวทีเผยแพรงานวิจัยทั้งระดับภูมิภาคและระดับชาติ ๕. การใชผลงานวิจัยในการเรียนการสอนรอยละ ๓๐ ของผลงานวิจัยทั้งหมดในปงบประมาณ ๖. การใชผลงานวิจัยในการพัฒนางานรอยละ ๒๐ ของผลงานวิจัยทั้งหมดในปงบประมาณ ๗. การใชผลงานวิจัยในการพัฒนาสังคมรอยละ ๑๐ ของผลงานวิจัยทั้งหมดในปงบประมาณ ๘. การใชผลงานวิจัยในการพัฒนากิจการคณะสงฆรอยละ ๑๐ ของผลงานวิจัยทั้งหมดในปงบประมาณ ๙. ผลงานวิจัยไดรับการอางอิงหรือตีพิมพในระดับภูมิภาคและระดับชาติรอยละ ๓ ของผลงานวิจัย ทั้งหมดในปงบประมาณ ๑๐. บุคลากรหรือสวนงานไดรับรางวัลทางการวิจัยระดับภูมิภาคและระดับชาติ ปละ ๑ รางวัล ๑๑. บุคลากรหรือสวนงานไดรับการยกยองทางการวิจัยรอยละ ๑ ของบุคลากรรวมทั้งวิทยาลัย ๑๒. มีระบบฐานขอมูลงานวิจัย ๑๓. มีหองปฏิบัติการวิจัยและเจาหนาที่วิจัยหรือนักวิชาการหรือผูทรงคุณวุฒิประจําสวนงาน ๑๔. มีระบบงานวิจัยตามวงจร PDCA กลยุทธที่ ๑ พัฒนานักวิจัย ผลิตผลงานวิจัยดานพระพุทธศาสนาที่ครอบคลุมทุกกลุมความรูและสราง เครือขายความรวมมือนักวิจัยและการวิจัยระดับภูมิภาคและระดับชาติ
  • 7. แ ผ น พั ฒ น า ก า ร วิ จั ย ป ร ะ จํา ป ง บ ป ร ะ ม า ณ ๒ ๕ ๕ ๕ – ๒ ๕ ๕ ๙ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ๗ | ห น า มาตรการ ๑.๑ พัฒนาบุคลากรดานการวิจัยไมนอยกวารอยละ ๕๕ โครงการ/กิจกรรม ๑.๑ โครงการอบรมเขียนขอเสนอโครงการวิจัย ๑.๒ โครงการอบรมเขียนบทความ วิจัย กลยุทธที่ ๒ สงเสริมใหมีการเผยแพรผลงานวิจัยในระดับภูมิภาคและระดับชาติ มาตรการ ๒.๑ ยกระดับมาตรฐานวารสารและบรรจุไวในบัญชีรายชื่อศูนยดัชนีการอางอิงวารสารไทย (Thai- journal Citation Index : TCI) อยางนอย ๑ หัวเรื่องวารสาร ๒.๒ จัดเวทีเผยแพรผลงานวิจัยระดับภูมิภาคและระดับชาติ ปละ ๑ ครั้ง โครงการ/กิจกรรม ๒.๑ โครงการเผยแพรผลงานทางวิชาการและงานสรางสรรค กลยุทธที่ ๓ สงเสริมและสนับสนุนการนําองคความรูจากการวิจัยไปใชในการเรียนการสอน พัฒนาตน พัฒนางาน พัฒนาสังคมและกิจการคณะสงฆทั้งในระดับภูมิภาคและระดับชาติ มาตรการ ๓.๑ สงเสริมใหนําผลงานวิจัยไปใชในการจัดการเรียนการสอน ๓.๒ สงเสริมใหนําผลงานวิจัยไปใชในการพัฒนาตน พัฒนางาน ๓.๓ สงเสริมใหนําผลงานวิจัยไปใชในการพัฒนาสังคม และกิจการคณะสงฆ โครงการ/กิจกรรม ๘.๑ โครงการสงเสริมการนําผลการวิจัยไปพัฒนาเปนตําราทางวิชาการ สื่อการเรียนการสอน กิจการคณะสงฆ กลยุทธที่ ๔ สงเสริมใหผลการวิจัยไดรับการอางอิง การนําเสนอ การนําไปใช การตีพิมพและไดรับรางวัล ระดับภูมิภาคและระดับชาติ มาตรการ ๔.๑ สงเสริมและสนับสนุนผลการวิจัยใหไดรับการอางอิง การนําเสนอ การนําไปใช การตีพิมพ และไดรับ รางวัลระดับภูมิภาค โครงการ/กิจกรรม ๔.๑ โครงการสนับสนุนใหบุคลากรที่มีผลงานวิจัยไดรับการพิจารณาความดีความชอบในการประเมินผล งาน กลยุทธที่ ๕ พัฒนาระบบการบริหารการจัดการงานวิจัยระดับภูมิภาคและระดับชาติ มาตรการ ๕.๑ จัดทําระบบฐานขอมูลงานวิจัยตามมาตรฐานระดับนานาชาติ
  • 8. แ ผ น พั ฒ น า ก า ร วิ จั ย ป ร ะ จํา ป ง บ ป ร ะ ม า ณ ๒ ๕ ๕ ๕ – ๒ ๕ ๕ ๙ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ๘ | ห น า ๕.๒ สงเสริมการจัดตั้งศูนยวิจัยประจําสวนงานระดับคณะ สํานักสถาบัน โครงการ/กิจกรรม ๕.๑ โครงการพัฒนาระบบฐานขอมูลงานวิจัย
  • 9. แ ผ น พั ฒ น า ก า ร วิ จั ย ป ร ะ จํา ป ง บ ป ร ะ ม า ณ ๒ ๕ ๕ ๕ – ๒ ๕ ๕ ๙ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ๙ | ห น า จัดการศึกษาและเผยแผพระพุทธศาสนาในอนุภาคลุมแมน้ําโขง Educational Management and Buddhism Propagation in the Particle of Makong Basin ๑. ผลิตบัณฑิตใหไดคุณลักษณะที่มหาวิทยาลัยพึงประสงค ๙ ประการ ๒. วิจัยพระพุทธศาสนาและสังคมศาสตร ๓. บริการวิชาการดานพระพุทธศาสนาและสังคมศาสตร ๔. ทะนุบํารุงศิลปะ วัฒนธรรม ประเด็นยุทธศาสตรที่ ๑ การผลิตบัณฑิตและการพัฒนาการ จัดการเรียนการสอนที่มีคุณภาพและ มาตรฐาน ประเด็นยุทธศาสตรที่ ๒ สงเสริมการวิจัยและพัฒนาองคความรู เพื่อเพิ่มศักยภาพการวิจัยทาง พระพุทธศาสนาระดับนานาชาติ ประเด็นยุทธศาสตรที่ ๓ การบริการวิชาการแกสังคม และชุมชนทุกระดับ ประเด็นยุทธศาสตรที่ ๔ การทํานุบํารุง พระพุทธศาสนา ศิลปวัฒนธรรมและวิถีชีวิต ชุมชนอยางยั่งยืน ประเด็นยุทธศาสตรที่ ๕ พัฒนาระบบการบริหาร จัดการที่มีประสิทธิภาพตาม หลักธรรมาภิบาล  บัณฑิตไดงานทําและนายจางพึงพอใจ  อาจารยมีตําแหนงทางวิชาการและมีผลงาน วิชาการ  หลักสูตรเปนไปตามเกณฑ และมีการปรับปรุง  ผลงานวิชาการไดตีพิมพนําไปใชประโยชน  คณะสงฆ สังคม ชุมชน ไดนําเอาองคความรูใน เรื่องที่มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย เชี่ยวชาญไปใชในการแกปญหา  เรียนรูการวิจัยที่เปน ประโยชนตอการพัฒนาสังคม ชุมชน และพระพุทธศาสนา  เปนผูนําในการใหบริการ วิชาการดานพระพุทธศาสนาที่ มีคุณภาพและไดมาตรฐาน  นิสิต/บุคลากร/อาจารย มี บทบาทในการสงเสริม พระพุทธศาสนา ทํานุบํารุง ศิลปะและวัฒนธรรม  มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลง กรณราชวิทยาลัย วิทยาลัย สงฆเลย การบริหารจัดการ ตามหลักการบริหารกิจการ บานเมืองที่ดี  ใหผลผลิตเพิ่มขึ้นทั้ง ๔ ผลผลิต มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย (Strategy Map) วิทยาลัยสงฆเลย วิสัยทัศน Vision พันธกิจ Mission มิติประสิทธิผล (Dimensional Effect )
  • 10. แ ผ น พั ฒ น า ก า ร วิ จั ย ป ร ะ จํา ป ง บ ป ร ะ ม า ณ ๒ ๕ ๕ ๕ – ๒ ๕ ๕ ๙ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ๑๐ | ห น า มิติคุณภาพ (Dimensional Performance) มิติกระบวนการภายใน (Internal Processes Dimensional)  บัณฑิตมีศรัทธา อุทิศตนเพื่อพระพุทธศาสนา  อาจารยมีความเชี่ยวชาญ  หลักสูตรไดมาตรฐาน  ผลงานวิชาการเปนที่ยอมรับ  คณะสงฆ สังคม ชุมชน ไดรับความรูที่ถูกตอง อยางทั่วถึงและนําไปแกปญหา  ผลงานวิจัยเปนที่ยอมรับและ นําไปใชประโยชนในการพัฒนา ทองถิ่น ภูมิภาคตะวันออกเฉียง เหนือ  ผลงานวิจัยหรือผลงานทาง ดานภาษาไทยไดรับการตีพิมพ เผยแพร หรือไดรับรางวัลใน ระดับชาติ เชน รับรางวัลปูชนีย บุคคลดานภาษาไทย  การบริการวิชาการมีคุณภาพ เปนที่ยอมรับในระดับทองถิ่น ระดับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ  นิสิต/บุคลากร/อาจารย เห็น คุณคาของกิจกรรมทะนุบํารุง ดานพระพุทธศาสนา ศิลปะและ วัฒนธรรม  มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลง กรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ เลย ภาพลักษณที่ดี มีชื่อเสียง ในระดับทองถิ่น ระดับภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ  ผลงานมีคุณภาพตามความ ตองการของผูบริหารและทัน เวลา  ระบบการทํางานคลองตัว มี คุณภาพ โปรงใส ตรวจสอบได  ระบบและกลไกการประกันคุณภาพมีประสิทธิผล  การพัฒนาหลักสูตรใหไดมาตรฐานและทันสมัยอยางตอเนื่อง  การจัดการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ  การพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ใหมีคุณภาพทางวิชาการ  สรางเครือขายความเปนผูเชี่ยวชาญดานพระพุทธศาสนา ใน ประเด็นสาธารณะที่จําเปนตอการพัฒนาประเทศดานสงเสริม คุณธรรม จริยธรรม  สรางองคความรูและนวัตกรรมเพื่อสนับสนุนการดําเนินงาน ดานพระพุทธศาสนาสังคม และชุมชน  แสวงหาทุนวิจัยจากแหลงทุน ภายใน – ภายนอก  นําองคความรูที่ไดจากการ วิจัยมาบูรณาการเพื่อพัฒนาการ เรียนการสอน การบริการ วิชาการแกสังคมและชุมชน  ผลงานวิจัยที่ตรงตามความ ตองการของสังคมและชุมชน  สรางแรงจูงใจในการทําวิจัย  สรางเครือขายในการสนับสนุนการ ทําวิจัยรวมกับหนวยงานภายนอก เชนเทศบาล อบต. ฯลฯ  สรางความรวมมือทางดาน วิชาการและดานสงเสริม คุณธรรม จริยธรรม กับหนวย งานตางๆทั้งภาครัฐและเอกชน  นําความรูที่มหาวิทยาลัยมหา จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย เชี่ยวชาญสู สังคม  สรางบรรยากาศทางวิชาการ ในมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ ราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย  ปลูกฝงจิตสํานึกความเปน มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ ราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ในหมูนิสิต/บุคลากร/อาจารย ตามอัตลักษณบัณฑิต มีศรัทธา อุทิศตนเพื่อพระพุทธศาสนา  เผยแผความรูดาน พระพุทธศาสนา  มีการทํางานเชิงรุก  ลดขั้นตอนและ ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน  สรางบรรยากาศการ ทํางานที่มีความสุข  สงเสริมการจัดการ ความรู  สรางสภาพแวดลอมที่ เอื้อตอการทํางาน  สงเสริมการใชทรัพยากร รวมกันอยางประหยัดและ คุมคา
  • 11. แ ผ น พั ฒ น า ก า ร วิ จั ย ป ร ะ จํา ป ง บ ป ร ะ ม า ณ ๒ ๕ ๕ ๕ – ๒ ๕ ๕ ๙ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ๑๑ | ห น า  มีการพัฒนาอาจารยและบุคลากรอยางตอเนื่อง โดยมีการจัด โครงการพัฒนาบุคลากรสายวิชาการและสายสนับสนุน  มีปจจัยพื้นฐานตางๆครบถวน (นําเทคโนโลยีมาใช พัฒนาการเรียนการสอน มีสภาพแวดลอมที่เหมาะสม มีอาคาร – สถานที่ ที่เอื้อตอการเรียนรู  สรางคานิยมความเปนมหาวิทยาลัยสงฆ  ปลูกฝงคานิยมองคกรในการเปนมหาวิทยาลัยที่เปน อัตลักษณ ประยุกตพระพุทธศาสนาเพื่อพัฒนาจิตใจและสังคม เอกลักษณ การบริการดานพระพุทธศาสนา อัตลักษณบัณฑิต มีศรัทธาอุทิศตนเพื่อพระพุทธศาสนา  นําเทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัยมาใชในการประชาสัมพันธ เผยแพร  พัฒนาบุคลากรดานการวิจัย อยางตอเนื่อง  นําเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช เพื่อเก็บขอมูลและเผยแพร ผลงานวิจัย  พัฒนาบุคลากรดานบริการ วิชาการพระพุทธศาสนาอยาง ตอเนื่อง เชน สงบุคลากรไป เรียนตอหลักสูตรวิปสสนา กรรมฐาน ฯลฯ  ปลูกฝงจิตสํานึกการใหบริการ วิชาการดานพระพุทธศาสนา และสงเสริมคุณธรรม จริยธรรม  นําเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช เพื่อเผยแผผลงานทางวิชาการ  นําเทคโนโลยีมาใชในการ ประชาสัมพันธ เผยแผหรือ สงเสริมความเปนศิลปะ วัฒนธรรม  สงเสริมจิตสํานึกความเปน ไทย โดยการมีประกาศ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ ราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย เรื่อง ใหแตงกายชุดพื้นเมือง ทุกวันพฤหัสบดี  กําหนดสมรรถนะบุคลากรให สอดคลองกับภารกิจ  มุงเนนใหบุคลากรเกง ดี มี สวนรวมและทันตอการ เปลี่ยนแปลง  นําเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช ในระบบการบริหารจัดการ มิติการเรียนรูและการพัฒนาองคกร (Dimensions of Learning and evelopment) Organizational
  • 12. แ ผ น พั ฒ น า ก า ร วิ จั ย ป ร ะ จํา ป ง บ ป ร ะ ม า ณ ๒ ๕ ๕ ๕ – ๒ ๕ ๕ ๙ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ๑๒ | ห น า แสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตรชาติ ยุทธศาสตรกระทรวงศึกษาธิการ ยุทธศาสตรสํานักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา ยุทธศาสตรมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย และยุทธศาสตรมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ยุทธศาสตร ชาติ ยุทธศาสตร กระทรวง ยุทธศาสตร สกอ. นโยบายที่ ๒ การพัฒนาสังคมและคุณภาพชีวิต นโยบายที่ ๖ วิทยาศาสตร เทคโนโลยี การวิจัย และนวัตกรรม นโยบายที่ ๘ บริหารกิจการบานเมืองที่ดี การสรางโอกาสทางการศึกษาและการเรียนรูตลอดชีวิต การปลูกจิตสํานึกและ กระตุนใหเกิดการทํานุ บํารุงศิลปวัฒนธรรมไทย การพัฒนาขีดความสามารถ ของประเทศ โดยใชความรูเปนฐาน การยกระดับคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา การสรางโอกาสทาง การศึกษาและการ เรียนรูตลอดชีวิต การศึกษาและวิจัย เพื่อทํานุบํารุง ศิลปวัฒนธรรมไทย การพัฒนาขีดความสามารถ ของประเทศ โดยใชความรูเปนฐาน การพัฒนาระบบบริหารจัดการ และกฎหมายดานการศึกษา ยุทธศาสตร มจร.สวนกลาง ๑.การผลิตบัณฑิตและการพัฒนาการ จัดการเรียนการสอนที่มีคุณภาพและ มาตรฐาน ๓.การบริการวิชาการ แกสังคมและชุมชน ทุกระดับ ๔.การทํานุบํารุง พระพุทธศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม อยางยั่งยืน ๒.สงเสริมการวิจัยและพัฒนาองค ความรูเพื่อเพิ่มศักยภาพการวิจัย ทางพระพุทธศาสนาระดับ นานาชาติ ๕.พัฒนาระบบการบริหารจัดการ ที่มีประสิทธิภาพตาม หลักธรมาภิบาล
  • 13. แ ผ น พั ฒ น า ก า ร วิ จั ย ป ร ะ จํา ป ง บ ป ร ะ ม า ณ ๒ ๕ ๕ ๕ – ๒ ๕ ๕ ๙ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ๑๓ | ห น า เปาประสงค ยุทธศาสตร วิทยาลัยสงฆ เลย ๑.การผลิตบัณฑิตและการพัฒนาการ จัดการเรียนการสอนที่มีคุณภาพและ มาตรฐาน ๓.การบริการ วิชาการแกสังคม และชุมชนทุกระดับ ๔.การทํานุบํารุง พระพุทธศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม อยางยั่งยืน ๕.พัฒนาระบบการบริหารจัดการ ที่มีประสิทธิภาพตาม หลักธรรมาภิบาล ๒.สงเสริมการวิจัยและพัฒนาองค ความรูเพื่อเพิ่มศักยภาพการวิจัย ทางพระพุทธศาสนาระดับ นานาชาติ  บัณฑิตที่ไดรับการศึกษาเปนผูมี ภูมิคุมกัน มีคุณธรรม จริยธรรม ทักษะทาง ปญญา มีทักษะความสัมพันธระหวางบุคคล มีความรับผิดชอบ มีทักษะวิเคราะหเชิง คณิตศาสตร และการสื่อสารและการใช เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อใหสามารถ ปฏิบัติงานไดทุกแหงทั่วโลก  มหาวิทยาลัยมุงพัฒนารูปแบบการ จัดการเรียนการสอนที่มีคุณภาพและได มาตรฐานสากล สามารถ ตอบสนองตอ ความตองการของสังคม  มหาวิทยาลัยเปน แหลงเรียนรูและ ใหบริการวิชาการ ทางดาน พระพุทธศาสนาแก สังคมและชุมชนทุก ระดับ  มหาวิทยาลัยเปนแหลง เรียนรูทางดานพุทธ ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม และภูมิปญญาทองถิ่น อยางยั่งยืน  มหาวิทยาลัยมีผลงานวิจัย ทางพระพุทธศาสนาที่ไดรับการ เผยแพร นําไปใชประโยชนและ เปนที่ยอมรับในระดับชาติและ นานาชาติ  มหาวิทยาลัยมีระบบบริหาร จัดการที่มีประสิทธิภาพตามหลัก ธรรมาภิบาล
  • 14. แ ผ น พั ฒ น า ก า ร วิ จั ย ป ร ะ จํา ป ง บ ป ร ะ ม า ณ ๒ ๕ ๕ ๕ – ๒ ๕ ๕ ๙ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ๑๔ | ห น า รายงานผลวิเคราะหความสอดคลองระหวางแผนกลยุทธและแผนปฏิบัติการประจําป แผน กลยุทธ มจร. วส.เลย แผน ปฏิบัติการ ประจําป ปรัชญา จัดการศึกษาพระพุทธศาสนา บูรณาการกับศาสตรสมัยใหม พัฒนาจิตใจและสังคม ปณิธาน ศึกษาพระไตรปฎกและวิชาชั้นสูงสําหรับพระภิกษุสามเณรและคฤหัสถ วิสัยทัศน จัดการศึกษาและเผยแผพระพุทธศาสนาในอนุภาคลุมแมน้ําโขง Educational Management and Buddhism Propagation in the Particle of Makong Basin พันธกิจ ๑.มุงมั่นการสรางบัณฑิตใหมี ภูมิคุมกัน มีคุณธรรม จริยธรรม ทักษะทางปญญา ๒.มุงสงเสริมการศึกษา คนควาวิจัยใหกาว ไปสูความเปนเลิศทางวิชาการ ๓.มุนเนนการใหบริการทางวิชาการใน รูปแบบที่หลากหลาย ๕. ปรับปรุงโครงสรางองคกร ปรับปรุงกฎระเบียบ การบริหาร ยุทธศาสตร ๑.การผลิตบัณฑิตและการพัฒนาการจัดการเรียน การสอนที่มีคุณภาพและมาตรฐาน ๒.สงเสริมการวิจัยและ พัฒนาองคความรูเพื่อ เพิ่มศักยภาพการวิจัย ทางพระพุทธศาสนา ระดับนานาชาติ ๓. การบริการวิชาการ แกสังคมและชุมชนทุก ระดับ ๔.การทํานุบํารุง พระพุทธศาสนา ศิลปวัฒนธรรมและวิถี ชีวิตชุมชนอยางยั่งยืน ๕.พัฒนาระบบการ บริหารจัดการที่มี ประสิทธิภาพตาม หลักธรรมาภิบาล ยุทธศาสตร แผนปฏิบัติการ ประจําป ๒.สงเสริมการวิจัยและ พัฒนาองคความรูเพื่อ เพิ่มศักยภาพการวิจัย ทางพระพุทธศาสนา ระดับภูมิภาค ๓. การบริการวิชาการ แกสังคมและชุมชนทุก ระดับ ๔.การทํานุบํารุง พระพุทธศาสนา ศิลปวัฒนธรรมและวิถี ชีวิตชุมชนอยางยั่งยืน ๑.การผลิตบัณฑิตและการพัฒนาการจัดการเรียน การสอนที่มีคุณภาพและมาตรฐาน ๔.มุงสงเสริมการศึกษา ผสมผสานทางวัฒนธรรม
  • 15. แ ผ น พั ฒ น า ก า ร วิ จั ย ป ร ะ จํา ป ง บ ป ร ะ ม า ณ ๒ ๕ ๕ ๕ – ๒ ๕ ๕ ๙ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ๑๕ | ห น า แผน ปฏิบัติการ ประจําป เปาประสงค  บัณฑิตที่ไดรับการศึกษาเปนผูมีภูมิคุมกัน มี คุณธรรม จริยธรรม ทักษะทาง ปญญา มีทักษะความสัมพันธระหวางบุคคล มี ความรับผิดชอบ มีทักษะวิเคราะหเชิงคณิตศาสตร และการสื่อสารและการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อใหสามารถปฏิบัติงานไดทุกแหงทั่วโลก  มหาวิทยาลัยมุงพัฒนารูปแบบการจัดการเรียน การสอนที่มีคุณภาพและได มาตรฐานสากล สามารถตอบสนองตอความ ตองการของสังคม  มหาวิทยาลัยมี ผลงานวิจัยทาง พระพุทธศาสนาที่ไดรับ การเผยแพร นําไปใช ประโยชนและเปนที่ ยอมรับในระดับชาติและ นานาชาติ  มหาวิทยาลัยเปน แหลงเรียนรูและ ใหบริการวิชาการ ทางดาน พระพุทธศาสนาแก สังคมและชุมชนทุก ระดับ  มหาวิทยาลัยเปน แหลงเรียนรูทางดาน พุทธศาสนา ศิลปวัฒนธรรมและภูมิ ปญญาทองถิ่นอยาง ยั่งยืน  บริหารจัดการ วิทยาลัยสงฆเลย ที่มีประสิทธิภาพและ เปนองคกรแหง การเรียนรู
  • 16. แ ผ น พั ฒ น า ก า ร วิ จั ย ป ร ะ จํา ป ง บ ป ร ะ ม า ณ ๒ ๕ ๕ ๕ – ๒ ๕ ๕ ๙ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ๑๖ | ห น า นโยบายพัฒนาการวิจัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย **************************************** หลักการและเหตุผล มหาวิทยาลัยสงฆเลยมุงสงเสริมการศึกษา คนควาวิจัยใหกาวไปสูความเปนเลิศทางวิชาการดาน พระพุทธศาสนา เพื่อสรางองคความรูใหมในการพัฒนามนุษย สังคมและสิ่งแวดลอม ใหอยูรวมกันไดอยาง สมดุลและสันติสุข รวมทั้งการสรางเครือขายกับสถาบันที่มีชื่อเสียงทั้งในประเทศและตางประเทศเพื่อพัฒนา คุณภาพของนักวิจัยใหนําไปสูความเปนสากล วัตถุประสงค เพื่อเปนแนวทางในการประพฤติปฏิบัติของนักวิจัยทั่วไป โดยมีลักษณะเปนขอพึงสังวรมากกวาจะ เปนขอบังคับ อันจะนําไปสูการเสริมสรางจรรยาบรรณในหมูนักวิจัย กรอบนโยบายการพัฒนาการวิจัย การวิจัยและคนควา เพื่อสรางองคความรูควบคูไปกับกระบวนการเรียนการสอน เนนการพัฒนาองคความรูใน พระไตรปฎก โดยวิธีสหวิทยาการแลวนําองคความรูที่คนพบมาประยุกตใชแกปญหา ศีลธรรม และจริยธรรมของสังคม รวมทั้ง พัฒนา คุณภาพงานวิชาการดานพระพุทธศาสนา กลยุทธการการพัฒนาการวิจัย กลยุทธที่ ๑ พัฒนานักวิจัย ผลิตผลงานวิจัยดานพระพุทธศาสนาที่ครอบคลุมทุกกลุมความรูและสราง เครือขายความรวมมือนักวิจัยและการวิจัยระดับชาติและนานาชาติ กลยุทธที่ ๒ สงเสริมใหมีการเผยแพรผลงานวิจัยในระดับภูมิภาคและระดับชาติ กลยุทธที่ ๓ สงเสริมและสนับสนุนการนําองคความรูจากการวิจัยไปใชในการเรียนการสอน พัฒนา ตน พัฒนางาน พัฒนาสังคมและกิจการคณะสงฆทั้งในระดับภูมิภาคและระดับชาติ กลยุทธที่ ๔ สงเสริมใหผลการวิจัยไดรับการอางอิง การนําเสนอ การนําไปใช การตีพิมพและไดรับ รางวัลระดับภูมิภาคและระดับชาติ กลยุทธที่ ๕ พัฒนาระบบการบริหารการจัดการงานวิจัยระดับภูมิภาคและระดับชาติ กลยุทธที่ ๖ สงเสริมใหผลการวิจัยไดรับการอางอิง การนําเสนอ การนําไปใช การตีพิมพและไดรับ รางวัลระดับภูมิภาคและระดับชาติ กลยุทธที่ ๗ พัฒนาระบบการบริหารการจัดการงานวิจัยระดับภูมิภาคและระดับชาติ
  • 17. แ ผ น พั ฒ น า ก า ร วิ จั ย ป ร ะ จํา ป ง บ ป ร ะ ม า ณ ๒ ๕ ๕ ๕ – ๒ ๕ ๕ ๙ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ๑๗ | ห น า ยุทธศาสตรการพัฒนา ๑. สงเสริมการวิจัยและพัฒนาองคความรูเพื่อเพิ่มศักยภาพการวิจัยทางพระพุทธศาสนาระดับภูมิภาคและระดับชาติ มีเปาประสงค ๒. สรางแรงจูงใจในการทํางานวิจัย สรางความตระหนักวางานวิจัยเปนภารกิจของอาจารยในวิทยาลัย สงฆเลย ๓. สรางความเข็มแข็งและคุณภาพในการวิจัย ๔. สรางชื่อเสียงและใชประโยชนจากผลงานวิจัย ๕. สงเสริมและสนับสนุนการถายทอดเทคโนโลยี สูชุมชน และหนวยงานทั้งภาครัฐและเอกชนเพื่อการ พัฒนาอาชีพ ๖. สรางเครือขายความรวมมือทางวิชาการและเทคโนโลยีกับสถาบันหรือหนวยงานอื่นๆ ๗. สงเสริมงานวิจัยดานการพัฒนาทองถิ่นในเขตจังหวัดหนองบัวลําภู จังหวัดเลย และในเขตจังหวัด อื่นๆ แผนพัฒนางานวิจัย แบงออกเปน ๔ ดาน ๑. การพัฒนางานดานการบริหารจัดการ ๒. การพัฒนานักวิจัย ๓. การพัฒนาคุณภาพงานวิจัย ๔. การพัฒนาดานการบริการวิชาการและถายทอดเทคโนโลยี ๑. การพัฒนางานดานการบริหารจัดการ ไดแก ๑.๑ พัฒนาระบบการบริหารจัดการในสถาบันวิจัยและพัฒนาใหมีประสิทธิภาพ รวดเร็ว โปรงใส เปนธรรม และตรวจสอบได ๑.๒ ปรับปรุงระเบียบและขอบังคับตางๆ ใหเอื้อตอการทําวิจัยและถายทอด ๑.๓ จัดทําขอมูลฐานวิจัย ๑.๔ จัดหาและประชาสัมพันธแหลงทุน ใหนักวิจัย ๒. การพัฒนานักวิจัย ไดแก ๒.๑ สงเสริมใหมีนักวิจัยเพิ่มขึ้น ๒.๒ จัดใหมีการอบรมนักวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพนักวิจัย ๒.๓ สงเสริมและสนับสนุนใหนักวิจัยไดนําเสนอผลงานวิจัย สิ่งประดิษฐ นวัตกรรมตางๆ ทั้งในประเทศและตางประเทศ ๒.๔ สนับสนุนการดําเนินการวิจัย เชน จัดหางบประมาณ กองทุนอุดหนุนการวิจัย ทั้งจากแหลงทุน ภายนอกและแหลงทุนภายในใหครอบคลุมบุคลากร ทั้งคณาจารยขาราชการและนักศึกษาของมหาวิทยาลัย ๒.๕ สงเสริมใหคณาจารยแตละทานมีผลงานวิจัยอยางตอเนื่อง อยางนอยเปนการวิจัยใน ระดับพัฒนาการเรียนการสอน หรือวิจัยในชั้นเรียน ๓. การพัฒนาคุณภาพงานวิจัย ไดแก
  • 18. แ ผ น พั ฒ น า ก า ร วิ จั ย ป ร ะ จํา ป ง บ ป ร ะ ม า ณ ๒ ๕ ๕ ๕ – ๒ ๕ ๕ ๙ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ๑๘ | ห น า ๓.๑ สรางเครือขายความรวมมือทางดานวิชาการและงานวิจัย กับมหาวิทยาลัยสถานศึกษาและ องคกรอื่น ๓.๒ จัดใหมีคณะกรรมการพิจารณาขอเสนอโครงการวิจัยและรายงานการวิจัย กรรมการตรวจ ประเมินและติดตามผลงานวิจัย เพื่อสรางมาตรฐานงานวิจัย ๓.๓ จัดใหมีหนวยงานหรือศูนยวิจัยเฉพาะทางเพื่อวิจัยในแนวลึกหรือเฉพาะดานมากขึ้น ๓.๔ สงเสริมการวิจัยและถายทอดเทคโนโลยีเพื่อการใหบริการแกประชาชนและชุมชนทองถิ่นตาม ความตองการและสนองตอบตอความจําเปนในการพัฒนาชุมชนทองถิ่น และจังหวัด ๓.๕ จัดใหมีการประชุมสัมมนาเพื่อนําเสนอผลงานวิจัย สิ่งประดิษฐ และนวัตกรรม เพื่อนําเสนอ ผลงานวิจัยสิ่งประดิษฐ และนวัตกรรม เพื่อใหนักวิจัย และนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาไดแสดงผลงาน ๔. การพัฒนาดานการบริการวิชาการและถายทอดเทคโนโลยี ไดแก ๔.๑ จัดใหมีระบบฐานขอมูลและสารสนเทศที่เกี่ยวของกับการเผยแพรผลงานวิจัย นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ เพื่อการสืบคน และถายทอดเทคโนโลยีผานระบบสารสนเทศ ๒.๒ จัดใหมีระบบจัดการความรู (Knowledge management) ที่เกิดจากองคความรูจากการวิจัย ๔.๓ สงเสริมใหการถายทอดความรูเทคโนโลยี นวัตกรรม และสิ่งประดิษฐ ลงสูกลุมเปาหมายเพื่อ เผยแพรในวงวิชาการ หรือนําไปใชประโยชนไดจริง ๔.๔ จัดใหมีกลไกการคัดสรร วิเคราะห และสังเคราะหความรูที่กอใหเกิดประโยชนแกชุมชนและ สังคมผานชองทางตางๆ ๔.๕ จัดใหมีกลไกการเชื่อมโยงหรือการใหบริการวิชาการ อันเนื่องมาจากการวิจัย องคความรู สิ่งประดิษฐ หรือนวัตกรรม ระหวางนักวิจัยกับผูสนใจ ชุมชนหรือสังคม ตารางแสดงประมาณการงบประมาณโครงการ/แผนการวิจัย
  • 19. แ ผ น พั ฒ น า ก า ร วิ จั ย ป ร ะ จํา ป ง บ ป ร ะ ม า ณ ๒ ๕ ๕ ๕ – ๒ ๕ ๕ ๙ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ๑๙ | ห น า ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙ ปงบประ มาณ โครงการ/กิจกรรม รหัสงบประมาณ(บาท) รวม(บาท)เงินงบประมาณ เงินนอก งบประมาณ ๒๕๕๕ โครงการวิจัยติดตามผลพุทธศาสตรบัณฑิต ๑๕,๐๐๐ ๑๕,๐๐๐ โครงการวิจัยการบริการดานการเรียนการสอน ของวิทยาลัยสงฆเลย ๑๕,๐๐๐ ๑๕,๐๐๐ โครงการสนับสนุนบุคลากรเพื่อเพิ่มศักยภาพ ดานงานวิจัย ๖๐,๐๐๐ ๖๐,๐๐๐ โครงการสรางและพัฒนาเครือขายความรวมมือ ดานการวิจัย ๓๐,๐๐๐ ๓๐,๐๐๐ ๒๕๕๖ โครงการวิจัยติดตามผลพุทธศาสตรบัณฑิต ๑๕,๐๐๐ ๑๕,๐๐๐ โครงการวิจัยการบริการดานการเรียนการสอน ของวิทยาลัยสงฆเลย ๑๕,๐๐๐ ๑๕,๐๐๐ โครงการสนับสนุนบุคลากรเพื่อเพิ่มศักยภาพ ดานงานวิจัย ๖๐,๐๐๐ ๖๐,๐๐๐ โครงการสรางและพัฒนาเครือขายความรวมมือ ดานการวิจัย ๓๐,๐๐๐ ๓๐,๐๐๐ ๒๕๕๗ โครงการวิจัยติดตามผลพุทธศาสตรบัณฑิต รอการจัดสรรงบ โครงการวิจัยการบริการดานการเรียนการสอน ของวิทยาลัยสงฆเลย รอการจัดสรรงบ โครงการสนับสนุนบุคลากรเพื่อเพิ่มศักยภาพ ดานงานวิจัย รอการจัดสรรงบ โครงการสรางและพัฒนาเครือขายความรวมมือ ดานการวิจัย รอการจัดสรรงบ ๒๕๕๘ โครงการวิจัยติดตามผลพุทธศาสตรบัณฑิต รอการจัดสรรงบ โครงการวิจัยการบริการดานการเรียนการสอน ของวิทยาลัยสงฆเลย รอการจัดสรรงบ โครงการสนับสนุนบุคลากรเพื่อเพิ่มศักยภาพ ดานงานวิจัย รอการจัดสรรงบ โครงการสรางและพัฒนาเครือขายความรวมมือ ดานการวิจัย รอการจัดสรรงบ ๒๕๕๙ โครงการวิจัยติดตามผลพุทธศาสตรบัณฑิต รอการจัดสรรงบ โครงการวิจัยการบริการดานการเรียนการสอน ของวิทยาลัยสงฆเลย รอการจัดสรรงบ โครงการสนับสนุนบุคลากรเพื่อเพิ่มศักยภาพ ดานงานวิจัย รอการจัดสรรงบ โครงการสรางและพัฒนาเครือขายความรวมมือ ดานการวิจัย รอการจัดสรรงบ
  • 20. แ ผ น พั ฒ น า ก า ร วิ จั ย ป ร ะ จํา ป ง บ ป ร ะ ม า ณ ๒ ๕ ๕ ๕ – ๒ ๕ ๕ ๙ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ๒๐ | ห น า ตารางแสดงรายละเอียดแผนพัฒนาการวิจัย ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๙ ยุทธศาสตรที่ ๑ สงเสริมการวิจัยและพัฒนาองคความรูเพื่อเพิ่มศักยภาพการวิจัยทางพระพุทธศาสนาระดับภูมิภาคและระดับชาติ เปาประสงคที่ ๑ วิทยาลัยมีผลงานวิจัยทางพระพุทธศาสนาที่ไดรับการเผยแพร นําไปใชประโยชนและเปนที่ยอมรับในระดับภูมิภาคและระดับชาติ กลยุทธ มาตรการ โครงการ/กิจกรรม ตัวชี้วัด หนวยนับ เปาหมาย ๒๕๕๕ ๒๕๕๖ ๒๕๕๗ ๒๕๕๘ ๒๕๕๙ กลยุทธที่ ๑ พั ฒ น า นั ก วิ จั ย ผลิตผลงานวิจัยดาน พ ร ะ พุ ท ธ ศ าส น า ที่ ครอบคลุมทุกกลุมความรู และสรางเครือขายความ รวมมือนักวิจัยและการ วิจัยระดับชาติและ นานาชาติ ๑.๑ พัฒนาบุคลากร ดานการวิจัยไมนอยกวา รอยละ ๖๕% ๑.๑ โครงการอบรม เขียนขอเสนอโครงการวิจัย ๑.๒ โครงการอบรม เขียนบทความ วิจัย ๑.๑ จํานวนบุคลากร สายวิชาการและสาย สนับสนุน ไดรับการ เสริมสรางศักยภาพดาน การวิจัยไมนอยกวารอย ละ ๖๕ ของบุคลากร ทั้งหมด รอยละ ๗๐ ๗๐ ๗๐ ๗๐ ๗๐
  • 21. แ ผ น พั ฒ น า ก า ร วิ จั ย ป ร ะ จํา ป ง บ ป ร ะ ม า ณ ๒ ๕ ๕ ๕ – ๒ ๕ ๕ ๙ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ๒๑ | ห น า กลยุทธ มาตรการ โครงการ/กิจกรรม ตัวชี้วัด หนวยนับ เปาหมาย ๒๕๕๕ ๒๕๕๖ ๒๕๕๗ ๒๕๕๘ ๒๕๕๙ กลยุทธที่ ๒ สงเสริมใหมีการ เผยแพรผลงานวิจัยใน ร ะ ดั บ ภู มิ ภ า ค แ ล ะ ระดับชาติ ๒ . ๑ ย ก ร ะ ดั บ มาตรฐานวารสารและ บรรจุไวในบัญชีรายชื่อ ศูนยดัชนีการอางอิง วาร ส าร ไท ย ( Thai- journal Citation Index : TCI) อยางนอย ๑ หัว เรื่องวารสาร ๗.๒ จัดเวทีเผยแพร ผลงานวิจัยระดับภูมิภาค และระดับชาติ ปละ ๑ ครั้ง ๒.๑ โครงการเผยแพร ผลงานทางวิชาการและงาน สรางสรรค ๒.๑ จัดทําวารสาร สื่อสิ่งพิมพผลงานวิจัย อยางนอย ๑ หัวเรื่องที่ ไดรับการบรรจุไวใน บัญชีรายชื่อศูนยดัชนี การอางอิงวารสารไทย (Thai-journal Citation Index : TCI) ๒.๒ เผยแพรผลงาน ทางวิชาการและงาน สรางสรรครอยละ ๕๐ ของผลงานวิจัยใน ปงบประมาณ ๒. ๓ ส ร าง เ ว ที เผยแพรงานวิจัยทั้ง ระ ดับ ภูมิภาคแล ะ ระดับชาติ - จัดเวทีเผยแพร งานวิจัยระดับชาติ อยางนอยปละ ๑ ครั้ง - จัดเวทีเผยแพร งานวิจัยระดับนานาชาติ จํานวน รอยละ จํานวน - ๕๐ - - ๕๐ - - ๗๐ - - ๕๐ - ๑ ๗๐ ๑
  • 22. แ ผ น พั ฒ น า ก า ร วิ จั ย ป ร ะ จํา ป ง บ ป ร ะ ม า ณ ๒ ๕ ๕ ๕ – ๒ ๕ ๕ ๙ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ๒๒ | ห น า กลยุทธ มาตรการ โครงการ/กิจกรรม ตัวชี้วัด หนวยนับ เปาหมาย ๒๕๕๕ ๒๕๕๖ ๒๕๕๗ ๒๕๕๘ ๒๕๕๙ อยางนอยปละ ๑ ครั้ง กลยุทธที่ ๓ สงเสริมและสนับสนุน การนําองคความรูจาก การวิจัยไปใชในการเรียน การสอน พัฒนาตน พัฒนางาน พัฒนาสังคม และกิจการคณะสงฆทั้ง ในระดับภูมิภาคและ ระดับชาติ ๓.๑ สงเสริมใหนํา ผลงานวิจัยไปใชในการ จัดการเรียนการสอน ๓.๒ สงเสริมใหนํา ผลงานวิจัยไปใชในการ พัฒนาตน พัฒนางาน ๓.๓ สงเสริมใหนํา ผลงานวิจัยไปใชในการ พัฒนาสังคม และกิจการ คณะสงฆ ๓.๑ โครงการสงเสริม การนําผลการวิจัยไปพัฒนา เปนตําราทางวิชาการ สื่อ การเรียนการสอน ๓.๑ การใชงานวิจัย ในการเรียนการสอน ร อ ย ล ะ ๓ ๐ ข อ ง ผลงานวิจัยที่สําเร็จใน ปงบประมาณนั้นๆ ๓.๒ การใชงาน วิจัยในการพัฒนางาน ร อ ย ล ะ ๒ ๐ ข อ ง ผลงานวิจัยที่สําเร็จใน ปงบประมาณนั้นๆ ๓.๓ การใชงาน วิจัยในการพัฒนาสังคม ร อ ย ล ะ ๑ ๐ ข อ ง ผลงานวิจัยทั้งหมดใน ปงบประมาณนั้นๆ ๓.๔ การใชงาน วิจั ย ในก าร พั ฒ น า กิจการคณะสงฆรอยละ ๑๐ ของผลงานวิจัย ทั้งหมดในปงบประมาณ นั้นๆ รอยละ รอยละ เรื่อง N/A N/A ๑ ๓๐ ๒๐ ๑ ๓๐ ๒๐ ๑ ๓๐ ๒๐ ๑ ๓๐ ๒๐ ๑
  • 23. แ ผ น พั ฒ น า ก า ร วิ จั ย ป ร ะ จํา ป ง บ ป ร ะ ม า ณ ๒ ๕ ๕ ๕ – ๒ ๕ ๕ ๙ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ๒๓ | ห น า กลยุทธ มาตรการ โครงการ/กิจกรรม ตัวชี้วัด หนวยนับ เปาหมาย ๒๕๕๕ ๒๕๕๖ ๒๕๕๗ ๒๕๕๘ ๒๕๕๙ กลยุทธที่ ๔ สงเสริมใหผลการวิจัย ไดรับการอางอิง การ นําเสนอ การนําไปใช การตีพิมพและไดรับ รางวัลระดับภูมิภาคและ ระดับชาติ ๔.๑ สงเสริมและ สนับสนุนผลการวิจัยให ไดรับการอางอิง การ นําเสนอ การนําไปใช การ ตีพิมพ และไดรับรางวัล ระดับภูมิภาค ๔.๑ โครงการสนับสนุน ใหบุคลากรที่มีผลงานวิจัย ไดรับการพิจารณาความดี ค ว า ม ช อ บ ใ น ก า ร ประเมินผลงาน ๔.๑ ผลงานวิจัย ไดรับการอางอิงหรือ ตีพิมพ รอยละ ๓ ของ ผลงานวิจัยที่สําเร็จใน ปงบประมาณ ๔.๒ บุคลากรหรือ สวนงาน ไดรับรางวัล ทางการวิจัย ระดับ ภูมิภาคและระดับชาติ ปละ ๑ รางวัล ๔.๓ บุคลากรหรือ สวนงานไดรับการยก ยองทางการวิจัย รอย ละ ๑ ของบุคลากร รวมทั้งวิทยาลัย รอยละ จํานวน รอยละ - - - - - - - - - - ๑ - ๓ ๑ -
  • 24. แ ผ น พั ฒ น า ก า ร วิ จั ย ป ร ะ จํา ป ง บ ป ร ะ ม า ณ ๒ ๕ ๕ ๕ – ๒ ๕ ๕ ๙ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ๒๔ | ห น า กลยุทธ มาตรการ โครงการ/กิจกรรม ตัวชี้วัด หนวยนับ เปาหมาย ๒๕๕๕ ๒๕๕๖ ๒๕๕๗ ๒๕๕๘ ๒๕๕๙ กลยุทธที่ ๕ พัฒนาระบบการ บริ ห าร ก าร จั ดก าร งานวิจัยระดับภูมิภาค และระดับชาติ ๕.๑ จัดทําระบบ ฐานขอมูลงานวิจัยตาม มาตรฐานระดับนานาชาติ ๕.๒ สงเสริมการ จัดตั้งศูนยวิจัยประจําสวน งานระดับคณะ สํานัก สถาบัน ๕.๑ โครงการพัฒนา ระบบฐานขอมูลงานวิจัย ๕ . ๑ มี ร ะ บ บ ฐานขอมูลงานวิจัย ๕.๒ มีหองปฏิบัติ การวิจัยและเจาหนาที่ วิจัยหรือนักวิชาการ หรือผูทรงคุณวุฒิประจํา สวนงาน ๕.๓ มีระบบงาน วิจัยตามวงจร PDCA ระบบ แหง ระบบ - - - - - - - - - ๑ ๑ - ๑ ๑ ๑
  • 25. แ ผ น พั ฒ น า ก า ร วิ จั ย ป ร ะ จํา ป ง บ ป ร ะ ม า ณ ๒ ๕ ๕ ๕ – ๒ ๕ ๕ ๙ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ๒๕ | ห น า โครงการตามแผนปฏิบัติการ โครงการพัฒนาการวิจัย ๑. ผลผลิตที่ ๔ ผลงานวิจัย : งบอุดหนุนโครงการวิจัย จํานวน ๔ โครงการ ลําดับ รายการ เวลาดําเนินการ หมายเหตุ ๑ โครงการวิจัยติดตามผลพุทธศาสตรบัณฑิต ต.ค.๕๕ – ก.ย.๕๖ ๒ โครงการวิจัยการบริการดานการเรียนการสอนของวิทยาลัย สงฆเลย ต.ค.๕๕ – ก.ย.๕๖ ๓ โครงการสนับสนุนบุคลากรเพื่อเพิ่มศักยภาพดานงานวิจัย ต.ค.๕๕ – ก.ย.๕๖ ๔ โครงการสรางและพัฒนาเครือขายความรวมมือดานการวิจัย ต.ค.๕๕ – ก.ย.๕๖