SlideShare a Scribd company logo
1 of 93
Stoichiometry
    Mr.Soontorn Pornjumreon
             Chemistry department
      Mahidolwittayanusorn school
               www.mwit.ac.th/~sp
ปริมาณสัมพันธ์(Stoichiometry)
   หมายถึง การศึกษาเชิงปริมาณที่
    เกี่ยวข้องกับองค์ประกอบของสารเคมี
    สารตั้งต้น ผลิตผล ตลอดจนพลังงาน
    ของสารที่เปลี่ยนแปลงไปในปฏิกิริยาเคมี
    (เคมี เล่ม 1 : คณะอนุกรรมการปรับปรุงหลักสูตร
    วิทยาศาสตร์สาขาเคมี ตามโครงการปรับปรุง
    หลักสูตรวิทยาศาสตร์ระดับมหาวิทยาลัย)

   Stoichiometry มาจากภาษากรีก Stoichion =
   ธาตุ
อ.
                                = การวัด
                         metron สุนทร พรจำาเริญ
มวลอะตอม(Atomic mass)

               มวลอะตอมของธาตุ
                คือตัวเลขที่ได้จาก
                การเปรียบเทียบมวล
                ของธาตุ 1 อะตอม
                กับมวลของธาตุ
               คำมาตรฐาน 1 อะตอม
                 าถาม
               ทำาไม ? ต้องเปรียบ
                 เทียบกับธาตุ
               มาตรฐาน
               ธาตุใด คือธาตุ
อ.               มาตรฐานทร พรจำาเริญ
                        สุน
มวลอะตอม(Atomic mass)

    ธาตุไฮโดรเจนมาตรฐาน

                         มวลของธาตุนั้น 1
     มวลอะตอมของธาตุ =
                         อะตอม
                       มวลของไฮโดรเจน 1
     ---------------------------------------
                        อะตอม
                         มวลของธาตุนั้น 1
                         อะตอมx 10-24 g
                          1.66
     มวลอะตอมของธาตุ =
     ---------------------------------------

อ.                                      สุนทร พรจำาเริญ
มวลอะตอม(Atomic mass)

    ธาตุออกซิเจนมาตรฐาน

                            มวลของธาตุนั้น 1
     มวลอะตอมของธาตุ =
                            อะตอม
                        1/16 มวลของออกซิเจน 1
     -----------------------------------------------
                        อะตอม
                            มวลของธาตุนั้น 1
                            อะตอม x 10-24 g
                              1.66
     มวลอะตอมของธาตุ =
     -----------------------------------------------

อ.                                        สุนทร พรจำาเริญ
มวลอะตอม(Atomic mass)

    ธาตุคาร์บอน-12 มาตรฐาน

                            มวลของธาตุนั้น 1
     มวลอะตอมของธาตุ =
                            อะตอม
                        1/12 มวลของ C-12 1
     -----------------------------------------------
                        อะตอม
                            มวลของธาตุนั้น 1
                            อะตอม x 10-24 g
                              1.66
     มวลอะตอมของธาตุ =
     -----------------------------------------------

อ.                                           สุนทร พรจำาเริญ
มวลอะตอม(Atomic mass)


        1.66 x 10-24 g = 1 amu
        1 amu = 1 u = 1 D

       amu = atomic mass unit
     u = unified atomic mass unit
             D = Dalton


อ.                           สุนทร พรจำาเริญ
มวลอะตอมเฉลี่ย




    มวลอะตอมเฉลี่ย = Σ(% ในธรรมชาติ x มวล
     อะตอม)
                        100
        มวลอะตอมเฉลี่ยของ C = 12.0111
อ.                              สุนทร พรจำาเริญ
มวลอะตอมเฉลี่ย




อ.           สุนทร พรจำาเริญ
Mass spectrometer




อ.              สุนทร พรจำาเริญ
มวลโมเลกุล หรือ มวลสูตร

 มวลโมเลกุล(Malecular mass) หรือมวล
  สูตร(Formular mass) เป็นมวลที่ได้จากผล
  รวมของมวลอะตอมของแต่ละธาตุในโมเลกุล
  หรือหน่วยสูตรนัน นิยมเรียกว่านำ้าหนัก
                 ้
  โมเลกุล(Molecular weight) หรือนำ้าหนัก
  สูตร(Formular weight)
เช่น C6H12O6 = (12x6)+(1x12)+(16x6) = 180
     NaCl = (23x1)+(35.5x1) = 58.5

อ.                               สุนทร พรจำาเริญ
มวลโมเลกุล หรือ มวลสูตร

    มวลโมเลกุลของสารหาได้โดยการเปรียบ
     เทียบกับมวลของธาตุมาตรฐาน 1 อะตอม

     มวลโมเลกุลของสาร =  มวลของสาร 1 โมเลกุล
                     1/12 มวลของ C-12 1 อะตอม
     ----------------------------------------------




อ.                                      สุนทร พรจำาเริญ
Mole

โมล(mole) ใช้สญลักษณ์ mol
               ั
หมายถึง ปริมาณสารที่มีจำานวนอนุภาค
 เท่ากับจำานวน
       อะตอมของคาร์บอน-12 ที่มีมวล
 12 กรัม บอน-12 ที่มีมวล 12 กรัม
      คาร์
     มีจำานวนอนุภาค 6.022 x 1023 อะตอม

อ.                             สุนทร พรจำาเริญ
จำานวนโมลกับอนุภาค
     สารใด ๆ 1 โมล มีจำานวนอนุภาค
         เท่ากับเลขอาโวกาโดร



           อนุภาค หมายถึง
       อะตอม โมเลกุล หรือไอออน

อ.                   สุนทร พรจำาเริญ
จำานวนโมลกับอนุภาค
     สาร       จำานวนและชนิดของ
ไนโตรเจน      N 6.02 xาคใน 1 โมล
                 อนุภ 1023 อะตอม
อะตอม(N)      N2 6.02 x 1023 โมเลกุล
ไนโตรเจน      N 2 x 6.02 x 1023 อะตอม
โมเลกุล(N2)
              Ag 6.02 x 1023 อะตอม
              Ag+ 6.02 x 1023 ไอออน
เงิน(Ag)      BaCl2 6.02 x 1023 โมเลกุล
ซิลเวอร์
              Ba2+ 6.02 x 1023 ไอออน
ไอออน(Ag+)
              Cl- 2 x 6.02 x 1023 ไอออน
แบเรียมคลอ
 อ.                           สุนทร พรจำาเริญ
ไรด์(BaCl )
จำานวนโมลกับมวล
              ธาตุใด ๆ จำานวน 1
                           โมล
  มีมวลเป็นกรัมเท่ากับมวลอะตอม
             ของธาตุนน ั้
        สารใด ๆ จำานวน 1 โมล
 มีมวลเป็นกรัมเท่ากับมวลโมเลกุล
                      ของสารนัน
                              ้
อ.                      สุนทร พรจำาเริญ
จำานวนโมลกับมวล
     สาร   นำ้าหนัก   มวล/โมล(g/
     N        สูตร
              14.0
                        mol)
                        14.0
     N2     28.0        28.0
  Ag        107.9       107.9
  Ag+       107.9       107.9
 BaCl2      208.2       208.2

อ.                       สุนทร พรจำาเริญ
ปริมาตรต่อโมล
                ของแก๊ส
     แก๊สใดๆ 1 โมล มีปริมาตร
      22.4 dm3 หรือ 22.4 ลิตร ที่
                          STP*
                                         T = 0°C
                                         P = 1 atm



     STP = Standard Temperature and Pressure
อ.                                             สุนทร พรจำาเริญ
สรุปความสัมพันธ์
                          อนุภาค   6.02x1023




                          1 โมล
                                       มวลอะตอม(g)
     22.4 dm3
      ที่ STP
                ปริมาตร            มวล มวลโมเลกุล(g)


อ.                                        สุนทร พรจำาเริญ
สรุปความสัมพันธ์




อ.              สุนทร พรจำาเริญ
แฟคเตอร์เปลี่ยนหน่วย
      12
           C 1 โมล   =   12
                              C 6.02x1023 อนุภาค
      12
         C 1 โมล     =
                         12
                              C 6.02x1023 อนุภาค
      12
         C 1 โมล               12
                                  C 1 โมล

             1       =
                         12
                              C 6.02x1023 อนุภาค
                               12
                                  C 1 โมล

แฟคเตอร์นี้ใช้เปลี่ยนหน่วยจากโมลเป็นอนุภาค
 อ.                                     สุนทร พรจำาเริญ
แฟคเตอร์เปลี่ยนหน่วย
           12
                C 1 โมล   =   12
                                   C 6.02x1023 อนุภาค
     C 1 โมล
      12
                     =
                              12
                                 C 6.02x1023 อนุภาค
12
   C 6.02x1023 อนุภาค         12
                                 C 6.02x1023 อนุภาค
     C 1 โมล
      12
                     =                   1
12
   C 6.02x1023 อนุภาค
แฟคเตอร์นี้ใช้เปลี่ยนหน่วยจากอนุภาคเป็นโมล
 อ.                                          สุนทร พรจำาเริญ
แฟคเตอร์เปลี่ยนหน่วย
   สาร 1 โมล       มวลอะตอมหรือมวลโมเลกุล
                  หรือ
มวลอะตอมหรือมวลโมเลกุล สาร 1 โมล
          สาร 1 โมล           22.4 dm3ทีSTP
                                        ่
                       หรือ
        22.4 dm ที่STP
               3
                                 สาร 1 โมล


  แฟคเตอร์นี้ใช้เปลียนหน่วยใด ?
                    ่

   อ.                               สุนทร พรจำาเริญ
ตัวอย่างการคำานวณ

โจทย์ 1 แก๊สฮีเลียม(He) 6.46 g มีกี่โมล
วิธีคำานวณ
                              1 mol
     จำานวนโมลของ He   = 6.46 g x
                              4.003 g
                  = 1.60 mol



อ.                              สุนทร พรจำาเริญ
ตัวอย่างการคำานวณ
โจทย์ 2 แคลเซียมไนเตรต(Ca(NO3)2) 0.433 mol
        มีมวลกี่กรัม
วิธีคำานวณ
                                164.1 g
 มวลของ Ca(NO3)2   = 0.433 mol x
                                 1 mol

               = 71.1 g



  อ.                            สุนทร พรจำาเริญ
ตัวอย่างการคำานวณ

จทย์ 3 แคลเซียม(Ca) 1 อะตอมมีมวลกี่กรัม
ธีคำานวณ

     มวลของ Ca = 1 atom x
                           1 mol     x 40 g
                       6.02x1023 atom 1 mol
             = 6.66x10-23 g



    อ.                           สุนทร พรจำาเริญ
สารละลาย(Solution)

  “ของผสมเอกพันธุ์ของสารตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไป”
งค์ประกอบของสารละลาย คือ ตัวทำาละลาย(Solven
      และตัวละลาย หรือตัวถูกละลาย(Solute)




   อ.                           สุนทร พรจำาเริญ
สารละลาย(Solutions)




 สารละลายอิม
           ่             สารละลายอิ่มตัว
     ตัว                     ยวดยิ่ง
(Saturated solution)   (Supersaturated solution)
อ.                                      สุนทร พรจำาเริญ
ประเภทสารละลาย
           สารละลาย

ของแข็ง ของเหลว             แก๊ส

ทองเหลือง    นำ้าโซดา      อากาศ
  นาก     แอลกอฮอล์ในนำ้า แก๊สหุงต้ม

อ.                         สุนทร พรจำาเริญ
ความเข้มข้นของ
                    สารละลาย
มเข้มข้น(Concentration)ของสารละลาย
ยถึงค่าที่แสดงปริมาณของตัวละลายที่มีอยู่ในสารละล
ในตัวทำาละลาย




    อ.                            สุนทร พรจำาเริญ
ร้อยละ(%)
 ร้อยละโดยมวล      (มวล/มวล)
     มวลของตัวละลายที่ละลายในสารละลาย 100
     หน่วยมวลเดียวกัน
 ร้อยละโดยปริมาตร
     (ปริมาตร/ปริมาตร)
     ปริมาตรของตัวละลายที่ละลายในสารละลาย
     100 หน่วยปริมาตรเดียวกัน
 ร้อยละโดยมวล/ปริมาตร
อ.                              สุนทร พรจำาเริญ
ส่วนในล้านส่วน

ส่วนในล้านส่วน(parts per
     million : ppm)
   เป็นหน่วยที่บอกปริมาณตัวละลาย
   เป็นมวล หรือ ปริมาตร
ที่ละลายในสารละลาย 1 ล้านหน่วย
   เดียวกัน อ ปริมาตรของตัวละลาย 6
       มวล หรื
     ppm =                    X 10
       มวล หรือ ปริมาตรของสารละลาย

อ.                           สุนทร พรจำาเริญ
ส่วนในพันล้านส่วน

ส่วนในพันล้านส่วน(parts per
     billion : ppb)
   เป็นหน่วยที่บอกปริมาณตัวละลาย
   เป็นมวล หรือ ปริมาตร
ที่ละลายในสารละลาย 1 พันล้าน
   หน่วยเดียวกัน มาตรของตัวละลาย 9
       มวล หรือ ปริ
     ppb =                     X 10
        มวล หรือ ปริมาตรของสารละลาย

อ.                            สุนทร พรจำาเริญ
ตัวอย่างการคำานวณ
   สารละลายชนิดหนึ่งมี NaOH 8.0 g ละลายนำ้า
    70.0 g
       ก) จงคำานวณหา % โดยมวล
       ข) ถ้าสารละลายนี้มความหนาแน่น 1.20
                            ี
   g/cm3 จงคำานวณหา % โดยมวล/ปริมาตร
                    8.0 g
วิธีทำา     ก) % โดยมวล = ------------------ x
                 (8.0+70.0) g
    100 = 10.3                  8.0 g
                                    1 cm3
       ข) % โดยปริมาตร = 1.20 g
อ. -----------------------------x 100 = 12.3 นทร พรจำาเริญ
                                           สุ
โมลาริต(Molarity)
                   ี

โมลาริตี หรือ โมลาร์(Molar : M
     หรือ mol/dm3)
     เป็นหน่วยที่บอกปริมาณตัวละลาย
     เป็นโมลทีละลายในสารละลาย 1
                ่
     ลูกบาศก์นวนโมลของตัวละลาย(mol)
           จำา เดซิเมตร
         M =
            ปริมาตรของสารละลาย(dm3)



อ.                            สุนทร พรจำาเริญ
ตัวอย่างการคำานวณ
  จงคำานวณหาความเข้มข้นเป็น M ของ
   สารละลายที่มี NaCl 9.52 g ในสารละลาย
   575 cm3
วิธีทำา   ความเข้มข้นของ NaCl เป็น M(mol/
   dm3)     1 mol NaCl     1    1000 cm3sol.
               58.5 g.NaCl   575 cm3sol.      1 dm3sol.

= 9.52 g.NaCl x------------x ------------x------------


อ.                 = 0.284 M               สุนทร พรจำาเริญ
ตัวอย่างการคำานวณ
  จงคำานวณหามวลของ NaOH ใน
   สารละลาย NaOH เข้มข้น 0.25 M จำานวน
   300 cm3
วิธีทำา มวลเป็น g ของ NaOH
                 0.25 mol NaOH            40 g NaOH
                  1000 cm3sol.           1 mol NaOH
=    300 cm3sol.x-------------------- x ------------------- = 3.0 g




อ.                                                   สุนทร พรจำาเริญ
ตัวอย่างการคำานวณ
  จงคำานวณหาMolarity(M)ของสารละลาย
   H2SO4เข้มข้น 10%โดยมวล ซึ่งมีความ
   หนาแน่น 1.07g/cm3
วิธีทำา          ความเข้มข้นเป็น M ของ
   H2SOH2SO4 x 1 mol H2SO4
     10 g 4
                       98 g H2SO4 1000 cm sol.
                                 3


          100 g sol. x 1 cm3 sol.   1dm3 sol.
                       1.07 g sol.
     = ------------------------------------x------------------ = 1.09M

อ.                                                     สุนทร พรจำาเริญ
โมแลลิต(Molality)
                   ี

โมแลลิตี หรือ โมแลล(Molal : m
     หรือ mol/kg)
   เป็นหน่วยที่บอกปริมาณตัวละลาย
   เป็นโมล(mol)
ที่ละลายในตัวทำาละลาย ละลาย(mol)
         จำานวนโมลของตัว 1
       m =
   กิโลกรัมมวลของตัวทำาละลาย(kg)
            (kg)


อ.                        สุนทร พรจำาเริญ
ตัวอย่างการคำานวณ
    จงคำานวณหาโมแลลิตีของสารละลายซึ่งมี
     NH3 0.85 g ละลายในนำ้า 125 g

                        1 mol NH3
            0.85 g NH3 x -------------
                          17 g NH3
วิธีทำาm = ---------------------------- = 0.4 m
                          1 kg H2O
            125 g H2O x ----------------
                        1000 g H2O



อ.                                         สุนทร พรจำาเริญ
เศษส่วนโมล
เศษส่วนโมล(Mole fraction : X)
  เศษส่วนโมลของสารใด หมายถึง
  อัตราส่วนจำานวนโมลของ
สารนันกับจำานวนโมลรวมของสาร
       ้
  ทังหมด
     ้
  เช่น สารละลายชนิดหนึ่งประกอบ
  ด้วยสาร A,B และ C
            a
จำานวน a + bและ c mol ตามลำาดับ ดัง
         a,b + c
  นั้น
อ.                          สุนทร พรจำาเริญ
การเตรียมสารละลาย




อ.               สุนทร พรจำาเริญ
การเตรียมสารละลายจาก
                 สารบริสทธิ์
                        ุ




อ.                    สุนทร พรจำาเริญ
ขั้นตอนการเตรียมสารละลาย
            จากสารบริสทธิ์
                      ุ
       คำานวณหาปริมาณตัวละลาย
        การทำาให้เป็นสารละลาย
      การเก็บสารละลายและอุปกรณ์




อ.                        สุนทร พรจำาเริญ
คำานวณหาปริมาณตัวละลาย
เตรียมสารละลาย NaCl เข้มข้น 1.0 mol/dm3 จำานวน 250 cm3


   การคำานวณ

                              1.0 mol x 58.5 g
        มวลของ NaCl = 250 cm x
                             3
                                        1.0 mol
                             1000 cm3

                  = 14.6 g




   อ.                                     สุนทร พรจำาเริญ
ทำาให้เป็นสารละลายละลาย



ชั่งสาร
     ตัวอย่างตาม
     ปริมาณที่
     คำานวณได้
อ.                 สุนทร พรจำาเริญ
ทำาให้เป็นสารละลายละลาย



ละลายสาร
     ตัวอย่าง
     ในบีกเกอร์

อ.                สุนทร พรจำาเริญ
ทำาให้เป็นสารละลายละลาย



เทสารละลาย
     ลงในขวดวัด
     ปริมาตร

อ.                สุนทร พรจำาเริญ
ทำาให้เป็นสารละลายละลาย


ล้างบีกเกอร์
     ด้วยนำ้ากลั่น
     แล้วเทใส่ขวด
     วัดปริมาตร

อ.                   สุนทร พรจำาเริญ
ทำาให้เป็นสารละลายละลาย


เขย่าขวดวัด
     ปริมาตรเพื่อ
     ให้สารละลาย
     ผสมกัน

อ.                  สุนทร พรจำาเริญ
ทำาให้เป็นสารละลายละลาย


ตังขวด
   ้
     ปริมาตรเพื่อ
     ให้สารละลาย
     มีอุณหภูมิลด
     ลง
อ.                  สุนทร พรจำาเริญ
ทำาให้เป็นสารละลายละลาย



เติมนำ้ากลั่นที
     ละน้อยจนถึง
     ขีดบอก
     ปริมาตร
อ.                 สุนทร พรจำาเริญ
ทำาให้เป็นสารละลายละลาย


ส่วนโค้งตำ่า
     สุดของ
     สารละลายอยู่
     ตรงขีดบอก
     ปริมาตร
อ.                  สุนทร พรจำาเริญ
ทำาให้เป็นสารละลายละลาย



กลับขวดขึ้น
     ลงให้
     สารละลาย
     ผสมกัน
อ.                สุนทร พรจำาเริญ
เก็บสารละลายและอุปกรณ์
  ถ่ายสารละลายที่
   เตรียมเสร็จแล้วใส่
   ภาชนะเก็บสารปิด
   จุก ปิดฉลากโดย
   ระบุชื่อสาร
   สูตรเคมี ความเข้ม
   ข้นและวันที่เตรียม
   สารละลาย
 ล้างขวดวัด
   ปริมาตรและจุก
 วางควำ่าไว้ให้แห้ง
อ.                      สุนทร พรจำาเริญ
การเตรียมสารละลายจาก
                 สารบริสทธิ์
                        ุ




อ.                    สุนทร พรจำาเริญ
การเตรียมสารละลายจาก
            สารละลายเข้มข้น




อ.                   สุนทร พรจำาเริญ
การเตรียมสารละลายจาก
          สารละลายเข้มข้น

 คำานวณหา
   ปริมาตรของ
   สารละลายเดิม
   ทีใช้
     ่
 ทำาสารละลาย
   ให้เจือจาง
 การเก็บ
อ.                 สุนทร พรจำาเริญ
colligative properties

 สมบัติทางกายภาพของสารละลายทีต่าง     ่
   จากสมบัติชนิดเดียวกันของตัว
 ทำาละลายบริสุทธิ์ และเป็นสมบัติที่ขึ้นกับ
   จำานวนอนุภาคของตัวละลาย
 แต่ไม่ขึ้นกับชนิดของตัวละลาย
                   สมบัติ
                 คอลลิเกทีฟ

การลดตำ่าของ การเพิ่มขึ้น การลดตำ่าลง ความดัน
 ความดันไอ ของจุดเดือด   ของจุดเยือกแข็ง ออสโมติก

 อ.                                  สุนทร พรจำาเริญ
การลดตำ่าของความดัน
                     ไอ

               ความดันไอ
               ของตัวทำา
               ละลายเหนือ
               สารละลายจะมี
               ค่าตำ่ากว่าความ
               ดันไอของตัว
อ.             ทำาละลาย พรจำาเริญ
                       สุนทร
ความดันออสโมติก




   ความดันเหนือ
    สารละลายที่ทำาให้
    ออสโมซิสหยุด
    พอดี เรียกว่า
    ความดันออสโม
    อ.                  สุนทร พรจำาเริญ
ออสโมซิส(Osmosis)

  หมายถึง
   กระบวนการที่ตัว
   ทำาละลายเคลื่อนที่
   จากสารละลายทีมี ่
   ความเข้มข้นน้อย
   กว่า(หรือจากตัวทำา
   ละลายบริสุทธิ)์
   ผ่านเยื่อกึ่ง
อ. พรุน(Semiperme       สุนทร พรจำาเริญ
การเพิ่มขึ้นของจุดเดือดและการลด
               ลงของจุดเยือกแข็ง

                  จุดเดือดของ
                   สารละลายสูงกว่า
                   จุดเดือดของตัวทำา
                   ละลายบริสุทธิ์
                  จุดหลอมเหลวของ
                   สารละลายตำ่ากว่า
                   จุดหลอมเหลวของ
                   ตัวทำาละลาย
อ.
                   บริสุทธิ์ สุนทร พรจำาเริญ
การเพิ่มขึ้นของจุดเดือดและการลด
                    ลงของจุดเยือกแข็ง
         จุดเดือดที่สูงขึ้นและจุดเยือกแข็งที่ลดลง
          เป็นปฏิภาคโดยตรงกับความเข้มข้นของ
          สารละลายในหน่วยโมแลลิต(bmol/kg)
                ∆Tb ∝ m                ี
                                ∆Tb = K m

               ∆Tf ∝ m          ∆Tf = Kfm

Tb คือผลต่างระหว่างจุดเดือดของสารละลายกับตัวทำาละลายบริสุทธิ์
Tf คือผลต่างระหว่างจุดเยือกแข็งของตัวทำาละลายบริสุทธิกับสารละลา
                                                     ์
m คือความเข้มข้นของสารละลายเป็น mol/kg
Kb คือค่าคงที่ของการเพิ่มขึ้นของจุดเดือด
Kf คือค่าคงที่ของการลดลงของจุดเยือกแข็ง
     อ.                                     สุนทร พรจำาเริญ
ความเข้มข้นและจุดเดือดของ
              สารบางชนิด
    สาร       ความเข้ม จุดเดือด
                       ข้น            (°C)
                     (mol/kg)
     เอทานอล            -            78.50
สารละลายกลีเซอรอล       1            79.72
    ในเอทานอล           2            80.94
สารละลายกลีเซอรอล       1            79.72
    ในเอทานอล           2            80.94
สารละลายกรดโอเลอิก
 อ.
    ในเอทานอล                   สุนทร พรจำาเริญ
ความเข้มข้นและจุดเยือกแข็ง
           ของสารบางชนิด
    สาร       ความเข้ม จุดเยือกแ
                 ข้น       ข็ง
                      (mol/kg)         (°C)
       แนฟทาลีน          -            80.50
สารละลายกรดเบนโซ         1            73.50
    อิกในแนฟทาลีน        2            67.00
สารละลายกรดเบนโซ         1            73.50
    อิกในแนฟทาลีน        2            67.00
สารละลายฟีนิลเบนซีน
 อ.
      ในแนฟทาลีน                 สุนทร พรจำาเริญ
สรุปความเข้มข้นกับจุดเดือด
           และจุดเยือกแข็ง
 สารละลายที่มตวทำาละลายชนิด
              ี ั
   เดียวกัน ถ้ามีความเข้มข้นเป็น
   mol/kg เท่ากัน จะมีจุดเดือดและ
   จุดเยือกแข็งเท่ากัน ไม่ว่าตัวละลาย
   จะเป็นสารใดก็ตาม
 สารละลายที่มตวทำาละลายชนิด
                 ี ั
   เดียวกัน ถ้ามีความเข้มข้นเป็น
   mol/kg ต่างกัน จะมีจุดเดือดและ
อ. จุดเยือกแข็งต่างกันไม่วาตัวสุนทร พรจำาเริญ
                           ่    ละลาย
จุดเดือด จุดเยือกแข็ง Kb และ
                                              Kf
    ตัวทำา   b.p(°C)   Kb(°C/m)   f.p(°C)    Kf(°C)
   ละลาย
โพรพาโนน     56.20      1.71        -          -
ไตรคลอโร     61.70      3.63        -          -
    มีเทน    78.50      1.22        -          -
 เอทานอล     81.00      2.53      5.50       4.90
  เบนซีน       -          -       80.50      6.98
แนฟทาลีน     100.00     0.51      0.00       1.86
     นำ้า    117.90     3.07      16.60      3.90
 กรดแอซิ
 อ.                                   สุนทร พรจำาเริญ
ความหมายของ Kb และ Kf
    Kb ของเบนซีนเท่ากับ 2.53 °C/m
     หมายความว่าอย่างไร
     สารละลายที่มเบนซีนเป็นตัวทำา
                    ี
     ละลายและมีความเข้มข้น 1m จะมี
     จุดเดือดสูงกว่าจุดเดือดของเบนซีน
     บริสทธิ์ 2.53 ° C
         ุ
    Kf ของเบนซีนเท่ากับ 4.90 °C/m
     หมายความว่าอย่างไร
อ.   สารละลายที่มเบนซีนเป็นตัวสุนทร
                 ี            ทำา     พรจำาเริญ
การคำานวณเกี่ยวกับ Kb
                และ Kf
∆Tb = Kbm              ∆Tf = Kfm

           W1 x 1000              W1 x 1000
∆Tb = Kb               ∆Tf = Kf
            W2 x M                 W2 x M



     W1 คือ มวลของตัวละลายมีหน่วยเป็น
 g
       W2 คือ มวลของตัวทำาละลายมีหน่วย
   เป็น g
อ.     M คือ มวลโมเลกุลของตัวละลาย าเริญ
                              สุนทร พรจำ
โจทก์คำานวณเกี่ยวกับ Kb
                 และ Kf
  จงหาจุดเดือดและจุดเยือกแข็ง
    ของสารละลายกลูโคสในนำ้าเข้ม
    ข้น 0.02 โมแลล
  จงหามวลทีมหน่วยเป็นกรัมของ
               ่ ี
    เอทิลีนไกลคอล(C2H6O2) ซึ่งต้อง
    เติมลงในนำ้า 37.8 g เพื่อเตรียม
    สารละลายทีมีจุดเยือกแข็ง
                 ่
 อ.
    -0.150°C                  สุนทร พรจำาเริญ
สูตรเคมี(Chemical formula)

สูตรเคมี คือกลุ่ม
 สัญลักษณ์ที่ใช้
 เขียนแทนธาตุและ
 สารประกอบ แสดง
 ให้ทราบว่าสารชนิด
 หนึ่งๆ มีธาตุใดบ้าง
 เป็นองค์ประกอบ
 และในอัตราส่วน
อ. าใด
 เท่                    สุนทร พรจำาเริญ
ประเภทของสูตรเคมี
              สูตรเคมี
              Chemical
               formula


สูตรเอมพิริคล สูตรโมเลกุล สูตรโครงสร้าง
            ั
  Empirical    Molecular    Structural
   formula      formula      formula

 อ.                         สุนทร พรจำาเริญ
สูตรเอมพิริคัล
 คือสูตรที่แสดงอัตราส่วนอย่างตำ่าของ
     จำานวนอะตอมของธาตุองค์ประกอบ
     เช่น
        สูตรเอมพิรคลของ H2O2 คือ HO
                  ิ ั
                C6H12O6 คือ CH2O
                 C2H4 คือ CH2


อ.
       (สูตรเอมพิริคัล)n = นทร พรจำร ญ
                          สุ
                             สูตาเริ
สูตรโมเลกุล
    คือสูตรที่แสดงจำานวนอะตอมของธาตุแต่ละชนิด
     ที่มอยู่จริงใน 1 โมเลกุลของสาร เช่น
         ี
        สูตรโมเลกุลของนำ้า คือ H2O
     หมายความว่า นำ้า 1 โมเลกุลประกอบด้วยธาตุ
     ไฮโดรเจน 2 อะตอมและธาตุออกซิเจน 1
     อะตอม




อ.                                 สุนทร พรจำาเริญ
สูตรโครงสร้าง
 คือสูตรโมเลกุลทีแสดงพันธะเคมี
                  ่
     ระหว่างอะตอมต่างๆ ทำาให้ทราบ
     ลักษณะการจัดตัวของอะตอมใน
     โมเลกุล เช่น



อ.                           สุนทร พรจำาเริญ
การคำานวณมวลเป็นร้อยละ
              จากสูตร
ทราบสูตรเคมีของสาร
หามวลสูตร หรือมวล
 โมเลกุลของสาร
เทียบหามวลเป็นร้อยละ
 ของธาตุในสูตรเคมี
อ.               สุนทร พรจำาเริญ
การคำานวณมวลเป็นร้อยละ
                จากสูตร

ร้อยละของธาตุใด
             มวลของธาตุนน X 100
                        ั้
             =
 ในสารประกอบ
           มวลของสารประกอบ
ร้อยละของธาตุมวลของธาตุA X 100
             A
            =
 ในสารประกอบ
           มวลของสารประกอบ


  อ.                    สุนทร พรจำาเริญ
การคำานวณมวลเป็นร้อยละ
              จากสูตร
 จงคำานวณมวลเป็นร้อยละของธาตุ
 ธาตุกชนิดใน HNO
   ทุ  จำานวนโมล มวลของ              ร้อยละ
                   3
 องค์   ของธาตุ    ธาตุ             โดยมวล
ประกอบ
   H    ในสาร 1
            1      (g)
                  1x1=1     1 gH
           โมล                      X 100 = 1.59
                           63 gHNO3
                            14 gN
     N    1      1x14=14            X 100 = 22.22
                           63 gHNO3
                            48 gO     X 100 = 76.19
     O    3      3x16=48   63 gHNO3



อ.                                  สุนทร พรจำาเริญ
โจทย์การคำานวณมวลเป็น
             ร้อยละจากสูตร
   จงคำานวณมวลเป็นร้อยละของ Fe ใน
    Fe2O3 จำานวน 15 g
   จงคำานวณร้อยละโดยมวลของนำ้าใน
    สารประกอบ Na2CO3.10H2O
  จากการวิเคราะห์โดยการเผาไหม้สาร
   ตัวอย่าง 0.0153 g พบว่าเกิดแก๊ส CO2
   0.0056 g และ H2O 0.0012 g จงคำานวณ
   หามวลเป็นร้อยละของ C และ H ในสาร
อ.
   ตัวอย่าง                     สุนทร พรจำาเริญ
การคำานวณหาสูตรเอมพิริคล
                       ั

 ทราบธาตุองค์ประกอบและมวล
   ของธาตุองค์ประกอบ
 หาอัตราส่วนโดยมวลของธาตุ
   องค์ประกอบ
 เปลี่ยนอัตราส่วนโดยมวลเป็น
   อัตราส่วนจำานวนโมล
 ทำาอัตราส่วนจำานวนโมลเป็นอย่าง
อ.
   ตำ่า                 สุนทร พรจำาเริญ
การคำานวณหาสูตรโมเลกุล
 ทราบสูตรเอมพิริคล
                  ั      และมวล
  โมเลกุลของสาร
 ใช้ความสัมพันธ์ สูตรโมเลกุล =
     (สูตรเอมพิริคัล)n
       แทนค่ามวลโมเลกุล จะได้ว่า
       (สูตรเอมพิริคัล)n = มวล
     โมเลกุล
อ.                          สุนทร พรจำาเริญ
 แก้สมการหาค่า     n
โจทย์การคำานวณ
                  สูตรเคมี
 สารประกอบชนิดหนึ่งประกอบด้วย
   Na 6.072 g S 8.474 g และ O 6.336
   g จงหาสูตรเอมพิรคัลของ
                   ิ
   สารประกอบนี้
 จากการวิเคราะห์การเผาไหม้
   สารประกอบชนิดหนึ่งซึงประกอบ
                        ่
   ด้วย C และ H พบว่าให้แก๊ส CO2
   0.0497 g และ H2O 0.0244 g จงหา
อ.
   สูตรโมเลกุลของสารประกอบ  สุนทร พรจำาเริญ
โจทย์การคำานวณ
                       สูตรเคมี
หามวลของธาตุองค์                อัตราส่วนจำานวนโมล
 ประกอบ                          C : H = 0.0135 : 0.0027
     มวลของ C ใน CO2 C
                    12g                    12        1
     0.0497 g      44g CO2             = 0.0011 : 0.0027
     = 0.0497gCO2 x                    =    1 : 2.4545
     = 0.0135 g      2g H              =    2 : 5
     มวลของ H ใน H218g H2O
                    O           อัตราส่วนจำานวนอะตอม
     0.0244 g                    C:H=2:5
     = 0.0244gH2O x              สูตรเอมพิริคัลคือ C2H5
     = 0.0027 g              หาสูตรโมเลกุล
หาสูตรเอมพิริคล
              ั

อ.   อัตราส่วนโดยมวล                       สุนทร พรจำาเริญ
กฎทรงมวล

                 Law of conservation of mass


                 “มวลรวมของสารก่อน
                   เกิดปฏิกิริยา
                 เท่ากับมวลรวมของสาร
                   หลัง
     Lavoisier   เกิดปฏิกิริยา”

อ.                                สุนทร พรจำาเริญ
กฎสัดส่วนคงที่
                       Law of definite proportion


                       “สารประกอบ
                         เดียวกันประกอบ
                       ด้วยธาตุต่างๆ อย่าง
                         เดียวกัน
                       อัตราส่วนโดยมวล
     Joseph Prouste      ของธาตุ
                       องค์ประกอบคงที่
อ.                       เสมอ ไม่นทร พรจำาเริญ
                                 สุ ว่า
กฎของเกย์-ลูสแซก
                  Gay-Lussac’s law

                  “ที่อณหภูมและความ
                       ุ      ิ
                    ดันเดียวกัน
                  อัตราส่วนระหว่าง
                    ปริมาตรของแก๊สที่
                  ทำาปฏิกิรยาพอดีกน
                           ิ           ั
                    กับปริมาตรของ
     Gay-Lussac   แก๊สที่ได้จากปฏิกิรยา  ิ
                    จะเป็นเลขจำานวน
อ.                              สุนทร พรจำาเริญ
                  เต็มลงตัวน้อยๆ”
กฎของอาโวกาโดร


                Avogadro’s law

                “ที่อุณหภูมิและ
                  ความดันเดียวกัน
                แก๊สใดๆ ทีมีปริมาตร
                           ่
     Avogadro     เท่ากันจะมี
                จำานวนโมเลกุลเท่า
อ.                กัน”    สุนทร พรจำาเริญ
การหาสูตรโมเลกุลโดยใช้กฎ
           ของอาโวกาโดร
ที่    STP แก๊สไนโตรเจน 30 cm3
     ทำาปฏิกิริยาพอดีกับแก๊ส
     ไฮโดรเจน 90 cm3 ได้แก๊ส
     ชนิดหนึ่ง 60 cm3 จงหาสูตร
     โมเลกุล
     ของแก๊สที่เกิดขึ้น
อ.                      สุนทร พรจำาเริญ
สมการเคมี




อ.       สุนทร พรจำาเริญ
สมการเคมี




อ.       สุนทร พรจำาเริญ
สมการเคมี




อ.       สุนทร พรจำาเริญ
สมการเคมี




อ.       สุนทร พรจำาเริญ

More Related Content

What's hot

สื่อการสอน Chemical equilibrium
สื่อการสอน Chemical equilibriumสื่อการสอน Chemical equilibrium
สื่อการสอน Chemical equilibriumพัน พัน
 
ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์Chakkrawut Mueangkhon
 
สอนเตรียมสารละลาย
สอนเตรียมสารละลายสอนเตรียมสารละลาย
สอนเตรียมสารละลายDuduan
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีJariya Jaiyot
 
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์Kapom K.S.
 
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202พัน พัน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสันแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสันKatewaree Yosyingyong
 
บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometryปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
ปริมาณสารสัมพันธ์ - StoichiometryDr.Woravith Chansuvarn
 
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมลเอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมลChuanchen Malila
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1
วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1
วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1dnavaroj
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docxพนภาค ผิวเกลี้ยง
 
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548Physics Lek
 

What's hot (20)

สื่อการสอน Chemical equilibrium
สื่อการสอน Chemical equilibriumสื่อการสอน Chemical equilibrium
สื่อการสอน Chemical equilibrium
 
ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์
 
สอนเตรียมสารละลาย
สอนเตรียมสารละลายสอนเตรียมสารละลาย
สอนเตรียมสารละลาย
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
 
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
 
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสันแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
 
บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์
 
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometryปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
 
Chap 3 atomic structure
Chap 3 atomic structureChap 3 atomic structure
Chap 3 atomic structure
 
Punmanee study 4
Punmanee study 4Punmanee study 4
Punmanee study 4
 
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมลเอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
การตกผลึก
การตกผลึกการตกผลึก
การตกผลึก
 
การเตรียมสารละลาย
การเตรียมสารละลายการเตรียมสารละลาย
การเตรียมสารละลาย
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
 
วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1
วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1
วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
 
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
 

Viewers also liked

การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมีการคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมีพัน พัน
 
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออนมวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออนพัน พัน
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์Chicciiz Pu
 
ปริมาณสารสัมพันธ์2
ปริมาณสารสัมพันธ์2ปริมาณสารสัมพันธ์2
ปริมาณสารสัมพันธ์2natharadee2031
 
วิทย์ 50
วิทย์ 50วิทย์ 50
วิทย์ 50crazygno
 
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558Sircom Smarnbua
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์Nanmoer Tunteng
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว 30222 เคมี2 2558
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว 30222 เคมี2  2558เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว 30222 เคมี2  2558
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว 30222 เคมี2 2558Sircom Smarnbua
 

Viewers also liked (10)

การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมีการคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
 
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออนมวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์
 
Presentation2
Presentation2Presentation2
Presentation2
 
ปริมาณสารสัมพันธ์2
ปริมาณสารสัมพันธ์2ปริมาณสารสัมพันธ์2
ปริมาณสารสัมพันธ์2
 
Metal
MetalMetal
Metal
 
วิทย์ 50
วิทย์ 50วิทย์ 50
วิทย์ 50
 
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว 30222 เคมี2 2558
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว 30222 เคมี2  2558เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว 30222 เคมี2  2558
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว 30222 เคมี2 2558
 

Similar to ปริมาณสัมพันธ์

เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์Pipat Chooto
 
บทที่ 4 stoichiometry.ppt
บทที่ 4 stoichiometry.pptบทที่ 4 stoichiometry.ppt
บทที่ 4 stoichiometry.pptLeeMinho84
 
บทที่ 2 โครงสร้างของของแข็ง the structure of solid
บทที่ 2 โครงสร้างของของแข็ง the structure of solidบทที่ 2 โครงสร้างของของแข็ง the structure of solid
บทที่ 2 โครงสร้างของของแข็ง the structure of solidNaynui Cybernet
 
Ch 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอมCh 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอมkruannchem
 
ครูศจี .โมล
ครูศจี .โมลครูศจี .โมล
ครูศจี .โมลKrujake
 
ของเหลวและสารละลายเพื่อการศึกษาในระดับอุดมศึกษา
ของเหลวและสารละลายเพื่อการศึกษาในระดับอุดมศึกษาของเหลวและสารละลายเพื่อการศึกษาในระดับอุดมศึกษา
ของเหลวและสารละลายเพื่อการศึกษาในระดับอุดมศึกษา661031554
 
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์Gawewat Dechaapinun
 
summer 2010 (student preso)
summer 2010 (student preso)summer 2010 (student preso)
summer 2010 (student preso)Roppon Picha
 

Similar to ปริมาณสัมพันธ์ (20)

1 atomic weight
1 atomic weight1 atomic weight
1 atomic weight
 
2 the mole
2 the  mole2 the  mole
2 the mole
 
Metal
MetalMetal
Metal
 
เนื้อหาปริมาณสารสัมพันธ์
เนื้อหาปริมาณสารสัมพันธ์เนื้อหาปริมาณสารสัมพันธ์
เนื้อหาปริมาณสารสัมพันธ์
 
Chap 2 stoichiometry
Chap 2 stoichiometryChap 2 stoichiometry
Chap 2 stoichiometry
 
เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์
 
3 the mole 2018
3 the  mole 20183 the  mole 2018
3 the mole 2018
 
Chap 2 stoichiometry
Chap 2 stoichiometryChap 2 stoichiometry
Chap 2 stoichiometry
 
Chemographics : Stoichiometry
Chemographics : StoichiometryChemographics : Stoichiometry
Chemographics : Stoichiometry
 
1482139114.ppt
1482139114.ppt1482139114.ppt
1482139114.ppt
 
ใบงานที่ 1 ปริมาณสารสัมพันธ์
ใบงานที่ 1 ปริมาณสารสัมพันธ์ใบงานที่ 1 ปริมาณสารสัมพันธ์
ใบงานที่ 1 ปริมาณสารสัมพันธ์
 
Atom
AtomAtom
Atom
 
9 วิชาสามัญ เคมี 56
9 วิชาสามัญ เคมี 569 วิชาสามัญ เคมี 56
9 วิชาสามัญ เคมี 56
 
บทที่ 4 stoichiometry.ppt
บทที่ 4 stoichiometry.pptบทที่ 4 stoichiometry.ppt
บทที่ 4 stoichiometry.ppt
 
บทที่ 2 โครงสร้างของของแข็ง the structure of solid
บทที่ 2 โครงสร้างของของแข็ง the structure of solidบทที่ 2 โครงสร้างของของแข็ง the structure of solid
บทที่ 2 โครงสร้างของของแข็ง the structure of solid
 
Ch 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอมCh 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอม
 
ครูศจี .โมล
ครูศจี .โมลครูศจี .โมล
ครูศจี .โมล
 
ของเหลวและสารละลายเพื่อการศึกษาในระดับอุดมศึกษา
ของเหลวและสารละลายเพื่อการศึกษาในระดับอุดมศึกษาของเหลวและสารละลายเพื่อการศึกษาในระดับอุดมศึกษา
ของเหลวและสารละลายเพื่อการศึกษาในระดับอุดมศึกษา
 
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์
 
summer 2010 (student preso)
summer 2010 (student preso)summer 2010 (student preso)
summer 2010 (student preso)
 

More from สุรัชนี ภัทรเบญจพล (7)

Protein
ProteinProtein
Protein
 
Ray
RayRay
Ray
 
Equilibrium mahidol
Equilibrium mahidolEquilibrium mahidol
Equilibrium mahidol
 
1.โครงสร้างอะตอม
1.โครงสร้างอะตอม1.โครงสร้างอะตอม
1.โครงสร้างอะตอม
 
รายงานการเผยแพร่โทรทัศน์ครู
รายงานการเผยแพร่โทรทัศน์ครูรายงานการเผยแพร่โทรทัศน์ครู
รายงานการเผยแพร่โทรทัศน์ครู
 
ทักษะกระบวนการวิทย์
ทักษะกระบวนการวิทย์ทักษะกระบวนการวิทย์
ทักษะกระบวนการวิทย์
 
Assessment
AssessmentAssessment
Assessment
 

ปริมาณสัมพันธ์

  • 1. Stoichiometry Mr.Soontorn Pornjumreon Chemistry department Mahidolwittayanusorn school www.mwit.ac.th/~sp
  • 2. ปริมาณสัมพันธ์(Stoichiometry)  หมายถึง การศึกษาเชิงปริมาณที่ เกี่ยวข้องกับองค์ประกอบของสารเคมี สารตั้งต้น ผลิตผล ตลอดจนพลังงาน ของสารที่เปลี่ยนแปลงไปในปฏิกิริยาเคมี (เคมี เล่ม 1 : คณะอนุกรรมการปรับปรุงหลักสูตร วิทยาศาสตร์สาขาเคมี ตามโครงการปรับปรุง หลักสูตรวิทยาศาสตร์ระดับมหาวิทยาลัย) Stoichiometry มาจากภาษากรีก Stoichion = ธาตุ อ. = การวัด metron สุนทร พรจำาเริญ
  • 3. มวลอะตอม(Atomic mass)  มวลอะตอมของธาตุ คือตัวเลขที่ได้จาก การเปรียบเทียบมวล ของธาตุ 1 อะตอม กับมวลของธาตุ คำมาตรฐาน 1 อะตอม าถาม ทำาไม ? ต้องเปรียบ เทียบกับธาตุ มาตรฐาน ธาตุใด คือธาตุ อ. มาตรฐานทร พรจำาเริญ สุน
  • 4. มวลอะตอม(Atomic mass)  ธาตุไฮโดรเจนมาตรฐาน มวลของธาตุนั้น 1 มวลอะตอมของธาตุ = อะตอม มวลของไฮโดรเจน 1 --------------------------------------- อะตอม มวลของธาตุนั้น 1 อะตอมx 10-24 g 1.66 มวลอะตอมของธาตุ = --------------------------------------- อ. สุนทร พรจำาเริญ
  • 5. มวลอะตอม(Atomic mass)  ธาตุออกซิเจนมาตรฐาน มวลของธาตุนั้น 1 มวลอะตอมของธาตุ = อะตอม 1/16 มวลของออกซิเจน 1 ----------------------------------------------- อะตอม มวลของธาตุนั้น 1 อะตอม x 10-24 g 1.66 มวลอะตอมของธาตุ = ----------------------------------------------- อ. สุนทร พรจำาเริญ
  • 6. มวลอะตอม(Atomic mass)  ธาตุคาร์บอน-12 มาตรฐาน มวลของธาตุนั้น 1 มวลอะตอมของธาตุ = อะตอม 1/12 มวลของ C-12 1 ----------------------------------------------- อะตอม มวลของธาตุนั้น 1 อะตอม x 10-24 g 1.66 มวลอะตอมของธาตุ = ----------------------------------------------- อ. สุนทร พรจำาเริญ
  • 7. มวลอะตอม(Atomic mass) 1.66 x 10-24 g = 1 amu 1 amu = 1 u = 1 D amu = atomic mass unit u = unified atomic mass unit D = Dalton อ. สุนทร พรจำาเริญ
  • 8. มวลอะตอมเฉลี่ย  มวลอะตอมเฉลี่ย = Σ(% ในธรรมชาติ x มวล อะตอม) 100 มวลอะตอมเฉลี่ยของ C = 12.0111 อ. สุนทร พรจำาเริญ
  • 9. มวลอะตอมเฉลี่ย อ. สุนทร พรจำาเริญ
  • 10. Mass spectrometer อ. สุนทร พรจำาเริญ
  • 11. มวลโมเลกุล หรือ มวลสูตร  มวลโมเลกุล(Malecular mass) หรือมวล สูตร(Formular mass) เป็นมวลที่ได้จากผล รวมของมวลอะตอมของแต่ละธาตุในโมเลกุล หรือหน่วยสูตรนัน นิยมเรียกว่านำ้าหนัก ้ โมเลกุล(Molecular weight) หรือนำ้าหนัก สูตร(Formular weight) เช่น C6H12O6 = (12x6)+(1x12)+(16x6) = 180 NaCl = (23x1)+(35.5x1) = 58.5 อ. สุนทร พรจำาเริญ
  • 12. มวลโมเลกุล หรือ มวลสูตร  มวลโมเลกุลของสารหาได้โดยการเปรียบ เทียบกับมวลของธาตุมาตรฐาน 1 อะตอม มวลโมเลกุลของสาร = มวลของสาร 1 โมเลกุล 1/12 มวลของ C-12 1 อะตอม ---------------------------------------------- อ. สุนทร พรจำาเริญ
  • 13. Mole โมล(mole) ใช้สญลักษณ์ mol ั หมายถึง ปริมาณสารที่มีจำานวนอนุภาค เท่ากับจำานวน อะตอมของคาร์บอน-12 ที่มีมวล 12 กรัม บอน-12 ที่มีมวล 12 กรัม คาร์ มีจำานวนอนุภาค 6.022 x 1023 อะตอม อ. สุนทร พรจำาเริญ
  • 14. จำานวนโมลกับอนุภาค สารใด ๆ 1 โมล มีจำานวนอนุภาค เท่ากับเลขอาโวกาโดร อนุภาค หมายถึง อะตอม โมเลกุล หรือไอออน อ. สุนทร พรจำาเริญ
  • 15. จำานวนโมลกับอนุภาค สาร จำานวนและชนิดของ ไนโตรเจน N 6.02 xาคใน 1 โมล อนุภ 1023 อะตอม อะตอม(N) N2 6.02 x 1023 โมเลกุล ไนโตรเจน N 2 x 6.02 x 1023 อะตอม โมเลกุล(N2) Ag 6.02 x 1023 อะตอม Ag+ 6.02 x 1023 ไอออน เงิน(Ag) BaCl2 6.02 x 1023 โมเลกุล ซิลเวอร์ Ba2+ 6.02 x 1023 ไอออน ไอออน(Ag+) Cl- 2 x 6.02 x 1023 ไอออน แบเรียมคลอ อ. สุนทร พรจำาเริญ ไรด์(BaCl )
  • 16. จำานวนโมลกับมวล ธาตุใด ๆ จำานวน 1 โมล มีมวลเป็นกรัมเท่ากับมวลอะตอม ของธาตุนน ั้ สารใด ๆ จำานวน 1 โมล มีมวลเป็นกรัมเท่ากับมวลโมเลกุล ของสารนัน ้ อ. สุนทร พรจำาเริญ
  • 17. จำานวนโมลกับมวล สาร นำ้าหนัก มวล/โมล(g/ N สูตร 14.0 mol) 14.0 N2 28.0 28.0 Ag 107.9 107.9 Ag+ 107.9 107.9 BaCl2 208.2 208.2 อ. สุนทร พรจำาเริญ
  • 18. ปริมาตรต่อโมล ของแก๊ส แก๊สใดๆ 1 โมล มีปริมาตร 22.4 dm3 หรือ 22.4 ลิตร ที่ STP* T = 0°C P = 1 atm STP = Standard Temperature and Pressure อ. สุนทร พรจำาเริญ
  • 19. สรุปความสัมพันธ์ อนุภาค 6.02x1023 1 โมล มวลอะตอม(g) 22.4 dm3 ที่ STP ปริมาตร มวล มวลโมเลกุล(g) อ. สุนทร พรจำาเริญ
  • 20. สรุปความสัมพันธ์ อ. สุนทร พรจำาเริญ
  • 21. แฟคเตอร์เปลี่ยนหน่วย 12 C 1 โมล = 12 C 6.02x1023 อนุภาค 12 C 1 โมล = 12 C 6.02x1023 อนุภาค 12 C 1 โมล 12 C 1 โมล 1 = 12 C 6.02x1023 อนุภาค 12 C 1 โมล แฟคเตอร์นี้ใช้เปลี่ยนหน่วยจากโมลเป็นอนุภาค อ. สุนทร พรจำาเริญ
  • 22. แฟคเตอร์เปลี่ยนหน่วย 12 C 1 โมล = 12 C 6.02x1023 อนุภาค C 1 โมล 12 = 12 C 6.02x1023 อนุภาค 12 C 6.02x1023 อนุภาค 12 C 6.02x1023 อนุภาค C 1 โมล 12 = 1 12 C 6.02x1023 อนุภาค แฟคเตอร์นี้ใช้เปลี่ยนหน่วยจากอนุภาคเป็นโมล อ. สุนทร พรจำาเริญ
  • 23. แฟคเตอร์เปลี่ยนหน่วย สาร 1 โมล มวลอะตอมหรือมวลโมเลกุล หรือ มวลอะตอมหรือมวลโมเลกุล สาร 1 โมล สาร 1 โมล 22.4 dm3ทีSTP ่ หรือ 22.4 dm ที่STP 3 สาร 1 โมล แฟคเตอร์นี้ใช้เปลียนหน่วยใด ? ่ อ. สุนทร พรจำาเริญ
  • 24. ตัวอย่างการคำานวณ โจทย์ 1 แก๊สฮีเลียม(He) 6.46 g มีกี่โมล วิธีคำานวณ 1 mol จำานวนโมลของ He = 6.46 g x 4.003 g = 1.60 mol อ. สุนทร พรจำาเริญ
  • 25. ตัวอย่างการคำานวณ โจทย์ 2 แคลเซียมไนเตรต(Ca(NO3)2) 0.433 mol มีมวลกี่กรัม วิธีคำานวณ 164.1 g มวลของ Ca(NO3)2 = 0.433 mol x 1 mol = 71.1 g อ. สุนทร พรจำาเริญ
  • 26. ตัวอย่างการคำานวณ จทย์ 3 แคลเซียม(Ca) 1 อะตอมมีมวลกี่กรัม ธีคำานวณ มวลของ Ca = 1 atom x 1 mol x 40 g 6.02x1023 atom 1 mol = 6.66x10-23 g อ. สุนทร พรจำาเริญ
  • 27. สารละลาย(Solution) “ของผสมเอกพันธุ์ของสารตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไป” งค์ประกอบของสารละลาย คือ ตัวทำาละลาย(Solven และตัวละลาย หรือตัวถูกละลาย(Solute) อ. สุนทร พรจำาเริญ
  • 28. สารละลาย(Solutions) สารละลายอิม ่ สารละลายอิ่มตัว ตัว ยวดยิ่ง (Saturated solution) (Supersaturated solution) อ. สุนทร พรจำาเริญ
  • 29. ประเภทสารละลาย สารละลาย ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ทองเหลือง นำ้าโซดา อากาศ นาก แอลกอฮอล์ในนำ้า แก๊สหุงต้ม อ. สุนทร พรจำาเริญ
  • 30. ความเข้มข้นของ สารละลาย มเข้มข้น(Concentration)ของสารละลาย ยถึงค่าที่แสดงปริมาณของตัวละลายที่มีอยู่ในสารละล ในตัวทำาละลาย อ. สุนทร พรจำาเริญ
  • 31. ร้อยละ(%)  ร้อยละโดยมวล (มวล/มวล) มวลของตัวละลายที่ละลายในสารละลาย 100 หน่วยมวลเดียวกัน  ร้อยละโดยปริมาตร (ปริมาตร/ปริมาตร) ปริมาตรของตัวละลายที่ละลายในสารละลาย 100 หน่วยปริมาตรเดียวกัน  ร้อยละโดยมวล/ปริมาตร อ. สุนทร พรจำาเริญ
  • 32. ส่วนในล้านส่วน ส่วนในล้านส่วน(parts per million : ppm) เป็นหน่วยที่บอกปริมาณตัวละลาย เป็นมวล หรือ ปริมาตร ที่ละลายในสารละลาย 1 ล้านหน่วย เดียวกัน อ ปริมาตรของตัวละลาย 6 มวล หรื ppm = X 10 มวล หรือ ปริมาตรของสารละลาย อ. สุนทร พรจำาเริญ
  • 33. ส่วนในพันล้านส่วน ส่วนในพันล้านส่วน(parts per billion : ppb) เป็นหน่วยที่บอกปริมาณตัวละลาย เป็นมวล หรือ ปริมาตร ที่ละลายในสารละลาย 1 พันล้าน หน่วยเดียวกัน มาตรของตัวละลาย 9 มวล หรือ ปริ ppb = X 10 มวล หรือ ปริมาตรของสารละลาย อ. สุนทร พรจำาเริญ
  • 34. ตัวอย่างการคำานวณ  สารละลายชนิดหนึ่งมี NaOH 8.0 g ละลายนำ้า 70.0 g ก) จงคำานวณหา % โดยมวล ข) ถ้าสารละลายนี้มความหนาแน่น 1.20 ี g/cm3 จงคำานวณหา % โดยมวล/ปริมาตร 8.0 g วิธีทำา ก) % โดยมวล = ------------------ x (8.0+70.0) g 100 = 10.3 8.0 g 1 cm3 ข) % โดยปริมาตร = 1.20 g อ. -----------------------------x 100 = 12.3 นทร พรจำาเริญ สุ
  • 35. โมลาริต(Molarity) ี โมลาริตี หรือ โมลาร์(Molar : M หรือ mol/dm3) เป็นหน่วยที่บอกปริมาณตัวละลาย เป็นโมลทีละลายในสารละลาย 1 ่ ลูกบาศก์นวนโมลของตัวละลาย(mol) จำา เดซิเมตร M = ปริมาตรของสารละลาย(dm3) อ. สุนทร พรจำาเริญ
  • 36. ตัวอย่างการคำานวณ  จงคำานวณหาความเข้มข้นเป็น M ของ สารละลายที่มี NaCl 9.52 g ในสารละลาย 575 cm3 วิธีทำา ความเข้มข้นของ NaCl เป็น M(mol/ dm3) 1 mol NaCl 1 1000 cm3sol. 58.5 g.NaCl 575 cm3sol. 1 dm3sol. = 9.52 g.NaCl x------------x ------------x------------ อ. = 0.284 M สุนทร พรจำาเริญ
  • 37. ตัวอย่างการคำานวณ  จงคำานวณหามวลของ NaOH ใน สารละลาย NaOH เข้มข้น 0.25 M จำานวน 300 cm3 วิธีทำา มวลเป็น g ของ NaOH 0.25 mol NaOH 40 g NaOH 1000 cm3sol. 1 mol NaOH = 300 cm3sol.x-------------------- x ------------------- = 3.0 g อ. สุนทร พรจำาเริญ
  • 38. ตัวอย่างการคำานวณ  จงคำานวณหาMolarity(M)ของสารละลาย H2SO4เข้มข้น 10%โดยมวล ซึ่งมีความ หนาแน่น 1.07g/cm3 วิธีทำา ความเข้มข้นเป็น M ของ H2SOH2SO4 x 1 mol H2SO4 10 g 4 98 g H2SO4 1000 cm sol. 3 100 g sol. x 1 cm3 sol. 1dm3 sol. 1.07 g sol. = ------------------------------------x------------------ = 1.09M อ. สุนทร พรจำาเริญ
  • 39. โมแลลิต(Molality) ี โมแลลิตี หรือ โมแลล(Molal : m หรือ mol/kg) เป็นหน่วยที่บอกปริมาณตัวละลาย เป็นโมล(mol) ที่ละลายในตัวทำาละลาย ละลาย(mol) จำานวนโมลของตัว 1 m = กิโลกรัมมวลของตัวทำาละลาย(kg) (kg) อ. สุนทร พรจำาเริญ
  • 40. ตัวอย่างการคำานวณ  จงคำานวณหาโมแลลิตีของสารละลายซึ่งมี NH3 0.85 g ละลายในนำ้า 125 g 1 mol NH3 0.85 g NH3 x ------------- 17 g NH3 วิธีทำาm = ---------------------------- = 0.4 m 1 kg H2O 125 g H2O x ---------------- 1000 g H2O อ. สุนทร พรจำาเริญ
  • 41. เศษส่วนโมล เศษส่วนโมล(Mole fraction : X) เศษส่วนโมลของสารใด หมายถึง อัตราส่วนจำานวนโมลของ สารนันกับจำานวนโมลรวมของสาร ้ ทังหมด ้ เช่น สารละลายชนิดหนึ่งประกอบ ด้วยสาร A,B และ C a จำานวน a + bและ c mol ตามลำาดับ ดัง a,b + c นั้น อ. สุนทร พรจำาเริญ
  • 42. การเตรียมสารละลาย อ. สุนทร พรจำาเริญ
  • 43. การเตรียมสารละลายจาก สารบริสทธิ์ ุ อ. สุนทร พรจำาเริญ
  • 44. ขั้นตอนการเตรียมสารละลาย จากสารบริสทธิ์ ุ  คำานวณหาปริมาณตัวละลาย  การทำาให้เป็นสารละลาย  การเก็บสารละลายและอุปกรณ์ อ. สุนทร พรจำาเริญ
  • 45. คำานวณหาปริมาณตัวละลาย เตรียมสารละลาย NaCl เข้มข้น 1.0 mol/dm3 จำานวน 250 cm3 การคำานวณ 1.0 mol x 58.5 g มวลของ NaCl = 250 cm x 3 1.0 mol 1000 cm3 = 14.6 g อ. สุนทร พรจำาเริญ
  • 46. ทำาให้เป็นสารละลายละลาย ชั่งสาร ตัวอย่างตาม ปริมาณที่ คำานวณได้ อ. สุนทร พรจำาเริญ
  • 47. ทำาให้เป็นสารละลายละลาย ละลายสาร ตัวอย่าง ในบีกเกอร์ อ. สุนทร พรจำาเริญ
  • 48. ทำาให้เป็นสารละลายละลาย เทสารละลาย ลงในขวดวัด ปริมาตร อ. สุนทร พรจำาเริญ
  • 49. ทำาให้เป็นสารละลายละลาย ล้างบีกเกอร์ ด้วยนำ้ากลั่น แล้วเทใส่ขวด วัดปริมาตร อ. สุนทร พรจำาเริญ
  • 50. ทำาให้เป็นสารละลายละลาย เขย่าขวดวัด ปริมาตรเพื่อ ให้สารละลาย ผสมกัน อ. สุนทร พรจำาเริญ
  • 51. ทำาให้เป็นสารละลายละลาย ตังขวด ้ ปริมาตรเพื่อ ให้สารละลาย มีอุณหภูมิลด ลง อ. สุนทร พรจำาเริญ
  • 52. ทำาให้เป็นสารละลายละลาย เติมนำ้ากลั่นที ละน้อยจนถึง ขีดบอก ปริมาตร อ. สุนทร พรจำาเริญ
  • 53. ทำาให้เป็นสารละลายละลาย ส่วนโค้งตำ่า สุดของ สารละลายอยู่ ตรงขีดบอก ปริมาตร อ. สุนทร พรจำาเริญ
  • 54. ทำาให้เป็นสารละลายละลาย กลับขวดขึ้น ลงให้ สารละลาย ผสมกัน อ. สุนทร พรจำาเริญ
  • 55. เก็บสารละลายและอุปกรณ์  ถ่ายสารละลายที่ เตรียมเสร็จแล้วใส่ ภาชนะเก็บสารปิด จุก ปิดฉลากโดย ระบุชื่อสาร สูตรเคมี ความเข้ม ข้นและวันที่เตรียม สารละลาย  ล้างขวดวัด ปริมาตรและจุก  วางควำ่าไว้ให้แห้ง อ. สุนทร พรจำาเริญ
  • 56. การเตรียมสารละลายจาก สารบริสทธิ์ ุ อ. สุนทร พรจำาเริญ
  • 57. การเตรียมสารละลายจาก สารละลายเข้มข้น อ. สุนทร พรจำาเริญ
  • 58. การเตรียมสารละลายจาก สารละลายเข้มข้น  คำานวณหา ปริมาตรของ สารละลายเดิม ทีใช้ ่  ทำาสารละลาย ให้เจือจาง  การเก็บ อ. สุนทร พรจำาเริญ
  • 59. colligative properties สมบัติทางกายภาพของสารละลายทีต่าง ่ จากสมบัติชนิดเดียวกันของตัว ทำาละลายบริสุทธิ์ และเป็นสมบัติที่ขึ้นกับ จำานวนอนุภาคของตัวละลาย แต่ไม่ขึ้นกับชนิดของตัวละลาย สมบัติ คอลลิเกทีฟ การลดตำ่าของ การเพิ่มขึ้น การลดตำ่าลง ความดัน ความดันไอ ของจุดเดือด ของจุดเยือกแข็ง ออสโมติก อ. สุนทร พรจำาเริญ
  • 60. การลดตำ่าของความดัน ไอ  ความดันไอ ของตัวทำา ละลายเหนือ สารละลายจะมี ค่าตำ่ากว่าความ ดันไอของตัว อ. ทำาละลาย พรจำาเริญ สุนทร
  • 61. ความดันออสโมติก  ความดันเหนือ สารละลายที่ทำาให้ ออสโมซิสหยุด พอดี เรียกว่า ความดันออสโม อ. สุนทร พรจำาเริญ
  • 62. ออสโมซิส(Osmosis)  หมายถึง กระบวนการที่ตัว ทำาละลายเคลื่อนที่ จากสารละลายทีมี ่ ความเข้มข้นน้อย กว่า(หรือจากตัวทำา ละลายบริสุทธิ)์ ผ่านเยื่อกึ่ง อ. พรุน(Semiperme สุนทร พรจำาเริญ
  • 63. การเพิ่มขึ้นของจุดเดือดและการลด ลงของจุดเยือกแข็ง  จุดเดือดของ สารละลายสูงกว่า จุดเดือดของตัวทำา ละลายบริสุทธิ์  จุดหลอมเหลวของ สารละลายตำ่ากว่า จุดหลอมเหลวของ ตัวทำาละลาย อ. บริสุทธิ์ สุนทร พรจำาเริญ
  • 64. การเพิ่มขึ้นของจุดเดือดและการลด ลงของจุดเยือกแข็ง  จุดเดือดที่สูงขึ้นและจุดเยือกแข็งที่ลดลง เป็นปฏิภาคโดยตรงกับความเข้มข้นของ สารละลายในหน่วยโมแลลิต(bmol/kg) ∆Tb ∝ m ี ∆Tb = K m ∆Tf ∝ m ∆Tf = Kfm Tb คือผลต่างระหว่างจุดเดือดของสารละลายกับตัวทำาละลายบริสุทธิ์ Tf คือผลต่างระหว่างจุดเยือกแข็งของตัวทำาละลายบริสุทธิกับสารละลา ์ m คือความเข้มข้นของสารละลายเป็น mol/kg Kb คือค่าคงที่ของการเพิ่มขึ้นของจุดเดือด Kf คือค่าคงที่ของการลดลงของจุดเยือกแข็ง อ. สุนทร พรจำาเริญ
  • 65. ความเข้มข้นและจุดเดือดของ สารบางชนิด สาร ความเข้ม จุดเดือด ข้น (°C) (mol/kg) เอทานอล - 78.50 สารละลายกลีเซอรอล 1 79.72 ในเอทานอล 2 80.94 สารละลายกลีเซอรอล 1 79.72 ในเอทานอล 2 80.94 สารละลายกรดโอเลอิก อ. ในเอทานอล สุนทร พรจำาเริญ
  • 66. ความเข้มข้นและจุดเยือกแข็ง ของสารบางชนิด สาร ความเข้ม จุดเยือกแ ข้น ข็ง (mol/kg) (°C) แนฟทาลีน - 80.50 สารละลายกรดเบนโซ 1 73.50 อิกในแนฟทาลีน 2 67.00 สารละลายกรดเบนโซ 1 73.50 อิกในแนฟทาลีน 2 67.00 สารละลายฟีนิลเบนซีน อ. ในแนฟทาลีน สุนทร พรจำาเริญ
  • 67. สรุปความเข้มข้นกับจุดเดือด และจุดเยือกแข็ง  สารละลายที่มตวทำาละลายชนิด ี ั เดียวกัน ถ้ามีความเข้มข้นเป็น mol/kg เท่ากัน จะมีจุดเดือดและ จุดเยือกแข็งเท่ากัน ไม่ว่าตัวละลาย จะเป็นสารใดก็ตาม  สารละลายที่มตวทำาละลายชนิด ี ั เดียวกัน ถ้ามีความเข้มข้นเป็น mol/kg ต่างกัน จะมีจุดเดือดและ อ. จุดเยือกแข็งต่างกันไม่วาตัวสุนทร พรจำาเริญ ่ ละลาย
  • 68. จุดเดือด จุดเยือกแข็ง Kb และ Kf ตัวทำา b.p(°C) Kb(°C/m) f.p(°C) Kf(°C) ละลาย โพรพาโนน 56.20 1.71 - - ไตรคลอโร 61.70 3.63 - - มีเทน 78.50 1.22 - - เอทานอล 81.00 2.53 5.50 4.90 เบนซีน - - 80.50 6.98 แนฟทาลีน 100.00 0.51 0.00 1.86 นำ้า 117.90 3.07 16.60 3.90 กรดแอซิ อ. สุนทร พรจำาเริญ
  • 69. ความหมายของ Kb และ Kf  Kb ของเบนซีนเท่ากับ 2.53 °C/m หมายความว่าอย่างไร สารละลายที่มเบนซีนเป็นตัวทำา ี ละลายและมีความเข้มข้น 1m จะมี จุดเดือดสูงกว่าจุดเดือดของเบนซีน บริสทธิ์ 2.53 ° C ุ  Kf ของเบนซีนเท่ากับ 4.90 °C/m หมายความว่าอย่างไร อ. สารละลายที่มเบนซีนเป็นตัวสุนทร ี ทำา พรจำาเริญ
  • 70. การคำานวณเกี่ยวกับ Kb และ Kf ∆Tb = Kbm ∆Tf = Kfm W1 x 1000 W1 x 1000 ∆Tb = Kb ∆Tf = Kf W2 x M W2 x M W1 คือ มวลของตัวละลายมีหน่วยเป็น g W2 คือ มวลของตัวทำาละลายมีหน่วย เป็น g อ. M คือ มวลโมเลกุลของตัวละลาย าเริญ สุนทร พรจำ
  • 71. โจทก์คำานวณเกี่ยวกับ Kb และ Kf  จงหาจุดเดือดและจุดเยือกแข็ง ของสารละลายกลูโคสในนำ้าเข้ม ข้น 0.02 โมแลล  จงหามวลทีมหน่วยเป็นกรัมของ ่ ี เอทิลีนไกลคอล(C2H6O2) ซึ่งต้อง เติมลงในนำ้า 37.8 g เพื่อเตรียม สารละลายทีมีจุดเยือกแข็ง ่ อ. -0.150°C สุนทร พรจำาเริญ
  • 72. สูตรเคมี(Chemical formula) สูตรเคมี คือกลุ่ม สัญลักษณ์ที่ใช้ เขียนแทนธาตุและ สารประกอบ แสดง ให้ทราบว่าสารชนิด หนึ่งๆ มีธาตุใดบ้าง เป็นองค์ประกอบ และในอัตราส่วน อ. าใด เท่ สุนทร พรจำาเริญ
  • 73. ประเภทของสูตรเคมี สูตรเคมี Chemical formula สูตรเอมพิริคล สูตรโมเลกุล สูตรโครงสร้าง ั Empirical Molecular Structural formula formula formula อ. สุนทร พรจำาเริญ
  • 74. สูตรเอมพิริคัล  คือสูตรที่แสดงอัตราส่วนอย่างตำ่าของ จำานวนอะตอมของธาตุองค์ประกอบ เช่น สูตรเอมพิรคลของ H2O2 คือ HO ิ ั C6H12O6 คือ CH2O C2H4 คือ CH2 อ. (สูตรเอมพิริคัล)n = นทร พรจำร ญ สุ สูตาเริ
  • 75. สูตรโมเลกุล  คือสูตรที่แสดงจำานวนอะตอมของธาตุแต่ละชนิด ที่มอยู่จริงใน 1 โมเลกุลของสาร เช่น ี สูตรโมเลกุลของนำ้า คือ H2O หมายความว่า นำ้า 1 โมเลกุลประกอบด้วยธาตุ ไฮโดรเจน 2 อะตอมและธาตุออกซิเจน 1 อะตอม อ. สุนทร พรจำาเริญ
  • 76. สูตรโครงสร้าง  คือสูตรโมเลกุลทีแสดงพันธะเคมี ่ ระหว่างอะตอมต่างๆ ทำาให้ทราบ ลักษณะการจัดตัวของอะตอมใน โมเลกุล เช่น อ. สุนทร พรจำาเริญ
  • 77. การคำานวณมวลเป็นร้อยละ จากสูตร ทราบสูตรเคมีของสาร หามวลสูตร หรือมวล โมเลกุลของสาร เทียบหามวลเป็นร้อยละ ของธาตุในสูตรเคมี อ. สุนทร พรจำาเริญ
  • 78. การคำานวณมวลเป็นร้อยละ จากสูตร ร้อยละของธาตุใด มวลของธาตุนน X 100 ั้ = ในสารประกอบ มวลของสารประกอบ ร้อยละของธาตุมวลของธาตุA X 100 A = ในสารประกอบ มวลของสารประกอบ อ. สุนทร พรจำาเริญ
  • 79. การคำานวณมวลเป็นร้อยละ จากสูตร  จงคำานวณมวลเป็นร้อยละของธาตุ ธาตุกชนิดใน HNO ทุ จำานวนโมล มวลของ ร้อยละ 3 องค์ ของธาตุ ธาตุ โดยมวล ประกอบ H ในสาร 1 1 (g) 1x1=1 1 gH โมล X 100 = 1.59 63 gHNO3 14 gN N 1 1x14=14 X 100 = 22.22 63 gHNO3 48 gO X 100 = 76.19 O 3 3x16=48 63 gHNO3 อ. สุนทร พรจำาเริญ
  • 80. โจทย์การคำานวณมวลเป็น ร้อยละจากสูตร  จงคำานวณมวลเป็นร้อยละของ Fe ใน Fe2O3 จำานวน 15 g  จงคำานวณร้อยละโดยมวลของนำ้าใน สารประกอบ Na2CO3.10H2O  จากการวิเคราะห์โดยการเผาไหม้สาร ตัวอย่าง 0.0153 g พบว่าเกิดแก๊ส CO2 0.0056 g และ H2O 0.0012 g จงคำานวณ หามวลเป็นร้อยละของ C และ H ในสาร อ. ตัวอย่าง สุนทร พรจำาเริญ
  • 81. การคำานวณหาสูตรเอมพิริคล ั  ทราบธาตุองค์ประกอบและมวล ของธาตุองค์ประกอบ  หาอัตราส่วนโดยมวลของธาตุ องค์ประกอบ  เปลี่ยนอัตราส่วนโดยมวลเป็น อัตราส่วนจำานวนโมล  ทำาอัตราส่วนจำานวนโมลเป็นอย่าง อ. ตำ่า สุนทร พรจำาเริญ
  • 82. การคำานวณหาสูตรโมเลกุล  ทราบสูตรเอมพิริคล ั และมวล โมเลกุลของสาร  ใช้ความสัมพันธ์ สูตรโมเลกุล = (สูตรเอมพิริคัล)n แทนค่ามวลโมเลกุล จะได้ว่า (สูตรเอมพิริคัล)n = มวล โมเลกุล อ. สุนทร พรจำาเริญ  แก้สมการหาค่า n
  • 83. โจทย์การคำานวณ สูตรเคมี  สารประกอบชนิดหนึ่งประกอบด้วย Na 6.072 g S 8.474 g และ O 6.336 g จงหาสูตรเอมพิรคัลของ ิ สารประกอบนี้  จากการวิเคราะห์การเผาไหม้ สารประกอบชนิดหนึ่งซึงประกอบ ่ ด้วย C และ H พบว่าให้แก๊ส CO2 0.0497 g และ H2O 0.0244 g จงหา อ. สูตรโมเลกุลของสารประกอบ สุนทร พรจำาเริญ
  • 84. โจทย์การคำานวณ สูตรเคมี หามวลของธาตุองค์  อัตราส่วนจำานวนโมล ประกอบ C : H = 0.0135 : 0.0027 มวลของ C ใน CO2 C 12g 12 1 0.0497 g 44g CO2 = 0.0011 : 0.0027 = 0.0497gCO2 x = 1 : 2.4545 = 0.0135 g 2g H = 2 : 5 มวลของ H ใน H218g H2O O  อัตราส่วนจำานวนอะตอม 0.0244 g C:H=2:5 = 0.0244gH2O x สูตรเอมพิริคัลคือ C2H5 = 0.0027 g หาสูตรโมเลกุล หาสูตรเอมพิริคล ั  อ. อัตราส่วนโดยมวล สุนทร พรจำาเริญ
  • 85. กฎทรงมวล Law of conservation of mass “มวลรวมของสารก่อน เกิดปฏิกิริยา เท่ากับมวลรวมของสาร หลัง Lavoisier เกิดปฏิกิริยา” อ. สุนทร พรจำาเริญ
  • 86. กฎสัดส่วนคงที่ Law of definite proportion “สารประกอบ เดียวกันประกอบ ด้วยธาตุต่างๆ อย่าง เดียวกัน อัตราส่วนโดยมวล Joseph Prouste ของธาตุ องค์ประกอบคงที่ อ. เสมอ ไม่นทร พรจำาเริญ สุ ว่า
  • 87. กฎของเกย์-ลูสแซก Gay-Lussac’s law “ที่อณหภูมและความ ุ ิ ดันเดียวกัน อัตราส่วนระหว่าง ปริมาตรของแก๊สที่ ทำาปฏิกิรยาพอดีกน ิ ั กับปริมาตรของ Gay-Lussac แก๊สที่ได้จากปฏิกิรยา ิ จะเป็นเลขจำานวน อ. สุนทร พรจำาเริญ เต็มลงตัวน้อยๆ”
  • 88. กฎของอาโวกาโดร Avogadro’s law “ที่อุณหภูมิและ ความดันเดียวกัน แก๊สใดๆ ทีมีปริมาตร ่ Avogadro เท่ากันจะมี จำานวนโมเลกุลเท่า อ. กัน” สุนทร พรจำาเริญ
  • 89. การหาสูตรโมเลกุลโดยใช้กฎ ของอาโวกาโดร ที่ STP แก๊สไนโตรเจน 30 cm3 ทำาปฏิกิริยาพอดีกับแก๊ส ไฮโดรเจน 90 cm3 ได้แก๊ส ชนิดหนึ่ง 60 cm3 จงหาสูตร โมเลกุล ของแก๊สที่เกิดขึ้น อ. สุนทร พรจำาเริญ
  • 90. สมการเคมี อ. สุนทร พรจำาเริญ
  • 91. สมการเคมี อ. สุนทร พรจำาเริญ
  • 92. สมการเคมี อ. สุนทร พรจำาเริญ
  • 93. สมการเคมี อ. สุนทร พรจำาเริญ