SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 15
Baixar para ler offline
58



     4.4.2 การเตรียมสารละลาย
           ในการทําปฏิบติการทางเคมีจะใชสารในรูปของสารละลายเปนสวนใหญ จึงจําเปนตอง
                       ั
เตรียมสารละลายเปนสวนใหญ จึงจําเปนตองเตรียมสารละลายใหมความเขมขนตรงกับที่ตองการ
                                                                 ี
ถาสารละลายมีความเขมขนคลาดเคลื่อนอาจมีผลตอการทดลองได สารละลายที่เตรียมไดจะมี
ความเขมขนเที่ยงตรงเพียงใดขึ้นอยูกับความบริสุทธิ์ของสาร การชั่งตัวทําละลายและการวัด
ปริมาตรของสารละลาย โดยปกติการเตรียมสารละลายในหองปฏิบัติการเพื่อใชในงานวิเคราะห
ที่ตองการความละเอียดถูกตอง จะตองใชเครื่องชั่งที่สามารถชั่งสารไดถึงทศนิยมตําแหนงที่ 4
ของกรัม คืออานคาไดละเอียดถึง 0.0001 กรัม สวนภาชนะที่ใชเตรียมสารละลายและวัดปริมาตร
จะใชขวดวัดปริมาตรซึ่งมีหลายขนาด
หลักการเตรียมสารละลาย
การเตรียมสารละลายจากสารบริสุทธิ์
ขั้นที่ 1 คํานวณมวลของสารบริสุทธิ์
ขั้นที่ 2 ชั่งมวลของตัวละลาย จากการคํานวณไดในขั้นที่ 1 ซึ่งจะตองชั่งดวยความระมัดระวัง และ
อานคาอยางเทียวตรง
                ่




ขั้นที่ 3 ละลายตัวละลายลงในบีกเกอรดวยน้ํากลั่นประมาณ 2 ใน 3 สวนของปริมาตรที่ตองการ
                                    
ขั้นที่ 4 เทสารละลายผานกรวยลงในขวดวัดปริมาตร
                                      ขวดวัดปริมาตรที่ใชตองมีขนาดเทากับปริมาตร
                                      ของสารละลายตามที่คํานวณในขันที่ 1 ในขั้นตอนนี้
                                                                      ้
                                      ควรใสสารละลายใหมีปริมาตร 2 ใน 3 สวน
                                      ของขวดวัดปริมาตร เพราะการละลายของสารจะเกิด
                                      การคายความรอน หรือดูดความรอน ปริมาตรของ
                                      สารละลายยังเปลี่ยนแปลงอยู เมื่ออุณหภูมของสารละลาย
                                                                               ิ
                                      มีอุณหภูมิเทากับอุณหภูมหองจึงเติมน้ําถึงตามขีดที่
                                                              ิ 
                                      กําหนด
59




ขั้นที่ 5 เติมน้ํากลั่นจนถึงขีดบอกปริมาตรที่คอขวด โดยใหสวนโคงต่ําสุดอยูพอดีขีด




ขั้นที่ 6 กลับขวดขึ้นลงจนสารผสมเปนเนื้อเดียวกัน (อยาลืมปดจุกขวด)




ขั้นที่ 7 เก็บสารละลายและอุปกรณอยางเหมาะสม
           1. นําสารละลายที่เตรียมไดเทใสขวดหรือภาชนะปดฝาอยางเหมาะสม
           2. ปดฉลากโดยระบุชื่อสาร สูตรเคมี ความเขมขน และวันที่เตรียมสารละลาย
                (เพราะสารละลายบางชนิดอาจสลายตัวไดเมื่อเตรียมไวนานเกินไป)
           3. ลางอุปกรณทุกชิ้นสวนทีใชใหสะอาด วางคว่ําไวจนแหงกอนจึงปดจุก
                                      ่
           4. เก็บอุปกรณและสารละลายเขาตูอุปกรณอยางเหมาะสม
การเตรียมสารละลายจากสารละลายเขมขน
            ในหองปฏิบัตการเคมีมักจะมีสารละลายตาง ๆ ที่มีความเขมขนตาง ๆ อยูแลว เมื่อตองการ
                          ิ
ใชสารละลายที่มีความเขมขนต่ํากวาสารละลายที่มีอยูเดิม ทําไดโดยแบงสารละลายที่มีอยูเดิมมา
จํานวนหนึ่ง แลวผสมน้ําลงไปตามที่กําหนดไว เรียกวิธการนี้วาการทําใหเจือจาง ซึ่งขั้นตอน
                                                         ี
การคํานวณมีดังนี้
ขั้นที่ 1 คํานวณหาปริมาตรสารละลายเขมขนเพื่อจะแบงออกมา
          เมื่อเติมตัวทําละลายลงในสารละลาย จํานวนโมลของตัวละลายยังคงเดิม แตปริมาตรของ
สารละลายจะเพิ่มขึ้น คาความเขมขนโมลาริตีจะลดลง
 จํานวนโมลของตัวละลายกอนเจือจาง = จํานวนโมลของตัวละลายหลังเจือจาง
เนื่องจาก จํานวนโมล = โมลาริตี x จํานวนลิตร ทําใหเขียนสมการการเจือจางไดดังนี้
60



(โมลาริตีเริ่มตน)x(ปริมาตรเริ่มตน) = (โมลาริตีสุดทาย)x(ปริมาตรสุดทาย)
                            C1 V1 = C 2 V2
ขั้นที่ 2 แบงสารละลายเขมขนตามปริมาตรที่คํานวณได
       ใชปเปตตดูดสารละลายขึ้นมา V1 cm3 ถายลงในขวดวัดปริมาตร ซึ่งตองเลือกขวดวัด
ปริมาตรขนาด V2 cm3




       การทําสารละลายเขมขนใหเจือจางลงนั้น ความเขมขนจะถูกตองเพียงใดขึ้นอยูกับ
                                                                               
การวัดปริมาตรเปนสําคัญ อุปกรณที่ใชในการวัดปริมาตรของสารละลายที่มีปริมาณนอยคือปเปตต




                                      รูป ปเปตตชนิดตาง ๆ
           ปเปตตเปนอุปกรณวดปริมาตรที่มีความละเอียดมาก มีขนาดและปริมาตรตาง ๆ นอกจากนี้
                              ั
ถาตองการเตรียมสารละลายที่มีความเขมขน โดยประมาณอาจใชกระบอกตวงในการเตรียม
สารละลายแทนปเปตตได
ขั้นที่ 3 เติมน้ํากลั่นลงไปในสารละลายจนถึงขีดบอกปริมาตรที่คอขวด




         การเติมน้ําจะตองคอย ๆ เติม และใหมีปริมาตร 2 ใน 3 สวนกอน เมื่ออุณหภูมิสารละลาย
ไมเปลี่ยนแปลงแลวจึงเติมน้าใหมีปริมาตรถึงขีดขางบนของขวดวัดปริมาตร โดยใหสวนต่ําสุด
                            ํ
อยูตรงขีด
61



ขั้นที่ 4 กลับขวดขึ้นลงจนสารผสมกันเปนเนื้อเดียว




ขั้นที่ 5 เก็บสารละลายและอุปกรณอยางเหมาะสม
การคํานวณการเตรียมสารละลายมีดังนี้
1. การเตรียมสารละลายจากสารบริสทธิ์ ุ
            การคํานวณเกียวกับการเตรียมสารละลายอาศัยหลักการวา เมือนําสารบริสุทธิ์(ของแข็ง ,
                        ่                                        ่
กาซ ) มาละลายน้ํา
           โมลสารบริสุทธิ์ = โมลสารละลาย

การเตรียมสารละลายจากของแข็ง
    สวนใหญจะใชวิธีชั่งของแข็ง แลวนําไปละลายในตัวทําละลาย
             w CV
สูตร           =
            M 1000

ตัวอยางที่ 1 ถาตองการสารละลายโพแทสเซียมไอโอไดด (KI) เขมขน 0.2 โมล/ลิตร จํานวน 200
cm3 จะตองใช KI กี่กรัม (K = 39.1 , I = 126.9)
                                                   200 cm 3
วิธีทํา ทําปริมาตรสารละลายใหเปนลิตรไดเทากับ
                                                  1000 cm 3
                            mol KI
 โมลาริตีของ KI =
                      ปริมาตรสารละลาย
        mol KI = โมลารีตีของ KI x ปริมาตรสารละลาย
                     0.2 mol KI
                  =             x 0.2 ลิตร
                       1 ลิตร
        mol KI = 0.04 mol
เนื่องจาก KI 1 mol หนัก 166 กรัม
                                                 166 g KI
ดังนั้นน้ําหนักที่เปนกรัมของ KI = 0.04 mol KI x
                                                 1 mol KI
                                  = 6.64 g
62



วิธีที่ 2 ใชสูตร โจทยกําหนด C = 0.2 mol/dm3     M = 166 g
                               V = 200 cm3        w=?
                              w CV
                     ใชสูตร =
                             M 1000
                             w 0.2 x 200
                                =
                            166 1000
                                 0.2 x 200 x166
                             w=
                                      1000
                               = 6.64 g
วิธีที่ 3 เทียบสัดสวนบรรทัดเดียว
         ผังการคิด mol/dm3 → mol → g KI
                                 0.2 mol KI                         166 g KI
                      g KI = (         3      ) x 400 cm 3so ln x (          )
                               1000 cm so ln                        1 mol KI
                           = 6.64 g
      ถารูคาโมลาริตีของสารละลาย เราสามารถคํานวณหาจํานวนโมลของตัวละลายใน
สารละลายที่มีปริมาตรตาง ๆ กันได คาโมลาริตีจัดเปนตัวแปลงหนวยระหวางปริมาตรของ
สารละลายกับจํานวนโมลของตัวละลาย การคํานวณจํานวนโมลของ HNO3 ที่อยูในสารละลาย
เขมขน HNO3 0.20 mol/dm3 ปริมาตร 2 dm3 ทําดังนี้
                                               0.2 mol HNO 3
       จํานวนโมลของ HNO3 = ( 2.0 dm 3so ln)(                 )
                                                 1 dm 3 soln
                             = 0.4 mol
         ใหสังเกตวาเราใชการคาโมลาริตีของสารละลายใหเปนโมลจะใช ปริมาตร x โมลาริตี แต
ถาตองการแปลง mol เปนปริมาตร เมื่อกําหนดคาโมลาริตี เราตองใชคาที่เปนสวนกลับของโมลาริตี
                                                                 
(dm3/mol)
เชน ถาตองการใช HNO3 2 mol ใหมความเขมขน HNO3 0.30 mol/dm3 ไดจะตองเติมน้ําจนมี
                                     ี
ปริมาตรเทาใด
                                               1 dm 3 soln
        ปริมาตรสารละลาย = ( 2.0 mol HNO 3 )(               )
                                             0.3 mol HNO 3
                            = 6.7 dm3
63



ตัวอยางที่ 2 ถาตองการเตรียมสารละลาย HCl 0.5 mol/dm3 จาก HCl 73 g จะไดสารละลายปริมาตร
เทาใด
                                           1 mol HCl
วิธีท่ี 1 หาโมลของ HCl = ( 73 g HCl)(                  )
                                           36.5 g HCl
                   mol HCl = 2 mol
              หาปริมาตรสารละลายจาก
                                      mol HCl
              โมลาริตีของ HCl =
                                 ปริมาตรสารละลาย
                                     mol HCl
           ปริมาตรสารละลาย =
                                 โมลาริตีของ HCl
                                              1 dm 3 soln
           ปริมาตรสารละลาย = ( 2 mol HCl)(                 )
                                             0.5 mol HCl
                              = 4 dm3
วิธีท่ี 2 เทียบสัดสวนบรรทัดเดียว
          ผังความคิด              g HCl → mol HCl → dm 3so ln
                                            1 mol HCl 1 dm 3
          ปริมาตรสารละลาย = ( 73 g HCl )(               )(         )
                                            36.5 g HCl 0.5 mol HCl
                              = 4 dm3
ลองทําดูขอ 1 จะตองใช NaOH กี่กรัมในการเตรียมสารละลาย NaOH เขมขน 2 mol/dm3 จํานวน
100 cm3
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
64



ลองทําดูขอ 2 ถามีเลด (II) ไนเตรตอยู 3.31 กรัม ตองการเตรียมสารละลายเลด (II) ไนเตรตที่มี
ความเขมขน 0.4 โมล/ลิตร จะไดสารละลายนี้มีปริมาตรกี่ลูกบาศกเซนติเมตร (Pb=207, N=14,
O = 16)
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
ลองทําดูขอ 3 ถาใช Pb(NO3)2 6.62 กรัม ละลายน้ําจนมีปริมาตรเปน 500 ลูกบาศกเซนติเมตร
จะไดสารละลายเขมขนเทาใด
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………

การเตรียมสารละลายจากสารละลายที่มีอยูเดิม
           การเตรียมสารละลายโดยการทําเจือจาง ทําไดโดยเติมน้ําลงในสารละลายในปริมาณ
ที่เหมาะสม จํานวนโมลของตัวถูกละลายคงที่เทาเดิม ปริมาตรใหมเทากับปริมาตรเดิมรวมกับ
ปริมาตรของน้ํา และสารละลายจะมีความเขมขนลดลง
        หลักการเติมน้า จํานวนโมลของสาร(ตัวถูกละลาย) เทาเดิม แตความเขมขนเปลี่ยนไป
                     ํ
        จํานวนโมลกอนเติม = จํานวนโมลหลังเติม
                    C1 V1 C 2 V2
                          =
                    1000 1000
            หรือ C1V1 = C2V2
C1 , C2 = ความเขมขนของสารละลายกอนและหลังเติมน้ําตามลําดับ (mol/l)
V1 , V2 = ปริมาตรของสารละลายกอนเติมน้ําและหลังเติมน้ําตามลําดับ (cm3)
65



ตัวอยางที่ 3 ถานําสารละลายกรด HCl 1.0 โมล/ลิตร มา 20 cm3 แลวเติมน้ําจนมีปริมาตรเปน
300 cm3 จะไดสารละลายเขมขนกี่โมล/ลิตร
วิธีทํา
        HCl                                                    HCl
  C1 = 1.0 mol/l                 เติมน้ํา             C2 = ? mol/l
   V1 = 20 cm3                                        V2 = 300 cm3
                            C1 V1 = C 2 V2
              1.0 mol/l x 20 cm 3 = C 2 x 300 cm 3
                                    1.0 mol/l x 20 cm 3
                              C2 =
                                           300 cm 3
                              C 2 = 0.067 mol/l
∴ ความเขมขนของ HCl เทากับ 0.067 mol/l
ตัวอยางที่ 4 ตองการเตรียม H2SO4 0.05 โมลาร จากสารละลาย 0.1 โมลาร 100 ลูกบาศกเซนติเมตร
จะตองเติมน้ําลงไปเทาใด
วิธีทํา
  C1 = 0.10 mol/l             เติมน้ํา (V2 − V1)          C2 = 0.05 mol/l
   V1 = 100 cm3                                           V2 = ? cm3
                               C1 V1 = C 2 V2
               0.10 mol/l x 100 cm 3 = 0.05 mol/l xV2
                                       0.10 mol/l x 100 cm 3
                                 V2 =
                                              0.05 mol/l
                                 V2 = 200 cm 3
    ∴ ตองเติมน้ําเทากับ V2 − V1 = 200 cm3 − 100 cm3 = 100 cm3
     ดังนั้นตองเติมน้ําเทากับ 100 cm3
66



ลองทําดูขอ 4 นําสารละลาย H2SO4 5 โมล/ลิตร มา 50 cm3 เติมน้ําจนได 100 cm3 สารละลาย
สุดทายเขมขนกี่โมล/ลิตร
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
ลองทําดูขอ 5 สารละลายอยางหนึ่งมีความเขมขน 3 mol/l ปริมาตร 100 cm3 ตองการทําใหมีความ
         
เขมขน 2 mol/l จะตองเติมน้าจนมีปริมาตรทั้งหมดกี่ cm3
                            ํ
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………

หลักการแบงสาร จํานวนโมลของสารเปลี่ยนไป แตความเขมขนของสารเทาเดิม
ตัวอยางที่ 5 ถามีสารละลาย NaOH 2.0 โมล/ลิตร 800 cm3 แบงสารละลายนี้มา 100 cm3 แลวเติมน้ํา
ลงไป 400 cm3 จะไดสารละลาย
     ก. มี NaOH กี่โมล                  ข. มี NaOH กีโมล/ลิตร
                                                     ่
วิธีทํา
           NaOH
   C = 2.0 mol/l         แบงมา       C1 = 2.0 mol/l         เติมน้ํา         C2 = ? mol/l
   V = 800 cm3                        V1 = 100 cm3                           V2 = 500 cm3
                                                                400 cm3
                                     mol NaOHกอนเติม = ?                 mol NaOHหลังเติม = ?
67



ก. หา mol ของ NaOH กอนเติมหรือหลังเติมก็ไดจะมีคาเทากัน
                  C xV                      C xV
    mol NaOH = 1 1 หรืออาจหาจาก 2 2 ก็ไดคาเทากัน
                   1000                      1000
    สัดสวนบรรทัดเดียว
                   2.0 mol            3
    mol NaOH =             3 x100 cm = 0.2 mol
                  1000 cm
    ∴ จํานวนโมลของ NaOH เทากับ 0.2 mol
ข. หา mol/l NaOH หลังเติมน้ํา
                               C1 V1 = C 2 V2
                 2.0 mol/l x 100 cm 3 = C 2 x 500 cm 3
                                        2.0 mol/l x 100 cm 3
                                 C2 =
                                              500 cm 3
                                 C 2 = 0.4 mol/l
∴ ความเขมขนของ NaOH เทากับ 0.4 mol/l
ลองทําดู 6 สารละลาย KI เขมขน 5 โมลาร 500 ลูกบาศกเซนติเมตร ตองการเตรียมใหเปน
0.05 โมลาร จํานวน 1,500 ลูกบาศกเซนติเมตร จะตองใชสารละลายนี้เทาใดและเติมน้ําเทาใด
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
ลองทําดู 7 เติมน้ํา 50 cm3 ลงในสารละลาย HCl 0.20 M จํานวน 150 cm3 แบงสารละลาย
หลังเติมน้ํามา 20 cm3 เติมน้ําจนไดสารละลาย 100 cm3 จะเขมขนกี่โมล/ลิตร
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
68



3. การเตรียมสารละลายโดยการผสมสารละลายเขาดวยกัน
   ใชหลักการวา เมื่อนําสารละลายชนิดเดียวกันที่มีความเขมขนตาง ๆ มาผสมกัน “จํานวนโม
ลของตัวถูกละลายกอนผสมยอมเทากับจํานวนโมลของตัวถูกละลายหลังผสม” ดังนี้
          โมล(กอนผสม) = โมล(หลังผสม)
         n1 + n2 + …..    = n3
      C1V1 + C2V2 +….. = CผสมVผสม
C1 , C2 = ความเขมขนของสารละลายกอนและหลังเติมน้ําตามลําดับ (mol/l)
V1 , V2 = ปริมาตรของสารละลาย 1 , 2 ตามลําดับ (cm3)
 Cผสม = ความเขมขนผสม (mol/l)
 Vผสม = ปริมาตรของสารละลายผสม (cm3) = V1 + V2
ตัวอยางที่ 6 จงคํานวณปริมาตร (dm3) สารละลาย NH3 15 mol/dm3 ที่จะเติมลงใน 3.4 dm3 ของ
สารละลาย NH3 3 mol/dm3 แลวทําใหเจือจางดวยน้ํา จนไดสารละลาย NH3 เขมขน 5 mol/dm3
จํานวน 6 dm3
วิธีทํา
        NH3                        NH3                                   NH3
         1                         2
  C1 = 15 mol/dm3     +      C2 = 3 mol/dm3             ผสม         Cผสม = 5 mol/dm3
   V1 = ? dm3                V2 = 3.4 dm3                           Vผสม = 6 dm3

                         C1 V1 + C 2 V2 = Cผสม Vผสม
15 mol/dm 3 x V1 + 3 mol/dm 3 x 3.4 dm 3 = 5 mol/dm 3 x 6 dm 3
           15 mol/dm3 x V1 + 10.2 mol = 30 mol
                  15 mol/dm3 x V1 = 30 mol − 10.2 mol
                                     19.8 mol            3
                               V1 =           3 = 1.32 dm
                                    15 mol/dm
               3                3
∴ NH3 15 mol/dm จะนํามา 1.32 dm
69



ลองทําดูขอ 8 เมื่อผสมสารละลาย HCl 0.2, 0.3 และ 0.7 mol/l จํานวน 20, 25 และ 5 cm3 จะได
สารละลายที่มีความเขมขนกี่ mol/l
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
โจทยพิเศษ นําสารละลายกรด HNO3 เขมขน 27 เปอรเซ็นตโดยมวล ความหนาแนน 1.4 g/cm3
ปริมาตร 25 cm3 มาผสมกับสารละลายกรด HNO3 เขมขน 4 mol/dm3 ปริมาตร 50 cm3 แลวเติมน้ํา
จนปริมาตรสุดทายเปน 500 cm3 สารละลายกรดที่ไดมีความเขมขนกี่ mol/dm3
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
…..………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………
…..………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………
…..………………………………………………………………………………………………….
70



                    ใบงานการทดลองที่ 4.1 การเตรียมสารละลาย
วิชาเคมีพื้นฐาน (ว41102)                           ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4/……….
ชื่อ ………………………………………….กลุมที่…………………… เลขที่ . … …..
จุดประสงคการทดลอง
1. ทําการทดลองเพื่อเตรียมสารละลายใหมีความเขมขนและปริมาตรตามตองการได
2. คํานวณหามวลของสารและปริมาตาของสารละลาย เพื่อใชเตรียมสารละลายใหมีความเขมขน
    และปริมาตรตามตองการได

รายการสารเคมีและอุปกรณ
สารเคมี
1. โซเดียมคลอไรด
2. น้ํากลั่น
อุปกรณ
1. ขวดวัดปริมาตรขนาด 250 cm3
2. ขวดวัดปริมาตรขนาด 100 cm3
3. ปเปตตขนาด 10 cm3
4. กรวยกรอง

วิธีทดลอง
ตอนที่ 1 เตรียมสารละลายโซเดียมคลอไรด 0.4 mol/dm3 จํานวน 250 cm3
1. คํานวณหามวลของโซเดียมคลอไรดที่ตองใช และชั่งสารดวยเครื่องชั่งอยางละเอียด
2. นํา NaCl จากขอ 1 ใสในบีกเกอรและเติมน้ํากลั่นประมาณ 50 cm3 คนจน NaCl ละลายหมด
   เทสารละลายที่ไดผานกรวยลงในขวดวัดปริมาตรขนาด 250 cm3
3. ลางบีกเกอรจากขอ 2 ดวยน้ํากลั่นเล็กนอย แลวเทลงในขวดวัดปริมาตร และทําซ้ําอีก 2 – 3 ครั้ง
4. เติมน้ํากลั่นลงในขวดวัดปริมาตรอยางชา ๆ ปดจุกและเขยาขวด แลวเติมน้ํากลั่นจนสารละลาย
   ถึงขีดบอกปริมาตร ปดจุกแลวกลับขวดขึนลงจนสารผสมเปนเนื้อเดียวกัน
                                            ้
71



สรุปผลการทดลองตอนที่ 1
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………

การคํานวณ
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………

คําถามทายการทดลองตอนที่ 1
1. ในการเตรียมสารละลาย เหตุใดจึงไมเติมน้ํากลั่นใหถึงขีดบอกปริมาตรในครั้งเดียว
    ………………………………………………………………………………………………….
2. ถาตองการเตรียมสารละลายที่มีความเขมขนเทาเดิม แตมปริมาตร 100 cm3 จะตองใช NaCl กี่
                                                        ี
   กรัม
   …………………………………………………………………………………………………
72



3. NaCl ที่ใชในการทดลองนี้จะใชเตรียมสารละลายที่มีความเขมขน 0.5 mol/dm3 ไดปริมาตร
   เทาใด
   …………………………………………………………………………………………………

ตอนที่ 2 เตรียมสารละลายโซเดียมคลอไรดเจือจางจากสารละลายโซเดียมคลอไรดเขมขน
1. ดูดสารละลาย NaCl จากตอนที่ 1 ดวยปเปตตขนาด 10 cm3 และถายลงในขวดวัดปริมาตรขนาด
   100 cm3
2. เติมน้ํากลั่นลงในขวดวัดปริมาตร ปดจุกและเขยาขวด แลวเติมน้ํากลั่นจนถึงขีดบอกปริมาตร
   ปดจุกแลวกลับขวดขึ้นลงจนสารผสมเปนเนื้อเดียวกัน

คํานวณ
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………

คําถามทายการทดลอง
1. สารละลายที่เตรียมไดมีความเขมขนกี่โมลตอลูกบาศกเดซิเมตร
    …………………………………………………………………………………………………

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหาร
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหารวิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหาร
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหารKatewaree Yosyingyong
 
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223Preeyapat Lengrabam
 
5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊ส5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊สPreeyapat Lengrabam
 
ค่าคงที่สมดุล (K)
ค่าคงที่สมดุล (K)ค่าคงที่สมดุล (K)
ค่าคงที่สมดุล (K)Manchai
 
สอนเตรียมสารละลาย
สอนเตรียมสารละลายสอนเตรียมสารละลาย
สอนเตรียมสารละลายDuduan
 
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลบทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลJariya Jaiyot
 
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซกPreeyapat Lengrabam
 
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมีการคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมีพัน พัน
 
เคมี
เคมีเคมี
เคมีcrazygno
 
ธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุกัมมันตรังสีธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุกัมมันตรังสีพัน พัน
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบ8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบWijitta DevilTeacher
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1Wijitta DevilTeacher
 
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometryปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
ปริมาณสารสัมพันธ์ - StoichiometryDr.Woravith Chansuvarn
 
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีแบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีืkanya pinyo
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 

Mais procurados (20)

วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหาร
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหารวิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหาร
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหาร
 
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
 
5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊ส5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊ส
 
ค่าคงที่สมดุล (K)
ค่าคงที่สมดุล (K)ค่าคงที่สมดุล (K)
ค่าคงที่สมดุล (K)
 
โมล ม.4
โมล ม.4โมล ม.4
โมล ม.4
 
การกลั่นอย่างง่าย
การกลั่นอย่างง่ายการกลั่นอย่างง่าย
การกลั่นอย่างง่าย
 
สอนเตรียมสารละลาย
สอนเตรียมสารละลายสอนเตรียมสารละลาย
สอนเตรียมสารละลาย
 
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลบทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
 
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
 
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมีการคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
 
เคมี
เคมีเคมี
เคมี
 
ธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุกัมมันตรังสีธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุกัมมันตรังสี
 
2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบ8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบ
 
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
 
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometryปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
 
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีแบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์
 

Semelhante a การเตรียมสารละลาย

สอนเตรียมสารละลาย 3
สอนเตรียมสารละลาย 3สอนเตรียมสารละลาย 3
สอนเตรียมสารละลาย 3Duduan
 
สอนเตรียมสารละลาย 2
สอนเตรียมสารละลาย 2สอนเตรียมสารละลาย 2
สอนเตรียมสารละลาย 2Duduan
 
4 การเตรียมสารละลาย
4 การเตรียมสารละลาย4 การเตรียมสารละลาย
4 การเตรียมสารละลายSaipanya school
 
Ex solution
Ex solutionEx solution
Ex solutionAompipak
 
6 solution
6 solution6 solution
6 solutionseluluse
 
6 solution (2)
6 solution (2)6 solution (2)
6 solution (2)Saisard
 
4 การเตรียมสารละลาย
4 การเตรียมสารละลาย4 การเตรียมสารละลาย
4 การเตรียมสารละลายSaipanya school
 
Dissolution2555
Dissolution2555Dissolution2555
Dissolution2555adriamycin
 
ครูศจี .โมล
ครูศจี .โมลครูศจี .โมล
ครูศจี .โมลKrujake
 
อุปกรณ์การเตรียมสารละลาย
อุปกรณ์การเตรียมสารละลายอุปกรณ์การเตรียมสารละลาย
อุปกรณ์การเตรียมสารละลายJariya Jaiyot
 
กมลชนก
กมลชนกกมลชนก
กมลชนกBlovely123
 
สุปราณี ม.5
สุปราณี  ม.5สุปราณี  ม.5
สุปราณี ม.5bee255taiy
 
กมลชนก
กมลชนกกมลชนก
กมลชนกkamon369
 

Semelhante a การเตรียมสารละลาย (20)

สอนเตรียมสารละลาย 3
สอนเตรียมสารละลาย 3สอนเตรียมสารละลาย 3
สอนเตรียมสารละลาย 3
 
สอนเตรียมสารละลาย 2
สอนเตรียมสารละลาย 2สอนเตรียมสารละลาย 2
สอนเตรียมสารละลาย 2
 
3 concentration
3 concentration3 concentration
3 concentration
 
4 การเตรียมสารละลาย
4 การเตรียมสารละลาย4 การเตรียมสารละลาย
4 การเตรียมสารละลาย
 
เนื้อหาปริมาณสารสัมพันธ์
เนื้อหาปริมาณสารสัมพันธ์เนื้อหาปริมาณสารสัมพันธ์
เนื้อหาปริมาณสารสัมพันธ์
 
Ex solution
Ex solutionEx solution
Ex solution
 
ACIC BASE
ACIC BASEACIC BASE
ACIC BASE
 
Som
SomSom
Som
 
ใบงานที่ 1 ปริมาณสารสัมพันธ์
ใบงานที่ 1 ปริมาณสารสัมพันธ์ใบงานที่ 1 ปริมาณสารสัมพันธ์
ใบงานที่ 1 ปริมาณสารสัมพันธ์
 
6 solution
6 solution6 solution
6 solution
 
6 solution (2)
6 solution (2)6 solution (2)
6 solution (2)
 
6 solution (1)
6 solution (1)6 solution (1)
6 solution (1)
 
4 การเตรียมสารละลาย
4 การเตรียมสารละลาย4 การเตรียมสารละลาย
4 การเตรียมสารละลาย
 
Dissolution2555
Dissolution2555Dissolution2555
Dissolution2555
 
ครูศจี .โมล
ครูศจี .โมลครูศจี .โมล
ครูศจี .โมล
 
กรด เบส 7
กรด เบส 7กรด เบส 7
กรด เบส 7
 
อุปกรณ์การเตรียมสารละลาย
อุปกรณ์การเตรียมสารละลายอุปกรณ์การเตรียมสารละลาย
อุปกรณ์การเตรียมสารละลาย
 
กมลชนก
กมลชนกกมลชนก
กมลชนก
 
สุปราณี ม.5
สุปราณี  ม.5สุปราณี  ม.5
สุปราณี ม.5
 
กมลชนก
กมลชนกกมลชนก
กมลชนก
 

Mais de สุรัชนี ภัทรเบญจพล (8)

Protein
ProteinProtein
Protein
 
Ray
RayRay
Ray
 
Equilibrium mahidol
Equilibrium mahidolEquilibrium mahidol
Equilibrium mahidol
 
ปริมาณสัมพันธ์
ปริมาณสัมพันธ์ปริมาณสัมพันธ์
ปริมาณสัมพันธ์
 
1.โครงสร้างอะตอม
1.โครงสร้างอะตอม1.โครงสร้างอะตอม
1.โครงสร้างอะตอม
 
รายงานการเผยแพร่โทรทัศน์ครู
รายงานการเผยแพร่โทรทัศน์ครูรายงานการเผยแพร่โทรทัศน์ครู
รายงานการเผยแพร่โทรทัศน์ครู
 
ทักษะกระบวนการวิทย์
ทักษะกระบวนการวิทย์ทักษะกระบวนการวิทย์
ทักษะกระบวนการวิทย์
 
Assessment
AssessmentAssessment
Assessment
 

การเตรียมสารละลาย

  • 1. 58 4.4.2 การเตรียมสารละลาย ในการทําปฏิบติการทางเคมีจะใชสารในรูปของสารละลายเปนสวนใหญ จึงจําเปนตอง ั เตรียมสารละลายเปนสวนใหญ จึงจําเปนตองเตรียมสารละลายใหมความเขมขนตรงกับที่ตองการ ี ถาสารละลายมีความเขมขนคลาดเคลื่อนอาจมีผลตอการทดลองได สารละลายที่เตรียมไดจะมี ความเขมขนเที่ยงตรงเพียงใดขึ้นอยูกับความบริสุทธิ์ของสาร การชั่งตัวทําละลายและการวัด ปริมาตรของสารละลาย โดยปกติการเตรียมสารละลายในหองปฏิบัติการเพื่อใชในงานวิเคราะห ที่ตองการความละเอียดถูกตอง จะตองใชเครื่องชั่งที่สามารถชั่งสารไดถึงทศนิยมตําแหนงที่ 4 ของกรัม คืออานคาไดละเอียดถึง 0.0001 กรัม สวนภาชนะที่ใชเตรียมสารละลายและวัดปริมาตร จะใชขวดวัดปริมาตรซึ่งมีหลายขนาด หลักการเตรียมสารละลาย การเตรียมสารละลายจากสารบริสุทธิ์ ขั้นที่ 1 คํานวณมวลของสารบริสุทธิ์ ขั้นที่ 2 ชั่งมวลของตัวละลาย จากการคํานวณไดในขั้นที่ 1 ซึ่งจะตองชั่งดวยความระมัดระวัง และ อานคาอยางเทียวตรง ่ ขั้นที่ 3 ละลายตัวละลายลงในบีกเกอรดวยน้ํากลั่นประมาณ 2 ใน 3 สวนของปริมาตรที่ตองการ  ขั้นที่ 4 เทสารละลายผานกรวยลงในขวดวัดปริมาตร ขวดวัดปริมาตรที่ใชตองมีขนาดเทากับปริมาตร ของสารละลายตามที่คํานวณในขันที่ 1 ในขั้นตอนนี้ ้ ควรใสสารละลายใหมีปริมาตร 2 ใน 3 สวน ของขวดวัดปริมาตร เพราะการละลายของสารจะเกิด การคายความรอน หรือดูดความรอน ปริมาตรของ สารละลายยังเปลี่ยนแปลงอยู เมื่ออุณหภูมของสารละลาย ิ มีอุณหภูมิเทากับอุณหภูมหองจึงเติมน้ําถึงตามขีดที่ ิ  กําหนด
  • 2. 59 ขั้นที่ 5 เติมน้ํากลั่นจนถึงขีดบอกปริมาตรที่คอขวด โดยใหสวนโคงต่ําสุดอยูพอดีขีด ขั้นที่ 6 กลับขวดขึ้นลงจนสารผสมเปนเนื้อเดียวกัน (อยาลืมปดจุกขวด) ขั้นที่ 7 เก็บสารละลายและอุปกรณอยางเหมาะสม 1. นําสารละลายที่เตรียมไดเทใสขวดหรือภาชนะปดฝาอยางเหมาะสม 2. ปดฉลากโดยระบุชื่อสาร สูตรเคมี ความเขมขน และวันที่เตรียมสารละลาย (เพราะสารละลายบางชนิดอาจสลายตัวไดเมื่อเตรียมไวนานเกินไป) 3. ลางอุปกรณทุกชิ้นสวนทีใชใหสะอาด วางคว่ําไวจนแหงกอนจึงปดจุก ่ 4. เก็บอุปกรณและสารละลายเขาตูอุปกรณอยางเหมาะสม การเตรียมสารละลายจากสารละลายเขมขน ในหองปฏิบัตการเคมีมักจะมีสารละลายตาง ๆ ที่มีความเขมขนตาง ๆ อยูแลว เมื่อตองการ ิ ใชสารละลายที่มีความเขมขนต่ํากวาสารละลายที่มีอยูเดิม ทําไดโดยแบงสารละลายที่มีอยูเดิมมา จํานวนหนึ่ง แลวผสมน้ําลงไปตามที่กําหนดไว เรียกวิธการนี้วาการทําใหเจือจาง ซึ่งขั้นตอน ี การคํานวณมีดังนี้ ขั้นที่ 1 คํานวณหาปริมาตรสารละลายเขมขนเพื่อจะแบงออกมา เมื่อเติมตัวทําละลายลงในสารละลาย จํานวนโมลของตัวละลายยังคงเดิม แตปริมาตรของ สารละลายจะเพิ่มขึ้น คาความเขมขนโมลาริตีจะลดลง จํานวนโมลของตัวละลายกอนเจือจาง = จํานวนโมลของตัวละลายหลังเจือจาง เนื่องจาก จํานวนโมล = โมลาริตี x จํานวนลิตร ทําใหเขียนสมการการเจือจางไดดังนี้
  • 3. 60 (โมลาริตีเริ่มตน)x(ปริมาตรเริ่มตน) = (โมลาริตีสุดทาย)x(ปริมาตรสุดทาย) C1 V1 = C 2 V2 ขั้นที่ 2 แบงสารละลายเขมขนตามปริมาตรที่คํานวณได ใชปเปตตดูดสารละลายขึ้นมา V1 cm3 ถายลงในขวดวัดปริมาตร ซึ่งตองเลือกขวดวัด ปริมาตรขนาด V2 cm3 การทําสารละลายเขมขนใหเจือจางลงนั้น ความเขมขนจะถูกตองเพียงใดขึ้นอยูกับ  การวัดปริมาตรเปนสําคัญ อุปกรณที่ใชในการวัดปริมาตรของสารละลายที่มีปริมาณนอยคือปเปตต รูป ปเปตตชนิดตาง ๆ ปเปตตเปนอุปกรณวดปริมาตรที่มีความละเอียดมาก มีขนาดและปริมาตรตาง ๆ นอกจากนี้ ั ถาตองการเตรียมสารละลายที่มีความเขมขน โดยประมาณอาจใชกระบอกตวงในการเตรียม สารละลายแทนปเปตตได ขั้นที่ 3 เติมน้ํากลั่นลงไปในสารละลายจนถึงขีดบอกปริมาตรที่คอขวด การเติมน้ําจะตองคอย ๆ เติม และใหมีปริมาตร 2 ใน 3 สวนกอน เมื่ออุณหภูมิสารละลาย ไมเปลี่ยนแปลงแลวจึงเติมน้าใหมีปริมาตรถึงขีดขางบนของขวดวัดปริมาตร โดยใหสวนต่ําสุด ํ อยูตรงขีด
  • 4. 61 ขั้นที่ 4 กลับขวดขึ้นลงจนสารผสมกันเปนเนื้อเดียว ขั้นที่ 5 เก็บสารละลายและอุปกรณอยางเหมาะสม การคํานวณการเตรียมสารละลายมีดังนี้ 1. การเตรียมสารละลายจากสารบริสทธิ์ ุ การคํานวณเกียวกับการเตรียมสารละลายอาศัยหลักการวา เมือนําสารบริสุทธิ์(ของแข็ง , ่ ่ กาซ ) มาละลายน้ํา โมลสารบริสุทธิ์ = โมลสารละลาย การเตรียมสารละลายจากของแข็ง สวนใหญจะใชวิธีชั่งของแข็ง แลวนําไปละลายในตัวทําละลาย w CV สูตร = M 1000 ตัวอยางที่ 1 ถาตองการสารละลายโพแทสเซียมไอโอไดด (KI) เขมขน 0.2 โมล/ลิตร จํานวน 200 cm3 จะตองใช KI กี่กรัม (K = 39.1 , I = 126.9) 200 cm 3 วิธีทํา ทําปริมาตรสารละลายใหเปนลิตรไดเทากับ 1000 cm 3 mol KI โมลาริตีของ KI = ปริมาตรสารละลาย mol KI = โมลารีตีของ KI x ปริมาตรสารละลาย 0.2 mol KI = x 0.2 ลิตร 1 ลิตร mol KI = 0.04 mol เนื่องจาก KI 1 mol หนัก 166 กรัม 166 g KI ดังนั้นน้ําหนักที่เปนกรัมของ KI = 0.04 mol KI x 1 mol KI = 6.64 g
  • 5. 62 วิธีที่ 2 ใชสูตร โจทยกําหนด C = 0.2 mol/dm3 M = 166 g V = 200 cm3 w=? w CV ใชสูตร = M 1000 w 0.2 x 200 = 166 1000 0.2 x 200 x166 w= 1000 = 6.64 g วิธีที่ 3 เทียบสัดสวนบรรทัดเดียว ผังการคิด mol/dm3 → mol → g KI 0.2 mol KI 166 g KI g KI = ( 3 ) x 400 cm 3so ln x ( ) 1000 cm so ln 1 mol KI = 6.64 g ถารูคาโมลาริตีของสารละลาย เราสามารถคํานวณหาจํานวนโมลของตัวละลายใน สารละลายที่มีปริมาตรตาง ๆ กันได คาโมลาริตีจัดเปนตัวแปลงหนวยระหวางปริมาตรของ สารละลายกับจํานวนโมลของตัวละลาย การคํานวณจํานวนโมลของ HNO3 ที่อยูในสารละลาย เขมขน HNO3 0.20 mol/dm3 ปริมาตร 2 dm3 ทําดังนี้ 0.2 mol HNO 3 จํานวนโมลของ HNO3 = ( 2.0 dm 3so ln)( ) 1 dm 3 soln = 0.4 mol ใหสังเกตวาเราใชการคาโมลาริตีของสารละลายใหเปนโมลจะใช ปริมาตร x โมลาริตี แต ถาตองการแปลง mol เปนปริมาตร เมื่อกําหนดคาโมลาริตี เราตองใชคาที่เปนสวนกลับของโมลาริตี  (dm3/mol) เชน ถาตองการใช HNO3 2 mol ใหมความเขมขน HNO3 0.30 mol/dm3 ไดจะตองเติมน้ําจนมี ี ปริมาตรเทาใด 1 dm 3 soln ปริมาตรสารละลาย = ( 2.0 mol HNO 3 )( ) 0.3 mol HNO 3 = 6.7 dm3
  • 6. 63 ตัวอยางที่ 2 ถาตองการเตรียมสารละลาย HCl 0.5 mol/dm3 จาก HCl 73 g จะไดสารละลายปริมาตร เทาใด 1 mol HCl วิธีท่ี 1 หาโมลของ HCl = ( 73 g HCl)( ) 36.5 g HCl mol HCl = 2 mol หาปริมาตรสารละลายจาก mol HCl โมลาริตีของ HCl = ปริมาตรสารละลาย mol HCl ปริมาตรสารละลาย = โมลาริตีของ HCl 1 dm 3 soln ปริมาตรสารละลาย = ( 2 mol HCl)( ) 0.5 mol HCl = 4 dm3 วิธีท่ี 2 เทียบสัดสวนบรรทัดเดียว ผังความคิด g HCl → mol HCl → dm 3so ln 1 mol HCl 1 dm 3 ปริมาตรสารละลาย = ( 73 g HCl )( )( ) 36.5 g HCl 0.5 mol HCl = 4 dm3 ลองทําดูขอ 1 จะตองใช NaOH กี่กรัมในการเตรียมสารละลาย NaOH เขมขน 2 mol/dm3 จํานวน 100 cm3 ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………
  • 7. 64 ลองทําดูขอ 2 ถามีเลด (II) ไนเตรตอยู 3.31 กรัม ตองการเตรียมสารละลายเลด (II) ไนเตรตที่มี ความเขมขน 0.4 โมล/ลิตร จะไดสารละลายนี้มีปริมาตรกี่ลูกบาศกเซนติเมตร (Pb=207, N=14, O = 16) ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ลองทําดูขอ 3 ถาใช Pb(NO3)2 6.62 กรัม ละลายน้ําจนมีปริมาตรเปน 500 ลูกบาศกเซนติเมตร จะไดสารละลายเขมขนเทาใด ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… การเตรียมสารละลายจากสารละลายที่มีอยูเดิม การเตรียมสารละลายโดยการทําเจือจาง ทําไดโดยเติมน้ําลงในสารละลายในปริมาณ ที่เหมาะสม จํานวนโมลของตัวถูกละลายคงที่เทาเดิม ปริมาตรใหมเทากับปริมาตรเดิมรวมกับ ปริมาตรของน้ํา และสารละลายจะมีความเขมขนลดลง หลักการเติมน้า จํานวนโมลของสาร(ตัวถูกละลาย) เทาเดิม แตความเขมขนเปลี่ยนไป ํ จํานวนโมลกอนเติม = จํานวนโมลหลังเติม C1 V1 C 2 V2 = 1000 1000 หรือ C1V1 = C2V2 C1 , C2 = ความเขมขนของสารละลายกอนและหลังเติมน้ําตามลําดับ (mol/l) V1 , V2 = ปริมาตรของสารละลายกอนเติมน้ําและหลังเติมน้ําตามลําดับ (cm3)
  • 8. 65 ตัวอยางที่ 3 ถานําสารละลายกรด HCl 1.0 โมล/ลิตร มา 20 cm3 แลวเติมน้ําจนมีปริมาตรเปน 300 cm3 จะไดสารละลายเขมขนกี่โมล/ลิตร วิธีทํา HCl HCl C1 = 1.0 mol/l เติมน้ํา C2 = ? mol/l V1 = 20 cm3 V2 = 300 cm3 C1 V1 = C 2 V2 1.0 mol/l x 20 cm 3 = C 2 x 300 cm 3 1.0 mol/l x 20 cm 3 C2 = 300 cm 3 C 2 = 0.067 mol/l ∴ ความเขมขนของ HCl เทากับ 0.067 mol/l ตัวอยางที่ 4 ตองการเตรียม H2SO4 0.05 โมลาร จากสารละลาย 0.1 โมลาร 100 ลูกบาศกเซนติเมตร จะตองเติมน้ําลงไปเทาใด วิธีทํา C1 = 0.10 mol/l เติมน้ํา (V2 − V1) C2 = 0.05 mol/l V1 = 100 cm3 V2 = ? cm3 C1 V1 = C 2 V2 0.10 mol/l x 100 cm 3 = 0.05 mol/l xV2 0.10 mol/l x 100 cm 3 V2 = 0.05 mol/l V2 = 200 cm 3 ∴ ตองเติมน้ําเทากับ V2 − V1 = 200 cm3 − 100 cm3 = 100 cm3 ดังนั้นตองเติมน้ําเทากับ 100 cm3
  • 9. 66 ลองทําดูขอ 4 นําสารละลาย H2SO4 5 โมล/ลิตร มา 50 cm3 เติมน้ําจนได 100 cm3 สารละลาย สุดทายเขมขนกี่โมล/ลิตร ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ลองทําดูขอ 5 สารละลายอยางหนึ่งมีความเขมขน 3 mol/l ปริมาตร 100 cm3 ตองการทําใหมีความ  เขมขน 2 mol/l จะตองเติมน้าจนมีปริมาตรทั้งหมดกี่ cm3 ํ ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… หลักการแบงสาร จํานวนโมลของสารเปลี่ยนไป แตความเขมขนของสารเทาเดิม ตัวอยางที่ 5 ถามีสารละลาย NaOH 2.0 โมล/ลิตร 800 cm3 แบงสารละลายนี้มา 100 cm3 แลวเติมน้ํา ลงไป 400 cm3 จะไดสารละลาย ก. มี NaOH กี่โมล ข. มี NaOH กีโมล/ลิตร ่ วิธีทํา NaOH C = 2.0 mol/l แบงมา C1 = 2.0 mol/l เติมน้ํา C2 = ? mol/l V = 800 cm3 V1 = 100 cm3 V2 = 500 cm3 400 cm3 mol NaOHกอนเติม = ? mol NaOHหลังเติม = ?
  • 10. 67 ก. หา mol ของ NaOH กอนเติมหรือหลังเติมก็ไดจะมีคาเทากัน C xV C xV mol NaOH = 1 1 หรืออาจหาจาก 2 2 ก็ไดคาเทากัน 1000 1000 สัดสวนบรรทัดเดียว 2.0 mol 3 mol NaOH = 3 x100 cm = 0.2 mol 1000 cm ∴ จํานวนโมลของ NaOH เทากับ 0.2 mol ข. หา mol/l NaOH หลังเติมน้ํา C1 V1 = C 2 V2 2.0 mol/l x 100 cm 3 = C 2 x 500 cm 3 2.0 mol/l x 100 cm 3 C2 = 500 cm 3 C 2 = 0.4 mol/l ∴ ความเขมขนของ NaOH เทากับ 0.4 mol/l ลองทําดู 6 สารละลาย KI เขมขน 5 โมลาร 500 ลูกบาศกเซนติเมตร ตองการเตรียมใหเปน 0.05 โมลาร จํานวน 1,500 ลูกบาศกเซนติเมตร จะตองใชสารละลายนี้เทาใดและเติมน้ําเทาใด ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ลองทําดู 7 เติมน้ํา 50 cm3 ลงในสารละลาย HCl 0.20 M จํานวน 150 cm3 แบงสารละลาย หลังเติมน้ํามา 20 cm3 เติมน้ําจนไดสารละลาย 100 cm3 จะเขมขนกี่โมล/ลิตร ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………
  • 11. 68 3. การเตรียมสารละลายโดยการผสมสารละลายเขาดวยกัน ใชหลักการวา เมื่อนําสารละลายชนิดเดียวกันที่มีความเขมขนตาง ๆ มาผสมกัน “จํานวนโม ลของตัวถูกละลายกอนผสมยอมเทากับจํานวนโมลของตัวถูกละลายหลังผสม” ดังนี้ โมล(กอนผสม) = โมล(หลังผสม) n1 + n2 + ….. = n3 C1V1 + C2V2 +….. = CผสมVผสม C1 , C2 = ความเขมขนของสารละลายกอนและหลังเติมน้ําตามลําดับ (mol/l) V1 , V2 = ปริมาตรของสารละลาย 1 , 2 ตามลําดับ (cm3) Cผสม = ความเขมขนผสม (mol/l) Vผสม = ปริมาตรของสารละลายผสม (cm3) = V1 + V2 ตัวอยางที่ 6 จงคํานวณปริมาตร (dm3) สารละลาย NH3 15 mol/dm3 ที่จะเติมลงใน 3.4 dm3 ของ สารละลาย NH3 3 mol/dm3 แลวทําใหเจือจางดวยน้ํา จนไดสารละลาย NH3 เขมขน 5 mol/dm3 จํานวน 6 dm3 วิธีทํา NH3 NH3 NH3 1 2 C1 = 15 mol/dm3 + C2 = 3 mol/dm3 ผสม Cผสม = 5 mol/dm3 V1 = ? dm3 V2 = 3.4 dm3 Vผสม = 6 dm3 C1 V1 + C 2 V2 = Cผสม Vผสม 15 mol/dm 3 x V1 + 3 mol/dm 3 x 3.4 dm 3 = 5 mol/dm 3 x 6 dm 3 15 mol/dm3 x V1 + 10.2 mol = 30 mol 15 mol/dm3 x V1 = 30 mol − 10.2 mol 19.8 mol 3 V1 = 3 = 1.32 dm 15 mol/dm 3 3 ∴ NH3 15 mol/dm จะนํามา 1.32 dm
  • 12. 69 ลองทําดูขอ 8 เมื่อผสมสารละลาย HCl 0.2, 0.3 และ 0.7 mol/l จํานวน 20, 25 และ 5 cm3 จะได สารละลายที่มีความเขมขนกี่ mol/l ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… โจทยพิเศษ นําสารละลายกรด HNO3 เขมขน 27 เปอรเซ็นตโดยมวล ความหนาแนน 1.4 g/cm3 ปริมาตร 25 cm3 มาผสมกับสารละลายกรด HNO3 เขมขน 4 mol/dm3 ปริมาตร 50 cm3 แลวเติมน้ํา จนปริมาตรสุดทายเปน 500 cm3 สารละลายกรดที่ไดมีความเขมขนกี่ mol/dm3 ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… …..…………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………… …..…………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………… …..………………………………………………………………………………………………….
  • 13. 70 ใบงานการทดลองที่ 4.1 การเตรียมสารละลาย วิชาเคมีพื้นฐาน (ว41102) ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4/………. ชื่อ ………………………………………….กลุมที่…………………… เลขที่ . … ….. จุดประสงคการทดลอง 1. ทําการทดลองเพื่อเตรียมสารละลายใหมีความเขมขนและปริมาตรตามตองการได 2. คํานวณหามวลของสารและปริมาตาของสารละลาย เพื่อใชเตรียมสารละลายใหมีความเขมขน และปริมาตรตามตองการได รายการสารเคมีและอุปกรณ สารเคมี 1. โซเดียมคลอไรด 2. น้ํากลั่น อุปกรณ 1. ขวดวัดปริมาตรขนาด 250 cm3 2. ขวดวัดปริมาตรขนาด 100 cm3 3. ปเปตตขนาด 10 cm3 4. กรวยกรอง วิธีทดลอง ตอนที่ 1 เตรียมสารละลายโซเดียมคลอไรด 0.4 mol/dm3 จํานวน 250 cm3 1. คํานวณหามวลของโซเดียมคลอไรดที่ตองใช และชั่งสารดวยเครื่องชั่งอยางละเอียด 2. นํา NaCl จากขอ 1 ใสในบีกเกอรและเติมน้ํากลั่นประมาณ 50 cm3 คนจน NaCl ละลายหมด เทสารละลายที่ไดผานกรวยลงในขวดวัดปริมาตรขนาด 250 cm3 3. ลางบีกเกอรจากขอ 2 ดวยน้ํากลั่นเล็กนอย แลวเทลงในขวดวัดปริมาตร และทําซ้ําอีก 2 – 3 ครั้ง 4. เติมน้ํากลั่นลงในขวดวัดปริมาตรอยางชา ๆ ปดจุกและเขยาขวด แลวเติมน้ํากลั่นจนสารละลาย ถึงขีดบอกปริมาตร ปดจุกแลวกลับขวดขึนลงจนสารผสมเปนเนื้อเดียวกัน ้
  • 14. 71 สรุปผลการทดลองตอนที่ 1 ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… การคํานวณ ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… คําถามทายการทดลองตอนที่ 1 1. ในการเตรียมสารละลาย เหตุใดจึงไมเติมน้ํากลั่นใหถึงขีดบอกปริมาตรในครั้งเดียว …………………………………………………………………………………………………. 2. ถาตองการเตรียมสารละลายที่มีความเขมขนเทาเดิม แตมปริมาตร 100 cm3 จะตองใช NaCl กี่ ี กรัม …………………………………………………………………………………………………
  • 15. 72 3. NaCl ที่ใชในการทดลองนี้จะใชเตรียมสารละลายที่มีความเขมขน 0.5 mol/dm3 ไดปริมาตร เทาใด ………………………………………………………………………………………………… ตอนที่ 2 เตรียมสารละลายโซเดียมคลอไรดเจือจางจากสารละลายโซเดียมคลอไรดเขมขน 1. ดูดสารละลาย NaCl จากตอนที่ 1 ดวยปเปตตขนาด 10 cm3 และถายลงในขวดวัดปริมาตรขนาด 100 cm3 2. เติมน้ํากลั่นลงในขวดวัดปริมาตร ปดจุกและเขยาขวด แลวเติมน้ํากลั่นจนถึงขีดบอกปริมาตร ปดจุกแลวกลับขวดขึ้นลงจนสารผสมเปนเนื้อเดียวกัน คํานวณ ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… คําถามทายการทดลอง 1. สารละลายที่เตรียมไดมีความเขมขนกี่โมลตอลูกบาศกเดซิเมตร …………………………………………………………………………………………………