SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
Download to read offline
เอกสารประกอบการเรียนวิชา นาฏศิลป์
เรื่อง นาฏยศัพท์และภาษาท่า
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
โดย นางสาวพนมพร ชินชนะ
ครูชำนาญการพิเศษ
โรงเรียนจันทรุเบกษาอนุสรณ์ จังหวัดร้อยเอ็ด
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27
นาฏยศัพท์ คือ ศัทพ์ที่ใช้ในวงการนาฏศิลป์ ใช้สื่อความหมายในการแสดง
ได้ทุกฝ่ายของการแสดง
กิริยาเท้า
กระดก คือ ลักษณะของการใช้เท้ายกขึ้น โดยให้ปลายเท้าชี้ลง แบ่งออกเป็น
กระดกหลัง คือ การยกเท้าไปข้างหลัง พยายามให้ส้นเท้าติดกับก้น หรือ เกือบติด
ก้นโดยการดันเข่าไปข้างหลังมากๆ
กระดกเสี้ยว คือ การยกเท้าคล้ายกระดกหลัง แต่ยกเท้ากระดกเฉียงไปด้านข้าง ซึ่ง
ถ้ามองข้างหน้าจะสามารถมองเท้าที่กระดกได้ชัดเจน
ประเท้า คือ เป็นกิริยาของเท้าที่วางอยู่เบื้องหน้า ใช้ในท่าราก่อนการยกเท้า ด้วย
การเผยอจมูกเท้าขึ้นเพียงนิดเดียว โดยที่ส้นเท้ายังติดพื้นอยู่ เชิดปลายเท้าขึ้นทุกนิ้ว
และตบจมูกเท้าลงกับพื้นเบาๆแล้วยกเท้าขึ้น วิธีประเท้านี้ต้องย่อเข่าหรือห่มเข่าก่อน
ทุกครั้ง
ยกเท้า คือ การยกเท้าขึ้นไว้ข้างหน้า สืบเนื่องมาจากการประเท้า อาจสืบเนื่องจาก
การถอนเท้าแล้วยก หรือการก้าวเท้าปกติแล้วยก
ยกหน้า คือ การใช้เท้าข้างใดข้างหนึ่งยกขึ้นมาเหนือพื้นให้ฝ่าเท้าอยู่ตรงกับเข่าข้าง
ที่ยืนหรือต่ากว่านั้นเพียงเล็กน้อย หักข้อเท้าและปลายนิ้วเท้าขึ้น ส่วนเท้าที่ไม่ได้ยก
ให้ยืนเป็นหลักย่อเข่าเล็กน้อย สาหรับ
พระ จะกันเข่าออกไปข้างๆ หันปลายเท้าไปด้านข้าง เหลี่ยมขากว้าง
ตัวนาง ยกเท้าข้างหน้าปลายเท้าตรง เชิดปลายเท้าขึ้นการยกเท้าต้องหักข้อเท้า
เข้าหาลาขาส่วนล่าง
ยกข้าง คือ การยกเท้าคล้ายยกหน้า แต่ดันเข่าออกไปข้างมากๆ สาหนับ “พระ”
ถ้าเป็นตัวนางจะเรียกว่า “เดี่ยว” แทน คือใช้ส้นเท้าจรดขาข้างหนึ่ง ระดับเข่าข้างที่
ยืน แยกเข่าเหมือนตัวพระ
ก้าวเท้า
การก้าวเท้า คือ การใช้เท้าข้างใดข้างหนึ่งก้าวลงกับพื้น โดยน้าหนักตัวต้องโน้มหนักไปข้าหน้า
เท้าที่ก้าว เท้าหลังย่อเช่าให้ดูพองาม ถ้าเป็นพระจะเหลี่ยมกว้าง นางจะแคบลง
ก้าวหน้า คือ การก้าวเท้ามาข้างหน้าหรือสืบเนื่องจากยกเท้าข้างใดข้างหนึ่งแล้ววาง
ลงกับพื้นโดยใช้ส้นเท้าวางก่อนแล้วจึงวางเต็มเท้าไปข้างหน้า ให้ส้นเท้าข้างหน้าตรง
กับหัวแม่เท้าข้างหลัง เปิดส้นเท้าหลังขึ้น สาหรับตัวพระย่อตัวกันเข่าทั้งสองข้าง
ก้าวข้าง คือ การก้าวเท้าไปด้านข้าง ข้างใดข้างหนึ่ง เวลาก้าวให้ปลายเท้าที่ก้าว
ตั้งฉากกับเท้าที่ยืน ตัวพระไม่ต้องเปิดส้นเท้า ตัวนางจะหลบเข่าและเปิดส้นเท้าหลัง
ก้าวไขว้ คือ การก้าวเท้าเหมือนก้าวหน้า แต่ให้เท้าไขว้กันมากกว่าก้าวหน้า
ลักษณะการก้าวไขว้ตัวนางมักนิยมใช้ ตัวพระจะใช้เป็นบางครั้งเช่น การขยั่นเท้า
กิริยามือ
การสะบัดมือจีบ คือ ลักษณะของมือจากจีบหงาย หรือจีบปรกข้าง แล้วคลายจีบออก
โดยคลายฝ่ามือลงแล้วพลิกข้อมือขึ้นตั้งวง
ม้วนมือ คือ เป็นกิริยาของมือที่สืบเนื่องมาจากจีบหงาย กระทาเมื่อเปลี่ยนมือจีบ
เป็นมือแบ วิธีม้วนมือคือ ค่อยๆปักจีบที่หงายลงล่างด้วยการม้วนมือลง แล้วคลาย
จีบออกให้มือแบแล้วตั้งวง
คลายมือ คือ เป็นกิริยาของมือสืบเนื่องจากจีบคว่า ค่อยๆพลิกข้อมือหงายขึ้น ขณะที่
มือเริ่มหงายก็ให้คลายจีบออกช้าๆจนมือแบ ทาจังหวะคล้ายสะบัดมือจีบแต่จะอยู่สูง
หรือต่าก็ได้
กรายมือ คือ ลักษณะคล้ายม้วนจีบ แต่ลาแขนเหยียดตึงแล้วจึงงอแขนตั้งวง กราย
มือนี้เป็นส่วนหนึ่งของกิริยากราย ซึ่งรวมทั้งการเคลื่อนไหวตัว ประกอบกับลักษณะ
เท้าพร้อมกัน
ภาษาท่า
ภาษาท่า คือ การใช้ท่าทางสื่อความหมายในการแสดง
1. ปกเกล้า/ ร่มเย็น /ค้าจุน คือ การจีบปรกข้างสูงเหนือศีรษะ
2. สว่างไสว ผุดผ่อง รุ่งเรือง ร่าลือ คือ จีบคว่าคลายจีบจากล่างไปสูง
3.ยวนใจ ใฝ่ฝัน เอ็นดู คิดถึง คือ ประกบฝ่ามือรวมที่อก
4.โศกเศร้า ไม่สบาย ทุกข์ร้อน คือ ประสานลาแขนส่วนล่าง แตะฝ่ามือที่สะโพก
5. เห็น ประจักษ์ คือ มือชี้ที่ตา
6.ได้ยิน รู้ ฟัง ไพเราะ คือ มือชี้ที่หู
7. พูด กิน คือ มือชี้ที่ปาก
8. เป็นใหญ่ มีศักดิ์ มีฤทธิ์ สวยงาม คือ มือหนึ่งตั้งวงบัวบาน มือหนึ่งทาวงหน้า
9. โอด เสียใจ คือ ฝ่ามือแตะที่หน้าผาก แล้วใช้ปลายนิ้วซับน้าตา (ใช้มือซ้าย)
10. ประณีต ดอกไม้ คือ จีบหงายหักข้อมือเข้าหาลาตัวลดระดับลงเล็กน้อย
หนังสืออ้างอิง
รารี ชัยสงคราม หนังสือนาฏศิลป์ ไทยเบื้องต้น : องค์การค้าคุรุสภา 2544
วริฎฐา ศิริธงชัยกุล หนังสือดนตรี-นาฏศิลป์ สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ(พว.) 2551
สุมิตร เทพวงษ์ หนังสือนาฏศิลป์ ไทยสาหรับครูประถมและมัธยม สานักพิมพ์โอเดียนสโตร์ 2541
สุมิตร เทพวงษ์ หนังสือนาฏศิลป์ ไทยสาหรับครูประถม-อุดมศึกษา สานักพิมพ์โอเดียนสโตร์ 2548
นาฏยศัพท์  และภาษาท่า  ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)

More Related Content

What's hot

เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง การสร้างสรรค์ผลงานการแสดง และการป...
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง  การสร้างสรรค์ผลงานการแสดง และการป...เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง  การสร้างสรรค์ผลงานการแสดง และการป...
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง การสร้างสรรค์ผลงานการแสดง และการป...Panomporn Chinchana
 
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานแบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานKhemjira_P
 
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4peter dontoom
 
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัยการวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัยTupPee Zhouyongfang
 
โครงงานจิตอาสา พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา   พาสะอาดโครงงานจิตอาสา   พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา พาสะอาดGob Chantaramanee
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบworapanthewaha
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การประดิษฐ์ท่ารำ รำคุ่ รำหมู่
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การประดิษฐ์ท่ารำ  รำคุ่  รำหมู่เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การประดิษฐ์ท่ารำ  รำคุ่  รำหมู่
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การประดิษฐ์ท่ารำ รำคุ่ รำหมู่Panomporn Chinchana
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีSivagon Soontong
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4Thanawut Rattanadon
 
เฉลยปลายภาค ม42557
เฉลยปลายภาค ม42557เฉลยปลายภาค ม42557
เฉลยปลายภาค ม42557peter dontoom
 
แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3suchinmam
 
โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่
โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่
โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่พัน พัน
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนพัน พัน
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมwangasom
 
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์ธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล
 
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยการเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยBenjapron Seesukong
 
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลย
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลยข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลย
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลยKhunnawang Khunnawang
 

What's hot (20)

เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง การสร้างสรรค์ผลงานการแสดง และการป...
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง  การสร้างสรรค์ผลงานการแสดง และการป...เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง  การสร้างสรรค์ผลงานการแสดง และการป...
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง การสร้างสรรค์ผลงานการแสดง และการป...
 
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานแบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
 
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4
 
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัยการวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
 
โครงงานจิตอาสา พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา   พาสะอาดโครงงานจิตอาสา   พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา พาสะอาด
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบ
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การประดิษฐ์ท่ารำ รำคุ่ รำหมู่
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การประดิษฐ์ท่ารำ  รำคุ่  รำหมู่เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การประดิษฐ์ท่ารำ  รำคุ่  รำหมู่
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การประดิษฐ์ท่ารำ รำคุ่ รำหมู่
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
เฉลยปลายภาค ม42557
เฉลยปลายภาค ม42557เฉลยปลายภาค ม42557
เฉลยปลายภาค ม42557
 
แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3
 
สื่อผังมโนทัศน์
สื่อผังมโนทัศน์สื่อผังมโนทัศน์
สื่อผังมโนทัศน์
 
โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่
โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่
โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อน
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถม
 
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
 
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยการเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
 
สาวน้อยนักกายกรรม
สาวน้อยนักกายกรรมสาวน้อยนักกายกรรม
สาวน้อยนักกายกรรม
 
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลย
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลยข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลย
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลย
 

More from Panomporn Chinchana

เรื่องรูปแบบการแสดง นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นเมือง และ นาฏศิลป์นานาชาติ
เรื่องรูปแบบการแสดง  นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นเมือง และ นาฏศิลป์นานาชาติเรื่องรูปแบบการแสดง  นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นเมือง และ นาฏศิลป์นานาชาติ
เรื่องรูปแบบการแสดง นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นเมือง และ นาฏศิลป์นานาชาติPanomporn Chinchana
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4Panomporn Chinchana
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องรูปแบบการแสดง ชุดที่ 3
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่องรูปแบบการแสดง  ชุดที่  3เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่องรูปแบบการแสดง  ชุดที่  3
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องรูปแบบการแสดง ชุดที่ 3Panomporn Chinchana
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง การพัฒนารูปแบบการแสดง ชุดที่ 4
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง การพัฒนารูปแบบการแสดง  ชุดที่  4เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง การพัฒนารูปแบบการแสดง  ชุดที่  4
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง การพัฒนารูปแบบการแสดง ชุดที่ 4Panomporn Chinchana
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2Panomporn Chinchana
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การบูรณาการนาฏศิลป์กับแขนงและกลุ่มสาระอื่นๆ
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การบูรณาการนาฏศิลป์กับแขนงและกลุ่มสาระอื่นๆเอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การบูรณาการนาฏศิลป์กับแขนงและกลุ่มสาระอื่นๆ
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การบูรณาการนาฏศิลป์กับแขนงและกลุ่มสาระอื่นๆPanomporn Chinchana
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องวิวัฒนาการนาฏศิลป์ไทยตั้งแต่อดีตฯ
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์  เรื่องวิวัฒนาการนาฏศิลป์ไทยตั้งแต่อดีตฯเอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์  เรื่องวิวัฒนาการนาฏศิลป์ไทยตั้งแต่อดีตฯ
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องวิวัฒนาการนาฏศิลป์ไทยตั้งแต่อดีตฯPanomporn Chinchana
 
เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์ เรื่อง บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4
เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์   เรื่อง  บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์   เรื่อง  บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4
เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์ เรื่อง บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4Panomporn Chinchana
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ หลักและวิธีวิเคราะห์ การสร้างสรรค์การแสดง ฯ
เอกสารประกอบการเรียน   วิชานาฏศิลป์ หลักและวิธีวิเคราะห์  การสร้างสรรค์การแสดง ฯเอกสารประกอบการเรียน   วิชานาฏศิลป์ หลักและวิธีวิเคราะห์  การสร้างสรรค์การแสดง ฯ
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ หลักและวิธีวิเคราะห์ การสร้างสรรค์การแสดง ฯPanomporn Chinchana
 
ประวัติกำเนิดนาฏศิลป์ไทย ม.4
ประวัติกำเนิดนาฏศิลป์ไทย ม.4ประวัติกำเนิดนาฏศิลป์ไทย ม.4
ประวัติกำเนิดนาฏศิลป์ไทย ม.4Panomporn Chinchana
 
นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557
นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557
นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557Panomporn Chinchana
 
อบรมการใช้โปรแกรม dbookPRO ...โรงเรียนจันทรุเบกษาอนุสรณ์ สพม.27 อบรม โปรแกรม ...
อบรมการใช้โปรแกรม dbookPRO ...โรงเรียนจันทรุเบกษาอนุสรณ์ สพม.27 อบรม โปรแกรม ...อบรมการใช้โปรแกรม dbookPRO ...โรงเรียนจันทรุเบกษาอนุสรณ์ สพม.27 อบรม โปรแกรม ...
อบรมการใช้โปรแกรม dbookPRO ...โรงเรียนจันทรุเบกษาอนุสรณ์ สพม.27 อบรม โปรแกรม ...Panomporn Chinchana
 
รูปแบบการแสดง รำ ระบำ ละคร (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม)
รูปแบบการแสดง รำ ระบำ ละคร (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม)รูปแบบการแสดง รำ ระบำ ละคร (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม)
รูปแบบการแสดง รำ ระบำ ละคร (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม)Panomporn Chinchana
 
วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ ละครไทย ละครสากล ละครสร้างสรรค์ ม.4-6
วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ  ละครไทย  ละครสากล  ละครสร้างสรรค์  ม.4-6วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ  ละครไทย  ละครสากล  ละครสร้างสรรค์  ม.4-6
วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ ละครไทย ละครสากล ละครสร้างสรรค์ ม.4-6Panomporn Chinchana
 
รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)
รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)
รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)Panomporn Chinchana
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)Panomporn Chinchana
 
รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557
รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557
รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557Panomporn Chinchana
 
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3 ปี 2557
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3  ปี 2557นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3  ปี 2557
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3 ปี 2557Panomporn Chinchana
 
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557Panomporn Chinchana
 
วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557
วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557
วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557Panomporn Chinchana
 

More from Panomporn Chinchana (20)

เรื่องรูปแบบการแสดง นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นเมือง และ นาฏศิลป์นานาชาติ
เรื่องรูปแบบการแสดง  นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นเมือง และ นาฏศิลป์นานาชาติเรื่องรูปแบบการแสดง  นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นเมือง และ นาฏศิลป์นานาชาติ
เรื่องรูปแบบการแสดง นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นเมือง และ นาฏศิลป์นานาชาติ
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องรูปแบบการแสดง ชุดที่ 3
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่องรูปแบบการแสดง  ชุดที่  3เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่องรูปแบบการแสดง  ชุดที่  3
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องรูปแบบการแสดง ชุดที่ 3
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง การพัฒนารูปแบบการแสดง ชุดที่ 4
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง การพัฒนารูปแบบการแสดง  ชุดที่  4เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง การพัฒนารูปแบบการแสดง  ชุดที่  4
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง การพัฒนารูปแบบการแสดง ชุดที่ 4
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การบูรณาการนาฏศิลป์กับแขนงและกลุ่มสาระอื่นๆ
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การบูรณาการนาฏศิลป์กับแขนงและกลุ่มสาระอื่นๆเอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การบูรณาการนาฏศิลป์กับแขนงและกลุ่มสาระอื่นๆ
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การบูรณาการนาฏศิลป์กับแขนงและกลุ่มสาระอื่นๆ
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องวิวัฒนาการนาฏศิลป์ไทยตั้งแต่อดีตฯ
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์  เรื่องวิวัฒนาการนาฏศิลป์ไทยตั้งแต่อดีตฯเอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์  เรื่องวิวัฒนาการนาฏศิลป์ไทยตั้งแต่อดีตฯ
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องวิวัฒนาการนาฏศิลป์ไทยตั้งแต่อดีตฯ
 
เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์ เรื่อง บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4
เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์   เรื่อง  บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์   เรื่อง  บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4
เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์ เรื่อง บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ หลักและวิธีวิเคราะห์ การสร้างสรรค์การแสดง ฯ
เอกสารประกอบการเรียน   วิชานาฏศิลป์ หลักและวิธีวิเคราะห์  การสร้างสรรค์การแสดง ฯเอกสารประกอบการเรียน   วิชานาฏศิลป์ หลักและวิธีวิเคราะห์  การสร้างสรรค์การแสดง ฯ
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ หลักและวิธีวิเคราะห์ การสร้างสรรค์การแสดง ฯ
 
ประวัติกำเนิดนาฏศิลป์ไทย ม.4
ประวัติกำเนิดนาฏศิลป์ไทย ม.4ประวัติกำเนิดนาฏศิลป์ไทย ม.4
ประวัติกำเนิดนาฏศิลป์ไทย ม.4
 
นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557
นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557
นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557
 
อบรมการใช้โปรแกรม dbookPRO ...โรงเรียนจันทรุเบกษาอนุสรณ์ สพม.27 อบรม โปรแกรม ...
อบรมการใช้โปรแกรม dbookPRO ...โรงเรียนจันทรุเบกษาอนุสรณ์ สพม.27 อบรม โปรแกรม ...อบรมการใช้โปรแกรม dbookPRO ...โรงเรียนจันทรุเบกษาอนุสรณ์ สพม.27 อบรม โปรแกรม ...
อบรมการใช้โปรแกรม dbookPRO ...โรงเรียนจันทรุเบกษาอนุสรณ์ สพม.27 อบรม โปรแกรม ...
 
รูปแบบการแสดง รำ ระบำ ละคร (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม)
รูปแบบการแสดง รำ ระบำ ละคร (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม)รูปแบบการแสดง รำ ระบำ ละคร (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม)
รูปแบบการแสดง รำ ระบำ ละคร (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม)
 
วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ ละครไทย ละครสากล ละครสร้างสรรค์ ม.4-6
วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ  ละครไทย  ละครสากล  ละครสร้างสรรค์  ม.4-6วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ  ละครไทย  ละครสากล  ละครสร้างสรรค์  ม.4-6
วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ ละครไทย ละครสากล ละครสร้างสรรค์ ม.4-6
 
รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)
รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)
รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)
 
รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557
รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557
รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557
 
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3 ปี 2557
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3  ปี 2557นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3  ปี 2557
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3 ปี 2557
 
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
 
วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557
วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557
วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557
 

นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)

  • 1. เอกสารประกอบการเรียนวิชา นาฏศิลป์ เรื่อง นาฏยศัพท์และภาษาท่า ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดย นางสาวพนมพร ชินชนะ ครูชำนาญการพิเศษ โรงเรียนจันทรุเบกษาอนุสรณ์ จังหวัดร้อยเอ็ด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27
  • 2. นาฏยศัพท์ คือ ศัทพ์ที่ใช้ในวงการนาฏศิลป์ ใช้สื่อความหมายในการแสดง ได้ทุกฝ่ายของการแสดง กิริยาเท้า กระดก คือ ลักษณะของการใช้เท้ายกขึ้น โดยให้ปลายเท้าชี้ลง แบ่งออกเป็น กระดกหลัง คือ การยกเท้าไปข้างหลัง พยายามให้ส้นเท้าติดกับก้น หรือ เกือบติด ก้นโดยการดันเข่าไปข้างหลังมากๆ
  • 3. กระดกเสี้ยว คือ การยกเท้าคล้ายกระดกหลัง แต่ยกเท้ากระดกเฉียงไปด้านข้าง ซึ่ง ถ้ามองข้างหน้าจะสามารถมองเท้าที่กระดกได้ชัดเจน
  • 4. ประเท้า คือ เป็นกิริยาของเท้าที่วางอยู่เบื้องหน้า ใช้ในท่าราก่อนการยกเท้า ด้วย การเผยอจมูกเท้าขึ้นเพียงนิดเดียว โดยที่ส้นเท้ายังติดพื้นอยู่ เชิดปลายเท้าขึ้นทุกนิ้ว และตบจมูกเท้าลงกับพื้นเบาๆแล้วยกเท้าขึ้น วิธีประเท้านี้ต้องย่อเข่าหรือห่มเข่าก่อน ทุกครั้ง
  • 5. ยกเท้า คือ การยกเท้าขึ้นไว้ข้างหน้า สืบเนื่องมาจากการประเท้า อาจสืบเนื่องจาก การถอนเท้าแล้วยก หรือการก้าวเท้าปกติแล้วยก ยกหน้า คือ การใช้เท้าข้างใดข้างหนึ่งยกขึ้นมาเหนือพื้นให้ฝ่าเท้าอยู่ตรงกับเข่าข้าง ที่ยืนหรือต่ากว่านั้นเพียงเล็กน้อย หักข้อเท้าและปลายนิ้วเท้าขึ้น ส่วนเท้าที่ไม่ได้ยก ให้ยืนเป็นหลักย่อเข่าเล็กน้อย สาหรับ พระ จะกันเข่าออกไปข้างๆ หันปลายเท้าไปด้านข้าง เหลี่ยมขากว้าง ตัวนาง ยกเท้าข้างหน้าปลายเท้าตรง เชิดปลายเท้าขึ้นการยกเท้าต้องหักข้อเท้า เข้าหาลาขาส่วนล่าง
  • 6. ยกข้าง คือ การยกเท้าคล้ายยกหน้า แต่ดันเข่าออกไปข้างมากๆ สาหนับ “พระ” ถ้าเป็นตัวนางจะเรียกว่า “เดี่ยว” แทน คือใช้ส้นเท้าจรดขาข้างหนึ่ง ระดับเข่าข้างที่ ยืน แยกเข่าเหมือนตัวพระ ก้าวเท้า การก้าวเท้า คือ การใช้เท้าข้างใดข้างหนึ่งก้าวลงกับพื้น โดยน้าหนักตัวต้องโน้มหนักไปข้าหน้า เท้าที่ก้าว เท้าหลังย่อเช่าให้ดูพองาม ถ้าเป็นพระจะเหลี่ยมกว้าง นางจะแคบลง ก้าวหน้า คือ การก้าวเท้ามาข้างหน้าหรือสืบเนื่องจากยกเท้าข้างใดข้างหนึ่งแล้ววาง ลงกับพื้นโดยใช้ส้นเท้าวางก่อนแล้วจึงวางเต็มเท้าไปข้างหน้า ให้ส้นเท้าข้างหน้าตรง กับหัวแม่เท้าข้างหลัง เปิดส้นเท้าหลังขึ้น สาหรับตัวพระย่อตัวกันเข่าทั้งสองข้าง
  • 7. ก้าวข้าง คือ การก้าวเท้าไปด้านข้าง ข้างใดข้างหนึ่ง เวลาก้าวให้ปลายเท้าที่ก้าว ตั้งฉากกับเท้าที่ยืน ตัวพระไม่ต้องเปิดส้นเท้า ตัวนางจะหลบเข่าและเปิดส้นเท้าหลัง ก้าวไขว้ คือ การก้าวเท้าเหมือนก้าวหน้า แต่ให้เท้าไขว้กันมากกว่าก้าวหน้า ลักษณะการก้าวไขว้ตัวนางมักนิยมใช้ ตัวพระจะใช้เป็นบางครั้งเช่น การขยั่นเท้า
  • 8. กิริยามือ การสะบัดมือจีบ คือ ลักษณะของมือจากจีบหงาย หรือจีบปรกข้าง แล้วคลายจีบออก โดยคลายฝ่ามือลงแล้วพลิกข้อมือขึ้นตั้งวง ม้วนมือ คือ เป็นกิริยาของมือที่สืบเนื่องมาจากจีบหงาย กระทาเมื่อเปลี่ยนมือจีบ เป็นมือแบ วิธีม้วนมือคือ ค่อยๆปักจีบที่หงายลงล่างด้วยการม้วนมือลง แล้วคลาย จีบออกให้มือแบแล้วตั้งวง
  • 9. คลายมือ คือ เป็นกิริยาของมือสืบเนื่องจากจีบคว่า ค่อยๆพลิกข้อมือหงายขึ้น ขณะที่ มือเริ่มหงายก็ให้คลายจีบออกช้าๆจนมือแบ ทาจังหวะคล้ายสะบัดมือจีบแต่จะอยู่สูง หรือต่าก็ได้ กรายมือ คือ ลักษณะคล้ายม้วนจีบ แต่ลาแขนเหยียดตึงแล้วจึงงอแขนตั้งวง กราย มือนี้เป็นส่วนหนึ่งของกิริยากราย ซึ่งรวมทั้งการเคลื่อนไหวตัว ประกอบกับลักษณะ เท้าพร้อมกัน
  • 10. ภาษาท่า ภาษาท่า คือ การใช้ท่าทางสื่อความหมายในการแสดง 1. ปกเกล้า/ ร่มเย็น /ค้าจุน คือ การจีบปรกข้างสูงเหนือศีรษะ 2. สว่างไสว ผุดผ่อง รุ่งเรือง ร่าลือ คือ จีบคว่าคลายจีบจากล่างไปสูง
  • 11. 3.ยวนใจ ใฝ่ฝัน เอ็นดู คิดถึง คือ ประกบฝ่ามือรวมที่อก 4.โศกเศร้า ไม่สบาย ทุกข์ร้อน คือ ประสานลาแขนส่วนล่าง แตะฝ่ามือที่สะโพก
  • 12. 5. เห็น ประจักษ์ คือ มือชี้ที่ตา 6.ได้ยิน รู้ ฟัง ไพเราะ คือ มือชี้ที่หู
  • 13. 7. พูด กิน คือ มือชี้ที่ปาก 8. เป็นใหญ่ มีศักดิ์ มีฤทธิ์ สวยงาม คือ มือหนึ่งตั้งวงบัวบาน มือหนึ่งทาวงหน้า
  • 14. 9. โอด เสียใจ คือ ฝ่ามือแตะที่หน้าผาก แล้วใช้ปลายนิ้วซับน้าตา (ใช้มือซ้าย) 10. ประณีต ดอกไม้ คือ จีบหงายหักข้อมือเข้าหาลาตัวลดระดับลงเล็กน้อย
  • 15. หนังสืออ้างอิง รารี ชัยสงคราม หนังสือนาฏศิลป์ ไทยเบื้องต้น : องค์การค้าคุรุสภา 2544 วริฎฐา ศิริธงชัยกุล หนังสือดนตรี-นาฏศิลป์ สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ(พว.) 2551 สุมิตร เทพวงษ์ หนังสือนาฏศิลป์ ไทยสาหรับครูประถมและมัธยม สานักพิมพ์โอเดียนสโตร์ 2541 สุมิตร เทพวงษ์ หนังสือนาฏศิลป์ ไทยสาหรับครูประถม-อุดมศึกษา สานักพิมพ์โอเดียนสโตร์ 2548