SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
Download to read offline
หน้า 1
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
สาระที่ 5 พลังงาน
มาตรฐาน ว 5.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดารงชีวิต
การเปลี่ยนแปลงรูปพลังงานปฏิสัมพันธ์ระหว่างสาร
และพลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม
มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ไปใช้ประโยชน์
ตัวชี้วัด
ม 6/1 วิเคราะห์และอธิบายลักษณะของประจุไฟฟ้า ตัวนา ฉนวน และ
การอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรากฏการณ์ทางธรรมชาติของไฟฟ้า
2. นักเรียนสามารถอธิบายความหมายของปรากฏการณ์ทางธรรมชาติของไฟฟ้าได้
3. นักเรียนสามารถยกตัวอย่างเกี่ยวกับปรากฏการณ์ทางธรรมชาติของไฟฟ้าได้
หน้า 2
แบบทดสอบก่อนเรียน
เล่มที่ 1 เรื่อง ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติของไฟฟ้า
คาชี้แจง ให้นักเรียนทาเครื่องหมาย  ทับข้อคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว
1. ทาไมไฟฟ้าสถิตจึงเกิดได้ดีในฤดูหนาว
ก. อากาศมีตัวนามาก
ข. อากาศมีตัวนาน้อย
ค. อากาศมีตัวเหนี่ยวนาดี
ง. อากาศมีตัวนาและฉนวนเท่ากัน
2. การเกิดฟ้าแลบ ฟ้าผ่า เป็นปรากฏการณ์เกี่ยวกับข้อใด
ก. การถ่ายเทของประจุ
ข. การสั่นพ้องของประจุ
ค. การสลายตัวของประจุ
ง. การเหนี่ยวนาของประจุ
3. เมื่อนาสาร ก มาถูกับสาร ข พบว่าสาร ก มีประจุไฟฟ้าเกิดขึ้น สรุปว่าสาร
ก ต้องเป็นสารประเภทใด
ก. ตัวนา
ข. ฉนวน
ค. กึ่งตัวนา
ง. โลหะ
หน้า 3
4. ในวันอากาศแห้ง เมื่อใช้หวีพลาสติกหวีผม พบว่าเส้นผมตั้งชันขึ้นตามหวี เพราะ
สาเหตุใด
ก. ความร้อนที่เกิดจากหวีเสียดสีกับเส้นผม
ข. เกิดการเหนี่ยวนาไฟฟ้าที่หวีขณะที่หวีผม
ค. หวีกับเส้นผมเกิดประจุไฟฟ้าชนิดเดียวกัน
ง. เส้นผมและหวีเกิดประจุไฟฟ้าชนิดตรงข้ามกัน
5. สิ่งที่ ไม่ ทาให้วัตถุ มีอานาจทางไฟฟ้าเกิดขึ้นคือข้อใด
ก. โปรตอน
ข. นิวตรอน
ค. อิเล็กตรอน
ง. ประจุไฟฟ้า
6. การกระทาที่ทาให้วัตถุเกิดมีสถานะไฟฟ้าขึ้นเรียกว่าอะไร
ก. การชาร์จวัตถุ
ข. การกระตุ้นวัตถุ
ค. การเหนี่ยวนาวัตถุ
ง. การโพลาไรซ์วัตถุ
7. สนามไฟฟ้า ณ ตาแหน่งติดกับผิวตัวนาด้านนอกจะมีทิศทางใด
ก. ตั้งฉากกับผิว
ข. สัมผัสกับผิว
ค. ขึ้นกับรูปร่างของผิว
ง. ทามุมกับผิวน้อยกว่า 45๐
องศา
หน้า 4
8. นักวิทยาศาสตร์ท่านใดต่อไปนี้ที่เป็นผู้เริ่มทาสายล่อฟ้าจนโด่งดัง
ก. ไพลนี
ข. ทาลีส
ค. กาลิเลโอ
ง. เบนจามิน แฟรงคลิน
9. เมื่อนาไม้บรรทัดถูกับผ้าสักหลาดแล้วเกิดประจุไฟฟ้า เพราะเหตุใด
ก. ประจุเกิดจากแรงเสียดทาน
ข. การถูทาให้มีประจุชนิดหนึ่งขึ้นมา
ค. ประจุเกิดจากแรงดึงดูดระหว่างมวล
ง. ประจุถ่ายเทจากวัตถุหนึ่งไปยังอีกวัตถุหนึ่ง
10. เราเรียกสิ่งที่ทาให้เกิดแรงดูดระหว่างวัตถุที่ขัดสีกับเศษกระดาษเบา ๆ ว่าอะไร
ก. โปรตอน
ข. นิวตรอน
ค. อิเล็กตรอน
ง. ประจุไฟฟ้า
ศึกษาใบความรู้ให้ละเอียด
รอบคอบด้วยนะครับนักเรียน
หน้า 5
ใบความรู้
เรื่อง ปรากฏการณ์ธรรมชาติของไฟฟ้า
ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics) เป็นแขนงวิชาไฟฟ้าที่กล่าวถึงวิชาไฟฟ้าที่ปรากฏนิ่งอยู่
กับที่ เป็นที่ทราบกันมาแต่สมัยโบราณแล้ว คือ เมื่อนาแท่งอาพันมาถูกับผ้าแพร หรือถูกับ
ผ้าสักหลาดแล้วแท่งอาพันสามารถดูดของเบาๆ ได้ เช่น ขนนก ชิ้นกระดาษ เป็นต้น
ความจริงนี้ ธีโอเฟรตัส (Theophratus) ทาลีส (Thales) ไพลนี (Pliny) เป็นผู้ได้ทดลอง
พบมาแล้ว แต่มิได้ทาการศึกษาค้นคว้าให้กว้างขวางออกไป
ต่อมา ดร.กิลเบิร์ต (Dr.Gilbert) เป็นคนแรกที่ได้ทาการศึกษาค้นคว้าเรื่องนี้ให้กว้างขวาง
ออกไปและพบว่ามีวัตถุอีกมากชนิด ที่เมื่อนามาถูกันแล้ว ให้ผลเช่นเดียวกัน กิลเบิร์ต เรียก
อานาจที่ได้จากการขัดสีวัตถุดังกล่าวว่า "electricity" โดยมาจากคาว่า electron ที่ชาวกรีก
เรียกอาพันนั่นเอง ซึ่งคา electricity นี้ใช้กันมาจนถึงปัจจุบัน
การที่วัตถุสองชนิดที่นามาถูกันแล้ว เกิดมีอานาจดูดของเบาๆ ได้นั้น เรียกว่า
วัตถุทั้งสองต่างเกิดมีประจุไฟฟ้า (charge) ขึ้น การกระทาที่ทาให้วัตถุเกิดมีสถานะไฟฟ้า
ขึ้น เรียกว่า การชาร์จ (charge) วัตถุ หรือ clectrify วัตถุ เมื่อวัตถุนั้น หมดอานาจ
ไฟฟ้าแล้ว เรียกว่า วัตถุนั้นเป็นกลาง (neutral)
หน้า 6
การเกิดฟ้าแลบ ฟ้าผ่า และได้ยินเสียงฟ้าร้อง เป็นปรากฏการณ์เกี่ยวกับการถ่ายเท
ของประจุไฟฟ้า ประจุไฟฟ้าสามารถทาให้เกิดประกายไฟฟ้าได้
เบนจามิน แฟรงคลิน เป็นผู้พิสูจน์โดยใช้ว่าวเป็นเครื่องทดลองว่า มีประจุไฟฟ้า
ในเมฆ และฟ้าผ่า คือการถ่ายเทประจุไฟฟ้าเช่นเดียวกันกับการเกิดประกายไฟฟ้าและ
เบนจามินเป็นผู้เริ่มทาสายล่อฟ้า
หน้า 7
รูปภาพ การทดลองของแฟรงคลิน ที่มา : หนังสือเสริมสาระการเรียนรู้ฟิสิกส์ ม.6
แบบฝึกทักษะ
เรื่อง ปรากฏการณ์ธรรมชาติของไฟฟ้า
คาชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง
1. ฟ้าแลบเกิดจาก
…………………………….........................................………………………………………………………………
…………………………….........................................………………………………………………………………
…………………………….........................................………………………………………………………………
…………………………….........................................………………………………………………………………
…………………………….........................................………………………………………………………………
…………………………….........................................………………………………………………………………
2. ฟ้าผ่าเกิดจาก
…………………………….........................................………………………………………………………………
…………………………….........................................………………………………………………………………
…………………………….........................................………………………………………………………………
…………………………….........................................………………………………………………………………
…………………………….........................................………………………………………………………………
หน้า 8
…………………………….........................................………………………………………………………………
3. อาพันคือ
…………………………….........................................………………………………………………………………
…………………………….........................................………………………………………………………………
…………………………….........................................………………………………………………………………
…………………………….........................................………………………………………………………………
…………………………….........................................………………………………………………………………
…………………………….........................................………………………………………………………………
4. เมื่อนาแท่งอาพันถูกับผ้าสักหลาดแล้วเกิดประจุไฟฟ้าเพราะ
…………………………….........................................………………………………………………………………
…………………………….........................................………………………………………………………………
…………………………….........................................………………………………………………………………
…………………………….........................................………………………………………………………………
…………………………….........................................………………………………………………………………
…………………………….........................................………………………………………………………………
5. ไฟฟ้าสถิตคือ
…………………………….........................................………………………………………………………………
…………………………….........................................………………………………………………………………
…………………………….........................................………………………………………………………………
…………………………….........................................………………………………………………………………
…………………………….........................................………………………………………………………………
…………………………….........................................………………………………………………………………
อย่าลืมทาแบบทดสอบหลังเรียน
ด้วยนะครับ
หน้า 9
แบบทดสอบหลังเรียน
เล่มที่ 1 เรื่อง ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติของไฟฟ้า
คาชี้แจง ให้นักเรียนทาเครื่องหมาย  ทับข้อคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว
1. การกระทาที่ทาให้วัตถุเกิดมีสถานะไฟฟ้าขึ้นเรียกว่าอะไร
ก. การชาร์จวัตถุ
ข. การกระตุ้นวัตถุ
ค. การเหนี่ยวนาวัตถุ
ง. การโพลาไรซ์วัตถุ
2. สนามไฟฟ้า ณ ตาแหน่งติดกับผิวตัวนาด้านนอกจะมีทิศทางใด
ก. ตั้งฉากกับผิว
ข. สัมผัสกับผิว
ค. ขึ้นกับรูปร่างของผิว
ง. ทามุมกับผิวน้อยกว่า 45๐
องศา
3. นักวิทยาศาสตร์ท่านใดต่อไปนี้ที่เป็นผู้เริ่มทาสายล่อฟ้าจนโด่งดัง
ก. ไพลนี
ข. ทาลีส
ค. กาลิเลโอ
ง. เบนจามิน แฟรงคลิน
หน้า 10
4. เมื่อนาไม้บรรทัดถูกับผ้าสักหลาดแล้วเกิดประจุไฟฟ้า เพราะเหตุใด
ก. ประจุเกิดจากแรงเสียดทาน
ข. การถูทาให้มีประจุชนิดหนึ่งขึ้นมา
ค. ประจุเกิดจากแรงดึงดูดระหว่างมวล
ง. ประจุถ่ายเทจากวัตถุหนึ่งไปยังอีกวัตถุหนึ่ง
5. เราเรียกสิ่งที่ทาให้เกิดแรงดูดระหว่างวัตถุที่ขัดสีกับเศษกระดาษเบา ๆ ว่าอะไร
ก. โปรตอน
ข. นิวตรอน
ค. อิเล็กตรอน
ง. ประจุไฟฟ้า
6. ทาไมไฟฟ้าสถิตจึงเกิดได้ดีในฤดูหนาว
ก. อากาศมีตัวนามาก
ข. อากาศมีตัวนาน้อย
ค. อากาศมีตัวเหนี่ยวนาดี
ง. อากาศมีตัวนาและฉนวนเท่ากัน
7. การเกิดฟ้าแลบ ฟ้าผ่า เป็นปรากฏการณ์เกี่ยวกับข้อใด
ก. การถ่ายเทของประจุ
ข. การสั่นพ้องของประจุ
ค. การสลายตัวของประจุ
ง. การเหนี่ยวนาของประจุ
หน้า 11
8. เมื่อนาสาร ก มาถูกับสาร ข พบว่าสาร ก มีประจุไฟฟ้าเกิดขึ้น สรุปว่าสาร
ก ต้องเป็นสารประเภทใด
ก. ตัวนา
ข. ฉนวน
ค. กึ่งตัวนา
ง. โลหะ
9. ในวันอากาศแห้ง เมื่อใช้หวีพลาสติกหวีผม พบว่าเส้นผมตั้งชันขึ้นตามหวี เพราะ
สาเหตุใด
ก. ความร้อนที่เกิดจากหวีเสียดสีกับเส้นผม
ข. เกิดการเหนี่ยวนาไฟฟ้าที่หวีขณะที่หวีผม
ค. หวีกับเส้นผมเกิดประจุไฟฟ้าชนิดเดียวกัน
ง. เส้นผมและหวีเกิดประจุไฟฟ้าชนิดตรงข้ามกัน
10. สิ่งที่ ไม่ ทาให้วัตถุ มีอานาจทางไฟฟ้าเกิดขึ้นคือข้อใด
ก. โปรตอน
ข. นิวตรอน
ค. อิเล็กตรอน
ง. ประจุไฟฟ้า
ตรวจคาตอบ
ในเฉลยแบบทดสอบ
นะครับ
หน้า 12
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน
เล่มที่ 1 เรื่อง ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติของไฟฟ้า
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน
ข้อ เฉลย ข้อ เฉลย
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
10.
ข
ก
ข
ง
ข
ก
ค
ง
ง
ง
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
10.
ก
ค
ง
ง
ง
ข
ก
ข
ง
ข
หน้า 13
เฉลยแบบฝึกทักษะ
เรื่อง ปรากฏการณ์ธรรมชาติของไฟฟ้า
คาชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง
1. ฟ้าแลบเกิดจาก
แนวคาตอบ การถ่ายโอนของประจุไฟฟ้าในบรรยากาศ
2. ฟ้าผ่าเกิดจาก
แนวคาตอบ การถ่ายโอนของประจุไฟฟ้าในบรรยากาศ
3. อาพันคือ
แนวคาตอบ ยางสนที่แข็งตัวจนเกือบกลายเป็นหิน มีลักษณะคล้ายพลาสติกโปร่งแสง มีสี
น้าตาลแกมแดง
4. เมื่อนาแท่งอาพันถูกับผ้าสักหลาดแล้วเกิดประจุไฟฟ้าเพราะ
แนวคาตอบ ประจุถ่ายเทจากวัตถุหนึ่งไปยังอีกวัตถุหนึ่ง
5. ไฟฟ้าสถิตคือ
แนวคาตอบ แขนงวิชาไฟฟ้าที่กล่าวถึงวิชาไฟฟ้าที่ปรากฏนิ่งอยู่กับที่
หน้า 14
กระดาษคาตอบ
ชื่อ .................................................... นามสกุล .......................................................
เลขที่ ................................... ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/....................
วันที่ .................. เดือน ............................................... พ.ศ. ..........................
คาชี้แจง ให้นักเรียนกา x ในช่อง ก ข ค หรือ ง ที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว
ทดสอบก่อนเรียน ทดสอบหลังเรียน
ข้อ ก ข ค ง ข้อ ก ข ค ง
1 1
2 2
3 3
4 4
5 5
6 6
7 7
8 8
9 9
10 10
คะแนนเต็ม 10 คะแนน คะแนนเต็ม 10 คะแนน
คะแนนที่ได้ ............. คะแนน คะแนนที่ได้ ............. คะแนน
หน้า 15
บรรณานุกรม
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์. ฟิสิกส์ 1. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย, 2548.
ชัยณรงค์ วิเศษศักดิ์วิชัย. สนามไฟฟ้าและแม่เหล็ก. กรุงเทพฯ : สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี,
2545.
เฉลิมชัย มอญสุขา. หนังสือเสริมสาระการเรียนรู้ฟิสิกส์ ม.6. กรุงเทพฯ : เดอะบุคส์, 2551.
เฉลียว มณีเลิศ . ไฟฟ้า แม่เหล็ก. ปทุมธานี : สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยรังสิต, 2543
ทวี ฉิมอ้อย, มนู เฟื่องฟุ้ง. ฟิสิกส์พื้นฐานระดับมหาวิทยาลัย 1. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ :
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2546.
โทลา, โจ๊ด. ฟิสิกส์และเคมี. กรุงเทพฯ : สุวีริยสาสน์, 2549.
นรินทร์ เนาวประทีป. ฟิสิกส์ ม.6. กรุงเทพฯ : ฟิสิกส์เซ็นเตอร์, 2542.
นิยม ทองอุดม. ฟิสิกส์ 1. ราชบุรี : มหาวิทยาลัยราชภัฏจอมบึง, 2548.
บุชเซ, เฟรคเดอริค เจ. ทฤษฎีตัวอย่างโจทย์ฟิสิกส์. กรุงเทพฯ : แมคกรอ-ฮิว, 2546.
ปรเมษฐ์ ปัญญาเหล็ก. ฟิสิกส์ 1. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีปทุม, 2548.
พงษ์ศักดิ์ ชินนาบุญ. ฟิสิกส์มหาวิทยาลัย. กรุงเทพฯ : วิทยพัฒน์, 2549.
สมโภชน์ อิ่มเอม. ฟิสิกส์มหาลัยวิทยาลัยไม่ยากเล่ม 1. กรุงเทพฯ : เบรน สตอร์ม, 2545.
สุวิทย์ โมนะตระกูล. ฟิสิกส์ยุคใหม่. มหาสารคาม : ภาควิชาฟิสิกส์และวิทยาศาสตร์ทั่วไป
สถาบันราชภัฏมหาสารคาม , 2542.
อ้างอิงเว็บไซต์
1. http://www.neutron.rmutphysics.com/physicsboard/forum/index.php?topic=388.0
[ออนไลน์ วันที่ 24 ตุลาคม 2555]
2. https://sites.google.com/site/learningsanook/fifasthit
[ออนไลน์ วันที่ 24 ตุลาคม 2555]
3. http://weerajit14.blogspot.com/ [ออนไลน์ วันที่ 24 ตุลาคม 2555]

More Related Content

What's hot

ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560krulef1805
 
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์Phattarawan Wai
 
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่nik2529
 
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่menton00
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนWijitta DevilTeacher
 
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันThepsatri Rajabhat University
 
ใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงานใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงานjirupi
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4Wijitta DevilTeacher
 
06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกลPhanuwat Somvongs
 
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกลPhanuwat Somvongs
 
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันบทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันJariya Jaiyot
 
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น Wijitta DevilTeacher
 
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหลWijitta DevilTeacher
 

What's hot (20)

ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์
 
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
 
หน่วยที่ 1 ไฟฟ้าฟ้าสถิต
หน่วยที่ 1 ไฟฟ้าฟ้าสถิตหน่วยที่ 1 ไฟฟ้าฟ้าสถิต
หน่วยที่ 1 ไฟฟ้าฟ้าสถิต
 
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
 
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
 
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
 
พลังงาน
พลังงานพลังงาน
พลังงาน
 
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
ใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงานใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
 
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงานตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
 
06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล
 
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
 
คลื่นและเสียง
คลื่นและเสียงคลื่นและเสียง
คลื่นและเสียง
 
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
 
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันบทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
 
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
 
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
 

Viewers also liked

แบบสำรวจข้อมูลด้านการจัดการขยะ 09.04.2556 edit001
แบบสำรวจข้อมูลด้านการจัดการขยะ 09.04.2556 edit001แบบสำรวจข้อมูลด้านการจัดการขยะ 09.04.2556 edit001
แบบสำรวจข้อมูลด้านการจัดการขยะ 09.04.2556 edit001Aim Boonsarawung
 
ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1Wijitta DevilTeacher
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1Wijitta DevilTeacher
 

Viewers also liked (16)

แบบสำรวจข้อมูลด้านการจัดการขยะ 09.04.2556 edit001
แบบสำรวจข้อมูลด้านการจัดการขยะ 09.04.2556 edit001แบบสำรวจข้อมูลด้านการจัดการขยะ 09.04.2556 edit001
แบบสำรวจข้อมูลด้านการจัดการขยะ 09.04.2556 edit001
 
ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
 
หน่วยที่ 7
หน่วยที่ 7หน่วยที่ 7
หน่วยที่ 7
 
กฎการอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า (Conservation of charge)
กฎการอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า (Conservation of  charge)กฎการอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า (Conservation of  charge)
กฎการอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า (Conservation of charge)
 
วิเคราะห์ข้อสอบ O-Net ชุดที่ 1
วิเคราะห์ข้อสอบ O-Net ชุดที่ 1วิเคราะห์ข้อสอบ O-Net ชุดที่ 1
วิเคราะห์ข้อสอบ O-Net ชุดที่ 1
 
วิเคราะห์ข้อสอบ O-Net ชุดที่ 2
วิเคราะห์ข้อสอบ O-Net ชุดที่ 2วิเคราะห์ข้อสอบ O-Net ชุดที่ 2
วิเคราะห์ข้อสอบ O-Net ชุดที่ 2
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
 
แรงระหว่างประจุและกฎของคูลอมบ์
แรงระหว่างประจุและกฎของคูลอมบ์แรงระหว่างประจุและกฎของคูลอมบ์
แรงระหว่างประจุและกฎของคูลอมบ์
 
วิเคราะห์ข้อสอบ O-Net ชุดที่ 3
วิเคราะห์ข้อสอบ O-Net ชุดที่ 3วิเคราะห์ข้อสอบ O-Net ชุดที่ 3
วิเคราะห์ข้อสอบ O-Net ชุดที่ 3
 
วิเคราะห์ข้อสอบ O-Net ชุดที่ 4
วิเคราะห์ข้อสอบ O-Net ชุดที่ 4วิเคราะห์ข้อสอบ O-Net ชุดที่ 4
วิเคราะห์ข้อสอบ O-Net ชุดที่ 4
 
ตัวนำและฉนวนไฟฟ้า (Conductor and insulator)
ตัวนำและฉนวนไฟฟ้า (Conductor and insulator)ตัวนำและฉนวนไฟฟ้า (Conductor and insulator)
ตัวนำและฉนวนไฟฟ้า (Conductor and insulator)
 
Key2 1
Key2 1Key2 1
Key2 1
 
Key2 4
Key2 4Key2 4
Key2 4
 
Key2 5
Key2 5Key2 5
Key2 5
 
Key2 2
Key2 2Key2 2
Key2 2
 
Key2 3
Key2 3Key2 3
Key2 3
 

Similar to ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1

ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 2
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 2ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 2
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 2พนภาค ผิวเกลี้ยง
 
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 3
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 3ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 3
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 3พนภาค ผิวเกลี้ยง
 
สื่อประสมปก
สื่อประสมปกสื่อประสมปก
สื่อประสมปกkrupornpana55
 
3ความตึงผิว และความหนืด
3ความตึงผิว  และความหนืด3ความตึงผิว  และความหนืด
3ความตึงผิว และความหนืดWijitta DevilTeacher
 
Slโครงสร้างวิชา หน่วย 3 พลังงานไฟฟ้า 11 เม.ย.56
Slโครงสร้างวิชา หน่วย  3 พลังงานไฟฟ้า 11 เม.ย.56Slโครงสร้างวิชา หน่วย  3 พลังงานไฟฟ้า 11 เม.ย.56
Slโครงสร้างวิชา หน่วย 3 พลังงานไฟฟ้า 11 เม.ย.56krupornpana55
 
เล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีเล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีPreeyapat Lengrabam
 
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันThepsatri Rajabhat University
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้าdnavaroj
 

Similar to ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1 (20)

ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 2
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 2ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 2
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 2
 
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 3
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 3ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 3
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 3
 
Hydroelectric power
Hydroelectric powerHydroelectric power
Hydroelectric power
 
ไฟฟ้าสถิต [Compatibility mode]
ไฟฟ้าสถิต [Compatibility mode]ไฟฟ้าสถิต [Compatibility mode]
ไฟฟ้าสถิต [Compatibility mode]
 
1ธรรมชาติของฟิสิกส์
1ธรรมชาติของฟิสิกส์1ธรรมชาติของฟิสิกส์
1ธรรมชาติของฟิสิกส์
 
แบบทดสอบเรื่องระบบนิเวศ
แบบทดสอบเรื่องระบบนิเวศแบบทดสอบเรื่องระบบนิเวศ
แบบทดสอบเรื่องระบบนิเวศ
 
Punmanee study 8
Punmanee study 8Punmanee study 8
Punmanee study 8
 
สื่อประสมปก
สื่อประสมปกสื่อประสมปก
สื่อประสมปก
 
Sun
SunSun
Sun
 
3ความตึงผิว และความหนืด
3ความตึงผิว  และความหนืด3ความตึงผิว  และความหนืด
3ความตึงผิว และความหนืด
 
P (1)
P (1)P (1)
P (1)
 
กำเนิดเอกภพ
กำเนิดเอกภพกำเนิดเอกภพ
กำเนิดเอกภพ
 
Lesson7
Lesson7Lesson7
Lesson7
 
กำเนิดเอกภพ
กำเนิดเอกภพกำเนิดเอกภพ
กำเนิดเอกภพ
 
Slโครงสร้างวิชา หน่วย 3 พลังงานไฟฟ้า 11 เม.ย.56
Slโครงสร้างวิชา หน่วย  3 พลังงานไฟฟ้า 11 เม.ย.56Slโครงสร้างวิชา หน่วย  3 พลังงานไฟฟ้า 11 เม.ย.56
Slโครงสร้างวิชา หน่วย 3 พลังงานไฟฟ้า 11 เม.ย.56
 
Contentastrounit2
Contentastrounit2Contentastrounit2
Contentastrounit2
 
เนื้อหาสารและสมบัติของสาร
เนื้อหาสารและสมบัติของสารเนื้อหาสารและสมบัติของสาร
เนื้อหาสารและสมบัติของสาร
 
เล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีเล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
 

More from พนภาค ผิวเกลี้ยง

มัลติมีเดียการใช้ไอซีทีครัั้งที่2
มัลติมีเดียการใช้ไอซีทีครัั้งที่2มัลติมีเดียการใช้ไอซีทีครัั้งที่2
มัลติมีเดียการใช้ไอซีทีครัั้งที่2พนภาค ผิวเกลี้ยง
 
แบบฟอร์มส่งผลงานเข้าประกวดครูกนกรดา สมานบุตรี
แบบฟอร์มส่งผลงานเข้าประกวดครูกนกรดา สมานบุตรีแบบฟอร์มส่งผลงานเข้าประกวดครูกนกรดา สมานบุตรี
แบบฟอร์มส่งผลงานเข้าประกวดครูกนกรดา สมานบุตรีพนภาค ผิวเกลี้ยง
 
แบบฟอร์มโครงการตามแนวคอนสตรักชันนิซึม
แบบฟอร์มโครงการตามแนวคอนสตรักชันนิซึมแบบฟอร์มโครงการตามแนวคอนสตรักชันนิซึม
แบบฟอร์มโครงการตามแนวคอนสตรักชันนิซึมพนภาค ผิวเกลี้ยง
 
มัลติมีเดียการใช้ไอซีทีจัดการเรียนรู้ด้วยโครงการตามแนวคอนสตรักชันนิซึม
มัลติมีเดียการใช้ไอซีทีจัดการเรียนรู้ด้วยโครงการตามแนวคอนสตรักชันนิซึมมัลติมีเดียการใช้ไอซีทีจัดการเรียนรู้ด้วยโครงการตามแนวคอนสตรักชันนิซึม
มัลติมีเดียการใช้ไอซีทีจัดการเรียนรู้ด้วยโครงการตามแนวคอนสตรักชันนิซึมพนภาค ผิวเกลี้ยง
 
การใช้ไอซีทีจัดการเรียนรู้ด้วยโครงงานตามแนวคอนสตรักชันนิซึม
การใช้ไอซีทีจัดการเรียนรู้ด้วยโครงงานตามแนวคอนสตรักชันนิซึมการใช้ไอซีทีจัดการเรียนรู้ด้วยโครงงานตามแนวคอนสตรักชันนิซึม
การใช้ไอซีทีจัดการเรียนรู้ด้วยโครงงานตามแนวคอนสตรักชันนิซึมพนภาค ผิวเกลี้ยง
 
มัลติมีเดียการใช้ไอซีทีจัดการเรียนรู้ด้วยโครงงานตามแนวคอนสตรักชันนิซึม
มัลติมีเดียการใช้ไอซีทีจัดการเรียนรู้ด้วยโครงงานตามแนวคอนสตรักชันนิซึมมัลติมีเดียการใช้ไอซีทีจัดการเรียนรู้ด้วยโครงงานตามแนวคอนสตรักชันนิซึม
มัลติมีเดียการใช้ไอซีทีจัดการเรียนรู้ด้วยโครงงานตามแนวคอนสตรักชันนิซึมพนภาค ผิวเกลี้ยง
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocxพนภาค ผิวเกลี้ยง
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docxพนภาค ผิวเกลี้ยง
 

More from พนภาค ผิวเกลี้ยง (13)

หน่วยการเรียนรู้ที่ 3
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3หน่วยการเรียนรู้ที่ 3
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3
 
มัลติมีเดียการใช้ไอซีทีครัั้งที่2
มัลติมีเดียการใช้ไอซีทีครัั้งที่2มัลติมีเดียการใช้ไอซีทีครัั้งที่2
มัลติมีเดียการใช้ไอซีทีครัั้งที่2
 
แบบฟอร์มส่งผลงานเข้าประกวดครูกนกรดา สมานบุตรี
แบบฟอร์มส่งผลงานเข้าประกวดครูกนกรดา สมานบุตรีแบบฟอร์มส่งผลงานเข้าประกวดครูกนกรดา สมานบุตรี
แบบฟอร์มส่งผลงานเข้าประกวดครูกนกรดา สมานบุตรี
 
รายละเอียดการเข้าประกวด pbl
รายละเอียดการเข้าประกวด pblรายละเอียดการเข้าประกวด pbl
รายละเอียดการเข้าประกวด pbl
 
แบบฟอร์มโครงการตามแนวคอนสตรักชันนิซึม
แบบฟอร์มโครงการตามแนวคอนสตรักชันนิซึมแบบฟอร์มโครงการตามแนวคอนสตรักชันนิซึม
แบบฟอร์มโครงการตามแนวคอนสตรักชันนิซึม
 
มัลติมีเดียการใช้ไอซีทีจัดการเรียนรู้ด้วยโครงการตามแนวคอนสตรักชันนิซึม
มัลติมีเดียการใช้ไอซีทีจัดการเรียนรู้ด้วยโครงการตามแนวคอนสตรักชันนิซึมมัลติมีเดียการใช้ไอซีทีจัดการเรียนรู้ด้วยโครงการตามแนวคอนสตรักชันนิซึม
มัลติมีเดียการใช้ไอซีทีจัดการเรียนรู้ด้วยโครงการตามแนวคอนสตรักชันนิซึม
 
การใช้ไอซีทีจัดการเรียนรู้ด้วยโครงงานตามแนวคอนสตรักชันนิซึม
การใช้ไอซีทีจัดการเรียนรู้ด้วยโครงงานตามแนวคอนสตรักชันนิซึมการใช้ไอซีทีจัดการเรียนรู้ด้วยโครงงานตามแนวคอนสตรักชันนิซึม
การใช้ไอซีทีจัดการเรียนรู้ด้วยโครงงานตามแนวคอนสตรักชันนิซึม
 
มัลติมีเดียการใช้ไอซีทีจัดการเรียนรู้ด้วยโครงงานตามแนวคอนสตรักชันนิซึม
มัลติมีเดียการใช้ไอซีทีจัดการเรียนรู้ด้วยโครงงานตามแนวคอนสตรักชันนิซึมมัลติมีเดียการใช้ไอซีทีจัดการเรียนรู้ด้วยโครงงานตามแนวคอนสตรักชันนิซึม
มัลติมีเดียการใช้ไอซีทีจัดการเรียนรู้ด้วยโครงงานตามแนวคอนสตรักชันนิซึม
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocx
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
 
ประกาศผลสอบ ประจำปีการศึกษา 2556
ประกาศผลสอบ ประจำปีการศึกษา 2556ประกาศผลสอบ ประจำปีการศึกษา 2556
ประกาศผลสอบ ประจำปีการศึกษา 2556
 
ประกาศผลโควตา
ประกาศผลโควตาประกาศผลโควตา
ประกาศผลโควตา
 
การใช้Wordpress
การใช้Wordpressการใช้Wordpress
การใช้Wordpress
 

ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1

  • 1. หน้า 1 มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด สาระที่ 5 พลังงาน มาตรฐาน ว 5.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดารงชีวิต การเปลี่ยนแปลงรูปพลังงานปฏิสัมพันธ์ระหว่างสาร และพลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ตัวชี้วัด ม 6/1 วิเคราะห์และอธิบายลักษณะของประจุไฟฟ้า ตัวนา ฉนวน และ การอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรากฏการณ์ทางธรรมชาติของไฟฟ้า 2. นักเรียนสามารถอธิบายความหมายของปรากฏการณ์ทางธรรมชาติของไฟฟ้าได้ 3. นักเรียนสามารถยกตัวอย่างเกี่ยวกับปรากฏการณ์ทางธรรมชาติของไฟฟ้าได้
  • 2. หน้า 2 แบบทดสอบก่อนเรียน เล่มที่ 1 เรื่อง ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติของไฟฟ้า คาชี้แจง ให้นักเรียนทาเครื่องหมาย  ทับข้อคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว 1. ทาไมไฟฟ้าสถิตจึงเกิดได้ดีในฤดูหนาว ก. อากาศมีตัวนามาก ข. อากาศมีตัวนาน้อย ค. อากาศมีตัวเหนี่ยวนาดี ง. อากาศมีตัวนาและฉนวนเท่ากัน 2. การเกิดฟ้าแลบ ฟ้าผ่า เป็นปรากฏการณ์เกี่ยวกับข้อใด ก. การถ่ายเทของประจุ ข. การสั่นพ้องของประจุ ค. การสลายตัวของประจุ ง. การเหนี่ยวนาของประจุ 3. เมื่อนาสาร ก มาถูกับสาร ข พบว่าสาร ก มีประจุไฟฟ้าเกิดขึ้น สรุปว่าสาร ก ต้องเป็นสารประเภทใด ก. ตัวนา ข. ฉนวน ค. กึ่งตัวนา ง. โลหะ
  • 3. หน้า 3 4. ในวันอากาศแห้ง เมื่อใช้หวีพลาสติกหวีผม พบว่าเส้นผมตั้งชันขึ้นตามหวี เพราะ สาเหตุใด ก. ความร้อนที่เกิดจากหวีเสียดสีกับเส้นผม ข. เกิดการเหนี่ยวนาไฟฟ้าที่หวีขณะที่หวีผม ค. หวีกับเส้นผมเกิดประจุไฟฟ้าชนิดเดียวกัน ง. เส้นผมและหวีเกิดประจุไฟฟ้าชนิดตรงข้ามกัน 5. สิ่งที่ ไม่ ทาให้วัตถุ มีอานาจทางไฟฟ้าเกิดขึ้นคือข้อใด ก. โปรตอน ข. นิวตรอน ค. อิเล็กตรอน ง. ประจุไฟฟ้า 6. การกระทาที่ทาให้วัตถุเกิดมีสถานะไฟฟ้าขึ้นเรียกว่าอะไร ก. การชาร์จวัตถุ ข. การกระตุ้นวัตถุ ค. การเหนี่ยวนาวัตถุ ง. การโพลาไรซ์วัตถุ 7. สนามไฟฟ้า ณ ตาแหน่งติดกับผิวตัวนาด้านนอกจะมีทิศทางใด ก. ตั้งฉากกับผิว ข. สัมผัสกับผิว ค. ขึ้นกับรูปร่างของผิว ง. ทามุมกับผิวน้อยกว่า 45๐ องศา
  • 4. หน้า 4 8. นักวิทยาศาสตร์ท่านใดต่อไปนี้ที่เป็นผู้เริ่มทาสายล่อฟ้าจนโด่งดัง ก. ไพลนี ข. ทาลีส ค. กาลิเลโอ ง. เบนจามิน แฟรงคลิน 9. เมื่อนาไม้บรรทัดถูกับผ้าสักหลาดแล้วเกิดประจุไฟฟ้า เพราะเหตุใด ก. ประจุเกิดจากแรงเสียดทาน ข. การถูทาให้มีประจุชนิดหนึ่งขึ้นมา ค. ประจุเกิดจากแรงดึงดูดระหว่างมวล ง. ประจุถ่ายเทจากวัตถุหนึ่งไปยังอีกวัตถุหนึ่ง 10. เราเรียกสิ่งที่ทาให้เกิดแรงดูดระหว่างวัตถุที่ขัดสีกับเศษกระดาษเบา ๆ ว่าอะไร ก. โปรตอน ข. นิวตรอน ค. อิเล็กตรอน ง. ประจุไฟฟ้า ศึกษาใบความรู้ให้ละเอียด รอบคอบด้วยนะครับนักเรียน
  • 5. หน้า 5 ใบความรู้ เรื่อง ปรากฏการณ์ธรรมชาติของไฟฟ้า ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics) เป็นแขนงวิชาไฟฟ้าที่กล่าวถึงวิชาไฟฟ้าที่ปรากฏนิ่งอยู่ กับที่ เป็นที่ทราบกันมาแต่สมัยโบราณแล้ว คือ เมื่อนาแท่งอาพันมาถูกับผ้าแพร หรือถูกับ ผ้าสักหลาดแล้วแท่งอาพันสามารถดูดของเบาๆ ได้ เช่น ขนนก ชิ้นกระดาษ เป็นต้น ความจริงนี้ ธีโอเฟรตัส (Theophratus) ทาลีส (Thales) ไพลนี (Pliny) เป็นผู้ได้ทดลอง พบมาแล้ว แต่มิได้ทาการศึกษาค้นคว้าให้กว้างขวางออกไป ต่อมา ดร.กิลเบิร์ต (Dr.Gilbert) เป็นคนแรกที่ได้ทาการศึกษาค้นคว้าเรื่องนี้ให้กว้างขวาง ออกไปและพบว่ามีวัตถุอีกมากชนิด ที่เมื่อนามาถูกันแล้ว ให้ผลเช่นเดียวกัน กิลเบิร์ต เรียก อานาจที่ได้จากการขัดสีวัตถุดังกล่าวว่า "electricity" โดยมาจากคาว่า electron ที่ชาวกรีก เรียกอาพันนั่นเอง ซึ่งคา electricity นี้ใช้กันมาจนถึงปัจจุบัน การที่วัตถุสองชนิดที่นามาถูกันแล้ว เกิดมีอานาจดูดของเบาๆ ได้นั้น เรียกว่า วัตถุทั้งสองต่างเกิดมีประจุไฟฟ้า (charge) ขึ้น การกระทาที่ทาให้วัตถุเกิดมีสถานะไฟฟ้า ขึ้น เรียกว่า การชาร์จ (charge) วัตถุ หรือ clectrify วัตถุ เมื่อวัตถุนั้น หมดอานาจ ไฟฟ้าแล้ว เรียกว่า วัตถุนั้นเป็นกลาง (neutral)
  • 6. หน้า 6 การเกิดฟ้าแลบ ฟ้าผ่า และได้ยินเสียงฟ้าร้อง เป็นปรากฏการณ์เกี่ยวกับการถ่ายเท ของประจุไฟฟ้า ประจุไฟฟ้าสามารถทาให้เกิดประกายไฟฟ้าได้ เบนจามิน แฟรงคลิน เป็นผู้พิสูจน์โดยใช้ว่าวเป็นเครื่องทดลองว่า มีประจุไฟฟ้า ในเมฆ และฟ้าผ่า คือการถ่ายเทประจุไฟฟ้าเช่นเดียวกันกับการเกิดประกายไฟฟ้าและ เบนจามินเป็นผู้เริ่มทาสายล่อฟ้า
  • 7. หน้า 7 รูปภาพ การทดลองของแฟรงคลิน ที่มา : หนังสือเสริมสาระการเรียนรู้ฟิสิกส์ ม.6 แบบฝึกทักษะ เรื่อง ปรากฏการณ์ธรรมชาติของไฟฟ้า คาชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง 1. ฟ้าแลบเกิดจาก …………………………….........................................……………………………………………………………… …………………………….........................................……………………………………………………………… …………………………….........................................……………………………………………………………… …………………………….........................................……………………………………………………………… …………………………….........................................……………………………………………………………… …………………………….........................................……………………………………………………………… 2. ฟ้าผ่าเกิดจาก …………………………….........................................……………………………………………………………… …………………………….........................................……………………………………………………………… …………………………….........................................……………………………………………………………… …………………………….........................................……………………………………………………………… …………………………….........................................………………………………………………………………
  • 8. หน้า 8 …………………………….........................................……………………………………………………………… 3. อาพันคือ …………………………….........................................……………………………………………………………… …………………………….........................................……………………………………………………………… …………………………….........................................……………………………………………………………… …………………………….........................................……………………………………………………………… …………………………….........................................……………………………………………………………… …………………………….........................................……………………………………………………………… 4. เมื่อนาแท่งอาพันถูกับผ้าสักหลาดแล้วเกิดประจุไฟฟ้าเพราะ …………………………….........................................……………………………………………………………… …………………………….........................................……………………………………………………………… …………………………….........................................……………………………………………………………… …………………………….........................................……………………………………………………………… …………………………….........................................……………………………………………………………… …………………………….........................................……………………………………………………………… 5. ไฟฟ้าสถิตคือ …………………………….........................................……………………………………………………………… …………………………….........................................……………………………………………………………… …………………………….........................................……………………………………………………………… …………………………….........................................……………………………………………………………… …………………………….........................................……………………………………………………………… …………………………….........................................……………………………………………………………… อย่าลืมทาแบบทดสอบหลังเรียน ด้วยนะครับ
  • 9. หน้า 9 แบบทดสอบหลังเรียน เล่มที่ 1 เรื่อง ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติของไฟฟ้า คาชี้แจง ให้นักเรียนทาเครื่องหมาย  ทับข้อคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว 1. การกระทาที่ทาให้วัตถุเกิดมีสถานะไฟฟ้าขึ้นเรียกว่าอะไร ก. การชาร์จวัตถุ ข. การกระตุ้นวัตถุ ค. การเหนี่ยวนาวัตถุ ง. การโพลาไรซ์วัตถุ 2. สนามไฟฟ้า ณ ตาแหน่งติดกับผิวตัวนาด้านนอกจะมีทิศทางใด ก. ตั้งฉากกับผิว ข. สัมผัสกับผิว ค. ขึ้นกับรูปร่างของผิว ง. ทามุมกับผิวน้อยกว่า 45๐ องศา 3. นักวิทยาศาสตร์ท่านใดต่อไปนี้ที่เป็นผู้เริ่มทาสายล่อฟ้าจนโด่งดัง ก. ไพลนี ข. ทาลีส ค. กาลิเลโอ ง. เบนจามิน แฟรงคลิน
  • 10. หน้า 10 4. เมื่อนาไม้บรรทัดถูกับผ้าสักหลาดแล้วเกิดประจุไฟฟ้า เพราะเหตุใด ก. ประจุเกิดจากแรงเสียดทาน ข. การถูทาให้มีประจุชนิดหนึ่งขึ้นมา ค. ประจุเกิดจากแรงดึงดูดระหว่างมวล ง. ประจุถ่ายเทจากวัตถุหนึ่งไปยังอีกวัตถุหนึ่ง 5. เราเรียกสิ่งที่ทาให้เกิดแรงดูดระหว่างวัตถุที่ขัดสีกับเศษกระดาษเบา ๆ ว่าอะไร ก. โปรตอน ข. นิวตรอน ค. อิเล็กตรอน ง. ประจุไฟฟ้า 6. ทาไมไฟฟ้าสถิตจึงเกิดได้ดีในฤดูหนาว ก. อากาศมีตัวนามาก ข. อากาศมีตัวนาน้อย ค. อากาศมีตัวเหนี่ยวนาดี ง. อากาศมีตัวนาและฉนวนเท่ากัน 7. การเกิดฟ้าแลบ ฟ้าผ่า เป็นปรากฏการณ์เกี่ยวกับข้อใด ก. การถ่ายเทของประจุ ข. การสั่นพ้องของประจุ ค. การสลายตัวของประจุ ง. การเหนี่ยวนาของประจุ
  • 11. หน้า 11 8. เมื่อนาสาร ก มาถูกับสาร ข พบว่าสาร ก มีประจุไฟฟ้าเกิดขึ้น สรุปว่าสาร ก ต้องเป็นสารประเภทใด ก. ตัวนา ข. ฉนวน ค. กึ่งตัวนา ง. โลหะ 9. ในวันอากาศแห้ง เมื่อใช้หวีพลาสติกหวีผม พบว่าเส้นผมตั้งชันขึ้นตามหวี เพราะ สาเหตุใด ก. ความร้อนที่เกิดจากหวีเสียดสีกับเส้นผม ข. เกิดการเหนี่ยวนาไฟฟ้าที่หวีขณะที่หวีผม ค. หวีกับเส้นผมเกิดประจุไฟฟ้าชนิดเดียวกัน ง. เส้นผมและหวีเกิดประจุไฟฟ้าชนิดตรงข้ามกัน 10. สิ่งที่ ไม่ ทาให้วัตถุ มีอานาจทางไฟฟ้าเกิดขึ้นคือข้อใด ก. โปรตอน ข. นิวตรอน ค. อิเล็กตรอน ง. ประจุไฟฟ้า ตรวจคาตอบ ในเฉลยแบบทดสอบ นะครับ
  • 12. หน้า 12 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน เล่มที่ 1 เรื่อง ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติของไฟฟ้า เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน ข้อ เฉลย ข้อ เฉลย 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. ข ก ข ง ข ก ค ง ง ง 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. ก ค ง ง ง ข ก ข ง ข
  • 13. หน้า 13 เฉลยแบบฝึกทักษะ เรื่อง ปรากฏการณ์ธรรมชาติของไฟฟ้า คาชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง 1. ฟ้าแลบเกิดจาก แนวคาตอบ การถ่ายโอนของประจุไฟฟ้าในบรรยากาศ 2. ฟ้าผ่าเกิดจาก แนวคาตอบ การถ่ายโอนของประจุไฟฟ้าในบรรยากาศ 3. อาพันคือ แนวคาตอบ ยางสนที่แข็งตัวจนเกือบกลายเป็นหิน มีลักษณะคล้ายพลาสติกโปร่งแสง มีสี น้าตาลแกมแดง 4. เมื่อนาแท่งอาพันถูกับผ้าสักหลาดแล้วเกิดประจุไฟฟ้าเพราะ แนวคาตอบ ประจุถ่ายเทจากวัตถุหนึ่งไปยังอีกวัตถุหนึ่ง 5. ไฟฟ้าสถิตคือ แนวคาตอบ แขนงวิชาไฟฟ้าที่กล่าวถึงวิชาไฟฟ้าที่ปรากฏนิ่งอยู่กับที่
  • 14. หน้า 14 กระดาษคาตอบ ชื่อ .................................................... นามสกุล ....................................................... เลขที่ ................................... ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/.................... วันที่ .................. เดือน ............................................... พ.ศ. .......................... คาชี้แจง ให้นักเรียนกา x ในช่อง ก ข ค หรือ ง ที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว ทดสอบก่อนเรียน ทดสอบหลังเรียน ข้อ ก ข ค ง ข้อ ก ข ค ง 1 1 2 2 3 3 4 4 5 5 6 6 7 7 8 8 9 9 10 10 คะแนนเต็ม 10 คะแนน คะแนนเต็ม 10 คะแนน คะแนนที่ได้ ............. คะแนน คะแนนที่ได้ ............. คะแนน
  • 15. หน้า 15 บรรณานุกรม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์. ฟิสิกส์ 1. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, 2548. ชัยณรงค์ วิเศษศักดิ์วิชัย. สนามไฟฟ้าและแม่เหล็ก. กรุงเทพฯ : สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี, 2545. เฉลิมชัย มอญสุขา. หนังสือเสริมสาระการเรียนรู้ฟิสิกส์ ม.6. กรุงเทพฯ : เดอะบุคส์, 2551. เฉลียว มณีเลิศ . ไฟฟ้า แม่เหล็ก. ปทุมธานี : สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยรังสิต, 2543 ทวี ฉิมอ้อย, มนู เฟื่องฟุ้ง. ฟิสิกส์พื้นฐานระดับมหาวิทยาลัย 1. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2546. โทลา, โจ๊ด. ฟิสิกส์และเคมี. กรุงเทพฯ : สุวีริยสาสน์, 2549. นรินทร์ เนาวประทีป. ฟิสิกส์ ม.6. กรุงเทพฯ : ฟิสิกส์เซ็นเตอร์, 2542. นิยม ทองอุดม. ฟิสิกส์ 1. ราชบุรี : มหาวิทยาลัยราชภัฏจอมบึง, 2548. บุชเซ, เฟรคเดอริค เจ. ทฤษฎีตัวอย่างโจทย์ฟิสิกส์. กรุงเทพฯ : แมคกรอ-ฮิว, 2546. ปรเมษฐ์ ปัญญาเหล็ก. ฟิสิกส์ 1. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีปทุม, 2548. พงษ์ศักดิ์ ชินนาบุญ. ฟิสิกส์มหาวิทยาลัย. กรุงเทพฯ : วิทยพัฒน์, 2549. สมโภชน์ อิ่มเอม. ฟิสิกส์มหาลัยวิทยาลัยไม่ยากเล่ม 1. กรุงเทพฯ : เบรน สตอร์ม, 2545. สุวิทย์ โมนะตระกูล. ฟิสิกส์ยุคใหม่. มหาสารคาม : ภาควิชาฟิสิกส์และวิทยาศาสตร์ทั่วไป สถาบันราชภัฏมหาสารคาม , 2542. อ้างอิงเว็บไซต์ 1. http://www.neutron.rmutphysics.com/physicsboard/forum/index.php?topic=388.0 [ออนไลน์ วันที่ 24 ตุลาคม 2555] 2. https://sites.google.com/site/learningsanook/fifasthit [ออนไลน์ วันที่ 24 ตุลาคม 2555] 3. http://weerajit14.blogspot.com/ [ออนไลน์ วันที่ 24 ตุลาคม 2555]