SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 31
การวดัพฤตกิรรม 
ดา้นจติพสิยั 
อาจารย์ปรีชา เครือวรรณ 
อาจารย์สมพงษ์ พันธุรัตน์
ลักษณะทางจิตพิสัย 
 ความรู้สึก อารมณ์ การแสดงออก ค่านิยม ทัศนคติ ความชื่นชม การปรับตัว ความเป็น 
ผู้นา มนุษยสัมพันธ์ มองโลกในแง่ดี ขี้กังวล เจ้าระเบียบ มั่นใจในตนเอง รับผิดชอบ 
ข่มขู่ผู้อื่น จงรักภักดี เจ้าอารมณ์ เข้มแข็ง อดทน อยากรู้อยากเห็น กล้าได้กล้าเสีย 
ทะเยอทะยาน มีน้า ใจ พอใจในสิ่งที่ตนมีอยู่ โลเล มีอารมณ์ขัน ซื่อสัตย์ ขวนขวายหา 
ความรู้ ก้าวร้าว ปรับตัวเก่ง ยืดหยุ่น สารวม ชอบสังคม อารมณ์อ่อนไหว อารมณ์มั่นคง 
ถ่อมตน ถือตนเป็นใหญ่ ถี่ถ้วน ตามสบาย ไม่ทา ตามกฎ ซื่อตรงต่อหน้าที่ ขี้อาย กล้า 
จิตใจกล้าแข็ง อ่อนแอ ไว้ใจคน ระแวง ทา ตามความจริง เพ้อเจ้อ ตรงไปตรงมา มีเล่ห์ 
เหลี่ยม ประสาทมั่นคง หวาดกลัว อนุรักษ์ ชอบทดลอง ตามกลุ่ม เป็นตัวของตัวเอง 
ขัดแย้งในตัว ควบคุมตัวเอง ผ่อนคลาย เคร่งเครียด ใฝ่สัมฤทธ์ิสูง ข่มคนอื่น ยกย่องผู้อื่น 
ชอบการเปลี่ยนแปลง ชอบอิสระ มีไมตรีกับผู้อื่น ชอบคบเพื่อนต่างเพศ เข้าใจตนเองและ 
ผู้อื่น ชอบช่วยเหลือผู้อื่น กล้าเสี่ยง วิตกกังวล เข้าสังคม ลังเล คิดในแง่บวก เมตตากรุณา
พฤตกิรรมดา้นจติพสิยั 
 เป็นพฤตกิรรมทเี่กดิขนึ้ภายใจจติใจของมนุษยเ์กยี่วขอ้ง 
กบัความรูส้กึ อารมณ์และจติใจของบุคคล เช่น ความ 
สนใจ ความซาบซงึ้ เจตคติ ค่านยิม ความตอ้งการ 
การปรบัตวั คุณธรรม จรยิธรรม บุคลกิภาพ เป็นตน้ 
 เป็นสงิ่ทสี่รา้งสมขนึ้จนเป็นลกัษณะเฉพาะของแต่ละบุคคล 
 การเกดิจติพสิยัภายในตวับุคคลนนั้ จะพฒันาจากระดบั 
ต่า จนถงึระดบัสูง ไดแ้ก่ การรบัรู้ การตอบสนอง 
การสรา้งคุณค่า การจดัระบบคุณค่า และ 
การสรา้งลกัษณะนสิยั 
 การพฒันาใหเ้กดิจติพสิยัในระดบัสูงตอ้งอาศยัพนื้ฐาน 
ระดบัการเรยีนรูท้ตี่่า กว่า
ธรรมชาตขิองการวดัจติพสิยั 
 เป็นคุณลกัษณะดา้นจติใจทมี่องไม่เห็นหรอื 
เป็ นนามธรรม 
 เป็นการวดัทางออ้ม 
 การวดัจติพสิยัมคีวามคลาดเคลอื่นในการวดั 
เกดิขนึ้ไดง้่าย 
 อาจมกีารเสแสรง้และบดิเบอืนคา ตอบของผูถู้กวดั 
 การตอบของผูถู้กวดัมลีกัษณะเป็นไปตามทสี่งัคม 
มุ่งหวงั
องคป์ระกอบของพฤตกิรรมจติพสิยั 
 เป็นลักษณะที่แสดงออกถึงอารมณ์หรือความรูสึ้กของบุคคล 
ในการวัดจิตพิสัยจึงตอ้งใชเ้ครื่องมือวัดที่แสดงออกใน 
ลักษณะของอารมณ์และความรูสึ้ก 
 เป็นลักษณะที่มีแบบแผนเฉพาะคน คนที่มีความรูสึ้กอย่าง 
เดียวกันไม่จาเป็นตอ้งมีการแสดงออกทเี่หมือนกัน 
 มีทิศทาง ความรูสึ้กของบุคคลมีทิศทางเป็นไปในทางที่พึง 
ปรารถนาหรือไม่พึงปรารถนา ชอบหรือไม่ชอบ พอใจหรือไม่ 
พอใจ 
 มีความเขม้ ระดับความรูสึ้กของบุคคลที่มีต่อเป้าหมายนั้นๆ 
มีทัง้ปรารถนามาก นอ้ย ชอบมากชอบนอ้ย เป็นตน้ 
 เป้าหมายของการวัด เป็นสิ่งที่บุคคลตอ้งการแสดงความรูสึ้ก 
ลงไปใหชั้ดเจนและแน่นอนว่า ความรูสึ้กนั้นเป็นความรูสึ้ก 
ของบุคคลที่มีต่อสิ่งใด
หลกัการวดัพฤตกิรรมจติพสิยั 
 วดัใหค้รอบคลุมพฤตกิรรมหรอืคุณลกัษณะที่ 
ตอ้งการวดั 
 วดัหลายๆ ครงั้ และใช้เทคนคิการวดัหลายวธิี 
 วดัผลอย่างต่อเนอื่ง 
 ตอ้งอาศยัความร่วมมอืจากผูท้ถีู่กวดัเป็นอย่างดี 
 ใช้ผลการวดัใหถู้กตอ้ง
วธิกีารและเครอื่งมอืทใี่ช้วดั 
พฤตกิรรมจติพสิยั 
การสงัเกต (Observation) 
 เป็นวิธีการหนงึ่ในการเก็บรวบรวมขอ้มูลเกยี่วกับพฤติกรรมของ 
ผูเ้รียน ทัง้ในหอ้งเรียนและนอกหอ้งเรียน 
 เครื่องมือชนิดนี้ใชค้รูหรือตัวบุคคลทาหนา้ที่ในการวัดโดยใช้ 
ประสาทสัมผัสทัง้หา้โดยเฉพาะทางตาและหูเป็นสาคัญ 
 ลักษณะของการสังเกตจะปล่อยใหส้ภาพการณ์ต่างๆ ดาเนินไป 
ตามธรรมชาติ ในการเรียนการสอนการสังเกตทาใหค้รูทราบ 
ขอ้มูลที่ลึกซงึ้เกี่ยวกับคุณลักษณะของผูเ้รียน ซงึ่เห็นไดจ้าก 
พฤติกรรมทแี่สดงออกมา 
 คุณลักษณะต่างๆ ไดแ้ก่ ความสนใจ นิสัยการเรียน การมีส่วน 
ร่วมในการปฏิบัติงาน
ตวัอย่างพฤตกิรรมการเรยีนรูท้สี่ามารถวดัไดโ้ดยการสงัเกต 
คุณลักษณะ พฤติกรรมทแี่สดงออก 
ความสนใจ ความใส่ใจต่อการศกึษาวิชาต่างๆ การทางาน การใฝ่รูห้รือการ 
แสวงหาความรูการร่วมแสดงความคดิเห็นต่างๆ 
นิสัยการเรียน การเตรียมพรอ้มในการเรียน การใชเ้วลาว่างใหเ้ป็นประโยชน์ ความ 
รับผิดชอบ ความกระตือรือรน้ 
ความซาบซงึ้การแสดงความชื่นชม ชื่นชอบต่อวิชาที่เรียน พอใจและสนุกสนาน 
กับการทากจิกรรมเกี่ยวกับงานศลิปะ ดนตรี วัฒนธรรม 
ธรรมชาติ 
เจตคติ 
-ทางวิทยาศาสตร์ 
-ทางสังคม 
ยอมรับฟังผูอ้นื่ ใฝ่รู้มีเหตุผล มีทักษะการคดิ ไม่ด่วนสรุปจนกว่าจะ 
มีหลักฐานที่ชัดเจน 
การมีสัมมาคารวะ เคารพกฎกตกิา เคารพสทิธขิองผูอื้่น ความ 
ปรารถนาที่จะช่วยเหลือสังคม 
การปรับตัว ความสัมพันธ์กับผูอื้่น ปฏิกริิยาต่อคาชมและคาวิจารณ์ความมั่นคง 
ทางอารมณ์ การปรับตัวทางสังคม
แบบสงัเกตทมี่ลีกัษณะเป็นแบบตรวจสอบรายการ 
(Checklist) 
พฤตกิรรม ใช่ไม่ใช่ 
1. มาเรียนเป็นประจา 
2. ตัง้ใจทากจิกรรมแมไ้ม่มีครูอยดู่ว้ย 
3. ซักถามครูเมื่อมีปัญหา 
4. ร่วมอภิปราย 
5. มีความกระตือรือรน้ในการเรียน 
รวมคะแนน
แบบสงัเกตทมี่ลีกัษณะเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 
(Rating scale) 
พฤติกรรมที่สังเกต 
ระดับความถขี่องพฤติกรรม 
เสมอๆ 
(5) 
บ่อยๆ 
(4) 
บางครั้ง 
(3) 
นานๆ 
ครั้ง 
(2) 
ไม่เคยเลย 
(1) 
1. มาเรียนเป็นประจา 
2.ตัง้ใจทากจิกรรมแมไ้ม่มีครูอยดู่ว้ย 
3. ซักถามครูเมื่อมีปัญหา 
4. ร่วมอภิปราย 
5. มีความกระตือรือรน้ในการเรียน 
รวมคะแนน
แผนภูมิการมีส่วนร่วม (Participation Chart) 
ชื่อสมาชกิ 
ในกลมุ่ 
ความรับผิดชอบ 
การใหค้วาม 
ร่วมมือ 
การร่วม 
อภิปราย 
การทางาน 
ทไี่ดรั้บ 
มอบหมาย 
ร่วมกัน 
แก้ 
ปัญหา 
1. ฟ้าสวย // /// /// /// 
2. ฟ้าใส /// / /// // 
3. เหินฟ้า // /// /// // 
4. เมฆงาม /// // // //
ระเบียนพฤติการณ์ (Anecdotal) 
การบันทึกพฤติการณ์ของผู้เรียน 
ชื่อผู้ถูกสังเกต………………………….วิชา……………………….…….ชั้น………… 
วัน เดือน ปี ที่สังเกต .…………เวลาที่สังเกต……………..สถานที่ที่สังเกต…………………… 
บันทึกพฤติกรรม/ผลการสังเกต 
……….……………………………………………………..…………………… 
……………………………………………………………………….…………… 
…………………………………………………………………………………… 
…………………………………………… 
ความคิดเห็นของครู……………………………………………………….…………… 
……………………………………………………………….…………………… 
………………………… 
ข้อเสนอแนะ………………………………………………………………………… 
…………………………………………………………………………….…… 
……………………………… 
ผู้สังเกต…………………………...
การสรา้งแบบบนัทกึการสงัเกต 
 กาหนดพฤติกรรมหรือคุณลักษณะที่ตอ้งการสังเกต 
 แยกแยะพฤติกรรมที่ตอ้งการสังเกตออกเป็นพฤติกรรมย่อยๆ 
ที่สามารถสังเกตเห็นไดเ้ป็นรูปธรรม เช่น ตอ้งการวัดความ 
สนใจในการเรียน พฤติกรรมย่อยๆ ที่สังเกตเห็นได้ เช่น เขา้ 
เรียนสม่าเสมอ ร่วมทากิจกรรมกลมุ่ตามบทบาท กระตือรือรน้ 
ในการเรียน เป็นตน้ 
 เลือกรูปแบบของแบบบันทึกขอ้มูลที่ใชป้ระกอบการสังเกต 
 วางแผนการสังเกตว่าจะสังเกตช่วงเวลาใดหรือสถานการณ์ใด 
ใครเป็นผูสั้งเกต สังเกตกี่ครั้ง 
 กาหนดหลกัเกณฑ์การใหค้ะแนนในแต่ละพฤติกรรมย่อย
คุณภาพของการสังเกตและเเบบบันทึกการสังเกต 
 การนิยามพฤติกรรมที่ตอ้งการสังเกต ตอ้งชัดเจน 
สังเกตได้เขา้ใจตรงกันการตรวจสอบคุณภาพเนน้ที่ 
ความตรงเชงิเนื้อหาเป็นสาคัญ 
 ในการสังเกต หากผูถู้กสังเกตมีพฤติกรรมเปลี่ยนไป 
เนื่องจากรูตั้วว่ากาลังถูกสังเกตพฤติกรรมขอ้มูลทไี่ด้ 
อาจผิดพลาดได้ 
 ผูสั้งเกตตอ้งไดรั้บการฝึกฝนและรูเ้รื่องที่จะสังเกตเป็น 
อย่างดี ซงึ่การสังเกตจะไดผ้ลดีหรือไม่เพียงใดขนึ้อยู่ 
กับความตัง้ใจ ประสาทสัมผัส และการรับรูข้องผู้ 
สังเกตซงึ่การรับรูเ้ป็นผลมาจากประสบการณ์และ 
ความสามารถของผูสั้งเกตเป็นสาคัญ
วธิีการและเครอื่งมอืทใี่ช้วดัพฤตกิรรมจติพสิยั 
การสมัภาษณ์ (Interview) 
 เป็นการสนทนาอย่างมีจุดมงุ่หมายตามวัตถุประสงค์ที่ 
เรากาหนดไวล้่วงหนา้ เพอื่ใหไ้ดข้อ้มูลโดยตรงจากผู้ 
ทเี่ราสนทนาดว้ย 
 ขอ้มูลทไี่ดเ้ป็นขอ้มูลเจาะลึกเฉพาะดา้นเกยี่วกับความ 
จริงหรือ ขอ้เท็จจริง ความรูส้กึ ความสนใจ ความ 
คิดเห็นและเจตคติ 
 เครื่องมือที่ใชป้ระกอบการสัมภาษณ์คือ แบบบันทึกการ 
สัมภาษณ์ มีลักษณะทัง้ที่กาหนดคาถาม คาตอบไว้ 
ล่วงหนา้ และทไี่ม่กาหนดคาถามตายตัว แต่จะกาหนด 
เป็นคาถามกวา้งๆ คือเปิดโอกาสใหผู้เ้รียนตอบได้ 
เต็มทแี่ละอาจนาคาตอบนั้นมาตัง้เป็นคาถามใหม่ได้
วธิีการและเครอื่งมอืทใี่ช้วดัพฤตกิรรมจติพสิยั 
การสอบถาม (Questionnaire) 
 เป็นการใหผู้เ้รียนเป็นผูร้ายงานตนเองตามขอ้คาถามที่ 
เตรียมไว้ 
 เป็นการสอบถามเรอื่งราวต่างๆ ทเี่นน้การใหข้อ้มูล 
เกยี่วกับความจริง ขอ้เท็จจริง หรือความคิดเห็น 
 คาตอบโดยมากไม่มีถูกหรือผิด การตอบใหผู้ต้อบทา 
เครื่องหมายในขอ้ที่ตอ้งการตอบ ซงึ่เรียกว่า 
แบบสอบถามปลายปิด หรือใหผู้ต้อบเขียนคาตอบ 
เอง ซงึ่เรียกว่า แบบสอบถามปลายเปิด 
 เนื้อหาที่ถามอาจเป็นขอ้มูลส่วนตัวของผูเ้รียน หรือ 
เกยี่วขอ้งกับพฤติกรรมการปฏิบัติตนของผูเ้รียนดา้นการ 
เรียน ลักษณะนิสัยการเรียน ความคิดเห็นต่อพฤติกรรม 
การสอนของครู เป็นตน้
แบบสอบถามมีลักษณะเป็นแบบตรวจสอบรายการ 
(Checklist) 
แบบสารวจความสนใจกจิกรรมดา้นศิลปะ 
รายการ ชอบ ไม่ชอบ 
1. เตน้รา 
2. แต่งเพลง 
3. วาดภาพ 
4. ตกแต่งบา้น 
5. เขียนบทละคร
แบบสอบถามเป็ นมาตราส่วนประมาณค่า 
(Rating Scale) 
แบบสารวจความสนใจกจิกรรมดา้นการอ่าน 
รายการ 5 4 3 2 1 
1.อ่านข่าวสารเรอื่งราวเกยี่วกับการเมือง 
การปกครอง 
2. อ่านข่าวสารเรอื่งราวดา้นเศรษฐกิจ 
3.อ่านข่าวสารเรื่องราวเกี่ยวกับการศึกษา 
4.อ่านข่าวสารเรอื่งราวเกยี่วกับเหตุการณ์ 
ทางสังคม 
5. อ่านเรอื่งราวดา้นบันเทิง สารคดี
วธิีการและเครอื่งมอืทใี่ช้วดัพฤตกิรรมจติพสิยั 
การใช้แบบวดัเชงิสถานการณ์ 
 เป็นการใช้สถานการณ์ต่างๆ แลว้ใหน้กัเรยีนพจิารณาว่า 
ในสถานการณ์เหล่านนั้ นกัเรยีน มคีวามรูส้กึ หรอืมคีวาม 
คดิเห็นอย่างไร หรอืนกัเรยีนจะทา อย่างไร 
 คา ตอบของนกัเรยีนจะไม่มผีดิหรอืถูก แต่คา ตอบจะเป็น 
ขอ้มูลบอกใหท้ราบว่าคุณลกัษณะในดา้นนนั้ๆ ทเี่รา 
ตอ้งการวดั นกัเรยีนมอียู่ในระดบัใด 
 การสรา้งแบบวดัเชงิสถานการณ์ จะมจีุดมุ่งหมายที่ 
แน่นอนว่าในแต่ละสถานการณ์ตอ้งการตรวจสอบ 
คุณลกัษณะดา้นใดของผูเ้รยีน 
 ตวัเลอืกจะมรีะดบัของคะแนนไม่เท่ากนั ซงึ่ขนึ้อยู่อยู่กบั 
ทฤษฎทีางดา้นจติวทิยาทนี่ามาใช้เป็นหลกัในการสรา้ง 
ตวัเลอืกเพอื่จะบอกว่า คุณลกัษณะดา้นจติใจของบุคคล 
นนั้ เกดิขนึ้หรอืมอียู่ในระดบัใด ตามทฤษฎนีนั้ๆ
ตวัอย่างการวดัค่านยิมในการเสยีสละ 
ถา้เพอื่นบา้นบา้นใกลเ้คยีงทรีู่จ้กัชอบพอกนั มาขอ 
ยมือุปกรณ์เครอื่งใช้บางอย่าง ถงึแมข้า้พเจา้จะ 
หวง แต่ขา้พเจา้ใหย้มืเพราะ 
1. เป็นเพอื่นบา้นทรีู่จั้กคงเอากลับคืนได้ 
2. คราวหนา้เราจะไดไ้ปยืมของเพื่อนบา้นมาใชบ้า้ง 
3. เป็นเพอื่นบา้นกันควรมีน้าใจต่อกัน 
4. เพอื่นบา้นจะไดเ้ห็นว่าเราเป็นคนมีน้าใจ 
5. การแบ่งปันกันใชเ้ป็นสงิ่ที่คนมีน้าใจควรปฏิบัติ 
6. สังคมจะอยู่ไดก้็ดว้ยน้าใจที่เอื้อเฟื้อต่อกัน
การสรา้งเครอื่งมอืวดัพฤตกิรรมจติพสิยั 
ขนั้ตน้ 
1. ระบุความตอ้งการหรอืเป้าหมายของสงิ่ทตี่อ้งการวดั เช่นตอ้งการวดั 
เจตคตขิองนกัเรยีนทมี่ตี่อการประกอบอาชีพ หรอืตอ้งการวดัความมี 
วนิยัในตนเองของผูเ้รยีน เป็นตน้ 
2. ศกึษาคุณลกัษณะทตี่อ้งการวดัใหเ้ขา้ใจถ่องแท้ เพอื่การกาหนด 
คุณลกัษณะ เป็นประเด็นทชี่ดัเจน หรอืแยกเป็นดา้นๆ ซึ่งอาจเป็น 
คุณลกัษณะตามทฤษฎหีรอืตามหลกัวชิา หรอืเป็นคุณลกัษณะทไี่ด้ 
จากแหล่งขอ้มูลในเรอื่งนนั้ๆ โดยตรง 
3. นาคุณลกัษณะทตี่อ้งการวดั มาเขยีนในลกัษณะของนยิามปฏบิตักิาร 
หรอืเขยีนในลกัษณะของพฤตกิรรมทแี่สดงออกซงึ่สามารถวดัได้ 
เพอื่ใหคุ้ณลกัษณะทจี่ะวดัอยู่ในรูปของพฤตกิรรมทสี่งัเกตและวดัได้ 
หรอืกาหนดขอบข่าย ประเด็นหลกัและรายการของสงิ่ทจี่ะถามในแต่ 
ละเรอื่งนนั้ของการวดันนั้ใหช้ดัเจนและครอบคลุมสงิ่ทตี่อ้งการวดั
การสรา้งเครอื่งมอืวดัพฤตกิรรมจติพสิยั 
ขนั้ดา เนนิการสรา้ง 
4. กาหนดวธิีการวดัหรอืเครอื่งมอืทใี่ช้ในการวดั ว่าจะเป็นการสงัเกต 
สมัภาษณ์ แบบสอบถาม แบบวดัเชงิสถานการณ์ หรอืมาตรวดั 
พรอ้มทงั้รูปแบบและประเภทของคา ถามใหเ้หมาะกบัเรอื่งทจี่ะวดัและ 
ลกัษณะของผูเ้รยีนแต่ละระดบัว่า ควรเป็นคา ถามลกัษณะใด 
5. สรา้งเครอื่งมอืตามลกัษณะและชนดิของเครอื่งมอืทกี่าหนด ซึ่งมี 
รายละเอยีดของการสรา้งขอ้คา ถามทแี่ตกต่างกนัออกไปตามชนดิของ 
เครอื่งมอื 
6. ตรวจสอบคุณภาพของเครอื่งมอื ทงั้ในดา้นความตรง ความเป็น 
ปรนยั ความชดัเจนของภาษา หรอืความเหมาะสมของขอ้ความ 
รวมทงั้การจดัเรยีงขอ้ความ ทงั้นี้ในการตรวจสอบคุณภาพ เป็นไป 
ตามลกัษณะของเครอื่งมอืวดัแต่ละชนดิทอี่าจแตกต่างกนับา้งในบาง 
ประเด็น สา หรบัการตรวจสอบคุณภาพขนั้นี้โดยการ 
6.1 ตรวจสอบขอ้คา ถามเหล่านนั้ดว้ยตนเอง แลว้ทาการปรบัปรุง 
แกไ้ข 
6.2 ใหผู้เ้ชี่ยวชาญตรวจสอบความตรงเชงิเนื้อหา องคป์ระกอบ 
ของเครอื่งมอืวดัทดีี่ ความชดัเจนและความถูกตอ้งของภาษาทใี่ช้ นา 
ขอ้มูลทไี่ดจ้ากผูเ้ชี่ยวชาญมาปรบัปรุงตามความเหมาะสม
การสรา้งเครอื่งมอืวดัพฤตกิรรมจติพสิยั 
ขนั้ดา เนนิการสรา้ง 
7. นาเครอื่งมอืทสี่รา้งไปทดลองใช้กบัผูเ้รยีนทไี่ม่ใช่ผูเ้รยีนจรงิทจี่ะวดั 
เพอื่ดูความเป็นปรนยั ความเหมาะสมของภาษาทใี่ช้ คอืดูว่าขอ้ 
คา ถามนนั้เขา้ใจตรงกนัหรอืไม่ มคีวามเขา้ใจในขอ้คา ถามเพียงใด 
คา ถามชดัเจนเขา้ใจง่ายหรอืไม่ มคีา ตอบทคี่วรจะเป็นครบหรอืไม่ 
ถา้เป็นคา ถามปลายเปิดมทีวี่่างเพยีงพอทจี่ะตอบหรอืไม่ ทสี่า คญั 
คอืคา ชี้แจง ผูต้อบมคีวามเขา้ใจคา ชี้แจงมากน้อยเพยีงใด 
8. นาผลทไี่ดจ้ากการทดลองใช้มาวเิคราะหค์ุณภาพรายขอ้ แลว้ 
ปรบัปรุงแกไ้ขตามผลการทดลองใช้ในดา้นความเป็นปรนยั และ 
ตามผลการวเิคราะห์ 
9. ทดลองใช้ แลว้นาผลการทดลองใช้มาวเิคราะหค์ุณภาพรายขอ้ และ 
คุณภาพทงั้ฉบบัดา้นความตรง และความเทยี่ง นาขอ้มูลทไี่ด้มา 
ปรบัปรุงแกไ้ข 
10. สรา้งเกณฑก์ารแปลความหมายของคะแนน เมอื่เครอื่งมอืมคีุณภาพ 
ดแีลว้และจดัพมิพเ์ครอื่งมอืวดัเป็นฉบบัสมบูรณ์ต่อไป
การตรวจสอบคุณภาพของเครอื่งมอืวดัพฤตกิรรมจติพสิยั 
ความตรง (Validity) 
หมายถงึ ความสามารถของเครอื่งมอืในการวดัไดต้รงกบัสงิ่ทตี่อ้งการ 
วดั ในการตรวจสอบความตรงของเครอื่งมอืวดัจติพสิยั เน้นการ 
ตรวจสอบความตรงตามคุณลกัษณะหรอืความตรงตามโครงสรา้งหรอื 
ความตรงตามทฤษฎี(Construct validity) ซึ่งหมายถงึ 
ความสามารถของเครอื่งมอืในการวดัไดต้รงตามพฤตกิรรมหรอื 
คุณลกัษณะ (Trait) ทางจติวทิยาทตี่อ้งการวดัซงึ่เป็นโครงสรา้งของ 
เรอื่งนนั้ๆ ตามทกี่าหนดไวใ้นทฤษฎเีรอื่งนนั้ๆ โดยตรวจสอบว่า 
ขอ้ความในเครอื่งมอืวดัแต่ละขอ้ความหรอืแต่ละตวัเลอืกนนั้ วดั 
คุณลกัษณะ ไดต้ามโครงสรา้งทางทฤษฎขีองสงิ่ทจี่ะวดัหรอืไม่การ 
ตรวจสอบความตรงชนดินี้ส่วนใหญ่ใช้กบัเครอื่งมอืทวี่ดัคุณลกัษณะที่ 
เป็นนามธรรมซึ่งวดัโดยตรงไดย้าก เช่น เชาวป์ัญญา ความสนใจ 
เจตคติ ความพงึพอใจ ค่านยิม บุคลกิภาพ คุณธรรม จรยิธรรม 
เป็นตน้
การตรวจสอบรายขอ้และรายตวัเลอืก 
 โดยการใช้ผูเ้ชี่ยวชาญ (Expert) ช่วยตรวจสอบซึ่งคลา้ยคลงึกบั 
การตรวจสอบความตรงเชงิเนื้อหา กล่าวคอื เป็นการหาดชันีความ 
สอดคลอ้ง (Index of Congruence) ของความคดิเห็นของ 
ผูเ้ชี่ยวชาญ 
 การใช้เทคนคิกลุ่มรูช้ดั (Known Group Technique) โดยการ 
เลอืกกลุ่มตวัอย่างใหไ้ด้2 กลุ่ม คอืกลุ่มทมี่แีละกลุ่มทไี่ม่มพีฤตกิรรม 
หรอืคุณลกัษณะทตี่อ้งการวดั นาเครอื่งมอืวดัไปวดักบักลุ่มรูช้ดัทงั้ 2 
กลุ่ม แลว้นาผลการวดัแต่ละขอ้ความในแต่ละกลุ่ม มาหาค่าเฉลยี่และ 
ความแปรปรวน แลว้เปรยีบเทยีบความแตกต่างของค่าเฉลยี่ของ 2 
กลุ่มนนั้ 
 การหาค่าสหสมัพนัธข์องคะแนนรายขอ้ กบัคะแนนรวมขอ้ทเี่หลอื
อานาจจาแนก (Discrimination) 
 หมายถึง ความสามารถของเครอื่งมือในการ 
จาแนกคนออกเป็น 2 กลมุ่ ได้ คือ คนทมีี่ 
คุณลักษณะนั้นสูง กับคนทมีี่คุณลักษณะนั้นต่า 
ซงึ่สังเกตไดจ้ากคะแนนที่ไดจ้ากการวัดดว้ย 
เครอื่งมือชนิดนั้นๆ ถา้บุคคลนั้นไดค้ะแนนจาก 
แบบวดัสูงแสดงว่ามีคุณลักษณะนั้นมาก ถา้ได้ 
คะแนนจากแบบวัดต่า แสดงว่ามีคุณลักษณะ 
นั้นนอ้ย
การตรวจสอบความตรงรายฉบบั 
 การใช้เทคนคิกลุ่มรูช้ดั 
 การหาค่าสหสมัพนัธร์ะหว่างคะแนนทไี่ดจ้ากแบบ 
วดัทสี่รา้งขนึ้กบัคะแนนทไี่ดจ้ากแบบวดัทเี่ป็น 
มาตรฐานทวี่ดัคุณลกัษณะเดยีวกนั 
 การวเิคราะหอ์งคป์ระกอบ (Factor Analysis) 
 เทคนคิการวดัหลายคุณลกัษณะโดยใช้การวดั 
หลายวธิี
ความเทยี่ง (Reliability) 
 หมายถึง ความสามารถของเครอื่งมือในการ 
ใหผ้ลการวัดผูเ้รียนกลมุ่เดียวกันทคี่งทแี่น่นอน 
หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งคือความคงเสน้คงวาของ 
ผลการวัดหลายๆ ครั้งของผูเ้รียนในกลมุ่เดียวกัน 
ถา้เครอื่งมือวัดมีความเทยี่งสูงไม่ว่าจะทาการวัด 
กคี่รั้งผูเ้รียนคนเดิมก็จะไดค้ะแนนหรืออันดบัที่ 
คงเดิมไม่เปลยี่นแปลง ถา้เครอื่งมือวัดมีความ 
เทยี่งต่าผลการวัดก็จะเปลยี่นแปลงไปจากเดิม
การคา นวณหาค่าความเทยี่ง 
 การวัดความคงที่โดยการสอบซ้า 
 วิธีการใชแ้บบวัดคู่ขนาน 
 วิธีการหาความสอดคลอ้งภายใน 
 
 
 
 
 
 
   
 
 
 
n 
 
2 
t 
2 
i 
s 
s 
1 
n 1 
N  xy  x  
y 
N x2 ( x)2  N y2 ( y)2  
rxy 
      

ปัจจยัทสี่่งผลต่อความเทยี่งของแบบวดั 
 ลักษณะของกลุ่มตัวอย่าง 
 ขนาดของกลุ่มตัวอย่าง ประมาณ 6 - 10 เท่า 
ของจานวนขอ้ (Gable. 1986) 
 ความเป็นเอกพันธ์ของขอ้คาถามในแบบวัด 
 จานวนขอ้คาถามหรือขอ้ความในแบบวัด
Question & Answer

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมเคลื่อนไหวแล (1)
แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง-   กิจกรรมเคลื่อนไหวแล (1)แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง-   กิจกรรมเคลื่อนไหวแล (1)
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมเคลื่อนไหวแล (1)krutitirut
 
แบบประเมินหน่วยปฐมนิเทศ
แบบประเมินหน่วยปฐมนิเทศแบบประเมินหน่วยปฐมนิเทศ
แบบประเมินหน่วยปฐมนิเทศkruuni
 
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 5
แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง- กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 5แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง- กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 5
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 5krutitirut
 
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมสร้างสรรค์ 5 ขวบ
แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง- กิจกรรมสร้างสรรค์ 5 ขวบแผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง- กิจกรรมสร้างสรรค์ 5 ขวบ
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมสร้างสรรค์ 5 ขวบkrutitirut
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 10
สุขฯ ม.2 หน่วย 10สุขฯ ม.2 หน่วย 10
สุขฯ ม.2 หน่วย 10supap6259
 
การสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติ
การสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติการสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติ
การสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติNU
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 4
สุขฯ ม.2 หน่วย 4สุขฯ ม.2 หน่วย 4
สุขฯ ม.2 หน่วย 4supap6259
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...Kobwit Piriyawat
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7supap6259
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 5
สุขฯ ม.2 หน่วย 5สุขฯ ม.2 หน่วย 5
สุขฯ ม.2 หน่วย 5supap6259
 
(นำเสนอ) สุขศึกษา
(นำเสนอ) สุขศึกษา(นำเสนอ) สุขศึกษา
(นำเสนอ) สุขศึกษาkruictsmp37
 
แผนการจัดประสบการณ์ พระคุณแม่ - กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 4 ข
แผนการจัดประสบการณ์   พระคุณแม่ - กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 4 ขแผนการจัดประสบการณ์   พระคุณแม่ - กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 4 ข
แผนการจัดประสบการณ์ พระคุณแม่ - กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 4 ขkrutitirut
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6supap6259
 
วันลอยกระทง12 16
วันลอยกระทง12 16วันลอยกระทง12 16
วันลอยกระทง12 16krutitirut
 
ส่วนหน้า ตอนที่ 2
ส่วนหน้า ตอนที่ 2ส่วนหน้า ตอนที่ 2
ส่วนหน้า ตอนที่ 2supap6259
 

Mais procurados (20)

แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมเคลื่อนไหวแล (1)
แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง-   กิจกรรมเคลื่อนไหวแล (1)แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง-   กิจกรรมเคลื่อนไหวแล (1)
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมเคลื่อนไหวแล (1)
 
แบบประเมินหน่วยปฐมนิเทศ
แบบประเมินหน่วยปฐมนิเทศแบบประเมินหน่วยปฐมนิเทศ
แบบประเมินหน่วยปฐมนิเทศ
 
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 5
แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง- กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 5แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง- กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 5
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 5
 
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมสร้างสรรค์ 5 ขวบ
แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง- กิจกรรมสร้างสรรค์ 5 ขวบแผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง- กิจกรรมสร้างสรรค์ 5 ขวบ
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมสร้างสรรค์ 5 ขวบ
 
Krathong5
Krathong5Krathong5
Krathong5
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 10
สุขฯ ม.2 หน่วย 10สุขฯ ม.2 หน่วย 10
สุขฯ ม.2 หน่วย 10
 
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์
 
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์
 
การสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติ
การสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติการสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติ
การสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติ
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 4
สุขฯ ม.2 หน่วย 4สุขฯ ม.2 หน่วย 4
สุขฯ ม.2 หน่วย 4
 
Pca
PcaPca
Pca
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
 
09chap7
09chap709chap7
09chap7
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 5
สุขฯ ม.2 หน่วย 5สุขฯ ม.2 หน่วย 5
สุขฯ ม.2 หน่วย 5
 
(นำเสนอ) สุขศึกษา
(นำเสนอ) สุขศึกษา(นำเสนอ) สุขศึกษา
(นำเสนอ) สุขศึกษา
 
แผนการจัดประสบการณ์ พระคุณแม่ - กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 4 ข
แผนการจัดประสบการณ์   พระคุณแม่ - กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 4 ขแผนการจัดประสบการณ์   พระคุณแม่ - กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 4 ข
แผนการจัดประสบการณ์ พระคุณแม่ - กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 4 ข
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6
 
วันลอยกระทง12 16
วันลอยกระทง12 16วันลอยกระทง12 16
วันลอยกระทง12 16
 
ส่วนหน้า ตอนที่ 2
ส่วนหน้า ตอนที่ 2ส่วนหน้า ตอนที่ 2
ส่วนหน้า ตอนที่ 2
 

Semelhante a Affective2

บทความ2
บทความ2บทความ2
บทความ2duenka
 
Part 31
Part 31Part 31
Part 31Aaesah
 
การสร้างวินัยและจัดการชั้นเรียน โดย ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
การสร้างวินัยและจัดการชั้นเรียน โดย ผอ.เชิดศักดิ์  ศุภโสภณการสร้างวินัยและจัดการชั้นเรียน โดย ผอ.เชิดศักดิ์  ศุภโสภณ
การสร้างวินัยและจัดการชั้นเรียน โดย ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณKobwit Piriyawat
 
คุณลักษณะของครูที่ดี
คุณลักษณะของครูที่ดีคุณลักษณะของครูที่ดี
คุณลักษณะของครูที่ดีniralai
 
หลักสูตร
หลักสูตรหลักสูตร
หลักสูตรPat1803
 
Presentation 2013-01-11 My experience on Coaching
Presentation 2013-01-11 My experience on CoachingPresentation 2013-01-11 My experience on Coaching
Presentation 2013-01-11 My experience on CoachingNopporn Thepsithar
 
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth025cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02Mai Amino
 
Psychology1
Psychology1Psychology1
Psychology1New Born
 
การจะมีอีคิวที่ดีในชีวิตคู่และความรัก
การจะมีอีคิวที่ดีในชีวิตคู่และความรักการจะมีอีคิวที่ดีในชีวิตคู่และความรัก
การจะมีอีคิวที่ดีในชีวิตคู่และความรักSarid Tojaroon
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2supap6259
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1supap6259
 
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงการศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงKru Tew Suetrong
 
ทรรศนะ2
ทรรศนะ2ทรรศนะ2
ทรรศนะ2krubuatoom
 
1281507500 sex 3
1281507500 sex 31281507500 sex 3
1281507500 sex 3Nok Tiwung
 
สรุปแบบย้อนกลับ แก้ไขด้วย
สรุปแบบย้อนกลับ แก้ไขด้วยสรุปแบบย้อนกลับ แก้ไขด้วย
สรุปแบบย้อนกลับ แก้ไขด้วยkrunakhonch
 
จิตปัญญาศึกษา จำเรียง
จิตปัญญาศึกษา  จำเรียงจิตปัญญาศึกษา  จำเรียง
จิตปัญญาศึกษา จำเรียงchamriang
 
คุณธรรมและมารยาทในการสื่อสาร
คุณธรรมและมารยาทในการสื่อสารคุณธรรมและมารยาทในการสื่อสาร
คุณธรรมและมารยาทในการสื่อสารkrubuatoom
 

Semelhante a Affective2 (20)

บทความ2
บทความ2บทความ2
บทความ2
 
Part 31
Part 31Part 31
Part 31
 
การสร้างวินัยและจัดการชั้นเรียน โดย ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
การสร้างวินัยและจัดการชั้นเรียน โดย ผอ.เชิดศักดิ์  ศุภโสภณการสร้างวินัยและจัดการชั้นเรียน โดย ผอ.เชิดศักดิ์  ศุภโสภณ
การสร้างวินัยและจัดการชั้นเรียน โดย ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
 
คุณลักษณะของครูที่ดี
คุณลักษณะของครูที่ดีคุณลักษณะของครูที่ดี
คุณลักษณะของครูที่ดี
 
หลักสูตร
หลักสูตรหลักสูตร
หลักสูตร
 
Presentation 2013-01-11 My experience on Coaching
Presentation 2013-01-11 My experience on CoachingPresentation 2013-01-11 My experience on Coaching
Presentation 2013-01-11 My experience on Coaching
 
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth025cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02
 
51105
5110551105
51105
 
Psychology1
Psychology1Psychology1
Psychology1
 
Psychology1
Psychology1Psychology1
Psychology1
 
การจะมีอีคิวที่ดีในชีวิตคู่และความรัก
การจะมีอีคิวที่ดีในชีวิตคู่และความรักการจะมีอีคิวที่ดีในชีวิตคู่และความรัก
การจะมีอีคิวที่ดีในชีวิตคู่และความรัก
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1
 
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงการศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
 
ทรรศนะ2
ทรรศนะ2ทรรศนะ2
ทรรศนะ2
 
สรุการเรียนรู้ 20 24ตค.57
สรุการเรียนรู้ 20 24ตค.57สรุการเรียนรู้ 20 24ตค.57
สรุการเรียนรู้ 20 24ตค.57
 
1281507500 sex 3
1281507500 sex 31281507500 sex 3
1281507500 sex 3
 
สรุปแบบย้อนกลับ แก้ไขด้วย
สรุปแบบย้อนกลับ แก้ไขด้วยสรุปแบบย้อนกลับ แก้ไขด้วย
สรุปแบบย้อนกลับ แก้ไขด้วย
 
จิตปัญญาศึกษา จำเรียง
จิตปัญญาศึกษา  จำเรียงจิตปัญญาศึกษา  จำเรียง
จิตปัญญาศึกษา จำเรียง
 
คุณธรรมและมารยาทในการสื่อสาร
คุณธรรมและมารยาทในการสื่อสารคุณธรรมและมารยาทในการสื่อสาร
คุณธรรมและมารยาทในการสื่อสาร
 

Mais de TupPee Zhouyongfang

Mapทฤษฎีการเรียนรู้
Mapทฤษฎีการเรียนรู้Mapทฤษฎีการเรียนรู้
Mapทฤษฎีการเรียนรู้TupPee Zhouyongfang
 
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอนทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอนTupPee Zhouyongfang
 
เรียนภาษาจีนง่ายนิดเดียว
เรียนภาษาจีนง่ายนิดเดียวเรียนภาษาจีนง่ายนิดเดียว
เรียนภาษาจีนง่ายนิดเดียวTupPee Zhouyongfang
 
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้TupPee Zhouyongfang
 
การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนChapter8
การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนChapter8การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนChapter8
การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนChapter8TupPee Zhouyongfang
 
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา C6
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา C6เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา C6
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา C6TupPee Zhouyongfang
 
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้TupPee Zhouyongfang
 
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้TupPee Zhouyongfang
 
การเปินแบบย่อยและแบบรวม
การเปินแบบย่อยและแบบรวมการเปินแบบย่อยและแบบรวม
การเปินแบบย่อยและแบบรวมTupPee Zhouyongfang
 
การประเมินผลแบบย่อยและแบบรวม
การประเมินผลแบบย่อยและแบบรวมการประเมินผลแบบย่อยและแบบรวม
การประเมินผลแบบย่อยและแบบรวมTupPee Zhouyongfang
 
การประเมินแฟ้ม
การประเมินแฟ้มการประเมินแฟ้ม
การประเมินแฟ้มTupPee Zhouyongfang
 
การประเมินตาสภาพจริง
การประเมินตาสภาพจริงการประเมินตาสภาพจริง
การประเมินตาสภาพจริงTupPee Zhouyongfang
 
สรุปการวัดประเมินผล
สรุปการวัดประเมินผลสรุปการวัดประเมินผล
สรุปการวัดประเมินผลTupPee Zhouyongfang
 

Mais de TupPee Zhouyongfang (20)

Mapทฤษฎีการเรียนรู้
Mapทฤษฎีการเรียนรู้Mapทฤษฎีการเรียนรู้
Mapทฤษฎีการเรียนรู้
 
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอนทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
 
เรียนภาษาจีนง่ายนิดเดียว
เรียนภาษาจีนง่ายนิดเดียวเรียนภาษาจีนง่ายนิดเดียว
เรียนภาษาจีนง่ายนิดเดียว
 
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
 
การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนChapter8
การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนChapter8การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนChapter8
การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนChapter8
 
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา C6
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา C6เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา C6
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา C6
 
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้
 
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้
 
การเปินแบบย่อยและแบบรวม
การเปินแบบย่อยและแบบรวมการเปินแบบย่อยและแบบรวม
การเปินแบบย่อยและแบบรวม
 
การประเมินผลแบบย่อยและแบบรวม
การประเมินผลแบบย่อยและแบบรวมการประเมินผลแบบย่อยและแบบรวม
การประเมินผลแบบย่อยและแบบรวม
 
Eva plan
Eva planEva plan
Eva plan
 
Grading1
Grading1Grading1
Grading1
 
Psychomotor
PsychomotorPsychomotor
Psychomotor
 
Itemcons
ItemconsItemcons
Itemcons
 
Item analysis
Item analysisItem analysis
Item analysis
 
การประเมินแฟ้ม
การประเมินแฟ้มการประเมินแฟ้ม
การประเมินแฟ้ม
 
การประเมินตาสภาพจริง
การประเมินตาสภาพจริงการประเมินตาสภาพจริง
การประเมินตาสภาพจริง
 
แนวคิด
แนวคิดแนวคิด
แนวคิด
 
สรุปการวัดประเมินผล
สรุปการวัดประเมินผลสรุปการวัดประเมินผล
สรุปการวัดประเมินผล
 
สถิติStat
สถิติStatสถิติStat
สถิติStat
 

Affective2

  • 1. การวดัพฤตกิรรม ดา้นจติพสิยั อาจารย์ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์สมพงษ์ พันธุรัตน์
  • 2. ลักษณะทางจิตพิสัย  ความรู้สึก อารมณ์ การแสดงออก ค่านิยม ทัศนคติ ความชื่นชม การปรับตัว ความเป็น ผู้นา มนุษยสัมพันธ์ มองโลกในแง่ดี ขี้กังวล เจ้าระเบียบ มั่นใจในตนเอง รับผิดชอบ ข่มขู่ผู้อื่น จงรักภักดี เจ้าอารมณ์ เข้มแข็ง อดทน อยากรู้อยากเห็น กล้าได้กล้าเสีย ทะเยอทะยาน มีน้า ใจ พอใจในสิ่งที่ตนมีอยู่ โลเล มีอารมณ์ขัน ซื่อสัตย์ ขวนขวายหา ความรู้ ก้าวร้าว ปรับตัวเก่ง ยืดหยุ่น สารวม ชอบสังคม อารมณ์อ่อนไหว อารมณ์มั่นคง ถ่อมตน ถือตนเป็นใหญ่ ถี่ถ้วน ตามสบาย ไม่ทา ตามกฎ ซื่อตรงต่อหน้าที่ ขี้อาย กล้า จิตใจกล้าแข็ง อ่อนแอ ไว้ใจคน ระแวง ทา ตามความจริง เพ้อเจ้อ ตรงไปตรงมา มีเล่ห์ เหลี่ยม ประสาทมั่นคง หวาดกลัว อนุรักษ์ ชอบทดลอง ตามกลุ่ม เป็นตัวของตัวเอง ขัดแย้งในตัว ควบคุมตัวเอง ผ่อนคลาย เคร่งเครียด ใฝ่สัมฤทธ์ิสูง ข่มคนอื่น ยกย่องผู้อื่น ชอบการเปลี่ยนแปลง ชอบอิสระ มีไมตรีกับผู้อื่น ชอบคบเพื่อนต่างเพศ เข้าใจตนเองและ ผู้อื่น ชอบช่วยเหลือผู้อื่น กล้าเสี่ยง วิตกกังวล เข้าสังคม ลังเล คิดในแง่บวก เมตตากรุณา
  • 3. พฤตกิรรมดา้นจติพสิยั  เป็นพฤตกิรรมทเี่กดิขนึ้ภายใจจติใจของมนุษยเ์กยี่วขอ้ง กบัความรูส้กึ อารมณ์และจติใจของบุคคล เช่น ความ สนใจ ความซาบซงึ้ เจตคติ ค่านยิม ความตอ้งการ การปรบัตวั คุณธรรม จรยิธรรม บุคลกิภาพ เป็นตน้  เป็นสงิ่ทสี่รา้งสมขนึ้จนเป็นลกัษณะเฉพาะของแต่ละบุคคล  การเกดิจติพสิยัภายในตวับุคคลนนั้ จะพฒันาจากระดบั ต่า จนถงึระดบัสูง ไดแ้ก่ การรบัรู้ การตอบสนอง การสรา้งคุณค่า การจดัระบบคุณค่า และ การสรา้งลกัษณะนสิยั  การพฒันาใหเ้กดิจติพสิยัในระดบัสูงตอ้งอาศยัพนื้ฐาน ระดบัการเรยีนรูท้ตี่่า กว่า
  • 4. ธรรมชาตขิองการวดัจติพสิยั  เป็นคุณลกัษณะดา้นจติใจทมี่องไม่เห็นหรอื เป็ นนามธรรม  เป็นการวดัทางออ้ม  การวดัจติพสิยัมคีวามคลาดเคลอื่นในการวดั เกดิขนึ้ไดง้่าย  อาจมกีารเสแสรง้และบดิเบอืนคา ตอบของผูถู้กวดั  การตอบของผูถู้กวดัมลีกัษณะเป็นไปตามทสี่งัคม มุ่งหวงั
  • 5. องคป์ระกอบของพฤตกิรรมจติพสิยั  เป็นลักษณะที่แสดงออกถึงอารมณ์หรือความรูสึ้กของบุคคล ในการวัดจิตพิสัยจึงตอ้งใชเ้ครื่องมือวัดที่แสดงออกใน ลักษณะของอารมณ์และความรูสึ้ก  เป็นลักษณะที่มีแบบแผนเฉพาะคน คนที่มีความรูสึ้กอย่าง เดียวกันไม่จาเป็นตอ้งมีการแสดงออกทเี่หมือนกัน  มีทิศทาง ความรูสึ้กของบุคคลมีทิศทางเป็นไปในทางที่พึง ปรารถนาหรือไม่พึงปรารถนา ชอบหรือไม่ชอบ พอใจหรือไม่ พอใจ  มีความเขม้ ระดับความรูสึ้กของบุคคลที่มีต่อเป้าหมายนั้นๆ มีทัง้ปรารถนามาก นอ้ย ชอบมากชอบนอ้ย เป็นตน้  เป้าหมายของการวัด เป็นสิ่งที่บุคคลตอ้งการแสดงความรูสึ้ก ลงไปใหชั้ดเจนและแน่นอนว่า ความรูสึ้กนั้นเป็นความรูสึ้ก ของบุคคลที่มีต่อสิ่งใด
  • 6. หลกัการวดัพฤตกิรรมจติพสิยั  วดัใหค้รอบคลุมพฤตกิรรมหรอืคุณลกัษณะที่ ตอ้งการวดั  วดัหลายๆ ครงั้ และใช้เทคนคิการวดัหลายวธิี  วดัผลอย่างต่อเนอื่ง  ตอ้งอาศยัความร่วมมอืจากผูท้ถีู่กวดัเป็นอย่างดี  ใช้ผลการวดัใหถู้กตอ้ง
  • 7. วธิกีารและเครอื่งมอืทใี่ช้วดั พฤตกิรรมจติพสิยั การสงัเกต (Observation)  เป็นวิธีการหนงึ่ในการเก็บรวบรวมขอ้มูลเกยี่วกับพฤติกรรมของ ผูเ้รียน ทัง้ในหอ้งเรียนและนอกหอ้งเรียน  เครื่องมือชนิดนี้ใชค้รูหรือตัวบุคคลทาหนา้ที่ในการวัดโดยใช้ ประสาทสัมผัสทัง้หา้โดยเฉพาะทางตาและหูเป็นสาคัญ  ลักษณะของการสังเกตจะปล่อยใหส้ภาพการณ์ต่างๆ ดาเนินไป ตามธรรมชาติ ในการเรียนการสอนการสังเกตทาใหค้รูทราบ ขอ้มูลที่ลึกซงึ้เกี่ยวกับคุณลักษณะของผูเ้รียน ซงึ่เห็นไดจ้าก พฤติกรรมทแี่สดงออกมา  คุณลักษณะต่างๆ ไดแ้ก่ ความสนใจ นิสัยการเรียน การมีส่วน ร่วมในการปฏิบัติงาน
  • 8. ตวัอย่างพฤตกิรรมการเรยีนรูท้สี่ามารถวดัไดโ้ดยการสงัเกต คุณลักษณะ พฤติกรรมทแี่สดงออก ความสนใจ ความใส่ใจต่อการศกึษาวิชาต่างๆ การทางาน การใฝ่รูห้รือการ แสวงหาความรูการร่วมแสดงความคดิเห็นต่างๆ นิสัยการเรียน การเตรียมพรอ้มในการเรียน การใชเ้วลาว่างใหเ้ป็นประโยชน์ ความ รับผิดชอบ ความกระตือรือรน้ ความซาบซงึ้การแสดงความชื่นชม ชื่นชอบต่อวิชาที่เรียน พอใจและสนุกสนาน กับการทากจิกรรมเกี่ยวกับงานศลิปะ ดนตรี วัฒนธรรม ธรรมชาติ เจตคติ -ทางวิทยาศาสตร์ -ทางสังคม ยอมรับฟังผูอ้นื่ ใฝ่รู้มีเหตุผล มีทักษะการคดิ ไม่ด่วนสรุปจนกว่าจะ มีหลักฐานที่ชัดเจน การมีสัมมาคารวะ เคารพกฎกตกิา เคารพสทิธขิองผูอื้่น ความ ปรารถนาที่จะช่วยเหลือสังคม การปรับตัว ความสัมพันธ์กับผูอื้่น ปฏิกริิยาต่อคาชมและคาวิจารณ์ความมั่นคง ทางอารมณ์ การปรับตัวทางสังคม
  • 9. แบบสงัเกตทมี่ลีกัษณะเป็นแบบตรวจสอบรายการ (Checklist) พฤตกิรรม ใช่ไม่ใช่ 1. มาเรียนเป็นประจา 2. ตัง้ใจทากจิกรรมแมไ้ม่มีครูอยดู่ว้ย 3. ซักถามครูเมื่อมีปัญหา 4. ร่วมอภิปราย 5. มีความกระตือรือรน้ในการเรียน รวมคะแนน
  • 10. แบบสงัเกตทมี่ลีกัษณะเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating scale) พฤติกรรมที่สังเกต ระดับความถขี่องพฤติกรรม เสมอๆ (5) บ่อยๆ (4) บางครั้ง (3) นานๆ ครั้ง (2) ไม่เคยเลย (1) 1. มาเรียนเป็นประจา 2.ตัง้ใจทากจิกรรมแมไ้ม่มีครูอยดู่ว้ย 3. ซักถามครูเมื่อมีปัญหา 4. ร่วมอภิปราย 5. มีความกระตือรือรน้ในการเรียน รวมคะแนน
  • 11. แผนภูมิการมีส่วนร่วม (Participation Chart) ชื่อสมาชกิ ในกลมุ่ ความรับผิดชอบ การใหค้วาม ร่วมมือ การร่วม อภิปราย การทางาน ทไี่ดรั้บ มอบหมาย ร่วมกัน แก้ ปัญหา 1. ฟ้าสวย // /// /// /// 2. ฟ้าใส /// / /// // 3. เหินฟ้า // /// /// // 4. เมฆงาม /// // // //
  • 12. ระเบียนพฤติการณ์ (Anecdotal) การบันทึกพฤติการณ์ของผู้เรียน ชื่อผู้ถูกสังเกต………………………….วิชา……………………….…….ชั้น………… วัน เดือน ปี ที่สังเกต .…………เวลาที่สังเกต……………..สถานที่ที่สังเกต…………………… บันทึกพฤติกรรม/ผลการสังเกต ……….……………………………………………………..…………………… ……………………………………………………………………….…………… …………………………………………………………………………………… …………………………………………… ความคิดเห็นของครู……………………………………………………….…………… ……………………………………………………………….…………………… ………………………… ข้อเสนอแนะ………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………….…… ……………………………… ผู้สังเกต…………………………...
  • 13. การสรา้งแบบบนัทกึการสงัเกต  กาหนดพฤติกรรมหรือคุณลักษณะที่ตอ้งการสังเกต  แยกแยะพฤติกรรมที่ตอ้งการสังเกตออกเป็นพฤติกรรมย่อยๆ ที่สามารถสังเกตเห็นไดเ้ป็นรูปธรรม เช่น ตอ้งการวัดความ สนใจในการเรียน พฤติกรรมย่อยๆ ที่สังเกตเห็นได้ เช่น เขา้ เรียนสม่าเสมอ ร่วมทากิจกรรมกลมุ่ตามบทบาท กระตือรือรน้ ในการเรียน เป็นตน้  เลือกรูปแบบของแบบบันทึกขอ้มูลที่ใชป้ระกอบการสังเกต  วางแผนการสังเกตว่าจะสังเกตช่วงเวลาใดหรือสถานการณ์ใด ใครเป็นผูสั้งเกต สังเกตกี่ครั้ง  กาหนดหลกัเกณฑ์การใหค้ะแนนในแต่ละพฤติกรรมย่อย
  • 14. คุณภาพของการสังเกตและเเบบบันทึกการสังเกต  การนิยามพฤติกรรมที่ตอ้งการสังเกต ตอ้งชัดเจน สังเกตได้เขา้ใจตรงกันการตรวจสอบคุณภาพเนน้ที่ ความตรงเชงิเนื้อหาเป็นสาคัญ  ในการสังเกต หากผูถู้กสังเกตมีพฤติกรรมเปลี่ยนไป เนื่องจากรูตั้วว่ากาลังถูกสังเกตพฤติกรรมขอ้มูลทไี่ด้ อาจผิดพลาดได้  ผูสั้งเกตตอ้งไดรั้บการฝึกฝนและรูเ้รื่องที่จะสังเกตเป็น อย่างดี ซงึ่การสังเกตจะไดผ้ลดีหรือไม่เพียงใดขนึ้อยู่ กับความตัง้ใจ ประสาทสัมผัส และการรับรูข้องผู้ สังเกตซงึ่การรับรูเ้ป็นผลมาจากประสบการณ์และ ความสามารถของผูสั้งเกตเป็นสาคัญ
  • 15. วธิีการและเครอื่งมอืทใี่ช้วดัพฤตกิรรมจติพสิยั การสมัภาษณ์ (Interview)  เป็นการสนทนาอย่างมีจุดมงุ่หมายตามวัตถุประสงค์ที่ เรากาหนดไวล้่วงหนา้ เพอื่ใหไ้ดข้อ้มูลโดยตรงจากผู้ ทเี่ราสนทนาดว้ย  ขอ้มูลทไี่ดเ้ป็นขอ้มูลเจาะลึกเฉพาะดา้นเกยี่วกับความ จริงหรือ ขอ้เท็จจริง ความรูส้กึ ความสนใจ ความ คิดเห็นและเจตคติ  เครื่องมือที่ใชป้ระกอบการสัมภาษณ์คือ แบบบันทึกการ สัมภาษณ์ มีลักษณะทัง้ที่กาหนดคาถาม คาตอบไว้ ล่วงหนา้ และทไี่ม่กาหนดคาถามตายตัว แต่จะกาหนด เป็นคาถามกวา้งๆ คือเปิดโอกาสใหผู้เ้รียนตอบได้ เต็มทแี่ละอาจนาคาตอบนั้นมาตัง้เป็นคาถามใหม่ได้
  • 16. วธิีการและเครอื่งมอืทใี่ช้วดัพฤตกิรรมจติพสิยั การสอบถาม (Questionnaire)  เป็นการใหผู้เ้รียนเป็นผูร้ายงานตนเองตามขอ้คาถามที่ เตรียมไว้  เป็นการสอบถามเรอื่งราวต่างๆ ทเี่นน้การใหข้อ้มูล เกยี่วกับความจริง ขอ้เท็จจริง หรือความคิดเห็น  คาตอบโดยมากไม่มีถูกหรือผิด การตอบใหผู้ต้อบทา เครื่องหมายในขอ้ที่ตอ้งการตอบ ซงึ่เรียกว่า แบบสอบถามปลายปิด หรือใหผู้ต้อบเขียนคาตอบ เอง ซงึ่เรียกว่า แบบสอบถามปลายเปิด  เนื้อหาที่ถามอาจเป็นขอ้มูลส่วนตัวของผูเ้รียน หรือ เกยี่วขอ้งกับพฤติกรรมการปฏิบัติตนของผูเ้รียนดา้นการ เรียน ลักษณะนิสัยการเรียน ความคิดเห็นต่อพฤติกรรม การสอนของครู เป็นตน้
  • 17. แบบสอบถามมีลักษณะเป็นแบบตรวจสอบรายการ (Checklist) แบบสารวจความสนใจกจิกรรมดา้นศิลปะ รายการ ชอบ ไม่ชอบ 1. เตน้รา 2. แต่งเพลง 3. วาดภาพ 4. ตกแต่งบา้น 5. เขียนบทละคร
  • 18. แบบสอบถามเป็ นมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) แบบสารวจความสนใจกจิกรรมดา้นการอ่าน รายการ 5 4 3 2 1 1.อ่านข่าวสารเรอื่งราวเกยี่วกับการเมือง การปกครอง 2. อ่านข่าวสารเรอื่งราวดา้นเศรษฐกิจ 3.อ่านข่าวสารเรื่องราวเกี่ยวกับการศึกษา 4.อ่านข่าวสารเรอื่งราวเกยี่วกับเหตุการณ์ ทางสังคม 5. อ่านเรอื่งราวดา้นบันเทิง สารคดี
  • 19. วธิีการและเครอื่งมอืทใี่ช้วดัพฤตกิรรมจติพสิยั การใช้แบบวดัเชงิสถานการณ์  เป็นการใช้สถานการณ์ต่างๆ แลว้ใหน้กัเรยีนพจิารณาว่า ในสถานการณ์เหล่านนั้ นกัเรยีน มคีวามรูส้กึ หรอืมคีวาม คดิเห็นอย่างไร หรอืนกัเรยีนจะทา อย่างไร  คา ตอบของนกัเรยีนจะไม่มผีดิหรอืถูก แต่คา ตอบจะเป็น ขอ้มูลบอกใหท้ราบว่าคุณลกัษณะในดา้นนนั้ๆ ทเี่รา ตอ้งการวดั นกัเรยีนมอียู่ในระดบัใด  การสรา้งแบบวดัเชงิสถานการณ์ จะมจีุดมุ่งหมายที่ แน่นอนว่าในแต่ละสถานการณ์ตอ้งการตรวจสอบ คุณลกัษณะดา้นใดของผูเ้รยีน  ตวัเลอืกจะมรีะดบัของคะแนนไม่เท่ากนั ซงึ่ขนึ้อยู่อยู่กบั ทฤษฎทีางดา้นจติวทิยาทนี่ามาใช้เป็นหลกัในการสรา้ง ตวัเลอืกเพอื่จะบอกว่า คุณลกัษณะดา้นจติใจของบุคคล นนั้ เกดิขนึ้หรอืมอียู่ในระดบัใด ตามทฤษฎนีนั้ๆ
  • 20. ตวัอย่างการวดัค่านยิมในการเสยีสละ ถา้เพอื่นบา้นบา้นใกลเ้คยีงทรีู่จ้กัชอบพอกนั มาขอ ยมือุปกรณ์เครอื่งใช้บางอย่าง ถงึแมข้า้พเจา้จะ หวง แต่ขา้พเจา้ใหย้มืเพราะ 1. เป็นเพอื่นบา้นทรีู่จั้กคงเอากลับคืนได้ 2. คราวหนา้เราจะไดไ้ปยืมของเพื่อนบา้นมาใชบ้า้ง 3. เป็นเพอื่นบา้นกันควรมีน้าใจต่อกัน 4. เพอื่นบา้นจะไดเ้ห็นว่าเราเป็นคนมีน้าใจ 5. การแบ่งปันกันใชเ้ป็นสงิ่ที่คนมีน้าใจควรปฏิบัติ 6. สังคมจะอยู่ไดก้็ดว้ยน้าใจที่เอื้อเฟื้อต่อกัน
  • 21. การสรา้งเครอื่งมอืวดัพฤตกิรรมจติพสิยั ขนั้ตน้ 1. ระบุความตอ้งการหรอืเป้าหมายของสงิ่ทตี่อ้งการวดั เช่นตอ้งการวดั เจตคตขิองนกัเรยีนทมี่ตี่อการประกอบอาชีพ หรอืตอ้งการวดัความมี วนิยัในตนเองของผูเ้รยีน เป็นตน้ 2. ศกึษาคุณลกัษณะทตี่อ้งการวดัใหเ้ขา้ใจถ่องแท้ เพอื่การกาหนด คุณลกัษณะ เป็นประเด็นทชี่ดัเจน หรอืแยกเป็นดา้นๆ ซึ่งอาจเป็น คุณลกัษณะตามทฤษฎหีรอืตามหลกัวชิา หรอืเป็นคุณลกัษณะทไี่ด้ จากแหล่งขอ้มูลในเรอื่งนนั้ๆ โดยตรง 3. นาคุณลกัษณะทตี่อ้งการวดั มาเขยีนในลกัษณะของนยิามปฏบิตักิาร หรอืเขยีนในลกัษณะของพฤตกิรรมทแี่สดงออกซงึ่สามารถวดัได้ เพอื่ใหคุ้ณลกัษณะทจี่ะวดัอยู่ในรูปของพฤตกิรรมทสี่งัเกตและวดัได้ หรอืกาหนดขอบข่าย ประเด็นหลกัและรายการของสงิ่ทจี่ะถามในแต่ ละเรอื่งนนั้ของการวดันนั้ใหช้ดัเจนและครอบคลุมสงิ่ทตี่อ้งการวดั
  • 22. การสรา้งเครอื่งมอืวดัพฤตกิรรมจติพสิยั ขนั้ดา เนนิการสรา้ง 4. กาหนดวธิีการวดัหรอืเครอื่งมอืทใี่ช้ในการวดั ว่าจะเป็นการสงัเกต สมัภาษณ์ แบบสอบถาม แบบวดัเชงิสถานการณ์ หรอืมาตรวดั พรอ้มทงั้รูปแบบและประเภทของคา ถามใหเ้หมาะกบัเรอื่งทจี่ะวดัและ ลกัษณะของผูเ้รยีนแต่ละระดบัว่า ควรเป็นคา ถามลกัษณะใด 5. สรา้งเครอื่งมอืตามลกัษณะและชนดิของเครอื่งมอืทกี่าหนด ซึ่งมี รายละเอยีดของการสรา้งขอ้คา ถามทแี่ตกต่างกนัออกไปตามชนดิของ เครอื่งมอื 6. ตรวจสอบคุณภาพของเครอื่งมอื ทงั้ในดา้นความตรง ความเป็น ปรนยั ความชดัเจนของภาษา หรอืความเหมาะสมของขอ้ความ รวมทงั้การจดัเรยีงขอ้ความ ทงั้นี้ในการตรวจสอบคุณภาพ เป็นไป ตามลกัษณะของเครอื่งมอืวดัแต่ละชนดิทอี่าจแตกต่างกนับา้งในบาง ประเด็น สา หรบัการตรวจสอบคุณภาพขนั้นี้โดยการ 6.1 ตรวจสอบขอ้คา ถามเหล่านนั้ดว้ยตนเอง แลว้ทาการปรบัปรุง แกไ้ข 6.2 ใหผู้เ้ชี่ยวชาญตรวจสอบความตรงเชงิเนื้อหา องคป์ระกอบ ของเครอื่งมอืวดัทดีี่ ความชดัเจนและความถูกตอ้งของภาษาทใี่ช้ นา ขอ้มูลทไี่ดจ้ากผูเ้ชี่ยวชาญมาปรบัปรุงตามความเหมาะสม
  • 23. การสรา้งเครอื่งมอืวดัพฤตกิรรมจติพสิยั ขนั้ดา เนนิการสรา้ง 7. นาเครอื่งมอืทสี่รา้งไปทดลองใช้กบัผูเ้รยีนทไี่ม่ใช่ผูเ้รยีนจรงิทจี่ะวดั เพอื่ดูความเป็นปรนยั ความเหมาะสมของภาษาทใี่ช้ คอืดูว่าขอ้ คา ถามนนั้เขา้ใจตรงกนัหรอืไม่ มคีวามเขา้ใจในขอ้คา ถามเพียงใด คา ถามชดัเจนเขา้ใจง่ายหรอืไม่ มคีา ตอบทคี่วรจะเป็นครบหรอืไม่ ถา้เป็นคา ถามปลายเปิดมทีวี่่างเพยีงพอทจี่ะตอบหรอืไม่ ทสี่า คญั คอืคา ชี้แจง ผูต้อบมคีวามเขา้ใจคา ชี้แจงมากน้อยเพยีงใด 8. นาผลทไี่ดจ้ากการทดลองใช้มาวเิคราะหค์ุณภาพรายขอ้ แลว้ ปรบัปรุงแกไ้ขตามผลการทดลองใช้ในดา้นความเป็นปรนยั และ ตามผลการวเิคราะห์ 9. ทดลองใช้ แลว้นาผลการทดลองใช้มาวเิคราะหค์ุณภาพรายขอ้ และ คุณภาพทงั้ฉบบัดา้นความตรง และความเทยี่ง นาขอ้มูลทไี่ด้มา ปรบัปรุงแกไ้ข 10. สรา้งเกณฑก์ารแปลความหมายของคะแนน เมอื่เครอื่งมอืมคีุณภาพ ดแีลว้และจดัพมิพเ์ครอื่งมอืวดัเป็นฉบบัสมบูรณ์ต่อไป
  • 24. การตรวจสอบคุณภาพของเครอื่งมอืวดัพฤตกิรรมจติพสิยั ความตรง (Validity) หมายถงึ ความสามารถของเครอื่งมอืในการวดัไดต้รงกบัสงิ่ทตี่อ้งการ วดั ในการตรวจสอบความตรงของเครอื่งมอืวดัจติพสิยั เน้นการ ตรวจสอบความตรงตามคุณลกัษณะหรอืความตรงตามโครงสรา้งหรอื ความตรงตามทฤษฎี(Construct validity) ซึ่งหมายถงึ ความสามารถของเครอื่งมอืในการวดัไดต้รงตามพฤตกิรรมหรอื คุณลกัษณะ (Trait) ทางจติวทิยาทตี่อ้งการวดัซงึ่เป็นโครงสรา้งของ เรอื่งนนั้ๆ ตามทกี่าหนดไวใ้นทฤษฎเีรอื่งนนั้ๆ โดยตรวจสอบว่า ขอ้ความในเครอื่งมอืวดัแต่ละขอ้ความหรอืแต่ละตวัเลอืกนนั้ วดั คุณลกัษณะ ไดต้ามโครงสรา้งทางทฤษฎขีองสงิ่ทจี่ะวดัหรอืไม่การ ตรวจสอบความตรงชนดินี้ส่วนใหญ่ใช้กบัเครอื่งมอืทวี่ดัคุณลกัษณะที่ เป็นนามธรรมซึ่งวดัโดยตรงไดย้าก เช่น เชาวป์ัญญา ความสนใจ เจตคติ ความพงึพอใจ ค่านยิม บุคลกิภาพ คุณธรรม จรยิธรรม เป็นตน้
  • 25. การตรวจสอบรายขอ้และรายตวัเลอืก  โดยการใช้ผูเ้ชี่ยวชาญ (Expert) ช่วยตรวจสอบซึ่งคลา้ยคลงึกบั การตรวจสอบความตรงเชงิเนื้อหา กล่าวคอื เป็นการหาดชันีความ สอดคลอ้ง (Index of Congruence) ของความคดิเห็นของ ผูเ้ชี่ยวชาญ  การใช้เทคนคิกลุ่มรูช้ดั (Known Group Technique) โดยการ เลอืกกลุ่มตวัอย่างใหไ้ด้2 กลุ่ม คอืกลุ่มทมี่แีละกลุ่มทไี่ม่มพีฤตกิรรม หรอืคุณลกัษณะทตี่อ้งการวดั นาเครอื่งมอืวดัไปวดักบักลุ่มรูช้ดัทงั้ 2 กลุ่ม แลว้นาผลการวดัแต่ละขอ้ความในแต่ละกลุ่ม มาหาค่าเฉลยี่และ ความแปรปรวน แลว้เปรยีบเทยีบความแตกต่างของค่าเฉลยี่ของ 2 กลุ่มนนั้  การหาค่าสหสมัพนัธข์องคะแนนรายขอ้ กบัคะแนนรวมขอ้ทเี่หลอื
  • 26. อานาจจาแนก (Discrimination)  หมายถึง ความสามารถของเครอื่งมือในการ จาแนกคนออกเป็น 2 กลมุ่ ได้ คือ คนทมีี่ คุณลักษณะนั้นสูง กับคนทมีี่คุณลักษณะนั้นต่า ซงึ่สังเกตไดจ้ากคะแนนที่ไดจ้ากการวัดดว้ย เครอื่งมือชนิดนั้นๆ ถา้บุคคลนั้นไดค้ะแนนจาก แบบวดัสูงแสดงว่ามีคุณลักษณะนั้นมาก ถา้ได้ คะแนนจากแบบวัดต่า แสดงว่ามีคุณลักษณะ นั้นนอ้ย
  • 27. การตรวจสอบความตรงรายฉบบั  การใช้เทคนคิกลุ่มรูช้ดั  การหาค่าสหสมัพนัธร์ะหว่างคะแนนทไี่ดจ้ากแบบ วดัทสี่รา้งขนึ้กบัคะแนนทไี่ดจ้ากแบบวดัทเี่ป็น มาตรฐานทวี่ดัคุณลกัษณะเดยีวกนั  การวเิคราะหอ์งคป์ระกอบ (Factor Analysis)  เทคนคิการวดัหลายคุณลกัษณะโดยใช้การวดั หลายวธิี
  • 28. ความเทยี่ง (Reliability)  หมายถึง ความสามารถของเครอื่งมือในการ ใหผ้ลการวัดผูเ้รียนกลมุ่เดียวกันทคี่งทแี่น่นอน หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งคือความคงเสน้คงวาของ ผลการวัดหลายๆ ครั้งของผูเ้รียนในกลมุ่เดียวกัน ถา้เครอื่งมือวัดมีความเทยี่งสูงไม่ว่าจะทาการวัด กคี่รั้งผูเ้รียนคนเดิมก็จะไดค้ะแนนหรืออันดบัที่ คงเดิมไม่เปลยี่นแปลง ถา้เครอื่งมือวัดมีความ เทยี่งต่าผลการวัดก็จะเปลยี่นแปลงไปจากเดิม
  • 29. การคา นวณหาค่าความเทยี่ง  การวัดความคงที่โดยการสอบซ้า  วิธีการใชแ้บบวัดคู่ขนาน  วิธีการหาความสอดคลอ้งภายใน             n  2 t 2 i s s 1 n 1 N  xy  x  y N x2 ( x)2  N y2 ( y)2  rxy       
  • 30. ปัจจยัทสี่่งผลต่อความเทยี่งของแบบวดั  ลักษณะของกลุ่มตัวอย่าง  ขนาดของกลุ่มตัวอย่าง ประมาณ 6 - 10 เท่า ของจานวนขอ้ (Gable. 1986)  ความเป็นเอกพันธ์ของขอ้คาถามในแบบวัด  จานวนขอ้คาถามหรือขอ้ความในแบบวัด