Anúncio
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1
Anúncio
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1
Anúncio
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1
Anúncio
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1
Próximos SlideShares
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้องอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
Carregando em ... 3
1 de 15
Anúncio

Mais conteúdo relacionado

Similar a อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1(18)

Anúncio

อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1

  1. รายงาน เรื่อง อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกียวข้อง ่ เสนอ คุณครู จุฑารัตน์ ใจบุญ จัดทาโดย นางสาว กมลชภัทร์ บุญเกื้อ ชัน ม.6/1 เลขที่ 25 ้ รายงานเล่มนีเ้ ป็ นส่วนหนึงของวิชาการงานอาชีพและ ่ เทคโนโลยี ง.33102 โรงเรียนรัษฎานุประดิษฐ์อนุสรณ์
  2. คำนำ รายงานเล่มนี้เป็ นส่ วนหนึ่งของวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี ง.33102 จัดทาขึ้นเพื่อ ศึกษาเกี่ยวกับเรื่ องอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ของยุคปัจจุบนนี้ และเพื่อนาไปปรับใช้ให้เกิดประโยชน์ในระดับชั้นต่อไป ั หากผิดพลาดประการใด ขออภัยไว้ ณ ที่น้ ีดวย ้ จัดทาโดย นางสาว กมลชภัทร์ บุญเกื้อ ชั้นม.6/1 เลขที่ 25
  3. สำรบัญ เรื่อง หน้ ำ อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ 1-2 กฎหมายทางคอมพิวเตอร์ 3 - 10
  4. อำชญำกรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมำยทีเ่ กียวข้ อง ่ อำชญำกรรมคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีที่ทนสมัย แม้จะช่วยอานวยความสะดวกได้มากเพียงใดก็ตาม สิ่ งที่ตองยอมรับความจริ งก็ ั ้ คือ เทคโนโลยีทุกอย่างมีจุดเด่น ข้อด้อยของตนทั้งสิ้ น ทั้งที่มาจากตัวเทคโนโลยีเอง และมาจากปั ญหาอื่นๆ เช่น บุคคลที่มีจุดประสงค์ร้าย ในโลก cyberspace อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ เป็ นปั ญหาหลักที่นบว่ายิงมี ั ่ ความรุ นแรง เพิ่มมากขึ้น ประมาณกันว่ามีถึง 230% ในช่วงปี 2002 และ แหล่งที่เป็ นจุดโจมตีมากที่สุดก็คือ อินเทอร์ เน็ต นับว่ารุ นแรงกว่าปั ญหาไวรัสคอมพิวเตอร์ เสี ยด้วยซ้ า หน่วยงานทุกหน่วยงานที่นาไอทีมาใช้ งาน จึงต้องตระหนักในปั ญหานี้เป็ นอย่างยิง จาเป็ นต้องลงทุนด้านบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญด้านการรักษา ่ กระทาอย่างสม่าเสมอต่อเนื่ องแต่ไม่วาจะมีการป้ องกันดีเพียงใด ปั ญหาการโจมตีระบบคอมพิวเตอร์ ก็มีอยู่ ่ เรื่ อยๆ ทั้งนี้ระบบการโจมตีที่พบบ่อยๆ ได้แก่ Hacker & Cracker อาชญากรที่ได้รับการยอมรับว่ามีผลกระทบต่อสังคมไอทีเป็ นอย่างยิง บุลากรใน ่ ั องค์กร หน่วยงานคุณไล่พนักงานออกจากงาน, สร้างความไม่พึงพอใจให้กบพนักงาน นี่แหล่ะปั ญหาของ อาชญกรรมได้เช่นกัน Buffer overflow เป็ นรู ปแบบการโจมตีที่ง่ายที่สุด แต่ทาอันตรายให้กบระบบได้มากที่สุด โดยอาชญา ั กรจะอาศัยช่องโหว่ของระบบปฏิบติการ และขีดจากัดของทรัพยากรระบบมาใช้ในการจู่โจม การส่ งคาสั่ง ั ให้เครื่ องแม่ข่ายเป็ นปริ มาณมากๆ ในเวลาเดียวกัน ซึ่ งส่ งผลให้เครื่ องไม่สามารถรันงานได้ตามปกติ หน่วยความจาไม่เพียงพอ จนกระทังเกิดการแฮงค์ของระบบ เช่นการสร้างฟอร์ มรับส่ งเมล์ท่ีไม่ได้ป้องกัน ผู ้ ่ ไม่ประสงค์อาจจะใช้ฟอร์ มนั้นในการส่ งข้อมูลกระหน่ าระบบได้ Backdoors นักพัฒนาเกือบทุกราย มักสร้างระบบ Backdoors เพื่อช่วยอานวยความสะดวกในการ ทางาน ซึ่ งหากอาชญากรรู ้เท่าทัน ก็สามารถใช้ประโยชน์จาก Backdoors นั้นได้เช่นกัน CGI Script ภาษาคอมพิวเตอร์ ที่นิยมมากในการพัฒนาเว็บเซอร์ วส มักเป็ นช่องโหว่รุนแรงอีกทาง ิ หนึ่งได้เช่นกัน Hidden HTML การสร้างฟอร์มด้วยภาษา HTML และสร้างฟิ ลด์เก็บรหัสแบบ Hidden ย่อมเป็ น ั ช่องทางที่อานวยความสะดวกให้กบอาชญากรได้เป็ นอย่างดี โดยการเปิ ดดูรหัสคาสั่ง (Source Code) ก็ สามารถตรวจสอบและนามาใช้งานได้ทนที ั
  5. Failing to Update การประกาศจุดอ่อนของซอฟต์แวร์ เพื่อให้ผใช้นาไปปรับปรุ งเป็ นทางหนึ่งที่ ู้ อาชญากร นาไปจู่โจมระบบที่ใช้ซอฟต์แวร์ น้ นๆ ได้เช่นกัน เพราะกว่าที่เจ้าของเว็บไซต์ หรื อระบบ จะทา ั การปรับปรุ ง (Updated) ซอตฟ์ แวร์ ท่ีมีช่องโหว่น้ น ก็สายเกินไปเสี ยแล้ว ั Illegal Browsing ธุ รกรรมทางอินเทอร์ เน็ต ย่อมหนี ไม่พนการส่ งค่าผ่านทางบราวเซอร์ แม้กระทัง ้ ่ รหัสผ่านต่างๆ ซึ่ งบราวเซอร์ บางรุ่ น หรื อรุ่ นเก่าๆ ย่อมไม่มีความสามารถในการเข้ารหัส หรื อป้ องกันการ เรี ยกดูขอมูล นี่ก็เป็ นอีกจุดอ่อนของธุ รกรรมอิเล็กทรอนิกส์ได้เช่นกัน ้ Malicious scripts ก็เขียนโปรแกรมไว้ในเว็บไซต์ แล้วผูใช้เรี ยกเว็บไซต์ดูบนเครื่ องของตน มันใจ ้ ่ หรื อว่าไม่เจอปั ญหา อาชญากรอาจจะเขียนโปรแกรมแผงในเอกสารเว็บ เมื่อถูกเรี ยก โปรแกรมนันจะถูกดึง ่ ่ ไปประมวลผลฝั่งไคลน์เอ็นต์ และทางานตามที่กาหนดไว้อย่างง่ายดาย โดยเราเองไม่รู้วาเรานันแหล่ะเป็ นผู ้ ่ สั่งรันโปรแกรมนั้นด้วยตนเอง น่ากลัวเสี ยจริ งๆๆ Poison cookies ขนมหวานอิเล็กทรอนิกส์ ที่เก็บข้อมูลต่างๆ ตามแต่จะกาหนด จะถูกเรี ยกทางาน ทันทีเมื่อมีการเรี ยกดูเว็บไซต์ที่บรรจุคุกกี้ชิ้นนี้ และไม่ยากอีกเช่นกันที่จะเขียนโปรแกรมแฝงอีกชิ้น ให้ส่ง คุกกี้ที่บนทึกข้อมูลต่างๆ ของผูใช้ส่งกลับไปยังอาชญากร ไวรัสคอมพิวเตอร์ ภัยร้ายสาหรับหน่วยงานที่ใช้ ั ้ ่ ไอทีต้ งแต่เริ่ มแรก และดารงอยูอย่างอมตะตลอดกาล ในปี 2001 พบว่าไวรัส Nimda ได้สร้างความเสี ยหาย ั ได้สูงสุ ด เป็ นมูลค่าถึง 25,400 ล้าบบาท ในทัวโลก ตามด้วย Code Red, Sircam, LoveBug, Melissa ่ ตามลาดับที่ไม่หย่อนกว่ากัน
  6. กฎหมำยทำงคอมพิวเตอร์ พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ 2550 ทุกคนทีใช้ คอมพิวเตอร์ ต้องรู้ ่ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ ให้ประกาศว่า โดยที่ เป็ นการสมควรมีกฎหมาย ว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ จึงทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้า ฯ ให้ ตราพระราชบัญญัติข้ ึนไว้โดยคาแนะนาและยินยอมของสภานิติบญญัติแห่งชาติ ดังต่อไปนี้ ั มาตรา ๑ พระราชบัญญัติน้ ีเรี ยกว่า “พระราชบัญญัติวาด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ่ ๒๕๕๐” มาตรา ๒ พระราชบัญญัติน้ ีให้ใช้บงคับเมื่อพ้นกาหนดสามสิ บวันนับแต่วนประกาศในราชกิจจานุ เบกษา ั ั เป็ นต้นไป มาตรา ๓ ในพระราชบัญญัติน้ ี “ระบบคอมพิวเตอร์ ” หมายความว่า อุปกรณ์หรื อชุดอุปกรณ์ของคอมพิวเตอร์ ที่เชื่อมการทางานเข้าด้วยกัน โดยได้มีการกาหนดคาสั่ง ชุ ดคาสั่ง หรื อสิ่ งอื่นใด และแนวทางปฏิบติงานให้ ั อุปกรณ์หรื อชุดอุปกรณ์ทาหน้าที่ประมวลผลข้อมูลโดยอัตโนมัติ ่ ่ ่ “ข้อมูลคอมพิวเตอร์ ” หมายความว่า ข้อมูล ข้อความ คาสัง ชุดคาสัง หรื อสิ่ งอื่นใดบรรดาที่อยูในระบบ คอมพิวเตอร์ในสภาพที่ระบบคอมพิวเตอร์อาจประมวลผลได้ และให้หมายความรวมถึงข้อมูล อิเล็กทรอนิกส์ตามกฎหมายว่าด้วยธุ รกรรมทางอิเล็กทรอนิ กส์ดวย ้ “ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ ” หมายความว่า ข้อมูลเกี่ยวกับการติดต่อสื่ อสารของระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่ ง แสดงถึงแหล่งกาเนิด ต้นทาง ปลายทาง เส้นทาง เวลา วันที่ ปริ มาณ ระยะเวลาชนิ ดของบริ การ หรื ออื่น ๆ ที่ เกี่ยวข้องกับการติดต่อสื่ อสารของระบบคอมพิวเตอร์ น้ น ั “ผูให้บริ การ” หมายความว่า ้
  7. (๑) ผูให้บริ การแก่บุคคลอื่นในการเข้าสู่ อินเทอร์ เน็ต หรื อให้สามารถติดต่อถึงกันโดยประการอื่น โดยผ่าน ้ ่ ทางระบบคอมพิวเตอร์ ทั้งนี้ ไม่วาจะเป็ นการให้บริ การในนามของตนเอง หรื อในนามหรื อเพื่อประโยชน์ ของบุคคลอื่น (๒) ผูให้บริ การเก็บรักษาข้อมูลคอมพิวเตอร์ เพื่อประโยชน์ของบุคคลอื่น ้ “ผูใช้บริ การ” หมายความว่า ผูใช้บริ การของผูให้บริ การไม่วาต้องเสี ยค่าใช้บริ การหรื อไม่ก็ตาม ้ ้ ้ ่ “พนักงานเจ้าหน้าที่” หมายความว่า ผูซ่ ึ งรัฐมนตรี แต่งตั้งให้ปฏิบติการตามพระราชบัญญัติน้ ี ้ ั “รัฐมนตรี ” หมายความว่า รัฐมนตรี ผรักษาการตามพระราชบัญญัติน้ ี ู้ ่ มาตรา ๔ ให้รัฐมนตรี วาการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสารรักษาการตามพระราชบัญญัติน้ ี และให้มีอานาจออกกฎกระทรวง เพื่อปฏิบติการตามพระราชบัญญัติน้ ี กฎกระทรวงนั้น เมื่อได้ประกาศใน ั ราชกิจจานุ เบกษาแล้วให้ใช้บงคับได้ ั หมวด ๑ ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ มาตรา ๕ ผูใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่ งระบบคอมพิวเตอร์ ที่มีมาตรการป้ องกันการเข้าถึงโดยเฉพาะและมาตรการ ้ นั้น มิได้มีไว้สาหรับตน ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหกเดือน หรื อปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรื อทั้งจาทั้ง ปรับ มาตรา ๖ ผูใดล่วงรู ้มาตรการป้ องกันการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ ที่ผอื่นจัดทาขึ้นเป็ นการเฉพาะถ้านา ้ ู้ มาตรการดังกล่าวไปเปิ ดเผยโดยมิชอบ ในประการที่น่าจะเกิดความเสี ยหายแก่ผอื่น ต้องระวางโทษจาคุกไม่ ู้ เกินหนึ่งปี หรื อปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ มาตรา ๗ ผูใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่ งข้อมูลคอมพิวเตอร์ ที่มีมาตรการป้ องกันการเข้าถึงโดยเฉพาะและมาตรการ ้ นั้นมิได้มีไว้สาหรับตน ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสองปี หรื อปรับไม่เกินสี่ หมื่นบาทหรื อทั้งจาทั้งปรับ มาตรา ๘ ผูใดกระทาด้วยประการใดโดยมิชอบด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์เพื่อดักรับไว้ซ่ ึง ้ ้ ่ ข้อมูลคอมพิวเตอร์ ของผูอื่นที่อยูระหว่างการส่ งในระบบคอมพิวเตอร์ และข้อมูลคอมพิวเตอร์ น้ นมิได้มีไว้ ั เพื่อประโยชน์สาธารณะหรื อเพื่อให้บุคคลทัวไปใช้ประโยชน์ได้ตองระวางโทษจาคุกไม่เกินสามปี หรื อปรับ ่ ้ ไม่เกินหกหมื่นบาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ ้ ่ ่ มาตรา ๙ ผูใดทาให้เสี ยหาย ทาลาย แก้ไข เปลี่ยนแปลง หรื อเพิมเติมไม่วาทั้งหมดหรื อบางส่ วน ซึ่ ง ข้อมูลคอมพิวเตอร์ ของผูอื่นโดยมิชอบ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินห้าปี หรื อปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรื อ ้ ทั้งจาทั้งปรับ
  8. มาตรา ๑๐ ผูใดกระทาด้วยประการใดโดยมิชอบ เพื่อให้การทางานของระบบคอมพิวเตอร์ของผูอื่นถูกระงับ ้ ้ ชะลอ ขัดขวาง หรื อรบกวนจนไม่สามารถทางานตามปกติได้ตองระวางโทษจาคุกไม่เกินห้าปี หรื อปรับไม่ ้ เกินหนึ่งแสนบาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ มาตรา ๑๑ ผูใดส่ งข้อมูลคอมพิวเตอร์ หรื อจดหมายอิเล็กทรอนิกส์แก่บุคคลอื่นโดยปกปิ ดหรื อปลอมแปลง ้ แหล่งที่มาของการส่ งข้อมูลดังกล่าว อันเป็ นการรบกวนการใช้ระบบคอมพิวเตอร์ ของบุคคลอื่นโดยปกติสุข ต้องระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท มาตรา ๑๒ ถ้าการกระทาความผิดตามมาตรา ๙ หรื อมาตรา ๑๐ ่ (๑) ก่อให้เกิดความเสี ยหายแก่ประชาชน ไม่วาความเสี ยหายนั้นจะเกิดขึ้นในทันทีหรื อในภายหลัง และไม่วา ่ จะเกิดขึ้นพร้อมกันหรื อไม่ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสิ บปี และปรับไม่เกินสองแสนบาท (๒) เป็ นการกระทาโดยประการที่น่าจะเกิดความเสี ยหายต่อข้อมูลคอมพิวเตอร์ หรื อระบบคอมพิวเตอร์ ที่ เกี่ยวกับการรักษาความมันคงปลอดภัยของประเทศ ความปลอดภัยสาธารณะ ความมันคงในทางเศรษฐกิจ ่ ่ ของประเทศ หรื อการบริ การสาธารณะ หรื อเป็ นการกระทาต่อข้อมูลคอมพิวเตอร์ หรื อระบบคอมพิวเตอร์ ที่มี ไว้เพื่อประโยชน์สาธารณะ ต้องระวางโทษจาคุกตั้งแต่สามปี ถึงสิ บห้าปี และปรับตั้งแต่หกหมื่นบาทถึงสาม แสนบาท มาตรา ๑๓ ผูใดจาหน่ายหรื อเผยแพร่ ชุดคาสั่งที่จดทาขึ้นโดยเฉพาะเพื่อนาไปใช้เป็ นเครื่ องมือในการกระทา ้ ั ความผิดตามมาตรา ๕ มาตรา ๖ มาตรา ๗ มาตรา ๘ มาตรา ๙ มาตรา ๑๐ หรื อมาตรา ๑๑ ต้องระวางโทษ จาคุกไม่เกินหนึ่งปี หรื อปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ มาตรา ๑๔ ผูใดกระทาความผิดที่ระบุไว้ดงต่อไปนี้ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินห้าปี หรื อปรับไม่เกินหนึ่ง ้ ั แสนบาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ (๑) นาเข้าสู่ ระบบคอมพิวเตอร์ ซ่ ึ งข้อมูลคอมพิวเตอร์ ปลอมไม่วาทั้งหมดหรื อบางส่ วน หรื อ ่ ข้อมูลคอมพิวเตอร์ อนเป็ นเท็จ โดยประการที่น่าจะเกิดความเสี ยหายแก่ผอื่นหรื อประชาชน ั ู้ (๒) นาเข้าสู่ ระบบคอมพิวเตอร์ ซ่ ึ งข้อมูลคอมพิวเตอร์ อนเป็ นเท็จ โดยประการที่น่าจะเกิดความเสี ยหายต่อ ั ความมันคงของประเทศหรื อก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน ่ (๓) นาเข้าสู่ ระบบคอมพิวเตอร์ ซ่ ึ งข้อมูลคอมพิวเตอร์ ใด ๆ อันเป็ นความผิดเกี่ยวกับความมันคงแห่ง ่ ราชอาณาจักรหรื อความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้ายตามประมวลกฎหมายอาญา (๔) นาเข้าสู่ ระบบคอมพิวเตอร์ ซ่ ึ งข้อมูลคอมพิวเตอร์ ใด ๆ ที่มีลกษณะอันลามกและข้อมูลคอมพิวเตอร์ น้ น ั ั ประชาชนทัวไปอาจเข้าถึงได้ ่ ่ (๕) เผยแพร่ หรื อส่ งต่อซึ่ งข้อมูลคอมพิวเตอร์ โดยรู ้อยูแล้วว่าเป็ นข้อมูลคอมพิวเตอร์ ตาม (๑)(๒) (๓) หรื อ (๔)
  9. มาตรา ๑๕ ผูให้บริ การผูใดจงใจสนับสนุนหรื อยินยอมให้มีการกระทาความผิดตามมาตรา ๑๔ ในระบบ ้ ้ ่ คอมพิวเตอร์ ที่อยูในความควบคุมของตน ต้องระวางโทษเช่นเดียวกับผูกระทาความผิดตามมาตรา ๑๔ ้ มาตรา ๑๖ ผูใดนาเข้าสู่ ระบบคอมพิวเตอร์ ที่ประชาชนทัวไปอาจเข้าถึงได้ซ่ ึงข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่ปรากฏเป็ น ้ ่ ภาพของผูอื่น และภาพนั้นเป็ นภาพที่เกิดจากการสร้างขึ้น ตัดต่อ เติม หรื อดัดแปลงด้วยวิธีการทาง ้ อิเล็กทรอนิกส์หรื อวิธีการอื่นใด ทั้งนี้ โดยประการที่น่าจะทาให้ผอื่นนั้นเสี ยชื่อเสี ยง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง ู้ หรื อได้รับความอับอาย ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสามปี หรื อ ปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ ถ้าการกระทาตามวรรคหนึ่ง เป็ นการนาเข้าข้อมูลคอมพิวเตอร์ โดยสุ จริ ต ผูกระทาไม่มีความผิด ความผิดตามวรรคหนึ่งเป็ นความผิดอันยอมความได้ ถ้าผูเ้ สี ยหายใน ้ ความผิดตามวรรคหนึ่งตายเสี ยก่อนร้องทุกข์ ให้บิดา มารดา คู่สมรส หรื อ บุตรของผูเ้ สี ยหายร้องทุกข์ได้ และให้ถือว่าเป็ นผูเ้ สี ยหาย มาตรา ๑๗ ผูใดกระทาความผิดตามพระราชบัญญัติน้ ีนอกราชอาณาจักรและ ้ (๑) ผูกระทาความผิดนั้นเป็ นคนไทย และรัฐบาลแห่งประเทศที่ความผิดได้เกิดขึ้นหรื อผูเ้ สี ยหายได้ร้องขอให้ ้ ลงโทษ หรื อ (๒) ผูกระทาความผิดนั้นเป็ นคนต่างด้าว และรัฐบาลไทยหรื อคนไทยเป็ นผูเ้ สี ยหายและผูเ้ สี ยหายได้ร้อง ้ ขอให้ลงโทษ จะต้องรับโทษภายในราชอาณาจักร หมวด ๒ พนักงานเจ้าหน้าที่ มาตรา ๑๘ ภายใต้บงคับมาตรา ๑๙ เพื่อประโยชน์ในการสื บสวนและสอบสวนในกรณี ที่มีเหตุอนควรเชื่อได้ ั ั ว่ามีการกระทาความผิดตามพระราชบัญญัติน้ ี ให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีอานาจอย่างหนึ่ งอย่างใด ดังต่อไปนี้ เฉพาะที่จาเป็ นเพื่อประโยชน์ในการใช้เป็ นหลักฐานเกี่ยวกับการกระทาความผิดและหาตัวผูกระทาความผิด ้ (๑) มีหนังสื อสอบถามหรื อเรี ยกบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการกระทาความผิดตามพระราชบัญญัติน้ ีมาเพื่อให้ ่ ถ้อยคา ส่ งคาชี้แจงเป็ นหนังสื อ หรื อส่ งเอกสาร ข้อมูล หรื อหลักฐานอื่นใดที่อยูในรู ปแบบที่สามารถเข้าใจได้ (๒) เรี ยกข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ จากผูให้บริ การเกี่ยวกับการติดต่อสื่ อสารผ่านระบบคอมพิวเตอร์ หรื อ ้ จากบุคคลอื่นที่เกี่ยวข้อง (๓) สั่งให้ผให้บริ การส่ งมอบข้อมูลเกี่ยวกับผูใช้บริ การที่ตองเก็บตามมาตรา ๒๖ หรื อที่อยูในความ ู้ ้ ้ ่ ครอบครองหรื อควบคุมของผูให้บริ การให้แก่พนักงานเจ้าหน้าที่ ้ (๔) ทาสาเนาข้อมูลคอมพิวเตอร์ ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ จากระบบคอมพิวเตอร์ ที่มีเหตุอนควรเชื่อได้ ั ่ ว่ามีการกระทาความผิดตามพระราชบัญญัติน้ ี ในกรณี ที่ระบบคอมพิวเตอร์ น้ นยังมิได้อยูในความครอบครอง ั ของพนักงานเจ้าหน้าที่
  10. (๕) สั่งให้บุคคลซึ่ งครอบครองหรื อควบคุมข้อมูลคอมพิวเตอร์ หรื ออุปกรณ์ที่ใช้เก็บข้อมูลคอมพิวเตอร์ ส่ ง มอบข้อมูลคอมพิวเตอร์ หรื ออุปกรณ์ดงกล่าวให้แก่พนักงานเจ้าหน้าที่ ั (๖) ตรวจสอบหรื อเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ ข้อมูลคอมพิวเตอร์ ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์หรื ออุปกรณ์ที่ ใช้เก็บข้อมูลคอมพิวเตอร์ ของบุคคลใด อันเป็ นหลักฐานหรื ออาจใช้เป็ นหลักฐานเกี่ยวกับการกระทา ความผิด หรื อเพื่อสื บสวนหาตัวผูกระทาความผิดและสั่งให้บุคคลนั้นส่ งข้อมูลคอมพิวเตอร์ ขอมูลจราจรทาง ้ ้ คอมพิวเตอร์ ที่เกี่ยวข้องเท่าที่จาเป็ นให้ดวยก็ได้ ้ (๗) ถอดรหัสลับของข้อมูลคอมพิวเตอร์ ของบุคคลใด หรื อสั่งให้บุคคลที่เกี่ยวข้องกับการเข้ารหัสลับของ ข้อมูลคอมพิวเตอร์ ทาการถอดรหัสลับ หรื อให้ความร่ วมมือกับพนักงานเจ้าหน้าที่ในการถอดรหัสลับ ดังกล่าว (๘) ยึดหรื ออายัดระบบคอมพิวเตอร์ เท่าที่จาเป็ นเฉพาะเพื่อประโยชน์ในการทราบรายละเอียดแห่งความผิด และผูกระทาความผิดตามพระราชบัญญัติน้ ี ้ มาตรา ๑๙ การใช้อานาจของพนักงานเจ้าหน้าที่ตามมาตรา ๑๘ (๔) (๕) (๖) (๗) และ (๘) ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ยนคาร้องต่อศาลที่มีเขตอานาจเพื่อมีคาสั่งอนุ ญาตให้พนักงานเจ้าหน้าที่ดาเนินการ ื่ ่ ตามคาร้อง ทั้งนี้ คาร้องต้องระบุเหตุอนควรเชื่ อได้วาบุคคลใดกระทาหรื อกาลังจะกระทาการอย่างหนึ่งอย่าง ั ใดอันเป็ นความผิดตามพระราชบัญญัติน้ ี เหตุที่ตองใช้อานาจ ลักษณะของการกระทาความผิด รายละเอียด ้ เกี่ยวกับอุปกรณ์ที่ใช้ในการกระทาความผิดและผูกระทาความผิด เท่าที่สามารถจะระบุได้ ประกอบคาร้อง ้ ด้วยในการพิจารณาคาร้องให้ศาลพิจารณาคาร้องดังกล่าวโดยเร็ วเมื่อศาลมีคาสั่งอนุ ญาตแล้ว ก่อนดาเนินการ ตามคาสั่งของศาล ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ส่งสาเนาบันทึกเหตุอนควรเชื่อที่ทาให้ตองใช้อานาจตามมาตรา ๑๘ ั ้ (๔) (๕) (๖) (๗) และ (๘) มอบให้เจ้าของหรื อผูครอบครองระบบคอมพิวเตอร์ น้ นไว้เป็ นหลักฐาน แต่ถาไม่ ้ ั ้ มีเจ้าของหรื อผูครอบครองเครื่ องคอมพิวเตอร์ อยู่ ณ ที่น้ น ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ส่งมอบสาเนาบันทึกนั้น ้ ั ให้แก่เจ้าของหรื อ ผูครอบครองดังกล่าวในทันทีที่กระทาได้ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ผเู ้ ป็ นหัวหน้าในการดาเนินการตามมาตรา ้ ๑๘ (๔) (๕) (๖) (๗) และ (๘) ส่ งสาเนาบันทึกรายละเอียดการดาเนินการและเหตุผลแห่งการดาเนินการให้ศาลที่มีเขตอานาจภายในสี่ สิ บแปดชัวโมงนับแต่เวลาลงมือดาเนินการ เพื่อเป็ นหลักฐานการทาสาเนาข้อมูลคอมพิวเตอร์ ตามมาตรา ๑๘ ่ ่ (๔) ให้กระทาได้เฉพาะเมื่อมีเหตุอนควรเชื่ อได้วามีการกระทาความผิดตามพระราชบัญญัติน้ ี และต้องไม่ ั เป็ นอุปสรรคในการดาเนินกิจการของเจ้าของหรื อผูครอบครองข้อมูลคอมพิวเตอร์ น้ นเกินความจาเป็ น การ ้ ั ยึดหรื ออายัดตามมาตรา ๑๘ (๘) นอกจากจะต้องส่ งมอบสาเนาหนังสื อแสดงการยึดหรื ออายัดมอบให้ เจ้าของหรื อผูครอบครองระบบคอมพิวเตอร์ น้ นไว้เป็ นหลักฐานแล้ว พนักงานเจ้าหน้าที่จะสั่งยึดหรื ออายัด ้ ั ไว้เกินสามสิ บวันมิได้ ในกรณี จาเป็ นที่ตองยึดหรื ออายัดไว้นานกว่านั้น ให้ยนคาร้องต่อศาลที่มีเขตอานาจ ้ ื่ เพื่อขอขยายเวลายึดหรื ออายัดได้ แต่ศาลจะอนุญาตให้ขยายเวลาครั้งเดียวหรื อหลายครั้งรวมกันได้อีกไม่เกิน
  11. หกสิ บวัน เมื่อหมดความจาเป็ นที่จะยึดหรื ออายัดหรื อครบกาหนดเวลาดังกล่าวแล้ว พนักงานเจ้าหน้าที่ตอง ้ ส่ งคืนระบบคอมพิวเตอร์ที่ยึดหรื อถอนการอายัดโดยพลัน หนังสื อแสดงการยึดหรื ออายัดตามวรรคห้าให้ เป็ นไปตามที่กาหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๒๐ ในกรณี ที่การกระทาความผิดตามพระราชบัญญัติน้ ี เป็ นการทาให้แพร่ หลายซึ่ ง ข้อมูลคอมพิวเตอร์ ที่อาจกระทบกระเทือนต่อความมันคงแห่งราชอาณาจักร ตามที่กาหนดไว้ในภาคสอง ่ ลักษณะ ๑ หรื อลักษณะ ๑/๑ แห่งประมวลกฎหมายอาญา หรื อที่มีลกษณะขัดต่อความสงบเรี ยบร้อยหรื อ ั ศีลธรรมอันดีของประชาชน พนักงานเจ้าหน้าที่โดยได้รับความเห็นชอบจากรัฐมนตรี อาจยืนคาร้อง พร้อม ่ แสดงพยานหลักฐานต่อศาลที่มีเขตอานาจขอให้มีคาสั่งระงับการทาให้แพร่ หลายซึ่ งข้อมูลคอมพิวเตอร์ น้ น ั ได้ ในกรณี ที่ศาลมีคาสั่งให้ระงับการทาให้แพร่ หลายซึ่ งข้อมูลคอมพิวเตอร์ ตามวรรคหนึ่ง ให้พนักงาน เจ้าหน้าที่ทาการระงับการทาให้แพร่ หลายนั้นเอง หรื อสังให้ผให้บริ การระงับการทาให้แพร่ หลายซึ่ ง ่ ู้ ข้อมูลคอมพิวเตอร์ น้ นก็ได้ ั มาตรา ๒๑ ในกรณี ที่พนักงานเจ้าหน้าที่พบว่า ข้อมูลคอมพิวเตอร์ ใดมีชุดคาสั่งไม่พึงประสงค์รวมอยูดวย ่ ้ พนักงานเจ้าหน้าที่อาจยืนคาร้องต่อศาลที่มีเขตอานาจเพื่อขอให้มีคาสั่งห้ามจาหน่ายหรื อเผยแพร่ หรื อสั่งให้ ่ เจ้าของหรื อผูครอบครองข้อมูลคอมพิวเตอร์ น้ นระงับการใช้ ทาลายหรื อแก้ไขข้อมูลคอมพิวเตอร์ น้ นได้ ้ ั ั หรื อจะกาหนดเงื่อนไขในการใช้ มีไว้ในครอบครอง หรื อเผยแพร่ ชุดคาสั่งไม่พึงประสงค์ดงกล่าวก็ได้ ั ชุดคาสั่งไม่พึงประสงค์ตามวรรคหนึ่งหมายถึงชุดคาสั่งที่มีผลทาให้ขอมูลคอมพิวเตอร์ หรื อระบบ ้ คอมพิวเตอร์ หรื อชุดคาสั่งอื่นเกิดความเสี ยหาย ถูกทาลาย ถูกแก้ไขเปลี่ยนแปลงหรื อเพิ่มเติมขัดข้อง หรื อ ปฏิบติงานไม่ตรงตามคาสั่งที่กาหนดไว้ หรื อโดยประการอื่นตามที่กาหนดในกฎกระทรวงทั้งนี้ เว้นแต่เป็ น ั ชุดคาสั่งที่มุ่งหมายในการป้ องกันหรื อแก้ไขชุดคาสั่งดังกล่าวข้างต้น ตามที่รัฐมนตรี ประกาศในราชกิจจา นุเบกษา มาตรา ๒๒ ห้ามมิให้พนักงานเจ้าหน้าที่เปิ ดเผยหรื อส่ งมอบข้อมูลคอมพิวเตอร์ ข้อมูลจราจรทาง คอมพิวเตอร์ หรื อข้อมูลของผูใช้บริ การ ที่ได้มาตามมาตรา ๑๘ ให้แก่บุคคลใดความในวรรคหนึ่งมิให้ใช้ ้ ั ้ บังคับกับการกระทาเพื่อประโยชน์ในการดาเนิ นคดีกบผูกระทาความผิดตามพระราชบัญญัติน้ ี หรื อเพื่อ ประโยชน์ในการดาเนินคดีกบพนักงานเจ้าหน้าที่เกี่ยวกับการใช้อานาจหน้าที่ ั โดยมิชอบ หรื อเป็ นการกระทาตามคาสังหรื อที่ได้รับอนุ ญาตจากศาลพนักงานเจ้าหน้าที่ผใดฝ่ าฝื นวรรคหนึ่ง ่ ู้ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสามปี หรื อปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ มาตรา ๒๓ พนักงานเจ้าหน้าที่ผใดกระทาโดยประมาทเป็ นเหตุให้ผอื่นล่วงรู ้ขอมูลคอมพิวเตอร์ ขอมูลจราจร ู้ ู้ ้ ้ ทางคอมพิวเตอร์ หรื อข้อมูลของผูใช้บริ การ ที่ได้มาตามมาตรา ๑๘ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหนึ่งปี หรื อ ้ ปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ
  12. มาตรา ๒๔ ผูใดล่วงรู ้ขอมูลคอมพิวเตอร์ ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ หรื อข้อมูลของผูใช้บริ การ ที่ ้ ้ ้ พนักงานเจ้าหน้าที่ได้มาตามมาตรา ๑๘ และเปิ ดเผยข้อมูลนั้นต่อผูหนึ่งผูใด ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสอง ้ ้ ปี หรื อปรับไม่เกินสี่ หมื่นบาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ มาตรา ๒๕ ข้อมูล ข้อมูลคอมพิวเตอร์ หรื อข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ที่พนักงานเจ้าหน้าที่ได้มาตาม พระราชบัญญัติน้ ี ให้อางและรับฟังเป็ นพยานหลักฐานตามบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา ้ ความอาญาหรื อกฎหมายอื่นอันว่าด้วยการสื บพยานได้ แต่ตองเป็ นชนิดที่มิได้เกิดขึ้นจากการจูงใจมีคามัน ้ ่ สัญญา ขู่เข็ญ หลอกลวง หรื อโดยมิชอบประการอื่น มาตรา ๒๖ ผูให้บริ การต้องเก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ ไว้ไม่นอยกว่าเก้าสิ บวันนับแต่วนที่ขอมูล ้ ้ ั ้ นั้นเข้าสู่ ระบบคอมพิวเตอร์ แต่ในกรณี จาเป็ นพนักงานเจ้าหน้าที่จะสังให้ผให้บริ การผูใดเก็บรักษาข้อมูล ่ ู้ ้ จราจรทางคอมพิวเตอร์ ไว้เกินเก้าสิ บวัน แต่ไม่เกินหนึ่งปี เป็ นกรณี พิเศษเฉพาะรายและเฉพาะคราวก็ได้ ผู ้ ให้บริ การจะต้องเก็บรักษาข้อมูลของผูใช้บริ การเท่าที่จาเป็ นเพื่อให้สามารถระบุตวผูใช้บริ การ นับตั้งแต่เริ่ ม ้ ั ้ ใช้บริ การและต้องเก็บรักษาไว้เป็ นเวลาไม่นอยกว่าเก้าสิ บวันนับตั้งแต่การใช้บริ การสิ้ นสุ ดลง ความในวรรค ้ ั ้ หนึ่งจะใช้กบผูให้บริ การประเภทใด อย่างไร และเมื่อใด ให้เป็ นไปตามที่รัฐมนตรี ประกาศในราชกิจจา นุเบกษา ผูให้บริ การผูใดไม่ปฏิบติตามมาตรานี้ ต้องระวางโทษปรับไม่เกินห้าแสนบาท ้ ้ ั มาตรา ๒๗ ผูใดไม่ปฏิบติตามคาสั่งของศาลหรื อพนักงานเจ้าหน้าที่ที่สั่งตามมาตรา ๑๘ หรื อมาตรา ๒๐ ้ ั หรื อไม่ปฏิบติตามคาสั่งของศาลตามมาตรา ๒๑ ต้องระวางโทษปรับไม่เกินสองแสนบาทและปรับเป็ น ั รายวันอีกไม่เกินวันละห้าพันบาทจนกว่าจะปฏิบติให้ถูกต้อง ั มาตรา ๒๘ การแต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่ตามพระราชบัญญัติน้ ี ให้รัฐมนตรี แต่งตั้งจากผูมีความรู้และความ ้ ชานาญเกี่ยวกับระบบคอมพิวเตอร์ และมีคุณสมบัติตามที่รัฐมนตรี กาหนด มาตรา ๒๙ ในการปฏิบติหน้าที่ตามพระราชบัญญัติน้ ี ให้พนักงานเจ้าหน้าที่เป็ นพนักงานฝ่ ายปกครองหรื อ ั ตารวจชั้นผูใหญ่ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามีอานาจรับคาร้องทุกข์หรื อรับคากล่าวโทษ ้ และมีอานาจในการสื บสวนสอบสวนเฉพาะความผิดตามพระราชบัญญัติน้ ี ในการจับ ควบคุม ค้น การทา สานวนสอบสวนและดาเนินคดีผกระทาความผิดตามพระราชบัญญัติน้ ี บรรดาที่เป็ นอานาจของพนักงานฝ่ าย ู้ ปกครองหรื อตารวจชั้นผูใหญ่ หรื อพนักงานสอบสวนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ให้ ้ พนักงานเจ้าหน้าที่ประสานงานกับพนักงานสอบสวนผูรับผิดชอบเพื่อดาเนินการตามอานาจหน้าที่ต่อไป ให้ ้ นายกรัฐมนตรี ในฐานะผูกากับดูแลสานักงานตารวจแห่งชาติ และรัฐมนตรี มีอานาจ ร่ วมกันกาหนดระเบียบ ้ เกี่ยวกับแนวทางและวิธีปฏิบติในการดาเนินการตามวรรคสอง ั
  13. มาตรา ๓๐ ในการปฏิบติหน้าที่ พนักงานเจ้าหน้าที่ตองแสดงบัตรประจาตัวต่อบุคคลซึ่ งเกี่ยวข้อง บัตร ั ้ ประจาตัวของพนักงานเจ้าหน้าที่ให้เป็ นไปตามแบบที่รัฐมนตรี ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ผูรับสนองพระบรมราชโองการ ้ พลเอก สุ รยุทธ์ จุลานนท์ นายกรัฐมนตรี หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ เนื่องจากในปั จจุบนระบบคอมพิวเตอร์ ได้ ั เป็ นส่ วนสาคัญ ของการประกอบกิจการ และการดารงชีวิตของมนุษย์ หากมีผกระทาด้วยประการใด ๆ ให้ ู้ ระบบคอมพิวเตอร์ ไม่สามารถทางานตามคาสั่งที่กาหนดไว้ หรื อทาให้การทางานผิดพลาดไปจากคาสั่งที่ กาหนดไว้ หรื อใช้วธีการใด ๆ เข้าล่วงรู ้ขอมูล แก้ไข หรื อทาลายข้อมูลของบุคคลอื่น ในระบบคอมพิวเตอร์ ิ ้ โดยมิชอบ หรื อใช้ระบบคอมพิวเตอร์ เพื่อเผยแพร่ ขอมูลคอมพิวเตอร์ อนเป็ นเท็จ หรื อมีลกษณะอันลามก ้ ั ั อนาจาร ย่อมก่อให้เกิดความเสี ยหาย กระทบกระเทือนต่อเศรษฐกิจ สังคม และความมันคงของรัฐ รวมทั้ง ่ ความสงบสุ ขและศีลธรรมอันดีของประชาชน สมควรกาหนดมาตรการเพื่อป้ องกันและปราบปรามการ กระทาดังกล่าว จึงจาเป็ นต้องตราพระราชบัญญัติน้ ี ที่มา : http://www.cowboythai.com/forum/index.php?topic=1443.msg9206;topicse
  14. เอกสำรอ้ำงอิง http://www.dld.go.th/ict/article/security/sec02.html http://www.gotoknow.org/posts/372559http://www.cowboythai.com/forum/index.p hp?topic=1443.msg9206;topicse
Anúncio