SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
การประกาศนโยบายและแผนโครงการสร้าง/จัดหาระบบราง 2-3 ล้าน
ล้านบาทของรัฐบาลที่ผ่านๆมาในระยะสิบปีนี้ นับเป็นโครงการระบบรางที่ใหญ่เป็น
ลาดับต้นๆของโลก ก่อให้เกิดการตื่นตัวในทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องกับระบบราง ต่าง
พยายามจะเตรียมความพร้อมในส่วนที่เกี่ยวข้อง มีทั้งที่ทาจากการผลักดันของ
ภาครัฐ และ ที่ทาโดยความสนใจของตนเอง
หน่วยงานต่างๆในกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้ร่วมกันเตรียม
ความพร้อมในส่วนที่เกี่ยวข้องด้วย ที่รู้จักกันดีได้แก่ สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) โดย โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบ
ขนส่งทางรางแห่งชาติ ดาเนินการและสนับสนุนการเรียนรู้ เพื่อจะให้เกิดความรู้
ความเข้าใจในระบบขนส่งทางรางในวงกว้าง และเพื่อจะร่วมผลักดันนโยบายการ
ขนส่งทางรางของประเทศไปในทิศทางที่จะพึ่งความสามารถของตนเองได้ในอนาคต
ต่อไป ตัวอย่างเช่น การฝึกอบรมหลักสูตรพัฒนาบุคลากรด้านวิศวกรรมระบบขนส่ง
ทางราง (วศร.) ซึ่งดาเนินการด้วยการสนับสนุนของสานักงาน
คณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ (สวทน.)โดย
สถาบันวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีชั้นสูง (THAIST) และดาเนินการบริหารแผน
งานวิจัยระบบรางซึ่งเป็นหนึ่งในแผนงานวิจัยมุ่งเป้าของประเทศ ที่ได้รับการ
มอบหมายจากสานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) เป็นต้น
โครงการระบบรางขนาดใหญ่ครั้งนี้ เป็นโอกาสที่ดียิ่งสาหรับประเทศไทย
ทุกภาคส่วนที่จะได้รับการถ่ายความรู้ เทคโนโลยี และทักษะในการออกแบบ ผลิต
ติดตั้ง ประกอบ บารุงรักษาซ่อมแซมระบบรถไฟ หลายภาคส่วนพยายามที่จะค้นหา
รูปแบบจาลองวิธีการรับการถ่ายทอดเทคโนโลยีของประเทศอื่นๆที่น่าจะถือได้ว่า
ประสบความสาเร็จในการรับการถ่ายทอดเทคโนโลยีจนสามารถพัฒนาต่อยอดระบบ
ของตนผลิตขายต่างประเทศได้ เช่น ประเทศจีน และเกาหลี เป็นต้น เพื่อนามา
พิจารณาประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับประเทศไทย อีกหนึ่งในความพยายามนี้คือการ
บรรยาย “การพัฒนาอุตสาหกรรมขนส่งระบบราง : บทเรียนจากมาเลเซีย” เมื่อ
วันที่ 19 ก.พ. จัดโดยความร่วมมือของกระทรวงคมนาคม สวทช. และคณะ
วิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่น่าสนใจมาก เพราะ สถานะภาพของ
มาเลเซียในส่วนที่เกี่ยวกับการอุตสาหกรรมไม่ต่างจากเรามากนัก แม้ยังไม่ปรากฏว่า
มาเลเซียจะประสบความสาเร็จเหมือนจีนหรือเกาหลีหรือไม่
จากการบรรยายเห็นได้ว่าการพัฒนาอุตสาหกรรมระบบรางในมาเลเซียมี
ประวัติที่ยาวนาน เริ่มจากภาครัฐ โดย ดร. มหาเธร์ โมฮัมหมัด อดีตนายกรัฐมนตรี
มาเลเซีย ที่ประกาศชัดเจนเมื่อ 25 ปีที่แล้ว ว่าจะสร้างโอกาสทางเศรษฐกิจให้แก่
มาเลเซียด้วยการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีเพื่อให้ประเทศเป็นประเทศพัฒนาแล้ว
อย่างเต็มตัวในปี 2020
ในการพัฒนาเศรษฐกิจมีความต้องการระบบการขนส่งสาธารณะที่ดีและ
พอเพียง ด้วยข้อได้เปรียบของระบบรางเมื่อเทียบกับระบบอื่นๆ จึงเลือกใช้ระบบราง
และต้องการให้ได้ระบบรางที่มีสมรรถภาพดี และน่าเชื่อถือ ซึ่งต้องใช้เงินลงทุนสูง
มาก การลงทุนมหาศาลนี้จึงต้องคุ้มค่าเงิน โดยกาหนดให้การลงทุนนี้เป็นการเปิด
โอกาสให้เกิดการพัฒนาอุตสาหกรรมระบบรางที่สามารถรองรับการเดินรถ และการ
ซ่อมบารุงรักษาระบบได้ตลอดการใช้งาน นั่นคือต้องสามารถ ออกแบบ พัฒนา ผลิต
ติดตั้งบูรณาการระบบ เดินรถ ซ่อมบารุงได้เอง
EEE---NewsletterNewsletterNewsletter ฉบับที่ฉบับที่ฉบับที่ 222222 ประจาเดือน มีนาคม 255ประจาเดือน มีนาคม 255ประจาเดือน มีนาคม 255999
โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติโครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติโครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ
สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
Thailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute Project
National Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development Agency
Page | 1ช่วยกันหาแผนที่นาทางอุตสาหกรรมระบบรางไทย
บทบรรณาธิการ :บทบรรณาธิการ :บทบรรณาธิการ :
ดร.เยี่ยมชาย ฉัตรแก้ว
นอกจากนี้ยังมองเห็นช่องทางธุรกิจระบบรางในตลาดโลกที่ใหญ่มาก
จึงได้มีวิสัยทัศน์ไว้ว่า “ในปี 2030 มาเลเซียจะมีธุรกิจที่เข้มแข็งและยั่งยืน
สามารถรองรับความต้องการการขนส่งทางรางในประเทศ และแข่งขันใน
ตลาดโลกได้ ด้วยทรัพยากรและเทคโนโลยีของตนเอง”
มาเลเซียได้มีการตั้งเป้าหมายไว้ 3 เป้าหมาย เป้าหมายแรกคือ
เตรียมความพร้อมในทุกด้านทั้งทางด้านองค์กร กฎระเบียบ การลงทุนใน
อุตสาหกรรมที่ยังขาดอยู่ บุคลากร และการปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานและการ
บารุงรักษาที่ทันสมัย เป้าหมายที่ 2 ปรับผลิตภัณฑ์และบริการให้เข้ากับ
ประเทศ และเป้าหมายสุดท้ายคือ ยืนแข่งขันในตลาดโลกได้
จากการบรรยายได้รับข้อมูลที่น่าสนใจในการใช้การลงทุนมาเปิด
โอกาสให้เกิดการสร้างความรู้ความสามารถในการพัฒนาอุตสาหกรรมของ
มาเลเซีย คือเครื่องมือที่เรียกว่า Industrial Collaboration Program (ICP)ที่มี
ลักษณะเป็นนโยบายและแนวปฏิบัติที่บังคับให้หน่วยงานภาครัฐต่างๆถือปฏิบัติ
ในระดับที่ต่างๆกัน โดยมีองค์กรสังกัดกระทรวงการคลังที่เรียกว่า Technology
Depository Agency (TDA) กากับดูแลให้ผู้เกี่ยวข้องปฏิบัติตาม ICP นี้ ICP
ประกอบด้วยรายการกิจกรรมที่เพิ่มมูลค่าให้แก่การจัดหาของภาครัฐ ที่มีการ
เริ่มใช้มาตั้งแต่ปี 1987 โดยมีการปรับรูปแบบเนื้อหามาเป็นระยะๆ เริ่มด้วย
Countertrade ในการจัดหาอุปกรณ์ทางทหาร (ซึ่งมีการทากันมาก่อนแล้วใน
หลายประเทศ) ปัจจุบันมี 3 กิจกรรมที่ขึ้นอยู่กับขนาดของการจัดหา แต่ที่
น่าสนใจคือ กิจกรรมตาม Offset Program ซึ่งกาหนดให้ผู้ยื่นข้อเสนอจัดทา
ข้อเสนอทั้งที่เกี่ยวกับโครงการโดยตรง เช่น การตั้งโรงงานประกอบรถไฟใน
มาเลเซีย การใช้ Local Contents การให้ศึกษาฝึกอบรม การถ่ายทอด
เทคโนโลยี แก่บุคลากรของประเทศมาเลเซีย เป็นต้น และกิจกรรมอื่นที่ไม่
เกี่ยวข้องกับโครงการโดยตรงแต่เกิดประโยชน์แก่เศรษฐกิจของประเทศ แต่ละ
กิจกรรมมีคะแนนแตกต่างกันตามประโยชน์ที่ประเทศได้รับ การจัดหาแต่ละครั้ง
ก็จะมีการกาหนดคะแนนขั้นต่าที่ผู้รับเหมาจะต้องจัดให้มี มิฉะนั้นมีค่าปรับ จาก
การบรรยายรับฟังได้ว่ากิจกรรมเหล่านี้สร้างความพอใจให้กับทั้งสองฝ่าย
คู่สัญญา
มาเลเซียจะประสบความสาเร็จตามที่คาดหวังไว้หรือไม่คงต้องรอดู
แต่เราน่าที่จะศึกษาแนวทางที่มาเลเซียดาเนินมาโดยละเอียด และพิจารณา ว่า
จะนาอะไรส่วนใดมาใช้กับประเทศเราได้อย่างไรบ้าง รัฐบาลเขามีนโยบายที่ชัด
มีแผนมีเป้าหมายชัด ว่าเมื่อใดควรบรรลุอะไร ผู้มีส่วนได้เสียร่วมกันทางานโดย
การสนับสนุนและอานวยความสะดวกของภาครัฐ การดาเนินการของประเทศ
เราดูว่ามีแนวทางคล้ายๆกันบ้าง แต่ไม่ครบวงจร และแต่ละขั้นตอนไม่ทากัน
จริงจัง แต่อย่างน้อยเราก็ได้มีการเริ่มต้นถ่ายทอดความรู้ระบบรางกันแล้ว
ดังกล่าวไว้ข้างต้น ตรงนี้เราอาจไม่ช้ากว่ามาเลเซีย เพียงแต่ว่าเรายังขาด
องค์ประกอบอื่นๆอีกมาก น่าที่ทุกภาคส่วนจะมานั่งหารือกันถึง วิสัยทัศน์
นโยบาย แผน กฎระเบียบ องค์กร กิจกรรมต่างๆ ว่าเรา/ใครควรทาอะไรอย่างไร
ฯลฯ รวมทั้งหาปัจจัยสาคัญที่จะนาไปสู่ความสาเร็จตามที่ควรจะเป็น
บทเรียนจากการถ่ายทอดเทคโนโลยีของประเทศญี่ปุ่ น
และการพัฒนาอุตสาหกรรมระบบรางของประเทศมาเลเซีย
บทความโดย นายทศวัชร์ ชีวะธนาเลิศกุล (วศร.5)
วิศวกร โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ
Thailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute Project
National Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development Agency
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ภายใต้ความร่วมมือระหว่างกระทรวงคมนาคม และ
สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
(สวทช.) ได้จัดสัมมนา“แนวทางการถ่ายทอด
เทคโนโลยีการผลิตรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนและ
อุตสาหกรรมเกี่ยวเนื่อง” ครั้งที่ 2 กรณีศึกษาประเทศ
ญี่ปุ่น ที่จัดขึ้นเมื่อ 11 ก.พ. 59 และครั้งที่ 3
กรณีศึกษาประเทศมาเลเซีย จัดเมื่อ 19 ก.พ. 59 ได้มี
ผู้เชี่ยวชาญจากทั้ง 2 ประเทศ จากหน่วยงานภาครัฐ
สถาบันวิจัย และด้านอุตสาหกรรม มาถ่ายทอดความรู้
และประสบการณ์
กรณีการถ่ายทอดเทคโนโลยีของประเทศญี่ปุ่น
สามารถสรุปรูปแบบการถ่ายทอดเทคโนโลยีได้เป็น 4
ช่องทาง ดังนี้
 ผ่านการซื้อขบวนรถหรือชิ้นส่วนที่เกี่ยวข้องโดย
มีข้อแม้ว่าผู้ขายจะต้องถ่ายทอดเทคโนโลยีให้จน
สามารถผลิตเองได้
 ผ่านการเข้ารับการศึกษาในหลักสูตรที่เปิดสอน
ในประเทศนั้น ๆ
ปกิณกะ :ปกิณกะ :ปกิณกะ :
31 มี.ค. 59 เวลา 09.00 – 15.30 น. ขอเชิญเข้าร่วมการสัมมนา เรื่อง
ค้นหาไข่มุกระบบราง โดยโครงการส่งเสริมการศึกษาและวิจัยร่วมระบบ
ขนส่งทางรางโดยมหาวิทยาลัยมหิดลภายใต้การสนับสนุนของ สวทช.
ภายในงานการประชุมวิชาการประจาปี สวทช. ครั้งที่ 12 (NAC2016)
ณ ห้องประชุม One North ชั้น 1 อาคารกลุ่มนวัตกรรม 2 (INC2) ทาว
เวอร์ A อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย จ.ปทุมธานี
และวันที่ 1 เม.ย. 59 เวลา 9.00 – 16.00 น. ขอเชิญร่วมการสัมมนา
เรื่อง พัฒนาอุตสาหกรรมระบบรางเพื่ออนาคตเศรษฐกิจและสังคมไทย
อย่างไร? ณ ห้องประชุม Grand hall ชั้น 1 อาคาร ศูนย์ประชุมอุทยาน
วิทยาศาสตร์ประเทศไทย (อาคาร CC) อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย
จ.ปทุมธานี ดูรายละเอียดเพิ่มเติมและลงทะเบียนที่ http://
www.nstda.or.th/nac2016 สอบถามที่เบอร์ 0-2644-8150 ต่อ
81860 หรือ rail@nstda.or.th
16 – 17 มี.ค. 59 เวลา 9.00 – 17.00 น. ขอเชิญ
ผู้สนใจเข้าร่วมงาน การประชุมวิชาการและแสดง
นิทรรศการอุตสาหกรรมระบบขนส่งทางรางไทย
ครั้งที่ 2 เรื่อง “ผลิตชิ้นส่วนระบบรางอย่างไรให้ได้มาตรฐาน”
The Second Thai Rail Industry Symposium and
Exhibition (RISE2) : "Railway Standard and Thai Railway Parts Manufacturing" ณ
สถานีรถไฟฟ้าแอร์พอร์ต เรล ลิงก์ มักกะสัน ภายในงานพบกับ นิทรรศการแสดงผลิตภัณฑ์
จากอุตสาหกรรมระบบขนส่งทางรางของไทยและต่างประเทศ การนาเสนอความก้าวหน้าของ
งานวิจัยระบบราง เพื่อส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากการวิจัยและพัฒนานวัตกรรม และการ
เสวนาองค์ความรู้มากมายเกี่ยวกับระบบราง ดูรายละเอียดเพิ่มเติมและลงทะเบียนร่วมงานฟรี
ได้ที่ www.thairailtech.or.th และ www.facebook.com/RISEThailand หรือโทร 0-2644
-8150 ต่อ 81879
ปฏิทินราง :ปฏิทินราง :ปฏิทินราง :
31 มี.ค. 59 เวลา 8.30 – 16.30 น. ขอเชิญ
ร่วมงานสัมมนา High Speed Train and Railway
Industry Localization a case study of Taiwan
ณ ชั้น 5 อาคารสานักนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร ติดต่อสอบถามที่
rail@nstda.or.th หรือโทร 0-2644-8150 ต่อ 81840 ลงทะเบียนเข้าร่วมงาน
www.thairailtech.or.th
 ผ่านการให้บริษัทของประเทศนั้น ๆ เป็นผู้สร้าง
โครงสร้างพื้นฐาน เช่น การพัฒนารถไฟฟ้าสายสี
ม่วงที่รัฐบาลไทยให้บริษัท (JTT: Japan Trans-
portation Technology) ซึ่งเป็นบริษัทลูกของ
JR East เป็นผู้รับผิดชอบระบบซ่อมบารุง
รถไฟฟ้าสายสีม่วง
 ผ่านการลงทุน ซึ่งอาจเป็นการลงทุนใน
อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับระบบรางที่ไม่ใช่เป็น
การลงทุนในการพัฒนาเส้นทางโดยตรงก็ได้
ในกรณีของประเทศญี่ปุ่นยากที่จะสามารถยกมา
ใช้เป็นตัวอย่างสาหรับประเทศไทย เนื่องมาจากญี่ปุ่น
นั้นเป็นผู้สร้างและเป็นผู้ขายเทคโนโลยี มากกว่าเป็นผู้
ซื้อเทคโนโลยี การนาเสนอหรือการแนะนาแนวทางใน
การถ่ายทอดเทคโนโลยีของญี่ปุ่นจึงเป็นในเชิงธุรกิจ
จะเป็นการเน้นว่าเขาสามารถถ่ายทอดอะไรให้กับ
ประเทศไทยได้บ้าง มากกว่าที่จะแนะนาว่าเราควรจะ
เตรียมวางแผนการถ่ายทอดเทคโนโลยีอย่างไร
ในส่วนการจัดสัมมนาครั้งที่ 3 กรณีการพัฒนา
อุตสาหกรรมระบบรางภายในประเทศมาเลเซีย
ผู้เชี่ยวชาญมาเลเซียได้บรรยายว่า การจะพัฒนา
อุตสาหกรรมภายในประเทศไม่ว่าจะอุตสาหกรรมใด
ต้องเข้าใจหลักใหญ่ๆ 2 ประการ
 ความต้องการของประเทศ
 โอกาสของประเทศ
ซึ่งมาเลเซียได้เล็งเห็นตรงนี้และสามารถบอกได้ว่า
ประเทศของเขานั้นมีความต้องการดังต่อไปนี้
1. มีความต้องการให้ระบบรางนั้นเป็นระบบการ
ขนส่งสาหรับประชาชนและสินค้าเพื่อจะกระตุ้นการ
เจริญเติบโตของประเทศ
2. มีความต้องการลงทุนขยายตัวของระบบรางเพื่อ
สนองต่อแผนการพัฒนาประเทศทั้งในปัจจุบันและ
อนาคตซึ่งได้กล่าวถึงแผนทั้ง 4 ดังนี้
 Economic Transformation Program (ETP)
 Government Transformation Program
(GTP)
 Eleventh Malaysia Plan (2016-2020)
 Third Industrial Master Plan 2006-2020
(IMP3)
30 มี.ค. – 2 เม.ย 59 ขอเชิญร่วมงาน
การประชุมวิชาการประจาปี สวทช. ครั้ง
ที่ 12 (NAC2016) โดยโครงการจัดตั้ง
สถาบันฯ ร่วมจัดแสดงนิทรรศการในโซนอุตสาหกรรมการผลิต
และการบริการ
Page | 2
กิจกรรมโครงการและเครือข่าย :กิจกรรมโครงการและเครือข่าย :กิจกรรมโครงการและเครือข่าย :
Thailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute Project
National Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development Agency
1 เดือน 1 กิจกรรม เยี่ยมชม คอบร้า กรุ๊ป
17 ก.พ. 59 เวลา 10.00 – 14.30 น. กิจกรรม 1 เดือน 1
กิจกรรม โดย โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่ง
ทางรางแห่งชาติ สวทช. พาผู้ที่สนใจร่วมกิจกรรมเยี่ยมชม
กระบวนการผลิตชิ้นส่วนรถยนต์ และไลน์การผลิต ของ บริษัท
คอบร้า แอดวานซด์ คอมโพซิทส์ จากัด และ คอมโพสิต มารีน
อินเตอร์เนชั่นแนล จากัด
ประชุมเครือข่าย วศร. ประจาเดือน ก.พ. 59
17 มี.ค. 59 เวลา 18.30 น. การประชุมเครือข่าย วศร.
ประจาเดือน กุมภาพันธ์ 2559 ณ บริษัท เอเชี่ยน เอ็นจิเนียริ่ง
คอนซัลแต้นส์ จากัด อาคารสาธรนคร ทาวเวอร์ ถ.สาทรเหนือ
บางรัก กรุงเทพฯ
อันจะก่อเกิดความท้าทายในการพัฒนา
อุตสาหกรรม ตัวอย่างเช่น
 พัฒนาระบบขนส่งทางรางให้เป็นรูปแบบการ
ขนส่งที่มีประสิทธิภาพ
 ขนส่งได้จำนวนมำกแต่ใช้ระยะเวลำในกำรขนส่ง
น้อยสำหรับผู้โดยสำรและสินค้ำ โดยอ้ำงอิงอยู่
บนพื้นฐำนของประชำกรของประเทศมำเลเซีย
ในอีก 20 ปีข้ำงหน้ำ
ทุกอย่างที่กล่าวมาจะเกิดขึ้นไม่ได้ถ้า
ผู้บริหารประเทศขาดวิสัยทัศน์ในการมองเรื่องนี้
จึงขอยกวิสัยทัศน์ของประเทศมาเลเซียในเรื่องการ
พัฒนาอุตสาหกรรมระบบรางมาเป็นตัวอย่างที่ได้
กล่าวไว้ว่า
การถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตรถไฟฟ้า โดย ประเทศมาเลเซีย
19 ก.พ. 59 เวลา 08.30 – 16.00
น. การสัมมนา เรื่อง “แนว
ทางการถ่ายทอดเทคโนโลยีการ
ผลิตรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนและ
อุตสาหกรรมเกี่ยวเนื่อง” ครั้งที่ 3
ถ่ายทอดประสบการณ์ โดย ผู้เชี่ยวชาญจากประเทศมาเลเซีย ณ
ห้องประชุมชั้น 2 อาคารเจริญวิศวกรรม คณะวิศวกรรมศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อีกหนึ่งงานในโครงการอาศรมความคิด
อรุณ สรเทศน์ ณ ลานเกียร์ (เปิดโลกลานเกียร์) ภายใต้ความร่วมมือ
ระหว่างกระทรวงคมนาคม และสานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
ในปี 2030 อุตสาหกรรมระบบรางของ
มาเลเซียจะมีความเข้มแข็งและยั่งยืนสามารถ
ตอบสนองความต้องการของระบบขนส่งทางราง
ของประเทศได้ และสามารถแข่งขันในระดับโลกใน
ด้านการพัฒนา ใช้ทรัพยากรและเทคโนโลยี
ภายในประเทศ
Page | 3
ปกิณกะ : (ต่อ)ปกิณกะ : (ต่อ)ปกิณกะ : (ต่อ)
แถลงข่าวการจัดงาน RISE2
3 มี.ค. 59 เวลา
13.30 – 15.00 น .
แถลงข่าวการจัดงาน
การประชุมวิชาการ
และแสดงนิทรรศการ
อุตสาหกรรมระบบ
ขนส่งทางรางไทย ครั้ง
ที่ 2 เรื่อง “ผลิตชิ้นส่วนระบบรางอย่างไรให้ได้มาตรฐาน” The
Second Thai Rail Industry Symposium and Exhibition
(RISE2) ณ ห้องโถง ชั้น 1 กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อ
ประชาสัมพันธ์งานที่จะจัดขึ้นในวันที่ 16 – 17 มี.ค. 59 ณ สถานี
รถไฟฟ้าแอร์พอร์ต เรล ลิงก์ มักกะสัน
การบรรยายพิเศษด้านวิศวกรรมการจัดการระบบขนส่งทางราง
15 – 19 ก.พ. 59 เวลา 8.30 - 17.00 การบรรยายพิเศษด้าน
วิศวกรรมการจัดการระบบขนส่งทางราง โดย Prof. Dr.-Ing.
Jörn Pachl (University professor - TU Braunschweig) ณ
ห้อง 101 อาคารประชาสังคมอุดมพัฒน์ มหาวิทยาลัยมหิดล จัด
โดย โครงการศูนย์นวัตกรรมทางโลจิสติกส์ คณะวิศวกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยมหิดล ร่วมกับ สานักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและ
นวัตกรรมแห่งชาติ (สวทน.) เพื่อพัฒนาศักยภาพและเพื่อเพิ่มพูนความรู้ของบุคลากรผู้สอนและ
บุคลากรที่เกี่ยวข้องสาหรับการสอนในเรื่องวิศวกรรมการจัดการระบบขนส่งทางราง
3. มีความต้องการในการจะเพิ่มสมรรถภาพในการ
ออกแบบ การพัฒนา การผลิต การประกอบ การเดิน
รถ การบารุงรักษา และการยกเครื่อง (Overhaul) ใน
ระบบขนส่งทางราง
4. มีความต้องการใช้จ่ายงบประมาณอย่างคุ้มค่า
ในการพัฒนาขีดความสามารถทางด้านอุตสาหกรรม
โดยทั้งหมดนี้มาเลเซียมีเป้าหมายสูงสุด
(Guiding Star) ที่น่าสนใจคือ การมีระบบขนส่งที่มี
ประสิทธิภาพและน่าเชื่อถือที่ให้บริการแก่ประชาชน
เมื่อทราบความต้องการแล้วก็มาถึงโอกาสที่มาเลเซีย
เล็งเห็นดังนี้
1. ปริมาณมูลค่าของตลาดอุตสาหกรรมเสริมด้าน
ระบบรางมีมูลค่าเฉลี่ย 167 ล้าน USD ในปี 2011-
2013 และในเอเชียแปซิฟิกมีสัดส่วนการตลาดอยู่ที่
32% ของตลาดโลก
2. ทางฝั่งยุโรปนั้นจับตลาดทางด้านอุตสาหกรรม
Rolling Stock เกือบทั้งหมด คิดเป็นประมาณ 65%
โดยทางฝั่งเอเชียกาลังจับตามองในอุตสาหกรรมผลิต
ชิ้นส่วนงานประกอบและงานบูรณาการระบบและ
อื่นๆ
3. การลงทุนขนาดใหญ่ที่กาลังจะเกิดขึ้นใน
มาเลเซียคาดว่าจะมีมูลค่าถึง 160 พันล้านริงกิต
สาหรับโครงการในอนาคตจนกระทั่งถึงปี 2020
4. การขนส่งสินค้าโดยใช้ระบบรางคาดการณ์ว่าจะ
มีการขนส่งเพิ่มขึ้นจนถึง 6.2 ล้านตัน ในปี 2012 โดย
เทียบกับ 5.9 ล้านตันในปี 2011
5. กิจกรรมทางด้านระบบขนส่งทางรางทางฝั่ง
ตะวันออกของมาเลเซีย (Sabah & Sarawak) มี
แนวโน้มว่าจะเป็นตัวเร่งในการใช้ระบบรางเพื่อขนส่ง
สินค้าและการท่องเที่ยว
ซึ่งในกรณีของมาเลเซียมีปัญหาและอุปสรรคที่
สาคัญคัดมาบางข้อดังนี้
 ความหลากหลายของตัว Rolling Stocks นั้น
ทาให้เป็นเรื่องยากที่จะสามารถสนับสนุนในส่วน
นี้ได้ไปตลอดอายุขัยของระบบ
 ทรัพยากรบุคลากรไม่เพียงพอ เนื่องจากความรู้
ความสามารถเฉพาะทางที่มีอยู่จานวนน้อย
เกินไป
ที่ปรึกษา : คุณชาตรี ศรีไพพรรณ คุณนคร จันทศร คุณนัยรัตน์ อมาตยกุล คุณวัฒนา สมานจิตร คุณชยากร ปิยะบัณฑิตกุล คุณสมฤทธิ์ พุทธันบุตร คุณนพมล จันทรวิมล
กองบรรณาธิการ : คุณทปกร เหมือนเตย คุณกุลเชษฐ์ กอพัฒนาชัยเจริญ คุณสฤษฏ์โรจ จันทร์เพิ่มพูนผล คุณทศวัชร์ ชีวะธนาเลิศกุล
ผู้ดาเนินการ : โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
ติดต่อสอบถาม : โทร. 02-644-8150 ต่อ 81860 81861 81879 81880 อีเมล์ : rail@nstda.or.th website : www.thairailtech.or.th และ www.facebook.com/thairailtech
กาหนดออกทุก วันที่ 15 ของทุกเดือน ขอเชิญชวนร่วมส่งบทความ หรือ ข่าวสารเพื่อการประชาสัมพันธ์
เกี่ยวกับระบบขนส่งทางราง ได้ที่อีเมล์ rail@nstda.or.th
Thailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute Project
National Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development Agency
สังคมระบบราง :สังคมระบบราง :สังคมระบบราง :
ในการบรรยายพิเศษด้าน
วิศวกรรมการจัดการระบบ
ข น ส่ ง ท า ง ร า ง ที่ ค ณ ะ
วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ร่วมกับ สวทน. จัดเมื่อวันที่
17 ก.พ. 59 ได้พาผู้เข้าอบรม และ Prof. Dr.-Ing. Jörn Pachl
เยี่ยมชมสถานีรถไฟหัวลาโพง โดยได้ คุณอนันต์ โพธิ์นิ่มแดง
(วศร.3) รองวิศวกรใหญ่ด้านโครงการและพัฒนาระบบ การรถไฟ
แห่งประเทศไทย เป็นผู้พาเยี่ยมชมสถานี
สมาคมวิศวกรรมระบบขนส่งทางรางไทย (วศรท.)
เป็นเจ้าภาพจัดเลี้ยงขอบคุณคณะวิทยากรที่มาถ่ายทอดประสบการณ์ในงานเสวนา
เรื่อง “แนวทางการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนและ
อุตสาหกรรมเกี่ยวเนื่อง” ที่จัดขึ้น ณ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ค่าวันที่ 19 ก.พ. 59 เลี้ยงขอบคุณคณะวิทยากรผู้เชี่ยวชาญจาก
ประเทศมาเลเซีย ประกอบด้วย Technology Depository Agency
Berhad (TDA)
กิจกรรมโครงการและเครือข่าย : (ต่อ)กิจกรรมโครงการและเครือข่าย : (ต่อ)กิจกรรมโครงการและเครือข่าย : (ต่อ)
ค่าวันที่ 11 ก.พ. 59 เลี้ยงขอบคุณคณะวิทยากรผู้เชี่ยวชาญจาก
ประเทศญี่ปุ่น ประกอบด้วย Ministry of Land, Infrastructure
and Transport (MLIT), Japan International Cooperation
Agency (JICA), Hitachi, Ltd. Rail Systems Company, Japan
Freight Railway Co., Mitsubishi Heavy Industries Co.,Ltd. ณ
ห้องอาหารสนามม้าราชกรีฑาสโมสร
ค่าวันที่ 22 ม.ค. 59 เลี้ยงขอบคุณคณะวิทยากรผู้เชี่ยวชาญจาก
สาธารณรัฐเกาหลี ประกอบด้วย Korea Railroad Research Insti-
tute (KRRI), Korea Railway Association (KORASS), Hyundai-
Rotem Co., Daewoo Engineering & Construction Co.,Ltd.,
DAEATI Co.,Ltd., Sunkoo Engineering Co.,Ltd. ณ ห้องอาหาร
สนามม้าราชกรีฑาสโมสร
เมื่อวันที่ 20 ก.พ. 59 วศรท.
จัดกิจกรรมแข่งกอล์ฟกับ Mr.
Zailani bin Safari, CEO
และคณะผู้เชี่ยวชาญจาก Technology Depository Agency
Berhad (TDA) มาเลเซีย ณ สนามกอล์ฟกรุงเทพกรีฑา สปอร์ต
คลับ
แข่งกอล์ฟร่วมกับ CEO
TDA มาเลเซีย
กิจกรรมเยี่ยมชมสถานี
รถไฟหัวลาโพง
มหาวิทยาลัยรังสิตจัดสัมมนาเทคโนโลยีระบบราง
14 มี.ค. 59 เวลา 10.00 – 16.00
น. งานสัมมนาวิชาการ 1st
Nihon
- Rangsit Symposium on Rail-
way System Technology ณ
ห้องออดิทอเรียม11-101 อาคาร
11 มหาวิทยาลัยรังสิต เพื่อส่งเสริมและพัฒนาความรู้ทางด้าน
เทคโนโลยีระบบขนส่งทางราง
ค่ายสานสัมพันธ์นักศึกษาระบบราง รุ่นที่ 3
12 มี.ค. 59 เวลา 8.30 – 16.30
น. กิจกรรมค่ายสานสัมพันธ์
นักศึกษาระบบราง รุ่นที่ 3 ภายใต้
โครงการส่งเสริมการศึกษา
และวิจัยร่วมระบบขนส่งทาง
ราง ณ ห้องประชุม R114 คณะวิศวกรรมศาสตร์
Page | 4
ประชุมคณะทางานจัดกิจกรรมวิชาการ
11 มี.ค. 59 เวลา 13.30 น. การประชุมคณะทางานจัดกิจกรรม
วิชาการการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางราง
แห่งชาติ ครั้งที่ 3/2559 ณ ห้องประชุมชั้น 3 อาคารโยธี สวทช.
เพื่อหารือเรื่องการจัดการประชุมวิชาการและแสดงนิทรรศการ
อุตสาหกรรมระบบขนส่งทางรางไทย ครั้งที่ 2 (RISE)
โชว์ผลงานวิจัยระบบรางในงานแถลงข่าว NAC 2016
4 มี.ค. 59 เวลา 10.00 น. งานแถลงข่าวการจัดงาน การประชุม
วิชาการประจาปี สวทช. ครั้งที่ 12 หรือ 12thNSTDA Annual
Conference (NAC2016) ณ ห้องโถง กระทรวงวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี ในงานนี้ โครงการจัดตั้งสถาบันฯ ได้ร่วมแสดงผล
งานวิจัย โครงการพัฒนาชุดโมเดลต้นแบบการพัฒนาพื้นที่รอบ
สถานีขนส่งทางราง โดยร่วมกับคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

More Related Content

Viewers also liked

Innovation Journey 20160613 TOT
Innovation Journey 20160613 TOTInnovation Journey 20160613 TOT
Innovation Journey 20160613 TOTpantapong
 
Set Your Content Free! : Case Studies from Netflix and NPR
Set Your Content Free! : Case Studies from Netflix and NPRSet Your Content Free! : Case Studies from Netflix and NPR
Set Your Content Free! : Case Studies from Netflix and NPRDaniel Jacobson
 
2010aug Capgemini Group Presentation
2010aug Capgemini Group Presentation2010aug Capgemini Group Presentation
2010aug Capgemini Group Presentationpimdevogel
 
25 perguntas poderosas para obter clientes de coaching
25 perguntas poderosas para obter clientes de coaching25 perguntas poderosas para obter clientes de coaching
25 perguntas poderosas para obter clientes de coachingcoachingparasucesso
 
ERIK JAMES G. ABEJUELA CV 2015 (ADMINISTRATION AND HOUSEKEEPING)
ERIK JAMES G. ABEJUELA CV 2015 (ADMINISTRATION AND HOUSEKEEPING)ERIK JAMES G. ABEJUELA CV 2015 (ADMINISTRATION AND HOUSEKEEPING)
ERIK JAMES G. ABEJUELA CV 2015 (ADMINISTRATION AND HOUSEKEEPING)erik abejuela
 
NIABBL 2016 06-21
NIABBL 2016 06-21NIABBL 2016 06-21
NIABBL 2016 06-21pantapong
 

Viewers also liked (6)

Innovation Journey 20160613 TOT
Innovation Journey 20160613 TOTInnovation Journey 20160613 TOT
Innovation Journey 20160613 TOT
 
Set Your Content Free! : Case Studies from Netflix and NPR
Set Your Content Free! : Case Studies from Netflix and NPRSet Your Content Free! : Case Studies from Netflix and NPR
Set Your Content Free! : Case Studies from Netflix and NPR
 
2010aug Capgemini Group Presentation
2010aug Capgemini Group Presentation2010aug Capgemini Group Presentation
2010aug Capgemini Group Presentation
 
25 perguntas poderosas para obter clientes de coaching
25 perguntas poderosas para obter clientes de coaching25 perguntas poderosas para obter clientes de coaching
25 perguntas poderosas para obter clientes de coaching
 
ERIK JAMES G. ABEJUELA CV 2015 (ADMINISTRATION AND HOUSEKEEPING)
ERIK JAMES G. ABEJUELA CV 2015 (ADMINISTRATION AND HOUSEKEEPING)ERIK JAMES G. ABEJUELA CV 2015 (ADMINISTRATION AND HOUSEKEEPING)
ERIK JAMES G. ABEJUELA CV 2015 (ADMINISTRATION AND HOUSEKEEPING)
 
NIABBL 2016 06-21
NIABBL 2016 06-21NIABBL 2016 06-21
NIABBL 2016 06-21
 

More from National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand

More from National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand (20)

NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2566NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2566
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2566NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2566
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564
 

Newsletter โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ ฉบับที่ 22

  • 1. การประกาศนโยบายและแผนโครงการสร้าง/จัดหาระบบราง 2-3 ล้าน ล้านบาทของรัฐบาลที่ผ่านๆมาในระยะสิบปีนี้ นับเป็นโครงการระบบรางที่ใหญ่เป็น ลาดับต้นๆของโลก ก่อให้เกิดการตื่นตัวในทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องกับระบบราง ต่าง พยายามจะเตรียมความพร้อมในส่วนที่เกี่ยวข้อง มีทั้งที่ทาจากการผลักดันของ ภาครัฐ และ ที่ทาโดยความสนใจของตนเอง หน่วยงานต่างๆในกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้ร่วมกันเตรียม ความพร้อมในส่วนที่เกี่ยวข้องด้วย ที่รู้จักกันดีได้แก่ สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) โดย โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบ ขนส่งทางรางแห่งชาติ ดาเนินการและสนับสนุนการเรียนรู้ เพื่อจะให้เกิดความรู้ ความเข้าใจในระบบขนส่งทางรางในวงกว้าง และเพื่อจะร่วมผลักดันนโยบายการ ขนส่งทางรางของประเทศไปในทิศทางที่จะพึ่งความสามารถของตนเองได้ในอนาคต ต่อไป ตัวอย่างเช่น การฝึกอบรมหลักสูตรพัฒนาบุคลากรด้านวิศวกรรมระบบขนส่ง ทางราง (วศร.) ซึ่งดาเนินการด้วยการสนับสนุนของสานักงาน คณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ (สวทน.)โดย สถาบันวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีชั้นสูง (THAIST) และดาเนินการบริหารแผน งานวิจัยระบบรางซึ่งเป็นหนึ่งในแผนงานวิจัยมุ่งเป้าของประเทศ ที่ได้รับการ มอบหมายจากสานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) เป็นต้น โครงการระบบรางขนาดใหญ่ครั้งนี้ เป็นโอกาสที่ดียิ่งสาหรับประเทศไทย ทุกภาคส่วนที่จะได้รับการถ่ายความรู้ เทคโนโลยี และทักษะในการออกแบบ ผลิต ติดตั้ง ประกอบ บารุงรักษาซ่อมแซมระบบรถไฟ หลายภาคส่วนพยายามที่จะค้นหา รูปแบบจาลองวิธีการรับการถ่ายทอดเทคโนโลยีของประเทศอื่นๆที่น่าจะถือได้ว่า ประสบความสาเร็จในการรับการถ่ายทอดเทคโนโลยีจนสามารถพัฒนาต่อยอดระบบ ของตนผลิตขายต่างประเทศได้ เช่น ประเทศจีน และเกาหลี เป็นต้น เพื่อนามา พิจารณาประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับประเทศไทย อีกหนึ่งในความพยายามนี้คือการ บรรยาย “การพัฒนาอุตสาหกรรมขนส่งระบบราง : บทเรียนจากมาเลเซีย” เมื่อ วันที่ 19 ก.พ. จัดโดยความร่วมมือของกระทรวงคมนาคม สวทช. และคณะ วิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่น่าสนใจมาก เพราะ สถานะภาพของ มาเลเซียในส่วนที่เกี่ยวกับการอุตสาหกรรมไม่ต่างจากเรามากนัก แม้ยังไม่ปรากฏว่า มาเลเซียจะประสบความสาเร็จเหมือนจีนหรือเกาหลีหรือไม่ จากการบรรยายเห็นได้ว่าการพัฒนาอุตสาหกรรมระบบรางในมาเลเซียมี ประวัติที่ยาวนาน เริ่มจากภาครัฐ โดย ดร. มหาเธร์ โมฮัมหมัด อดีตนายกรัฐมนตรี มาเลเซีย ที่ประกาศชัดเจนเมื่อ 25 ปีที่แล้ว ว่าจะสร้างโอกาสทางเศรษฐกิจให้แก่ มาเลเซียด้วยการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีเพื่อให้ประเทศเป็นประเทศพัฒนาแล้ว อย่างเต็มตัวในปี 2020 ในการพัฒนาเศรษฐกิจมีความต้องการระบบการขนส่งสาธารณะที่ดีและ พอเพียง ด้วยข้อได้เปรียบของระบบรางเมื่อเทียบกับระบบอื่นๆ จึงเลือกใช้ระบบราง และต้องการให้ได้ระบบรางที่มีสมรรถภาพดี และน่าเชื่อถือ ซึ่งต้องใช้เงินลงทุนสูง มาก การลงทุนมหาศาลนี้จึงต้องคุ้มค่าเงิน โดยกาหนดให้การลงทุนนี้เป็นการเปิด โอกาสให้เกิดการพัฒนาอุตสาหกรรมระบบรางที่สามารถรองรับการเดินรถ และการ ซ่อมบารุงรักษาระบบได้ตลอดการใช้งาน นั่นคือต้องสามารถ ออกแบบ พัฒนา ผลิต ติดตั้งบูรณาการระบบ เดินรถ ซ่อมบารุงได้เอง EEE---NewsletterNewsletterNewsletter ฉบับที่ฉบับที่ฉบับที่ 222222 ประจาเดือน มีนาคม 255ประจาเดือน มีนาคม 255ประจาเดือน มีนาคม 255999 โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติโครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติโครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) Thailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute Project National Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development Agency Page | 1ช่วยกันหาแผนที่นาทางอุตสาหกรรมระบบรางไทย บทบรรณาธิการ :บทบรรณาธิการ :บทบรรณาธิการ : ดร.เยี่ยมชาย ฉัตรแก้ว นอกจากนี้ยังมองเห็นช่องทางธุรกิจระบบรางในตลาดโลกที่ใหญ่มาก จึงได้มีวิสัยทัศน์ไว้ว่า “ในปี 2030 มาเลเซียจะมีธุรกิจที่เข้มแข็งและยั่งยืน สามารถรองรับความต้องการการขนส่งทางรางในประเทศ และแข่งขันใน ตลาดโลกได้ ด้วยทรัพยากรและเทคโนโลยีของตนเอง” มาเลเซียได้มีการตั้งเป้าหมายไว้ 3 เป้าหมาย เป้าหมายแรกคือ เตรียมความพร้อมในทุกด้านทั้งทางด้านองค์กร กฎระเบียบ การลงทุนใน อุตสาหกรรมที่ยังขาดอยู่ บุคลากร และการปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานและการ บารุงรักษาที่ทันสมัย เป้าหมายที่ 2 ปรับผลิตภัณฑ์และบริการให้เข้ากับ ประเทศ และเป้าหมายสุดท้ายคือ ยืนแข่งขันในตลาดโลกได้ จากการบรรยายได้รับข้อมูลที่น่าสนใจในการใช้การลงทุนมาเปิด โอกาสให้เกิดการสร้างความรู้ความสามารถในการพัฒนาอุตสาหกรรมของ มาเลเซีย คือเครื่องมือที่เรียกว่า Industrial Collaboration Program (ICP)ที่มี ลักษณะเป็นนโยบายและแนวปฏิบัติที่บังคับให้หน่วยงานภาครัฐต่างๆถือปฏิบัติ ในระดับที่ต่างๆกัน โดยมีองค์กรสังกัดกระทรวงการคลังที่เรียกว่า Technology Depository Agency (TDA) กากับดูแลให้ผู้เกี่ยวข้องปฏิบัติตาม ICP นี้ ICP ประกอบด้วยรายการกิจกรรมที่เพิ่มมูลค่าให้แก่การจัดหาของภาครัฐ ที่มีการ เริ่มใช้มาตั้งแต่ปี 1987 โดยมีการปรับรูปแบบเนื้อหามาเป็นระยะๆ เริ่มด้วย Countertrade ในการจัดหาอุปกรณ์ทางทหาร (ซึ่งมีการทากันมาก่อนแล้วใน หลายประเทศ) ปัจจุบันมี 3 กิจกรรมที่ขึ้นอยู่กับขนาดของการจัดหา แต่ที่ น่าสนใจคือ กิจกรรมตาม Offset Program ซึ่งกาหนดให้ผู้ยื่นข้อเสนอจัดทา ข้อเสนอทั้งที่เกี่ยวกับโครงการโดยตรง เช่น การตั้งโรงงานประกอบรถไฟใน มาเลเซีย การใช้ Local Contents การให้ศึกษาฝึกอบรม การถ่ายทอด เทคโนโลยี แก่บุคลากรของประเทศมาเลเซีย เป็นต้น และกิจกรรมอื่นที่ไม่ เกี่ยวข้องกับโครงการโดยตรงแต่เกิดประโยชน์แก่เศรษฐกิจของประเทศ แต่ละ กิจกรรมมีคะแนนแตกต่างกันตามประโยชน์ที่ประเทศได้รับ การจัดหาแต่ละครั้ง ก็จะมีการกาหนดคะแนนขั้นต่าที่ผู้รับเหมาจะต้องจัดให้มี มิฉะนั้นมีค่าปรับ จาก การบรรยายรับฟังได้ว่ากิจกรรมเหล่านี้สร้างความพอใจให้กับทั้งสองฝ่าย คู่สัญญา มาเลเซียจะประสบความสาเร็จตามที่คาดหวังไว้หรือไม่คงต้องรอดู แต่เราน่าที่จะศึกษาแนวทางที่มาเลเซียดาเนินมาโดยละเอียด และพิจารณา ว่า จะนาอะไรส่วนใดมาใช้กับประเทศเราได้อย่างไรบ้าง รัฐบาลเขามีนโยบายที่ชัด มีแผนมีเป้าหมายชัด ว่าเมื่อใดควรบรรลุอะไร ผู้มีส่วนได้เสียร่วมกันทางานโดย การสนับสนุนและอานวยความสะดวกของภาครัฐ การดาเนินการของประเทศ เราดูว่ามีแนวทางคล้ายๆกันบ้าง แต่ไม่ครบวงจร และแต่ละขั้นตอนไม่ทากัน จริงจัง แต่อย่างน้อยเราก็ได้มีการเริ่มต้นถ่ายทอดความรู้ระบบรางกันแล้ว ดังกล่าวไว้ข้างต้น ตรงนี้เราอาจไม่ช้ากว่ามาเลเซีย เพียงแต่ว่าเรายังขาด องค์ประกอบอื่นๆอีกมาก น่าที่ทุกภาคส่วนจะมานั่งหารือกันถึง วิสัยทัศน์ นโยบาย แผน กฎระเบียบ องค์กร กิจกรรมต่างๆ ว่าเรา/ใครควรทาอะไรอย่างไร ฯลฯ รวมทั้งหาปัจจัยสาคัญที่จะนาไปสู่ความสาเร็จตามที่ควรจะเป็น
  • 2. บทเรียนจากการถ่ายทอดเทคโนโลยีของประเทศญี่ปุ่ น และการพัฒนาอุตสาหกรรมระบบรางของประเทศมาเลเซีย บทความโดย นายทศวัชร์ ชีวะธนาเลิศกุล (วศร.5) วิศวกร โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ Thailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute Project National Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development Agency คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ภายใต้ความร่วมมือระหว่างกระทรวงคมนาคม และ สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ได้จัดสัมมนา“แนวทางการถ่ายทอด เทคโนโลยีการผลิตรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนและ อุตสาหกรรมเกี่ยวเนื่อง” ครั้งที่ 2 กรณีศึกษาประเทศ ญี่ปุ่น ที่จัดขึ้นเมื่อ 11 ก.พ. 59 และครั้งที่ 3 กรณีศึกษาประเทศมาเลเซีย จัดเมื่อ 19 ก.พ. 59 ได้มี ผู้เชี่ยวชาญจากทั้ง 2 ประเทศ จากหน่วยงานภาครัฐ สถาบันวิจัย และด้านอุตสาหกรรม มาถ่ายทอดความรู้ และประสบการณ์ กรณีการถ่ายทอดเทคโนโลยีของประเทศญี่ปุ่น สามารถสรุปรูปแบบการถ่ายทอดเทคโนโลยีได้เป็น 4 ช่องทาง ดังนี้  ผ่านการซื้อขบวนรถหรือชิ้นส่วนที่เกี่ยวข้องโดย มีข้อแม้ว่าผู้ขายจะต้องถ่ายทอดเทคโนโลยีให้จน สามารถผลิตเองได้  ผ่านการเข้ารับการศึกษาในหลักสูตรที่เปิดสอน ในประเทศนั้น ๆ ปกิณกะ :ปกิณกะ :ปกิณกะ : 31 มี.ค. 59 เวลา 09.00 – 15.30 น. ขอเชิญเข้าร่วมการสัมมนา เรื่อง ค้นหาไข่มุกระบบราง โดยโครงการส่งเสริมการศึกษาและวิจัยร่วมระบบ ขนส่งทางรางโดยมหาวิทยาลัยมหิดลภายใต้การสนับสนุนของ สวทช. ภายในงานการประชุมวิชาการประจาปี สวทช. ครั้งที่ 12 (NAC2016) ณ ห้องประชุม One North ชั้น 1 อาคารกลุ่มนวัตกรรม 2 (INC2) ทาว เวอร์ A อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย จ.ปทุมธานี และวันที่ 1 เม.ย. 59 เวลา 9.00 – 16.00 น. ขอเชิญร่วมการสัมมนา เรื่อง พัฒนาอุตสาหกรรมระบบรางเพื่ออนาคตเศรษฐกิจและสังคมไทย อย่างไร? ณ ห้องประชุม Grand hall ชั้น 1 อาคาร ศูนย์ประชุมอุทยาน วิทยาศาสตร์ประเทศไทย (อาคาร CC) อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย จ.ปทุมธานี ดูรายละเอียดเพิ่มเติมและลงทะเบียนที่ http:// www.nstda.or.th/nac2016 สอบถามที่เบอร์ 0-2644-8150 ต่อ 81860 หรือ rail@nstda.or.th 16 – 17 มี.ค. 59 เวลา 9.00 – 17.00 น. ขอเชิญ ผู้สนใจเข้าร่วมงาน การประชุมวิชาการและแสดง นิทรรศการอุตสาหกรรมระบบขนส่งทางรางไทย ครั้งที่ 2 เรื่อง “ผลิตชิ้นส่วนระบบรางอย่างไรให้ได้มาตรฐาน” The Second Thai Rail Industry Symposium and Exhibition (RISE2) : "Railway Standard and Thai Railway Parts Manufacturing" ณ สถานีรถไฟฟ้าแอร์พอร์ต เรล ลิงก์ มักกะสัน ภายในงานพบกับ นิทรรศการแสดงผลิตภัณฑ์ จากอุตสาหกรรมระบบขนส่งทางรางของไทยและต่างประเทศ การนาเสนอความก้าวหน้าของ งานวิจัยระบบราง เพื่อส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากการวิจัยและพัฒนานวัตกรรม และการ เสวนาองค์ความรู้มากมายเกี่ยวกับระบบราง ดูรายละเอียดเพิ่มเติมและลงทะเบียนร่วมงานฟรี ได้ที่ www.thairailtech.or.th และ www.facebook.com/RISEThailand หรือโทร 0-2644 -8150 ต่อ 81879 ปฏิทินราง :ปฏิทินราง :ปฏิทินราง : 31 มี.ค. 59 เวลา 8.30 – 16.30 น. ขอเชิญ ร่วมงานสัมมนา High Speed Train and Railway Industry Localization a case study of Taiwan ณ ชั้น 5 อาคารสานักนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร ติดต่อสอบถามที่ rail@nstda.or.th หรือโทร 0-2644-8150 ต่อ 81840 ลงทะเบียนเข้าร่วมงาน www.thairailtech.or.th  ผ่านการให้บริษัทของประเทศนั้น ๆ เป็นผู้สร้าง โครงสร้างพื้นฐาน เช่น การพัฒนารถไฟฟ้าสายสี ม่วงที่รัฐบาลไทยให้บริษัท (JTT: Japan Trans- portation Technology) ซึ่งเป็นบริษัทลูกของ JR East เป็นผู้รับผิดชอบระบบซ่อมบารุง รถไฟฟ้าสายสีม่วง  ผ่านการลงทุน ซึ่งอาจเป็นการลงทุนใน อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับระบบรางที่ไม่ใช่เป็น การลงทุนในการพัฒนาเส้นทางโดยตรงก็ได้ ในกรณีของประเทศญี่ปุ่นยากที่จะสามารถยกมา ใช้เป็นตัวอย่างสาหรับประเทศไทย เนื่องมาจากญี่ปุ่น นั้นเป็นผู้สร้างและเป็นผู้ขายเทคโนโลยี มากกว่าเป็นผู้ ซื้อเทคโนโลยี การนาเสนอหรือการแนะนาแนวทางใน การถ่ายทอดเทคโนโลยีของญี่ปุ่นจึงเป็นในเชิงธุรกิจ จะเป็นการเน้นว่าเขาสามารถถ่ายทอดอะไรให้กับ ประเทศไทยได้บ้าง มากกว่าที่จะแนะนาว่าเราควรจะ เตรียมวางแผนการถ่ายทอดเทคโนโลยีอย่างไร ในส่วนการจัดสัมมนาครั้งที่ 3 กรณีการพัฒนา อุตสาหกรรมระบบรางภายในประเทศมาเลเซีย ผู้เชี่ยวชาญมาเลเซียได้บรรยายว่า การจะพัฒนา อุตสาหกรรมภายในประเทศไม่ว่าจะอุตสาหกรรมใด ต้องเข้าใจหลักใหญ่ๆ 2 ประการ  ความต้องการของประเทศ  โอกาสของประเทศ ซึ่งมาเลเซียได้เล็งเห็นตรงนี้และสามารถบอกได้ว่า ประเทศของเขานั้นมีความต้องการดังต่อไปนี้ 1. มีความต้องการให้ระบบรางนั้นเป็นระบบการ ขนส่งสาหรับประชาชนและสินค้าเพื่อจะกระตุ้นการ เจริญเติบโตของประเทศ 2. มีความต้องการลงทุนขยายตัวของระบบรางเพื่อ สนองต่อแผนการพัฒนาประเทศทั้งในปัจจุบันและ อนาคตซึ่งได้กล่าวถึงแผนทั้ง 4 ดังนี้  Economic Transformation Program (ETP)  Government Transformation Program (GTP)  Eleventh Malaysia Plan (2016-2020)  Third Industrial Master Plan 2006-2020 (IMP3) 30 มี.ค. – 2 เม.ย 59 ขอเชิญร่วมงาน การประชุมวิชาการประจาปี สวทช. ครั้ง ที่ 12 (NAC2016) โดยโครงการจัดตั้ง สถาบันฯ ร่วมจัดแสดงนิทรรศการในโซนอุตสาหกรรมการผลิต และการบริการ Page | 2
  • 3. กิจกรรมโครงการและเครือข่าย :กิจกรรมโครงการและเครือข่าย :กิจกรรมโครงการและเครือข่าย : Thailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute Project National Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development Agency 1 เดือน 1 กิจกรรม เยี่ยมชม คอบร้า กรุ๊ป 17 ก.พ. 59 เวลา 10.00 – 14.30 น. กิจกรรม 1 เดือน 1 กิจกรรม โดย โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่ง ทางรางแห่งชาติ สวทช. พาผู้ที่สนใจร่วมกิจกรรมเยี่ยมชม กระบวนการผลิตชิ้นส่วนรถยนต์ และไลน์การผลิต ของ บริษัท คอบร้า แอดวานซด์ คอมโพซิทส์ จากัด และ คอมโพสิต มารีน อินเตอร์เนชั่นแนล จากัด ประชุมเครือข่าย วศร. ประจาเดือน ก.พ. 59 17 มี.ค. 59 เวลา 18.30 น. การประชุมเครือข่าย วศร. ประจาเดือน กุมภาพันธ์ 2559 ณ บริษัท เอเชี่ยน เอ็นจิเนียริ่ง คอนซัลแต้นส์ จากัด อาคารสาธรนคร ทาวเวอร์ ถ.สาทรเหนือ บางรัก กรุงเทพฯ อันจะก่อเกิดความท้าทายในการพัฒนา อุตสาหกรรม ตัวอย่างเช่น  พัฒนาระบบขนส่งทางรางให้เป็นรูปแบบการ ขนส่งที่มีประสิทธิภาพ  ขนส่งได้จำนวนมำกแต่ใช้ระยะเวลำในกำรขนส่ง น้อยสำหรับผู้โดยสำรและสินค้ำ โดยอ้ำงอิงอยู่ บนพื้นฐำนของประชำกรของประเทศมำเลเซีย ในอีก 20 ปีข้ำงหน้ำ ทุกอย่างที่กล่าวมาจะเกิดขึ้นไม่ได้ถ้า ผู้บริหารประเทศขาดวิสัยทัศน์ในการมองเรื่องนี้ จึงขอยกวิสัยทัศน์ของประเทศมาเลเซียในเรื่องการ พัฒนาอุตสาหกรรมระบบรางมาเป็นตัวอย่างที่ได้ กล่าวไว้ว่า การถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตรถไฟฟ้า โดย ประเทศมาเลเซีย 19 ก.พ. 59 เวลา 08.30 – 16.00 น. การสัมมนา เรื่อง “แนว ทางการถ่ายทอดเทคโนโลยีการ ผลิตรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนและ อุตสาหกรรมเกี่ยวเนื่อง” ครั้งที่ 3 ถ่ายทอดประสบการณ์ โดย ผู้เชี่ยวชาญจากประเทศมาเลเซีย ณ ห้องประชุมชั้น 2 อาคารเจริญวิศวกรรม คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อีกหนึ่งงานในโครงการอาศรมความคิด อรุณ สรเทศน์ ณ ลานเกียร์ (เปิดโลกลานเกียร์) ภายใต้ความร่วมมือ ระหว่างกระทรวงคมนาคม และสานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ในปี 2030 อุตสาหกรรมระบบรางของ มาเลเซียจะมีความเข้มแข็งและยั่งยืนสามารถ ตอบสนองความต้องการของระบบขนส่งทางราง ของประเทศได้ และสามารถแข่งขันในระดับโลกใน ด้านการพัฒนา ใช้ทรัพยากรและเทคโนโลยี ภายในประเทศ Page | 3 ปกิณกะ : (ต่อ)ปกิณกะ : (ต่อ)ปกิณกะ : (ต่อ) แถลงข่าวการจัดงาน RISE2 3 มี.ค. 59 เวลา 13.30 – 15.00 น . แถลงข่าวการจัดงาน การประชุมวิชาการ และแสดงนิทรรศการ อุตสาหกรรมระบบ ขนส่งทางรางไทย ครั้ง ที่ 2 เรื่อง “ผลิตชิ้นส่วนระบบรางอย่างไรให้ได้มาตรฐาน” The Second Thai Rail Industry Symposium and Exhibition (RISE2) ณ ห้องโถง ชั้น 1 กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อ ประชาสัมพันธ์งานที่จะจัดขึ้นในวันที่ 16 – 17 มี.ค. 59 ณ สถานี รถไฟฟ้าแอร์พอร์ต เรล ลิงก์ มักกะสัน การบรรยายพิเศษด้านวิศวกรรมการจัดการระบบขนส่งทางราง 15 – 19 ก.พ. 59 เวลา 8.30 - 17.00 การบรรยายพิเศษด้าน วิศวกรรมการจัดการระบบขนส่งทางราง โดย Prof. Dr.-Ing. Jörn Pachl (University professor - TU Braunschweig) ณ ห้อง 101 อาคารประชาสังคมอุดมพัฒน์ มหาวิทยาลัยมหิดล จัด โดย โครงการศูนย์นวัตกรรมทางโลจิสติกส์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ร่วมกับ สานักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและ นวัตกรรมแห่งชาติ (สวทน.) เพื่อพัฒนาศักยภาพและเพื่อเพิ่มพูนความรู้ของบุคลากรผู้สอนและ บุคลากรที่เกี่ยวข้องสาหรับการสอนในเรื่องวิศวกรรมการจัดการระบบขนส่งทางราง 3. มีความต้องการในการจะเพิ่มสมรรถภาพในการ ออกแบบ การพัฒนา การผลิต การประกอบ การเดิน รถ การบารุงรักษา และการยกเครื่อง (Overhaul) ใน ระบบขนส่งทางราง 4. มีความต้องการใช้จ่ายงบประมาณอย่างคุ้มค่า ในการพัฒนาขีดความสามารถทางด้านอุตสาหกรรม โดยทั้งหมดนี้มาเลเซียมีเป้าหมายสูงสุด (Guiding Star) ที่น่าสนใจคือ การมีระบบขนส่งที่มี ประสิทธิภาพและน่าเชื่อถือที่ให้บริการแก่ประชาชน เมื่อทราบความต้องการแล้วก็มาถึงโอกาสที่มาเลเซีย เล็งเห็นดังนี้ 1. ปริมาณมูลค่าของตลาดอุตสาหกรรมเสริมด้าน ระบบรางมีมูลค่าเฉลี่ย 167 ล้าน USD ในปี 2011- 2013 และในเอเชียแปซิฟิกมีสัดส่วนการตลาดอยู่ที่ 32% ของตลาดโลก 2. ทางฝั่งยุโรปนั้นจับตลาดทางด้านอุตสาหกรรม Rolling Stock เกือบทั้งหมด คิดเป็นประมาณ 65% โดยทางฝั่งเอเชียกาลังจับตามองในอุตสาหกรรมผลิต ชิ้นส่วนงานประกอบและงานบูรณาการระบบและ อื่นๆ 3. การลงทุนขนาดใหญ่ที่กาลังจะเกิดขึ้นใน มาเลเซียคาดว่าจะมีมูลค่าถึง 160 พันล้านริงกิต สาหรับโครงการในอนาคตจนกระทั่งถึงปี 2020 4. การขนส่งสินค้าโดยใช้ระบบรางคาดการณ์ว่าจะ มีการขนส่งเพิ่มขึ้นจนถึง 6.2 ล้านตัน ในปี 2012 โดย เทียบกับ 5.9 ล้านตันในปี 2011 5. กิจกรรมทางด้านระบบขนส่งทางรางทางฝั่ง ตะวันออกของมาเลเซีย (Sabah & Sarawak) มี แนวโน้มว่าจะเป็นตัวเร่งในการใช้ระบบรางเพื่อขนส่ง สินค้าและการท่องเที่ยว ซึ่งในกรณีของมาเลเซียมีปัญหาและอุปสรรคที่ สาคัญคัดมาบางข้อดังนี้  ความหลากหลายของตัว Rolling Stocks นั้น ทาให้เป็นเรื่องยากที่จะสามารถสนับสนุนในส่วน นี้ได้ไปตลอดอายุขัยของระบบ  ทรัพยากรบุคลากรไม่เพียงพอ เนื่องจากความรู้ ความสามารถเฉพาะทางที่มีอยู่จานวนน้อย เกินไป
  • 4. ที่ปรึกษา : คุณชาตรี ศรีไพพรรณ คุณนคร จันทศร คุณนัยรัตน์ อมาตยกุล คุณวัฒนา สมานจิตร คุณชยากร ปิยะบัณฑิตกุล คุณสมฤทธิ์ พุทธันบุตร คุณนพมล จันทรวิมล กองบรรณาธิการ : คุณทปกร เหมือนเตย คุณกุลเชษฐ์ กอพัฒนาชัยเจริญ คุณสฤษฏ์โรจ จันทร์เพิ่มพูนผล คุณทศวัชร์ ชีวะธนาเลิศกุล ผู้ดาเนินการ : โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ ติดต่อสอบถาม : โทร. 02-644-8150 ต่อ 81860 81861 81879 81880 อีเมล์ : rail@nstda.or.th website : www.thairailtech.or.th และ www.facebook.com/thairailtech กาหนดออกทุก วันที่ 15 ของทุกเดือน ขอเชิญชวนร่วมส่งบทความ หรือ ข่าวสารเพื่อการประชาสัมพันธ์ เกี่ยวกับระบบขนส่งทางราง ได้ที่อีเมล์ rail@nstda.or.th Thailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute Project National Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development Agency สังคมระบบราง :สังคมระบบราง :สังคมระบบราง : ในการบรรยายพิเศษด้าน วิศวกรรมการจัดการระบบ ข น ส่ ง ท า ง ร า ง ที่ ค ณ ะ วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ร่วมกับ สวทน. จัดเมื่อวันที่ 17 ก.พ. 59 ได้พาผู้เข้าอบรม และ Prof. Dr.-Ing. Jörn Pachl เยี่ยมชมสถานีรถไฟหัวลาโพง โดยได้ คุณอนันต์ โพธิ์นิ่มแดง (วศร.3) รองวิศวกรใหญ่ด้านโครงการและพัฒนาระบบ การรถไฟ แห่งประเทศไทย เป็นผู้พาเยี่ยมชมสถานี สมาคมวิศวกรรมระบบขนส่งทางรางไทย (วศรท.) เป็นเจ้าภาพจัดเลี้ยงขอบคุณคณะวิทยากรที่มาถ่ายทอดประสบการณ์ในงานเสวนา เรื่อง “แนวทางการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนและ อุตสาหกรรมเกี่ยวเนื่อง” ที่จัดขึ้น ณ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ค่าวันที่ 19 ก.พ. 59 เลี้ยงขอบคุณคณะวิทยากรผู้เชี่ยวชาญจาก ประเทศมาเลเซีย ประกอบด้วย Technology Depository Agency Berhad (TDA) กิจกรรมโครงการและเครือข่าย : (ต่อ)กิจกรรมโครงการและเครือข่าย : (ต่อ)กิจกรรมโครงการและเครือข่าย : (ต่อ) ค่าวันที่ 11 ก.พ. 59 เลี้ยงขอบคุณคณะวิทยากรผู้เชี่ยวชาญจาก ประเทศญี่ปุ่น ประกอบด้วย Ministry of Land, Infrastructure and Transport (MLIT), Japan International Cooperation Agency (JICA), Hitachi, Ltd. Rail Systems Company, Japan Freight Railway Co., Mitsubishi Heavy Industries Co.,Ltd. ณ ห้องอาหารสนามม้าราชกรีฑาสโมสร ค่าวันที่ 22 ม.ค. 59 เลี้ยงขอบคุณคณะวิทยากรผู้เชี่ยวชาญจาก สาธารณรัฐเกาหลี ประกอบด้วย Korea Railroad Research Insti- tute (KRRI), Korea Railway Association (KORASS), Hyundai- Rotem Co., Daewoo Engineering & Construction Co.,Ltd., DAEATI Co.,Ltd., Sunkoo Engineering Co.,Ltd. ณ ห้องอาหาร สนามม้าราชกรีฑาสโมสร เมื่อวันที่ 20 ก.พ. 59 วศรท. จัดกิจกรรมแข่งกอล์ฟกับ Mr. Zailani bin Safari, CEO และคณะผู้เชี่ยวชาญจาก Technology Depository Agency Berhad (TDA) มาเลเซีย ณ สนามกอล์ฟกรุงเทพกรีฑา สปอร์ต คลับ แข่งกอล์ฟร่วมกับ CEO TDA มาเลเซีย กิจกรรมเยี่ยมชมสถานี รถไฟหัวลาโพง มหาวิทยาลัยรังสิตจัดสัมมนาเทคโนโลยีระบบราง 14 มี.ค. 59 เวลา 10.00 – 16.00 น. งานสัมมนาวิชาการ 1st Nihon - Rangsit Symposium on Rail- way System Technology ณ ห้องออดิทอเรียม11-101 อาคาร 11 มหาวิทยาลัยรังสิต เพื่อส่งเสริมและพัฒนาความรู้ทางด้าน เทคโนโลยีระบบขนส่งทางราง ค่ายสานสัมพันธ์นักศึกษาระบบราง รุ่นที่ 3 12 มี.ค. 59 เวลา 8.30 – 16.30 น. กิจกรรมค่ายสานสัมพันธ์ นักศึกษาระบบราง รุ่นที่ 3 ภายใต้ โครงการส่งเสริมการศึกษา และวิจัยร่วมระบบขนส่งทาง ราง ณ ห้องประชุม R114 คณะวิศวกรรมศาสตร์ Page | 4 ประชุมคณะทางานจัดกิจกรรมวิชาการ 11 มี.ค. 59 เวลา 13.30 น. การประชุมคณะทางานจัดกิจกรรม วิชาการการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางราง แห่งชาติ ครั้งที่ 3/2559 ณ ห้องประชุมชั้น 3 อาคารโยธี สวทช. เพื่อหารือเรื่องการจัดการประชุมวิชาการและแสดงนิทรรศการ อุตสาหกรรมระบบขนส่งทางรางไทย ครั้งที่ 2 (RISE) โชว์ผลงานวิจัยระบบรางในงานแถลงข่าว NAC 2016 4 มี.ค. 59 เวลา 10.00 น. งานแถลงข่าวการจัดงาน การประชุม วิชาการประจาปี สวทช. ครั้งที่ 12 หรือ 12thNSTDA Annual Conference (NAC2016) ณ ห้องโถง กระทรวงวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี ในงานนี้ โครงการจัดตั้งสถาบันฯ ได้ร่วมแสดงผล งานวิจัย โครงการพัฒนาชุดโมเดลต้นแบบการพัฒนาพื้นที่รอบ สถานีขนส่งทางราง โดยร่วมกับคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์