SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 3
Baixar para ler offline
ใบงานที่ 7 เรื่องโครงงานประเภท “การประยุกต์ ใช้ งาน”
คอมพิวเตอร์กราฟิ กกับการประยุกต์ใช้ในงานด้านต่างๆ
1. คอมพิวเตอร์กราฟิ กกับการออกแบบ
          คอมพิวเตอร์กราฟิ กได้ถูกนามาใช้ในการออกแบบมาเป็ นเวลานาน เราคงจะเคยได้ยนคาว่า ิ
CAD (Computer - Aided Design) ซึ่ง เป็ นโปรแกรมสาหรับช่วยในการออกแบบทางวิศวกรรม
โปรแกรมเหล่านี้จะช่วยให้ผออกแบบหรื อวิศวกรออกแบบงานต่างๆ ได้สะดวกขึ้น กล่าวคือ ผูออกแบบ
                                    ู้                                                    ้
สามารถเขียนเป็ นแบบลายเส้นแล้วลงสี แสงเงา เพือให้ดูคล้ายกับของจริ งได้ นอกจากนี้แล้วเมื่อ
                                                   ่
ผูออกแบบกาหนดขนาดของวัตถุลงในระบบ CAD แล้ว ผูออกแบบยังสามารถย่อหรื อขยายภาพนั้น
   ้                                                      ้
หรื อต้องการหมุนภาพไปในมุมต่างๆ ได้ดวย การแก้ไขแบบก็ทาได้ง่ายและสะดวกกว่าการออกแบบบน
                                               ้
กระดาษ
          ทางด้าน วิศวกรรมไฟฟ้ าและอิเล็กทรอนิกส์ คอมพิวเตอร์กราฟิ กถูกนามาใช้ในการออกแบบ
วงจรต่างๆ ผูออกแบบสามารถวาดวงจรบนจอภาพโดยใช้สญลักษณ์ต่างๆ ที่ระบบจัดเตรี ยมไว้ให้แล้ว
               ้                                            ั
มาประกอบกันเป็ นวงจรที่ตองการ ผูออกแบบสามารถแก้ไข ตัดต่อ เพิมเติมวงจรได้โดยสะดวก
                                  ้          ้                      ่
นอกจากนี้ยงมีโปรแกรมสาหรับออกแบบ PCB (Printed Circuit Board) ซึ่งมีความสามารถจัดการให้
             ั
แผ่นปริ นต์มีขนาดที่จะวางอุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์ได้เหมาะสมที่สุด
          การออกแบบพาหนะต่างๆ เช่น รถยนต์ เครื่ องบิน หรื อเครื่ องจักรต่างๆ ในปั จจุบนก็ใช้ระบบ
                                                                                      ั
CAD นัก ออกแบบสามารถจะออกแบบส่วนย่อยๆ แต่ละส่วนก่อน แล้วนามาประกอบกันเป็ นส่วนใหญ่
ขึ้นจนเป็ นเครื่ องจักรเครื่ องยนต์ท่ตองการ ได้ นอกจากนี้ในบางระบบยังสามารถที่จะทดสอบ
                                         ี ้
แบบจาลองที่ออกแบบไว้ได้ดวย เช่น อาจจะออกแบบรถยนต์แล้วนาโครงสร้างของรถที่ออกแบบนั้น
                                       ้
มาจาลองการวิง โดยให้วิ่งที่ความเร็วต่างๆ กันแล้วตรวจดูผลที่ได้ ซึ่งการทดลองแบบนี้สามารถทาได้
                 ่
ในระบบคอมพิวเตอร์และจะประหยัดกว่าการสร้างรถ จริ งๆ แล้วนาออกมาศึกษาทดสอบการวิง              ่
          การออกแบบโครงสร้าง เช่น ตึก บ้าน สะพาน หรื อโครงสร้างใดๆ ทางวิศวกรรมโยธาและ
สถาปั ตยกรรม ก็สามารถทาได้โดยใช้ CAD ช่วยในการออกแบบ หลังจากสถาปนิกออกแบบโครงสร้าง
ในแบบ 2 มิติเสร็จแล้ว ระบบ CAD สามารถจัดการให้เป็ นภาพ 3 มิติ และยังสามารถแสดงภาพที่
มุมมองต่างๆ กันได้ตามที่ผออกแบบต้องการ นอกจากนี้ในบางระบบสามารถแสดงภาพให้ปรากฏต่อ
                               ู้
ผูออกแบบราวกับว่าผูออกแบบ สามารถเดินเข้าไปภายในอาคารที่ออกแบบได้ดวย
     ้                  ้                                                    ้
2. กราฟและแผนภาพ คอมพิวเตอร์ กราฟิ กถูกนามาใช้ในการแสดงภาพกราฟและแผนภาพของข้อมูล
ได้เป็ นอย่างดี โปรแกรมทางกราฟิ กทัวไปในท้องตลาดจะเป็ นโปรแกรมที่ใช้ในการสร้างภาพกราฟและ
                                    ่
แผนภาพ โปรแกรมเหล่านี้ยงสามารถสร้างกราฟได้หลายแบบ เช่น กราฟเส้น กราฟแท่ง และกราฟ
                           ั
วงกลม นอกจากนี้ยงสามารถแสดงภาพกราฟได้ท้งในรู ปแบบ 2 มิติ และ 3 มิติ ทาให้ภาพกราฟที่ได้ดูดี
                    ั                          ั
และน่าสนใจ กราฟและแผนภาพทางธุรกิจ เช่น กราฟหรื อแผนภาพแสดงการเงิน สถิติ และข้อมูลทาง
เศรษฐกิจ จะเป็ นประโยชน์ต่อผูบริ หารหรื อผูจดการกิจการมาก เนื่องจากสามารถทาความเข้าใจกับ
                               ้           ้ั
ข้อมูลได้ง่ายและรวดเร็วกว่าเดิม ในงานวิจยต่างๆ เช่น การศึกษาทางฟิ สิกส์ กราฟและแผนภาพมีส่วน
                                        ั
ช่วยให้นกวิจยทาความเข้าใจกับข้อมูลได้ง่ายขึ้นเมื่อ ข้อมูลที่ตองวิเคราะห์มีจานวนมาก
         ั ั                                                 ้




           ระบบข้อมูลทางภูมิศาสตร์ หรื อ GIS (Geographical Information System) ก็ เป็ นรู ปแบบหนึ่ง
ของการแสดงข้อมูลในทานองเดียวกับกราฟและแผนภาพ ข้อมูลทางภูมิศาสตร์จะถูกเก็บลงในระบบ
คอมพิวเตอร์ แล้วให้ระบบคอมพิวเตอร์กราฟิ กจัดการแสดงข้อมูลเหล่านั้นออกมาทางจอภาพในรูป
ของแผนที่ทางภูมิศาสตร์
3. ภาพศิลป์ โดยคอมพิวเตอร์กราฟิ ก การ วาดภาพในปั จจุบนนี้ใครๆ ก็สามารถวาดได้แล้วโดยไม่ตอง
                                                         ั                                      ้
    ู่ ั
ใช้พกนกับจานสี แต่จะใช้คอมพิวเตอร์กราฟิ กแทน ภาพที่วาดในระบบคอมพิวเตอร์กราฟิ กนี้เรา
สามารถกาหนดสี แสงเงารู ปแบบลายเส้นที่ตองการได้โดยง่าย ภาพโฆษณาทางโทรทัศน์หลายชิ้นก็เป็ น
                                            ้
งานจากการใช้คอมพิวเตอร์กราฟิ ก ข้อดีของการใช้คอมพิวเตอร์วาดภาพก็คอ เราสามารถแก้ไขเพิมเติม
                                                                        ื                     ่
ส่วนที่ตองการได้ง่าย นอกจากนี้เรายังสามารถนาภาพต่างๆ เก็บในระบบคอมพิวเตอร์ได้โดยใช้เครื่ อง
         ้
สแกนเนอร์ (Scanner) แล้วนาภาพเหล่านั้นมาแก้ไข
4. ภาพเคลื่อนไหวโดยใช้คอมพิวเตอร์ ภาพยนตร์ การ์ตูนและภาพยนต์ประเภทนิยายวิทยาศาสตร์หรื อ
ภาพยนตร์ที่ใช้เทคนิคพิเศษ ต่างๆ ในปั จจุบนมีการนาคอมพิวเตอร์กราฟิ กเข้ามาช่วยในการออกแบบ
                                           ั
และสร้างภาพ เคลื่อนไหว (Computer Animation) มากขึ้น เนื่องจากเป็ นวิธีที่สะดวก รวดเร็ ว และง่าย
กว่าวิธีอื่นๆ นอกจากนี้ภาพทีได้ยงดูสมจริ งมากขึ้น เช่น ภาพยานอวกาศที่ปรากฏในภาพยนตร์ประเภท
                             ่ ั
                                                                  ่
นิยายวิทยาศาสตร์ เป็ นต้น การใช้คอมพิวเตอร์กราฟิ กช่วยให้ภาพที่อยูในจินตนาการของมนุษย์สามารถ
นาออก มาทาให้ปรากฏเป็ นจริ งได้ ภาพเคลื่อนไหวมีประโยชน์มากทั้งในระบบการศึกษา การอบรม
การวิจย และการจาลองการทางาน เช่น จาลองการขับรถ การขับเครื่ องบิน เป็ นต้น เกมส์คอมพิวเตอร์
        ั
หรื อวิดีโอเกมส์ก็ใช้หลักการทาภาพเคลื่อนไหนในคอมพิวเตอร์ กราฟิ กเช่นกัน
5. อิเมจโปรเซสซิงก์ คาว่าอิเมจโปรเซสซิงก์ (Image Processing) หมาย ถึง การแสดงภาพที่เกิดจากการ
ถ่ายรู ปหรื อจากการสแกนภาพให้ปรากฏบนจอภาพ คอมพิวเตอร์ วิธีการทางอิเมจโปรเซสซิ งก์จะต่าง
กับวิธีการของคอมพิวเตอร์กราฟิ ก กล่าวคือ ในระบบคอมพิวเตอร์กราฟิ ก ตัวคอมพิวเตอร์เองจะเป็ นตัว
ที่สร้างภาพ แต่เทคนิกทางอิเมจโปรเซสซิ งก์น้ นใช้คอมพิวเตอร์สาหรับการจัดรู ปแบบของสีและ แสง
                                             ั
            ่
เงาที่มีอยูแล้วในภาพให้เป็ นข้อมูลทางดิจิตอล แล้วอาจจะมีวธีการทาให้ภาพที่รบเข้ามานั้นมีความ
                                                          ิ               ั
ชัดเจนมากขึ้นก่อน จากนั้นก็จดการกับข้อมูลดิจตอลนี้ให้เป็ นภาพส่งออกไปที่จอภาพของ คอมพิวเตอร์
                               ั               ิ
อีกที วิธีการนี้มีประโยชน์ในการแสดงภาพของวัตถุที่เราไม่สามารถจะเห็นได้โดยตรง เช่น ภาพถ่าย
ดาวเทียม ภาพจากทีวสแกนของหุ่นยนต์อุตสาหกรรม เป็ นต้น
                      ี




เมื่อ ภาพถ่ายถูกทาให้เป็ นข้อมูลดิจิตอลแล้ว เราก็สามารถจะจัดการแก้ไขเปลี่ยนแปลงภาพนั้นได้โดย
                                                                                          ั
จัดการกับข้อมูลดิจิตอล ของภาพนันเอง ซึ่งเราก็จะใช้หลักการของคอมพิวเตอร์กราฟิ กมาใช้กบข้อมูล
                                      ่
เหล่านี้ได้ เช่น ในภาพสาหรับการโฆษณา เราสามารถทาให้ภาพที่เห็นเหมือภาพถ่ายนั้นแปลกออกไป
จากเดิมได้โดยมีภาพ บางอย่างเพิมเข้าไปหรื อบางส่วนของภาพนั้นหายไป ทาให้เกิดภาพที่ไม่น่าจะเป็ น
                                    ่
                                                                                        ั
จริ งแต่ดูเหมือนกับเกิดขึ้นจริ งได้ เป็ นต้น เทคนิ คของอิเมจโปเซสซิงก์สามารถประยุกต์ใช้กบการแพทย์
ได้ เช่น เครื่ องเอกซเรย์ โทโมกราฟี (X-ray Tomography) ซึ่งใช้สาหรับแสดงภาพตัดขวางของระบบ
ร่ างกายมนุษย์ เป็ นต้น

Credit : http://kruoong.blogspot.com/2011/07/blog-post_25.html

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

3D Projection Mapping
3D Projection Mapping3D Projection Mapping
3D Projection MappingJump' Kmutt
 
กุ้ง
กุ้งกุ้ง
กุ้งKung Kung
 
คู่มือ Photoshop cs3
คู่มือ Photoshop cs3คู่มือ Photoshop cs3
คู่มือ Photoshop cs3charuwarin
 
ปราการ 3.3.
ปราการ 3.3.ปราการ 3.3.
ปราการ 3.3.naek123
 
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์MiNtDamrongkulnan
 
หน่วยที่ 1 กราฟิกกับการสร้างสรรค์
หน่วยที่ 1 กราฟิกกับการสร้างสรรค์หน่วยที่ 1 กราฟิกกับการสร้างสรรค์
หน่วยที่ 1 กราฟิกกับการสร้างสรรค์watcharawittaya school
 
สื่อการสอนกราฟิก
สื่อการสอนกราฟิกสื่อการสอนกราฟิก
สื่อการสอนกราฟิกvorravan
 

Mais procurados (11)

3D Projection Mapping
3D Projection Mapping3D Projection Mapping
3D Projection Mapping
 
Mapping
MappingMapping
Mapping
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
กุ้ง
กุ้งกุ้ง
กุ้ง
 
คู่มือ Photoshop cs3
คู่มือ Photoshop cs3คู่มือ Photoshop cs3
คู่มือ Photoshop cs3
 
Acd see 6.0
Acd see 6.0Acd see 6.0
Acd see 6.0
 
ปราการ 3.3.
ปราการ 3.3.ปราการ 3.3.
ปราการ 3.3.
 
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
 
หน่วยที่ 1 กราฟิกกับการสร้างสรรค์
หน่วยที่ 1 กราฟิกกับการสร้างสรรค์หน่วยที่ 1 กราฟิกกับการสร้างสรรค์
หน่วยที่ 1 กราฟิกกับการสร้างสรรค์
 
สื่อการสอนกราฟิก
สื่อการสอนกราฟิกสื่อการสอนกราฟิก
สื่อการสอนกราฟิก
 
3 d virtual studio present
3 d virtual studio present3 d virtual studio present
3 d virtual studio present
 

Destaque

τι υπάρχει πίσω από την κουρτίνα;
τι υπάρχει πίσω από την κουρτίνα;τι υπάρχει πίσω από την κουρτίνα;
τι υπάρχει πίσω από την κουρτίνα;jpapoglou
 
Irregularverbs1stgrade2
Irregularverbs1stgrade2Irregularverbs1stgrade2
Irregularverbs1stgrade2Leonimoyano
 
B7d2410ba9cd01dfad361f8fb27b922a
B7d2410ba9cd01dfad361f8fb27b922aB7d2410ba9cd01dfad361f8fb27b922a
B7d2410ba9cd01dfad361f8fb27b922aNoot Ting Tong
 
Κ.Π.Καβάφης
Κ.Π.ΚαβάφηςΚ.Π.Καβάφης
Κ.Π.Καβάφηςjpapoglou
 
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (2)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (2)เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (2)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (2)Noot Ting Tong
 
0598cc654b31f9a3a5583af9ef8f1077
0598cc654b31f9a3a5583af9ef8f10770598cc654b31f9a3a5583af9ef8f1077
0598cc654b31f9a3a5583af9ef8f1077Noot Ting Tong
 
วิธีดำเนินงาน
วิธีดำเนินงานวิธีดำเนินงาน
วิธีดำเนินงานNoot Ting Tong
 
Hans-Peter Brunner at Open Economics Workship
Hans-Peter Brunner at Open Economics WorkshipHans-Peter Brunner at Open Economics Workship
Hans-Peter Brunner at Open Economics WorkshipVelichka Dimitrova
 
งานคู่
งานคู่งานคู่
งานคู่Ksm' Oom
 
0598cc654b31f9a3a5583af9ef8f1077
0598cc654b31f9a3a5583af9ef8f10770598cc654b31f9a3a5583af9ef8f1077
0598cc654b31f9a3a5583af9ef8f1077Noot Ting Tong
 
Sanchez t presentation
Sanchez t presentationSanchez t presentation
Sanchez t presentationtsanchez012
 
το Σκάκι
το Σκάκιτο Σκάκι
το Σκάκιjpapoglou
 
Anticipation guide pagtukoy sa detalye
Anticipation guide pagtukoy sa detalye Anticipation guide pagtukoy sa detalye
Anticipation guide pagtukoy sa detalye Muning Ning
 

Destaque (20)

Anorexia y bulimia.
Anorexia y bulimia.Anorexia y bulimia.
Anorexia y bulimia.
 
Knowledge Management and Information Governance
Knowledge Management and Information GovernanceKnowledge Management and Information Governance
Knowledge Management and Information Governance
 
τι υπάρχει πίσω από την κουρτίνα;
τι υπάρχει πίσω από την κουρτίνα;τι υπάρχει πίσω από την κουρτίνα;
τι υπάρχει πίσω από την κουρτίνα;
 
Tik
TikTik
Tik
 
Irregularverbs1stgrade2
Irregularverbs1stgrade2Irregularverbs1stgrade2
Irregularverbs1stgrade2
 
B7d2410ba9cd01dfad361f8fb27b922a
B7d2410ba9cd01dfad361f8fb27b922aB7d2410ba9cd01dfad361f8fb27b922a
B7d2410ba9cd01dfad361f8fb27b922a
 
Κ.Π.Καβάφης
Κ.Π.ΚαβάφηςΚ.Π.Καβάφης
Κ.Π.Καβάφης
 
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (2)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (2)เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (2)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (2)
 
0598cc654b31f9a3a5583af9ef8f1077
0598cc654b31f9a3a5583af9ef8f10770598cc654b31f9a3a5583af9ef8f1077
0598cc654b31f9a3a5583af9ef8f1077
 
วิธีดำเนินงาน
วิธีดำเนินงานวิธีดำเนินงาน
วิธีดำเนินงาน
 
Hans-Peter Brunner at Open Economics Workship
Hans-Peter Brunner at Open Economics WorkshipHans-Peter Brunner at Open Economics Workship
Hans-Peter Brunner at Open Economics Workship
 
Android
AndroidAndroid
Android
 
ใบงาน7
ใบงาน7ใบงาน7
ใบงาน7
 
Pat5
Pat5Pat5
Pat5
 
งานคู่
งานคู่งานคู่
งานคู่
 
GDayx-Maps For Business
GDayx-Maps For BusinessGDayx-Maps For Business
GDayx-Maps For Business
 
0598cc654b31f9a3a5583af9ef8f1077
0598cc654b31f9a3a5583af9ef8f10770598cc654b31f9a3a5583af9ef8f1077
0598cc654b31f9a3a5583af9ef8f1077
 
Sanchez t presentation
Sanchez t presentationSanchez t presentation
Sanchez t presentation
 
το Σκάκι
το Σκάκιτο Σκάκι
το Σκάκι
 
Anticipation guide pagtukoy sa detalye
Anticipation guide pagtukoy sa detalye Anticipation guide pagtukoy sa detalye
Anticipation guide pagtukoy sa detalye
 

Semelhante a ใบงาน7

ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิก
ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิกใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิก
ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิกวาสนา ใจสุยะ
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1jibbie23
 
การจัดห้องปฏิบัติการกราฟิก
การจัดห้องปฏิบัติการกราฟิกการจัดห้องปฏิบัติการกราฟิก
การจัดห้องปฏิบัติการกราฟิกprimpatcha
 
3D Projection Mapping
3D Projection Mapping3D Projection Mapping
3D Projection MappingJump' Kmutt
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5JoyCe Zii Zii
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5JoyCe Zii Zii
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5Aungkana Na Na
 
การสอนครั้งที่ 2 intro ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
การสอนครั้งที่ 2   intro ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกการสอนครั้งที่ 2   intro ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
การสอนครั้งที่ 2 intro ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกjibbie23
 
ใบงานที่8
ใบงานที่8ใบงานที่8
ใบงานที่8Patpeps
 
ใบงานที่ 6 -11
ใบงานที่ 6 -11ใบงานที่ 6 -11
ใบงานที่ 6 -11Panit Jaijareun
 
การประยุกต์คอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนาโครงงาน
การประยุกต์คอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนาโครงงานการประยุกต์คอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนาโครงงาน
การประยุกต์คอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนาโครงงาน111227
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5Aungkana Na Na
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ5Aungkana Na Na
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5Aungkana Na Na
 

Semelhante a ใบงาน7 (20)

ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิก
ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิกใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิก
ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิก
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
การจัดห้องปฏิบัติการกราฟิก
การจัดห้องปฏิบัติการกราฟิกการจัดห้องปฏิบัติการกราฟิก
การจัดห้องปฏิบัติการกราฟิก
 
3D Projection Mapping
3D Projection Mapping3D Projection Mapping
3D Projection Mapping
 
08
0808
08
 
08
0808
08
 
08
0808
08
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
 
การสอนครั้งที่ 2 intro ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
การสอนครั้งที่ 2   intro ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกการสอนครั้งที่ 2   intro ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
การสอนครั้งที่ 2 intro ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
 
ใบงานที่8
ใบงานที่8ใบงานที่8
ใบงานที่8
 
ใบงานที่ 6 -11
ใบงานที่ 6 -11ใบงานที่ 6 -11
ใบงานที่ 6 -11
 
การประยุกต์คอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนาโครงงาน
การประยุกต์คอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนาโครงงานการประยุกต์คอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนาโครงงาน
การประยุกต์คอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนาโครงงาน
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ5
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
 
Storyboard
StoryboardStoryboard
Storyboard
 
ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8
 
Dthgh
DthghDthgh
Dthgh
 

Mais de Noot Ting Tong (20)

โครงงานคอมพิวเตอร์ เสร็จ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เสร็จโครงงานคอมพิวเตอร์ เสร็จ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เสร็จ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เสร็จ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เสร็จโครงงานคอมพิวเตอร์ เสร็จ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เสร็จ
 
Pat7.3
Pat7.3Pat7.3
Pat7.3
 
3b41ab5dce0457b9c1f98673ee9279b2
3b41ab5dce0457b9c1f98673ee9279b23b41ab5dce0457b9c1f98673ee9279b2
3b41ab5dce0457b9c1f98673ee9279b2
 
69db90fbc55c82d552c71a29518a8556
69db90fbc55c82d552c71a29518a855669db90fbc55c82d552c71a29518a8556
69db90fbc55c82d552c71a29518a8556
 
03bb7948b0ecfc6376c61960fe8d8be3
03bb7948b0ecfc6376c61960fe8d8be303bb7948b0ecfc6376c61960fe8d8be3
03bb7948b0ecfc6376c61960fe8d8be3
 
B7f032582c1610c36f6f21d0cd91df1b
B7f032582c1610c36f6f21d0cd91df1bB7f032582c1610c36f6f21d0cd91df1b
B7f032582c1610c36f6f21d0cd91df1b
 
B7d2410ba9cd01dfad361f8fb27b922a
B7d2410ba9cd01dfad361f8fb27b922aB7d2410ba9cd01dfad361f8fb27b922a
B7d2410ba9cd01dfad361f8fb27b922a
 
K11
K11K11
K11
 
K15
K15K15
K15
 
K14
K14K14
K14
 
K16
K16K16
K16
 
K15
K15K15
K15
 
K14
K14K14
K14
 
K11
K11K11
K11
 
K10
K10K10
K10
 
K10
K10K10
K10
 
ของลี 9
ของลี 9ของลี 9
ของลี 9
 
Pat80
Pat80Pat80
Pat80
 
Pat80
Pat80Pat80
Pat80
 

ใบงาน7

  • 1. ใบงานที่ 7 เรื่องโครงงานประเภท “การประยุกต์ ใช้ งาน” คอมพิวเตอร์กราฟิ กกับการประยุกต์ใช้ในงานด้านต่างๆ 1. คอมพิวเตอร์กราฟิ กกับการออกแบบ คอมพิวเตอร์กราฟิ กได้ถูกนามาใช้ในการออกแบบมาเป็ นเวลานาน เราคงจะเคยได้ยนคาว่า ิ CAD (Computer - Aided Design) ซึ่ง เป็ นโปรแกรมสาหรับช่วยในการออกแบบทางวิศวกรรม โปรแกรมเหล่านี้จะช่วยให้ผออกแบบหรื อวิศวกรออกแบบงานต่างๆ ได้สะดวกขึ้น กล่าวคือ ผูออกแบบ ู้ ้ สามารถเขียนเป็ นแบบลายเส้นแล้วลงสี แสงเงา เพือให้ดูคล้ายกับของจริ งได้ นอกจากนี้แล้วเมื่อ ่ ผูออกแบบกาหนดขนาดของวัตถุลงในระบบ CAD แล้ว ผูออกแบบยังสามารถย่อหรื อขยายภาพนั้น ้ ้ หรื อต้องการหมุนภาพไปในมุมต่างๆ ได้ดวย การแก้ไขแบบก็ทาได้ง่ายและสะดวกกว่าการออกแบบบน ้ กระดาษ ทางด้าน วิศวกรรมไฟฟ้ าและอิเล็กทรอนิกส์ คอมพิวเตอร์กราฟิ กถูกนามาใช้ในการออกแบบ วงจรต่างๆ ผูออกแบบสามารถวาดวงจรบนจอภาพโดยใช้สญลักษณ์ต่างๆ ที่ระบบจัดเตรี ยมไว้ให้แล้ว ้ ั มาประกอบกันเป็ นวงจรที่ตองการ ผูออกแบบสามารถแก้ไข ตัดต่อ เพิมเติมวงจรได้โดยสะดวก ้ ้ ่ นอกจากนี้ยงมีโปรแกรมสาหรับออกแบบ PCB (Printed Circuit Board) ซึ่งมีความสามารถจัดการให้ ั แผ่นปริ นต์มีขนาดที่จะวางอุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์ได้เหมาะสมที่สุด การออกแบบพาหนะต่างๆ เช่น รถยนต์ เครื่ องบิน หรื อเครื่ องจักรต่างๆ ในปั จจุบนก็ใช้ระบบ ั CAD นัก ออกแบบสามารถจะออกแบบส่วนย่อยๆ แต่ละส่วนก่อน แล้วนามาประกอบกันเป็ นส่วนใหญ่ ขึ้นจนเป็ นเครื่ องจักรเครื่ องยนต์ท่ตองการ ได้ นอกจากนี้ในบางระบบยังสามารถที่จะทดสอบ ี ้ แบบจาลองที่ออกแบบไว้ได้ดวย เช่น อาจจะออกแบบรถยนต์แล้วนาโครงสร้างของรถที่ออกแบบนั้น ้ มาจาลองการวิง โดยให้วิ่งที่ความเร็วต่างๆ กันแล้วตรวจดูผลที่ได้ ซึ่งการทดลองแบบนี้สามารถทาได้ ่ ในระบบคอมพิวเตอร์และจะประหยัดกว่าการสร้างรถ จริ งๆ แล้วนาออกมาศึกษาทดสอบการวิง ่ การออกแบบโครงสร้าง เช่น ตึก บ้าน สะพาน หรื อโครงสร้างใดๆ ทางวิศวกรรมโยธาและ สถาปั ตยกรรม ก็สามารถทาได้โดยใช้ CAD ช่วยในการออกแบบ หลังจากสถาปนิกออกแบบโครงสร้าง ในแบบ 2 มิติเสร็จแล้ว ระบบ CAD สามารถจัดการให้เป็ นภาพ 3 มิติ และยังสามารถแสดงภาพที่ มุมมองต่างๆ กันได้ตามที่ผออกแบบต้องการ นอกจากนี้ในบางระบบสามารถแสดงภาพให้ปรากฏต่อ ู้ ผูออกแบบราวกับว่าผูออกแบบ สามารถเดินเข้าไปภายในอาคารที่ออกแบบได้ดวย ้ ้ ้
  • 2. 2. กราฟและแผนภาพ คอมพิวเตอร์ กราฟิ กถูกนามาใช้ในการแสดงภาพกราฟและแผนภาพของข้อมูล ได้เป็ นอย่างดี โปรแกรมทางกราฟิ กทัวไปในท้องตลาดจะเป็ นโปรแกรมที่ใช้ในการสร้างภาพกราฟและ ่ แผนภาพ โปรแกรมเหล่านี้ยงสามารถสร้างกราฟได้หลายแบบ เช่น กราฟเส้น กราฟแท่ง และกราฟ ั วงกลม นอกจากนี้ยงสามารถแสดงภาพกราฟได้ท้งในรู ปแบบ 2 มิติ และ 3 มิติ ทาให้ภาพกราฟที่ได้ดูดี ั ั และน่าสนใจ กราฟและแผนภาพทางธุรกิจ เช่น กราฟหรื อแผนภาพแสดงการเงิน สถิติ และข้อมูลทาง เศรษฐกิจ จะเป็ นประโยชน์ต่อผูบริ หารหรื อผูจดการกิจการมาก เนื่องจากสามารถทาความเข้าใจกับ ้ ้ั ข้อมูลได้ง่ายและรวดเร็วกว่าเดิม ในงานวิจยต่างๆ เช่น การศึกษาทางฟิ สิกส์ กราฟและแผนภาพมีส่วน ั ช่วยให้นกวิจยทาความเข้าใจกับข้อมูลได้ง่ายขึ้นเมื่อ ข้อมูลที่ตองวิเคราะห์มีจานวนมาก ั ั ้ ระบบข้อมูลทางภูมิศาสตร์ หรื อ GIS (Geographical Information System) ก็ เป็ นรู ปแบบหนึ่ง ของการแสดงข้อมูลในทานองเดียวกับกราฟและแผนภาพ ข้อมูลทางภูมิศาสตร์จะถูกเก็บลงในระบบ คอมพิวเตอร์ แล้วให้ระบบคอมพิวเตอร์กราฟิ กจัดการแสดงข้อมูลเหล่านั้นออกมาทางจอภาพในรูป ของแผนที่ทางภูมิศาสตร์ 3. ภาพศิลป์ โดยคอมพิวเตอร์กราฟิ ก การ วาดภาพในปั จจุบนนี้ใครๆ ก็สามารถวาดได้แล้วโดยไม่ตอง ั ้ ู่ ั ใช้พกนกับจานสี แต่จะใช้คอมพิวเตอร์กราฟิ กแทน ภาพที่วาดในระบบคอมพิวเตอร์กราฟิ กนี้เรา สามารถกาหนดสี แสงเงารู ปแบบลายเส้นที่ตองการได้โดยง่าย ภาพโฆษณาทางโทรทัศน์หลายชิ้นก็เป็ น ้ งานจากการใช้คอมพิวเตอร์กราฟิ ก ข้อดีของการใช้คอมพิวเตอร์วาดภาพก็คอ เราสามารถแก้ไขเพิมเติม ื ่ ส่วนที่ตองการได้ง่าย นอกจากนี้เรายังสามารถนาภาพต่างๆ เก็บในระบบคอมพิวเตอร์ได้โดยใช้เครื่ อง ้ สแกนเนอร์ (Scanner) แล้วนาภาพเหล่านั้นมาแก้ไข
  • 3. 4. ภาพเคลื่อนไหวโดยใช้คอมพิวเตอร์ ภาพยนตร์ การ์ตูนและภาพยนต์ประเภทนิยายวิทยาศาสตร์หรื อ ภาพยนตร์ที่ใช้เทคนิคพิเศษ ต่างๆ ในปั จจุบนมีการนาคอมพิวเตอร์กราฟิ กเข้ามาช่วยในการออกแบบ ั และสร้างภาพ เคลื่อนไหว (Computer Animation) มากขึ้น เนื่องจากเป็ นวิธีที่สะดวก รวดเร็ ว และง่าย กว่าวิธีอื่นๆ นอกจากนี้ภาพทีได้ยงดูสมจริ งมากขึ้น เช่น ภาพยานอวกาศที่ปรากฏในภาพยนตร์ประเภท ่ ั ่ นิยายวิทยาศาสตร์ เป็ นต้น การใช้คอมพิวเตอร์กราฟิ กช่วยให้ภาพที่อยูในจินตนาการของมนุษย์สามารถ นาออก มาทาให้ปรากฏเป็ นจริ งได้ ภาพเคลื่อนไหวมีประโยชน์มากทั้งในระบบการศึกษา การอบรม การวิจย และการจาลองการทางาน เช่น จาลองการขับรถ การขับเครื่ องบิน เป็ นต้น เกมส์คอมพิวเตอร์ ั หรื อวิดีโอเกมส์ก็ใช้หลักการทาภาพเคลื่อนไหนในคอมพิวเตอร์ กราฟิ กเช่นกัน 5. อิเมจโปรเซสซิงก์ คาว่าอิเมจโปรเซสซิงก์ (Image Processing) หมาย ถึง การแสดงภาพที่เกิดจากการ ถ่ายรู ปหรื อจากการสแกนภาพให้ปรากฏบนจอภาพ คอมพิวเตอร์ วิธีการทางอิเมจโปรเซสซิ งก์จะต่าง กับวิธีการของคอมพิวเตอร์กราฟิ ก กล่าวคือ ในระบบคอมพิวเตอร์กราฟิ ก ตัวคอมพิวเตอร์เองจะเป็ นตัว ที่สร้างภาพ แต่เทคนิกทางอิเมจโปรเซสซิ งก์น้ นใช้คอมพิวเตอร์สาหรับการจัดรู ปแบบของสีและ แสง ั ่ เงาที่มีอยูแล้วในภาพให้เป็ นข้อมูลทางดิจิตอล แล้วอาจจะมีวธีการทาให้ภาพที่รบเข้ามานั้นมีความ ิ ั ชัดเจนมากขึ้นก่อน จากนั้นก็จดการกับข้อมูลดิจตอลนี้ให้เป็ นภาพส่งออกไปที่จอภาพของ คอมพิวเตอร์ ั ิ อีกที วิธีการนี้มีประโยชน์ในการแสดงภาพของวัตถุที่เราไม่สามารถจะเห็นได้โดยตรง เช่น ภาพถ่าย ดาวเทียม ภาพจากทีวสแกนของหุ่นยนต์อุตสาหกรรม เป็ นต้น ี เมื่อ ภาพถ่ายถูกทาให้เป็ นข้อมูลดิจิตอลแล้ว เราก็สามารถจะจัดการแก้ไขเปลี่ยนแปลงภาพนั้นได้โดย ั จัดการกับข้อมูลดิจิตอล ของภาพนันเอง ซึ่งเราก็จะใช้หลักการของคอมพิวเตอร์กราฟิ กมาใช้กบข้อมูล ่ เหล่านี้ได้ เช่น ในภาพสาหรับการโฆษณา เราสามารถทาให้ภาพที่เห็นเหมือภาพถ่ายนั้นแปลกออกไป จากเดิมได้โดยมีภาพ บางอย่างเพิมเข้าไปหรื อบางส่วนของภาพนั้นหายไป ทาให้เกิดภาพที่ไม่น่าจะเป็ น ่ ั จริ งแต่ดูเหมือนกับเกิดขึ้นจริ งได้ เป็ นต้น เทคนิ คของอิเมจโปเซสซิงก์สามารถประยุกต์ใช้กบการแพทย์ ได้ เช่น เครื่ องเอกซเรย์ โทโมกราฟี (X-ray Tomography) ซึ่งใช้สาหรับแสดงภาพตัดขวางของระบบ ร่ างกายมนุษย์ เป็ นต้น Credit : http://kruoong.blogspot.com/2011/07/blog-post_25.html