SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
Download to read offline
จัดทำโดย
นำยกรวิทย์ ขันตี
ม.6/3 เลขที่ 1
นำยชนน วำสิกำร
ม.6/3 เลขที่ 6
โครงงานคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยประเภทต่างๆดังนี้
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา (Educational Media)
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ (Tools Development)
โครงงานประเภทจาลองทฤษฎี (Theory Experiment)
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน (Application)
โครงงานพัฒนาเกม (Game Development)
โครงงานเพื่อ
การพัฒนาการศึกษา
(Educational Media)
เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการผลิตสื่อเพื่อการศึกษา โดย
การสร้างโปรแกรมบทเรียน หรือหน่วยการเรียน ซึ่งอาจจะต้องมีภาค
แบบฝึกหัด บททบทวน และคาถามคาตอบไว้พร้อม ผู้เรียนสามารถ
เรียนแบบรายบุคคลหรือรายกลุ่ม การสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยนี้
ถือว่าเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์การสอน ไม่ใช่เป็นครูผู้สอน ซึ่ง
อาจเป็นการพัฒนาบทเรียนแบบ Online ให้นักเรียนเข้ามาศึกษาด้วย
ตนเองก็ได้
โครงงานประเภทนี้สามารถพัฒนา
ขึ้นเพื่อใช้ประกอบการสอนในวิชาต่าง ๆ
ไม่ว่าจะเป็นสาขาคอมพิวเตอร์ วิชาคณิตศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ วิชา
สังคม วิชาชีพอื่น ๆ ฯลฯ โดยนักเรียนอาจคัดเลือกหัวข้อที่นักเรียน
ทั่วไปที่ทาความเข้าใจยาก มาเป็นหัวข้อในการพัฒนาโปรแกรม
บทเรียน ตัวอย่างเช่น โปรแกรมสอนวิธีการใช้งาน ระบบสุริยะจักรวาล
โปรแกรมแบบทดสอบวิชาต่าง ๆ
โครงงานพัฒนา
เครื่องมือ
(Tools Development)
เป็นโครงงานเพื่อพัฒนาเครื่องมือมาใช้ช่วยสร้างงาน
ประยุกต์ต่าง ๆ ซึ่งโดยส่วนใหญ่จะเป็นในรูปซอฟต์แวร์ ตัวอย่าง
ของเครื่องมืองานนั้นสร้างขึ้นเป็นโปรแกรมประมวลผลภาษา ซึ่ง
ช่วยงาน เช่น ซอฟต์แวร์วาดรูป ซอฟต์แวร์พิมพ์งาน ซอฟต์แวร์
ช่วยการมองวัตถุในมุมต่าง ๆ เป็นต้น สาหรับซอฟต์แวร์เพื่อการ
พิมพ์จะเป็นเครื่องมือให้เราใช้งานในงานพิมพ์ต่าง ๆ บนเครื่อง
คอมพิวเตอร์เป็นไปได้โดยง่าย ซึ่งรูปที่ได้สามารถนาไปใช้งาน
ต่าง ๆ ได้มากมาย สาหรับซอฟต์แวร์ช่วยในการมองวัตถุในมุม
ต่าง ๆ ใช้สาหรับช่วยในการออกแบบสิ่งของต่าง ๆ เช่น
โปรแกรมประเภท 3D
โครงงานประเภท
จาลองทฤษฎี
(Theory Experiment)
เป็นโครงงานใช้คอมพิวเตอร์ในการจาลองการ
ทดลองของสาขาต่าง ๆ เป็นโครงงานที่ผู้ทาต้องศึกษา
รวบรวมความรู้ หลักการ ข้อเท็จจริงและแนวความคิดต่าง
ๆ อย่างลึกซึ้งในเรื่องที่ต้องการศึกษา แล้วเสนอเป็น
แนวคิด แบบจาลอง หลักการ ซึ่งอาจอยู่ในรูปของสมการ
สูตร หรือคาอธิบายก็ได้ พร้อมทั้งนาเสนอวิธีการจาลอง
ทฤษฎีด้วยคอมพิวเตอร์ การทาโครงงานประเภทนี้มี
จุดสาคัญอยู่ที่ผู้ทาต้องมีความรู้เรื่องนั้น ๆ เป็นอย่างดี
ตัวอย่าง เช่น การทดลองเรื่องการไหลของเหลว การ
ทดลองเรื่องพฤติกรรมของปลาอโรวาน่า ทฤษฎีการ
แบ่งแยกดีเอ็นเอ เป็นต้น
โครงงานประเภท
การประยุกต์ใช้งาน
(Application)
เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการสร้าง
ผลงานเพื่อประยุกต์ใช้งานจริงในชีวิตประจาวัน เช่น
ซอฟต์แวร์สาหรับการออกแบบและตกแต่งอาคาร
ซอฟต์แวร์สาหรับการผสมสี ซอฟต์แวร์สาหรับการระบุ
คนร้าย เป็นต้น โครงงานงานประเภทนี้จะมีการประดิษฐ์
ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรืออุปกรณ์ใช้สอยต่าง ๆ ซึ่งอาจจะ
สร้างใหม่หรือปรับปรุงดัดแปลงของเดิมที่มีอยู่แล้วให้มี
ประสิทธิภาพสูงขึ้นก็ได้ โครงงานลักษณะนี้จะต้องศึกษา
และวิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้ก่อน แล้วนาข้อมูลที่
ได้มาใช้ในการออกแบบ และพัฒนาสิ่งของนั้น ๆ
ต่อจากนั้นต้องมีการทดสอบการทางานหรือทดสอบ
คุณภาพของสิ่งประดิษฐ์แล้วปรับปรุงแก้ไขให้มีความ
สมบูรณ์
โครงงานประเภทนี้นักเรียนต้องใช้ความรู้เกี่ยวกับเครื่อง
คอมพิวเตอร์ ภาษาโปรแกรม และเครื่องมือต่าง ๆ ที่
เกี่ยวข้อง รวมทั้งอาจใช้วิธีทางวิศวกรรมฮาร์ดแวร์และ
ซอฟต์แวร์ในการพัฒนาด้วย
โครงงานพัฒนาเกม
(Game Development)
เป็นโครงงานพัฒนาซอฟต์แวร์เกมเพื่อความรู้
และ/หรือ ความเพลิดเพลิน เช่น เกมหมากรุก เกมหมาก
ฮอส เกมการคานวณเลข ซึ่งเกมที่พัฒนาขึ้นนี้น่าจะเน้น
ให้เป็นเกมที่ไม่รุนแรง เน้นการใช้สมองเพื่อฝึกคิดอย่างมี
หลักการ โครงงานประเภทนี้จะมีการออกแบบลักษณะ
และกฎเกณฑ์การเล่น เพื่อให้น่าสนใจเก่ผู้เล่น พร้อมทั้ง
ให้ความรู้สอดแทรกไปด้วย ผู้พัฒนาควรจะได้ทาการ
สารวจและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับเกมต่าง ๆ ที่มีอยู่ทั่วไป
และนามาปรับปรุงหรือพัฒนาขึ้นใหม่เพื่อให้ป็นเกมที่
แปลกใหม่ และน่าสนใจแก่ผู้เล่นกลุ่มต่าง ๆ
ขั้นตอนการทาโครงงาน
คอมพิวเตอร์
◦ 1. การคัดเลือกหัวข้อโครงงาน (การตั้งชื่อโครงงาน
คอมพิวเตอร์ที่สนใจจะทา)
2. การศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล
3. การจัดทาข้อเสนอโครงงาน
4. การลงมือพัฒนาโครงงาน
5. การจัดทารายงาน
6. การนาเสนอและการแสดงผลงานของโครงงาน
การคัดเลือกหัวข้อโครงงาน
◦ ปัญหาสาคัญในการทาโครงงานคอมพิวเตอร์ประการหนึ่งคือ ผู้เรียนไม่ทราบว่าจะทาโครงงานเรื่องอะไร โดยทั่วไปเรื่องที่จะนามา
พัฒนาเป็นโครงงานคอมพิวเตอร์ มักจะได้มาจากเรื่องทั่วๆ ไป จากปัญหา คาถาม หรือความสนใจในเรื่องต่างๆ จากการสังเกตสิ่ง
ต่างๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับระบบคอมพิวเตอร์ หรือสิ่งต่างๆ รอบตัว
อย่างไรก็ตาม ในการตัดสินใจเลือกหัวข้อที่จะนามาพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ ควรพิจารณาองค์ประกอบสาคัญๆ ดังนี้
- เห็นประโยชน์และความคุ้มค่าของเรื่องที่จะทาโครงงาน
- ต้องมีความรู้และทักษะพื้นฐานอย่างเพียงพอในหัวข้อเรื่องที่จะศึกษา
- สามารถจัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์และซอฟต์แวร์ที่เกี่ยวข้องได้
- มีแหล่งความรู้เพียงพอที่จะค้นคว้าหรือขอคาปรึกษาซึ่งรวมถึงผู้เชี่ยวชาญ หรือผู้ให้คาปรึกษา
- มีเวลาเพียงพอ
- มีงบประมาณเพียงพอ
- มีความปลอดภัย
การศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล ซึ่งรวมถึงการขอคาปรึกษาจากครูผู้เชี่ยวชาญ ปราชญ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น จะช่วยให้ผู้เรียนได้แนวคิดที่ใช้ในการกาหนดขอบเขตของ
เรื่องที่จะศึกษาได้เฉพาะเจาะจงมากยิ่งขึ้น รวมทั้งได้ความรู้เพิ่มเติมในเรื่องที่จะศึกษาจนสามารถใช้ออกแบบและวางแผนดาเนินการทาโครงงานนั้นได้อย่างเหมาะสม ในการศึกษา
ค้นคว้าดังกล่าว ผู้เรียนจะต้องบันทึกสรุปสาระสาคัญไว้ด้วย แหล่งข้อมูลที่สาคัญอีกแหล่งหนึ่งคือ การศึกษาผลงานของโครงงานคอมพิวเตอร์จากงานแสดงนิทรรศการ หรือจาก
เอกสารรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ ซึ่งอาจค้นหาได้จากเว็บไซต์ต่างๆ ทั่วโลก จะช่วยเพิ่มพูนประสบการณ์ให้กับผู้เรียนในด้านความรู้ เทคนิคและวิธีการพัฒนา นอกจากนี้ยังทาให้
เกิดแนวคิดที่จะดัดแปลงผลงานดังกล่าว มาจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ในหัวข้อที่ตนสนใจด้วย ตัวอย่างเว็บไซต์ เช่น
1) http://oho.ipst.ac.th เป็นเว็บไซต์ของสาขาคอมพิวเตอร์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับการสอนวิชาเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสาร การประกวดโครงงานคอมพิวเตอร์
2) http://www.nectec.or.th/nsc เป็นเว็บไซต์ของศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ ที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมให้ทุน
วิจัยกับเยาวชนในการพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อสร้างโครงงาน และจัดการแข่งขัน
3) http://www. nectec.or.th/ysc เป็นเว็บไซต์ของศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ ที่เกี่ยวข้องกับโครงงาน
นักวิทยาศาสตร์รุ่นเยาว์ที่จัดการแข่งขันคัดเลือกโครงงานของผู้เรียน เป็นตัวแทนประเทศไทยไปแข่งขันในโครงการของบริษัทอินเทล ที่ประเทศสหรัฐอเมริกา
4) http://www.toryod.com เป็นเว็บไซต์ที่รวบรวมสิทธิบัตร สิ่งประดิษฐ์ต่างๆ ที่ผู้เรียนสามารถเข้าไปศึกษา แนวคิดเพื่อนามาใช้สร้างโครงงาน
หรือต่อยอดได้
การศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล
การจัดทาข้อเสนอโครงงาน
โดยทั่วไป การทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์มีขั้นตอนที่สาคัญดังนี้
3.1 กำหนดขอบเขตงำน
วิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการทบทวนเอกสารวิชาการ เพื่อนามากาหนดขอบเขต ลักษณะ และแนวทางในการวางแผนจัดทาโครงงา
3.2 กำรออกแบบกำรพัฒนำ
การออกแบบพัฒนา มีการกาหนดลักษณะของคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ ตัวแปล ภาษา และวัสดุต่างๆ ที่ต้องใช้กาหนด คุณลักษณะของผลงาน
ระบุเทคนิคที่ใช้ในการพัฒนา พร้อมทั้งกาหนดตารางการปฏิบัติงาน
3.3 พัฒนำโครงงำนขั้นต้น
การพัฒนาโครงงานขั้นต้น เป็นการลงมือปฏิบัติเพื่อศึกษาความเป็นไปได้เบื้องต้น โดยอาจทาการพัฒนาส่วนย่อยๆ บางส่วนตามที่ได้
ออกแบบไว้โดยนาผลจากการปฏิบัติ ไปปรับปรุงแผนการปฏิบัติงานที่ออกแบบไว้ในครั้งแรกให้เหมาะสมยิ่งขึ้น ขั้นตอนนี้เป็นทางเลือกสาหรับผู้เสนอโครงงาน
ที่ต้องการตรวจสอบความเป็นไปได้ของโครงงานและหลักการ
3.4 จัดทำและเสนอข้อเสนอโครงงำนคอมพิวเตอร์
เขียนข้อเสนอโครงงานนาเสนอต่ออาจารย์ที่ปรึกษา เพื่ออาจารย์ที่ปรึกษาจะได้แนะนาในส่วนที่ยังบกพร่องอยู่อีกครั้ง
◦ เมื่อข้อเสนอโครงงานได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาแล้ว ก็เสมือนว่าการจัดทาโครงงานได้ผ่านพ้นไปแล้วมากกว่า50% ขั้นต่อไปจะเป็น
การลงมือพัฒนาตามขั้นตอนที่วางแผนไว้ดังนี้
4.1 กำรเตรียมกำร
ต้องเตรียมเครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ และวัสดุอื่นๆ ที่จะใช้ในการทดลอง พร้อมทั้งจัดเตรียมสถานที่สาหรับใช้ในการพัฒนา
ให้พร้อมด้วย และควรเตรียมสมุดบันทึก หรือบันทึกเป็นแฟ้มข้อความไว้ในระบบคอมพิวเตอร์ สาหรับบันทึกการทากิจกรรมต่างๆ ระหว่างทา
โครงงาน ได้แก่ ได้ปฏิบัติอย่างไร ได้ผลอย่างไร มีปัญหาและแก้ไขได้หรือไม่ อย่างไร รวมทั้งข้อสังเกตต่างๆ ที่พบ
4.2 กำรลงมือพัฒนำ
4.2.1 ปฏิบัติตามแผนงานที่วางไว้ในเค้าโครง แต่อาจเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติมได้ถ้าพบว่าจะช่วยทาให้ผลงานดีขึ้น
4.2.2 จัดระบบการทางานโดยทาส่วนที่เป็นหลักสาคัญให้แล้วเสร็จก่อน จึงค่อยทาส่วนที่เป็นส่วนประกอบหรือส่วนเสริมเพื่อให้
โครงงานมีความสมบูรณ์มากขึ้น และถ้ามีการแบ่งงานกันทา ให้ทาความตกลงในการต่อเชื่อมชิ้นงานที่ชัดเจนด้วย
4.3 กำรตรวจสอบผลงำนและแก้ไข
การตรวจสอบความถูกต้องของผลงานเป็นความจาเป็น เพื่อให้แน่ใจว่าผลงานที่พัฒนาขึ้นทางานได้ถูกต้องตรงกับความต้องการที่
ระบุไว้ในเป้าหมาย และทาด้วยประสิทธิภาพสูงด้วย
4.4 กำรอภิปรำยผลและข้อเสนอแนะ
เมื่อพัฒนาผลงานเรียบร้อยแล้ว ให้จัดทาสรุปด้วยข้อความที่สั้นกะทัดรัดอย่างครอบคลุม เพื่อช่วยให้ผู้อ่านได้เข้าใจถึงสิ่งที่ค้นพบ
จากการทาโครงงาน และทาการอภิปรายผลด้วย เพื่อพิจารณาข้อมูลและผลที่ได้พร้อมกับนาไปหาความสัมพันธ์กับหลักการ ทฤษฎี หรือผลงานที่
ผู้อื่นได้ศึกษาไว้แล้ว ทั้งนี้ยังรวมถึงการนาหลักการ ทฤษฎี หรือผลงานของผู้อื่นมาใช้ประกอบ
การอภิปรายผลที่ได้ด้วย
การลงมือพัฒนาโครงงาน
◦ เมื่อทาโครงงานจนได้ข้อมูลอย่างเพียงพอและทาการวิเคราะห์ผล และสรุปผลแล้ว ขั้นตอนต่อไปที่ต้องทาคือการจัดทารายงาน ซึ่งจะรวมถึง
รายละเอียดต่างๆ ในการพัฒนา และคู่มือการใช้งานรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์เป็นวิธีสื่อความหมายที่มีประสิทธิภาพ เพื่อให้ผู้อื่นได้เข้าใจ
แนวคิด วิธีดาเนินการศึกษาค้นคว้า ข้อมูลที่ได้ตลอดจนข้อสรุปและข้อเสนอแนะต่างๆ
◦ 1. ส่วนนำ
ประกอบด้วย
1.1 ปกนอก
1.2 ใบรองปก
1.6 สารบัญ
1.7 คาอธิบายสัญลักษณ์และคาย่อ (ถ้ามี)
2. ส่วนเนื้อเรื่อง
ส่วนนี้กาหนดให้ทาแบบเป็นบท จานวน 5 บท ประกอบด้วย
บทนา เอกสารที่เกี่ยวข้อง อุปกรณ์และวิธีดาเนินการ ผลการดาเนินงาน สรุปผลการดาเนินงาน/อภิปรายผลการดาเนินงาน
3. ส่วนอ้ำงอิง
เป็นส่วนท้ายของรายงานโครงงาน ประกอบด้วย รายการอ้างอิงหรือบรรณานุกรม และภาคผนวก
3.1 รายการอ้างอิงหรือบรรณานุกรม
3.2 ภาคผนวก
3.3 คู่มือการใช้งาน (ถ้ามี)
การจัดทารายงาน
การนาเสนอและการแสดงผลงานเป็นขั้นตอนที่สาคัญอีกขั้นตอนหนึ่งของการทาโครงงาน เพื่อแสดงออกถึงผลิตผลของความคิด ความพยายาม
ในการทางานที่ผู้ทาโครงงานได้ทุ่มเท และเป็นวิธีที่ทาให้ผู้อื่นได้รับรู้และเข้าใจถึงผลงานนั้น การเสนอผลงานอาจทาได้ในหลายรูปแบบต่างๆ กัน เช่น
การแสดงผลงานโดยไม่มีการอธิบายประกอบ การรายงานด้วยคาพูดในที่ประชุม การจัดนิทรรศการโดยโปสเตอร์ และอธิบายด้วยคาพูด โดยผลงานที่
นามาเสนอหรือจัดแสดงควรประกอบด้วยสิ่งต่อไปนี้
1) ชื่อโครงงาน
2) ชื่อผู้จัดทาโครงงาน
3) ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
4) คาอธิบายถึงที่มาและความสาคัญของโครงงาน
5) วิธีการดาเนินการที่สาคัญ
6) การสาธิตผลงาน
7) ผลการสังเกตและข้อสรุปสาคัญที่ได้จากการทาโครงงาน
ถ้าเป็นการรายงานด้วยคาพูดต่อที่ประชุม ควรมีการเตรียมการในประเด็นต่อไปนี้
1) จัดลาดับความคิดในการนาเสนออย่างเป็นระบบและนาเสนออย่างตรงไปตรงมาด้วยภาษาที่ชัดเจนและเข้าใจง่าย
2) ทาความเข้าใจกับเรื่องที่จะอธิบายให้ดี รวมถึงเตรียมข้อมูลที่อาจต้องใช้ในการตอบคาถาม
3) หลีกเลี่ยงการนาเสนอด้วยวิธีอ่านรายงาน
4) ควรมองไปยังผู้ฟังขณะรายงาน
5) ตอบคาถามอย่างตรงไปตรงมา
6) รายงานให้เสร็จภายในระยะเวลาที่กาหนด
7) ควรใช้โปรแกรมนาเสนอประกอบการรายงาน
8) ความเหมาะสมของเนื้อหาต่อผู้ฟัง
9) ถ้าเป็นโครงงานพัฒนาผลงาน ผลงานนั้นควรจะอยู่ในสภาพที่ทางานได้เป็นอย่างดี
การนาเสนอและการแสดงผลงานของโครงงาน
แหล่งอ้างอิง
• http://www.acr.ac.th/acr/ACR_E-
Learning/CAREER_COMPUTER/COMPUTER/M4/ComputerProject/content1.html
• https://namkwanmay.wordpress.com/2011/02/08/
• https://kuenapa.wordpress.com/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%
A0%E0%B8%97%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B9%82%E0%B8%84%E0%B8%A3
%E0%B8%87%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0
%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A7/
• https://sites.google.com/a/moeipit.ac.th/wirapons/khan-txn-kar-tha-khorng-ngan-
khxmphiwtexr

More Related Content

What's hot

ใบงานท 2 เร__อง ความหมายและความสำค_ญ
ใบงานท   2 เร__อง ความหมายและความสำค_ญใบงานท   2 เร__อง ความหมายและความสำค_ญ
ใบงานท 2 เร__อง ความหมายและความสำค_ญ
jjrrwnd
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
supakeat
 
ใบงานที่4
ใบงานที่4ใบงานที่4
ใบงานที่4
Bt B'toey
 
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษา
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษาใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษา
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษา
Natnicha Nuanlaong
 
ใบงานที่4
ใบงานที่4ใบงานที่4
ใบงานที่4
juice1414
 
โครงงานคอ..
โครงงานคอ..โครงงานคอ..
โครงงานคอ..
Noot Ting Tong
 
กิจกรรม2 8
กิจกรรม2 8กิจกรรม2 8
กิจกรรม2 8
Bengelo
 

What's hot (17)

หลักการพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
หลักการพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์หลักการพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
หลักการพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Presentation3
Presentation3Presentation3
Presentation3
 
ใบงานท 2 เร__อง ความหมายและความสำค_ญ
ใบงานท   2 เร__อง ความหมายและความสำค_ญใบงานท   2 เร__อง ความหมายและความสำค_ญ
ใบงานท 2 เร__อง ความหมายและความสำค_ญ
 
กิจกรรมที่ 2-3
กิจกรรมที่ 2-3กิจกรรมที่ 2-3
กิจกรรมที่ 2-3
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่4
ใบงานที่4ใบงานที่4
ใบงานที่4
 
Presentation2
Presentation2Presentation2
Presentation2
 
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษา
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษาใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษา
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษา
 
ใบงานที่ 2-8 คอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2-8 คอมพิวเตอร์ใบงานที่ 2-8 คอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2-8 คอมพิวเตอร์
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
ใบงานที่3
ใบงานที่3ใบงานที่3
ใบงานที่3
 
Project 3
Project 3Project 3
Project 3
 
ใบงานที่4
ใบงานที่4ใบงานที่4
ใบงานที่4
 
โครงงานคอ..
โครงงานคอ..โครงงานคอ..
โครงงานคอ..
 
กิจกรรม2 8
กิจกรรม2 8กิจกรรม2 8
กิจกรรม2 8
 
Project
ProjectProject
Project
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 

Similar to ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์และขั้นตอน (20)

K4 2
K4 2K4 2
K4 2
 
K4
K4K4
K4
 
K4
K4K4
K4
 
K4
K4K4
K4
 
K4 2
K4 2K4 2
K4 2
 
K4 2
K4 2K4 2
K4 2
 
K4
K4K4
K4
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
K3
K3K3
K3
 
2 3
2 32 3
2 3
 
2 3
2 32 3
2 3
 
ใบงาน3 แก้
ใบงาน3 แก้ใบงาน3 แก้
ใบงาน3 แก้
 
ใบงานท 4
ใบงานท   4ใบงานท   4
ใบงานท 4
 
ใบงานท 4
ใบงานท   4ใบงานท   4
ใบงานท 4
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8
 
ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8
 
K3
K3K3
K3
 
กิจกรรม 2 3 4
กิจกรรม 2 3 4กิจกรรม 2 3 4
กิจกรรม 2 3 4
 

ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์และขั้นตอน

  • 1.
  • 2. จัดทำโดย นำยกรวิทย์ ขันตี ม.6/3 เลขที่ 1 นำยชนน วำสิกำร ม.6/3 เลขที่ 6
  • 3. โครงงานคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยประเภทต่างๆดังนี้ โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา (Educational Media) โครงงานพัฒนาเครื่องมือ (Tools Development) โครงงานประเภทจาลองทฤษฎี (Theory Experiment) โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน (Application) โครงงานพัฒนาเกม (Game Development)
  • 4. โครงงานเพื่อ การพัฒนาการศึกษา (Educational Media) เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการผลิตสื่อเพื่อการศึกษา โดย การสร้างโปรแกรมบทเรียน หรือหน่วยการเรียน ซึ่งอาจจะต้องมีภาค แบบฝึกหัด บททบทวน และคาถามคาตอบไว้พร้อม ผู้เรียนสามารถ เรียนแบบรายบุคคลหรือรายกลุ่ม การสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยนี้ ถือว่าเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์การสอน ไม่ใช่เป็นครูผู้สอน ซึ่ง อาจเป็นการพัฒนาบทเรียนแบบ Online ให้นักเรียนเข้ามาศึกษาด้วย ตนเองก็ได้ โครงงานประเภทนี้สามารถพัฒนา ขึ้นเพื่อใช้ประกอบการสอนในวิชาต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นสาขาคอมพิวเตอร์ วิชาคณิตศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ วิชา สังคม วิชาชีพอื่น ๆ ฯลฯ โดยนักเรียนอาจคัดเลือกหัวข้อที่นักเรียน ทั่วไปที่ทาความเข้าใจยาก มาเป็นหัวข้อในการพัฒนาโปรแกรม บทเรียน ตัวอย่างเช่น โปรแกรมสอนวิธีการใช้งาน ระบบสุริยะจักรวาล โปรแกรมแบบทดสอบวิชาต่าง ๆ
  • 5. โครงงานพัฒนา เครื่องมือ (Tools Development) เป็นโครงงานเพื่อพัฒนาเครื่องมือมาใช้ช่วยสร้างงาน ประยุกต์ต่าง ๆ ซึ่งโดยส่วนใหญ่จะเป็นในรูปซอฟต์แวร์ ตัวอย่าง ของเครื่องมืองานนั้นสร้างขึ้นเป็นโปรแกรมประมวลผลภาษา ซึ่ง ช่วยงาน เช่น ซอฟต์แวร์วาดรูป ซอฟต์แวร์พิมพ์งาน ซอฟต์แวร์ ช่วยการมองวัตถุในมุมต่าง ๆ เป็นต้น สาหรับซอฟต์แวร์เพื่อการ พิมพ์จะเป็นเครื่องมือให้เราใช้งานในงานพิมพ์ต่าง ๆ บนเครื่อง คอมพิวเตอร์เป็นไปได้โดยง่าย ซึ่งรูปที่ได้สามารถนาไปใช้งาน ต่าง ๆ ได้มากมาย สาหรับซอฟต์แวร์ช่วยในการมองวัตถุในมุม ต่าง ๆ ใช้สาหรับช่วยในการออกแบบสิ่งของต่าง ๆ เช่น โปรแกรมประเภท 3D
  • 6. โครงงานประเภท จาลองทฤษฎี (Theory Experiment) เป็นโครงงานใช้คอมพิวเตอร์ในการจาลองการ ทดลองของสาขาต่าง ๆ เป็นโครงงานที่ผู้ทาต้องศึกษา รวบรวมความรู้ หลักการ ข้อเท็จจริงและแนวความคิดต่าง ๆ อย่างลึกซึ้งในเรื่องที่ต้องการศึกษา แล้วเสนอเป็น แนวคิด แบบจาลอง หลักการ ซึ่งอาจอยู่ในรูปของสมการ สูตร หรือคาอธิบายก็ได้ พร้อมทั้งนาเสนอวิธีการจาลอง ทฤษฎีด้วยคอมพิวเตอร์ การทาโครงงานประเภทนี้มี จุดสาคัญอยู่ที่ผู้ทาต้องมีความรู้เรื่องนั้น ๆ เป็นอย่างดี ตัวอย่าง เช่น การทดลองเรื่องการไหลของเหลว การ ทดลองเรื่องพฤติกรรมของปลาอโรวาน่า ทฤษฎีการ แบ่งแยกดีเอ็นเอ เป็นต้น
  • 7. โครงงานประเภท การประยุกต์ใช้งาน (Application) เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการสร้าง ผลงานเพื่อประยุกต์ใช้งานจริงในชีวิตประจาวัน เช่น ซอฟต์แวร์สาหรับการออกแบบและตกแต่งอาคาร ซอฟต์แวร์สาหรับการผสมสี ซอฟต์แวร์สาหรับการระบุ คนร้าย เป็นต้น โครงงานงานประเภทนี้จะมีการประดิษฐ์ ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรืออุปกรณ์ใช้สอยต่าง ๆ ซึ่งอาจจะ สร้างใหม่หรือปรับปรุงดัดแปลงของเดิมที่มีอยู่แล้วให้มี ประสิทธิภาพสูงขึ้นก็ได้ โครงงานลักษณะนี้จะต้องศึกษา และวิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้ก่อน แล้วนาข้อมูลที่ ได้มาใช้ในการออกแบบ และพัฒนาสิ่งของนั้น ๆ ต่อจากนั้นต้องมีการทดสอบการทางานหรือทดสอบ คุณภาพของสิ่งประดิษฐ์แล้วปรับปรุงแก้ไขให้มีความ สมบูรณ์ โครงงานประเภทนี้นักเรียนต้องใช้ความรู้เกี่ยวกับเครื่อง คอมพิวเตอร์ ภาษาโปรแกรม และเครื่องมือต่าง ๆ ที่ เกี่ยวข้อง รวมทั้งอาจใช้วิธีทางวิศวกรรมฮาร์ดแวร์และ ซอฟต์แวร์ในการพัฒนาด้วย
  • 8. โครงงานพัฒนาเกม (Game Development) เป็นโครงงานพัฒนาซอฟต์แวร์เกมเพื่อความรู้ และ/หรือ ความเพลิดเพลิน เช่น เกมหมากรุก เกมหมาก ฮอส เกมการคานวณเลข ซึ่งเกมที่พัฒนาขึ้นนี้น่าจะเน้น ให้เป็นเกมที่ไม่รุนแรง เน้นการใช้สมองเพื่อฝึกคิดอย่างมี หลักการ โครงงานประเภทนี้จะมีการออกแบบลักษณะ และกฎเกณฑ์การเล่น เพื่อให้น่าสนใจเก่ผู้เล่น พร้อมทั้ง ให้ความรู้สอดแทรกไปด้วย ผู้พัฒนาควรจะได้ทาการ สารวจและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับเกมต่าง ๆ ที่มีอยู่ทั่วไป และนามาปรับปรุงหรือพัฒนาขึ้นใหม่เพื่อให้ป็นเกมที่ แปลกใหม่ และน่าสนใจแก่ผู้เล่นกลุ่มต่าง ๆ
  • 9. ขั้นตอนการทาโครงงาน คอมพิวเตอร์ ◦ 1. การคัดเลือกหัวข้อโครงงาน (การตั้งชื่อโครงงาน คอมพิวเตอร์ที่สนใจจะทา) 2. การศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล 3. การจัดทาข้อเสนอโครงงาน 4. การลงมือพัฒนาโครงงาน 5. การจัดทารายงาน 6. การนาเสนอและการแสดงผลงานของโครงงาน
  • 10. การคัดเลือกหัวข้อโครงงาน ◦ ปัญหาสาคัญในการทาโครงงานคอมพิวเตอร์ประการหนึ่งคือ ผู้เรียนไม่ทราบว่าจะทาโครงงานเรื่องอะไร โดยทั่วไปเรื่องที่จะนามา พัฒนาเป็นโครงงานคอมพิวเตอร์ มักจะได้มาจากเรื่องทั่วๆ ไป จากปัญหา คาถาม หรือความสนใจในเรื่องต่างๆ จากการสังเกตสิ่ง ต่างๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับระบบคอมพิวเตอร์ หรือสิ่งต่างๆ รอบตัว อย่างไรก็ตาม ในการตัดสินใจเลือกหัวข้อที่จะนามาพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ ควรพิจารณาองค์ประกอบสาคัญๆ ดังนี้ - เห็นประโยชน์และความคุ้มค่าของเรื่องที่จะทาโครงงาน - ต้องมีความรู้และทักษะพื้นฐานอย่างเพียงพอในหัวข้อเรื่องที่จะศึกษา - สามารถจัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์และซอฟต์แวร์ที่เกี่ยวข้องได้ - มีแหล่งความรู้เพียงพอที่จะค้นคว้าหรือขอคาปรึกษาซึ่งรวมถึงผู้เชี่ยวชาญ หรือผู้ให้คาปรึกษา - มีเวลาเพียงพอ - มีงบประมาณเพียงพอ - มีความปลอดภัย
  • 11. การศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล ซึ่งรวมถึงการขอคาปรึกษาจากครูผู้เชี่ยวชาญ ปราชญ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น จะช่วยให้ผู้เรียนได้แนวคิดที่ใช้ในการกาหนดขอบเขตของ เรื่องที่จะศึกษาได้เฉพาะเจาะจงมากยิ่งขึ้น รวมทั้งได้ความรู้เพิ่มเติมในเรื่องที่จะศึกษาจนสามารถใช้ออกแบบและวางแผนดาเนินการทาโครงงานนั้นได้อย่างเหมาะสม ในการศึกษา ค้นคว้าดังกล่าว ผู้เรียนจะต้องบันทึกสรุปสาระสาคัญไว้ด้วย แหล่งข้อมูลที่สาคัญอีกแหล่งหนึ่งคือ การศึกษาผลงานของโครงงานคอมพิวเตอร์จากงานแสดงนิทรรศการ หรือจาก เอกสารรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ ซึ่งอาจค้นหาได้จากเว็บไซต์ต่างๆ ทั่วโลก จะช่วยเพิ่มพูนประสบการณ์ให้กับผู้เรียนในด้านความรู้ เทคนิคและวิธีการพัฒนา นอกจากนี้ยังทาให้ เกิดแนวคิดที่จะดัดแปลงผลงานดังกล่าว มาจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ในหัวข้อที่ตนสนใจด้วย ตัวอย่างเว็บไซต์ เช่น 1) http://oho.ipst.ac.th เป็นเว็บไซต์ของสาขาคอมพิวเตอร์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับการสอนวิชาเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร การประกวดโครงงานคอมพิวเตอร์ 2) http://www.nectec.or.th/nsc เป็นเว็บไซต์ของศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ ที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมให้ทุน วิจัยกับเยาวชนในการพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อสร้างโครงงาน และจัดการแข่งขัน 3) http://www. nectec.or.th/ysc เป็นเว็บไซต์ของศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ ที่เกี่ยวข้องกับโครงงาน นักวิทยาศาสตร์รุ่นเยาว์ที่จัดการแข่งขันคัดเลือกโครงงานของผู้เรียน เป็นตัวแทนประเทศไทยไปแข่งขันในโครงการของบริษัทอินเทล ที่ประเทศสหรัฐอเมริกา 4) http://www.toryod.com เป็นเว็บไซต์ที่รวบรวมสิทธิบัตร สิ่งประดิษฐ์ต่างๆ ที่ผู้เรียนสามารถเข้าไปศึกษา แนวคิดเพื่อนามาใช้สร้างโครงงาน หรือต่อยอดได้ การศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล
  • 12. การจัดทาข้อเสนอโครงงาน โดยทั่วไป การทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์มีขั้นตอนที่สาคัญดังนี้ 3.1 กำหนดขอบเขตงำน วิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการทบทวนเอกสารวิชาการ เพื่อนามากาหนดขอบเขต ลักษณะ และแนวทางในการวางแผนจัดทาโครงงา 3.2 กำรออกแบบกำรพัฒนำ การออกแบบพัฒนา มีการกาหนดลักษณะของคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ ตัวแปล ภาษา และวัสดุต่างๆ ที่ต้องใช้กาหนด คุณลักษณะของผลงาน ระบุเทคนิคที่ใช้ในการพัฒนา พร้อมทั้งกาหนดตารางการปฏิบัติงาน 3.3 พัฒนำโครงงำนขั้นต้น การพัฒนาโครงงานขั้นต้น เป็นการลงมือปฏิบัติเพื่อศึกษาความเป็นไปได้เบื้องต้น โดยอาจทาการพัฒนาส่วนย่อยๆ บางส่วนตามที่ได้ ออกแบบไว้โดยนาผลจากการปฏิบัติ ไปปรับปรุงแผนการปฏิบัติงานที่ออกแบบไว้ในครั้งแรกให้เหมาะสมยิ่งขึ้น ขั้นตอนนี้เป็นทางเลือกสาหรับผู้เสนอโครงงาน ที่ต้องการตรวจสอบความเป็นไปได้ของโครงงานและหลักการ 3.4 จัดทำและเสนอข้อเสนอโครงงำนคอมพิวเตอร์ เขียนข้อเสนอโครงงานนาเสนอต่ออาจารย์ที่ปรึกษา เพื่ออาจารย์ที่ปรึกษาจะได้แนะนาในส่วนที่ยังบกพร่องอยู่อีกครั้ง
  • 13. ◦ เมื่อข้อเสนอโครงงานได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาแล้ว ก็เสมือนว่าการจัดทาโครงงานได้ผ่านพ้นไปแล้วมากกว่า50% ขั้นต่อไปจะเป็น การลงมือพัฒนาตามขั้นตอนที่วางแผนไว้ดังนี้ 4.1 กำรเตรียมกำร ต้องเตรียมเครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ และวัสดุอื่นๆ ที่จะใช้ในการทดลอง พร้อมทั้งจัดเตรียมสถานที่สาหรับใช้ในการพัฒนา ให้พร้อมด้วย และควรเตรียมสมุดบันทึก หรือบันทึกเป็นแฟ้มข้อความไว้ในระบบคอมพิวเตอร์ สาหรับบันทึกการทากิจกรรมต่างๆ ระหว่างทา โครงงาน ได้แก่ ได้ปฏิบัติอย่างไร ได้ผลอย่างไร มีปัญหาและแก้ไขได้หรือไม่ อย่างไร รวมทั้งข้อสังเกตต่างๆ ที่พบ 4.2 กำรลงมือพัฒนำ 4.2.1 ปฏิบัติตามแผนงานที่วางไว้ในเค้าโครง แต่อาจเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติมได้ถ้าพบว่าจะช่วยทาให้ผลงานดีขึ้น 4.2.2 จัดระบบการทางานโดยทาส่วนที่เป็นหลักสาคัญให้แล้วเสร็จก่อน จึงค่อยทาส่วนที่เป็นส่วนประกอบหรือส่วนเสริมเพื่อให้ โครงงานมีความสมบูรณ์มากขึ้น และถ้ามีการแบ่งงานกันทา ให้ทาความตกลงในการต่อเชื่อมชิ้นงานที่ชัดเจนด้วย 4.3 กำรตรวจสอบผลงำนและแก้ไข การตรวจสอบความถูกต้องของผลงานเป็นความจาเป็น เพื่อให้แน่ใจว่าผลงานที่พัฒนาขึ้นทางานได้ถูกต้องตรงกับความต้องการที่ ระบุไว้ในเป้าหมาย และทาด้วยประสิทธิภาพสูงด้วย 4.4 กำรอภิปรำยผลและข้อเสนอแนะ เมื่อพัฒนาผลงานเรียบร้อยแล้ว ให้จัดทาสรุปด้วยข้อความที่สั้นกะทัดรัดอย่างครอบคลุม เพื่อช่วยให้ผู้อ่านได้เข้าใจถึงสิ่งที่ค้นพบ จากการทาโครงงาน และทาการอภิปรายผลด้วย เพื่อพิจารณาข้อมูลและผลที่ได้พร้อมกับนาไปหาความสัมพันธ์กับหลักการ ทฤษฎี หรือผลงานที่ ผู้อื่นได้ศึกษาไว้แล้ว ทั้งนี้ยังรวมถึงการนาหลักการ ทฤษฎี หรือผลงานของผู้อื่นมาใช้ประกอบ การอภิปรายผลที่ได้ด้วย การลงมือพัฒนาโครงงาน
  • 14. ◦ เมื่อทาโครงงานจนได้ข้อมูลอย่างเพียงพอและทาการวิเคราะห์ผล และสรุปผลแล้ว ขั้นตอนต่อไปที่ต้องทาคือการจัดทารายงาน ซึ่งจะรวมถึง รายละเอียดต่างๆ ในการพัฒนา และคู่มือการใช้งานรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์เป็นวิธีสื่อความหมายที่มีประสิทธิภาพ เพื่อให้ผู้อื่นได้เข้าใจ แนวคิด วิธีดาเนินการศึกษาค้นคว้า ข้อมูลที่ได้ตลอดจนข้อสรุปและข้อเสนอแนะต่างๆ ◦ 1. ส่วนนำ ประกอบด้วย 1.1 ปกนอก 1.2 ใบรองปก 1.6 สารบัญ 1.7 คาอธิบายสัญลักษณ์และคาย่อ (ถ้ามี) 2. ส่วนเนื้อเรื่อง ส่วนนี้กาหนดให้ทาแบบเป็นบท จานวน 5 บท ประกอบด้วย บทนา เอกสารที่เกี่ยวข้อง อุปกรณ์และวิธีดาเนินการ ผลการดาเนินงาน สรุปผลการดาเนินงาน/อภิปรายผลการดาเนินงาน 3. ส่วนอ้ำงอิง เป็นส่วนท้ายของรายงานโครงงาน ประกอบด้วย รายการอ้างอิงหรือบรรณานุกรม และภาคผนวก 3.1 รายการอ้างอิงหรือบรรณานุกรม 3.2 ภาคผนวก 3.3 คู่มือการใช้งาน (ถ้ามี) การจัดทารายงาน
  • 15. การนาเสนอและการแสดงผลงานเป็นขั้นตอนที่สาคัญอีกขั้นตอนหนึ่งของการทาโครงงาน เพื่อแสดงออกถึงผลิตผลของความคิด ความพยายาม ในการทางานที่ผู้ทาโครงงานได้ทุ่มเท และเป็นวิธีที่ทาให้ผู้อื่นได้รับรู้และเข้าใจถึงผลงานนั้น การเสนอผลงานอาจทาได้ในหลายรูปแบบต่างๆ กัน เช่น การแสดงผลงานโดยไม่มีการอธิบายประกอบ การรายงานด้วยคาพูดในที่ประชุม การจัดนิทรรศการโดยโปสเตอร์ และอธิบายด้วยคาพูด โดยผลงานที่ นามาเสนอหรือจัดแสดงควรประกอบด้วยสิ่งต่อไปนี้ 1) ชื่อโครงงาน 2) ชื่อผู้จัดทาโครงงาน 3) ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา 4) คาอธิบายถึงที่มาและความสาคัญของโครงงาน 5) วิธีการดาเนินการที่สาคัญ 6) การสาธิตผลงาน 7) ผลการสังเกตและข้อสรุปสาคัญที่ได้จากการทาโครงงาน ถ้าเป็นการรายงานด้วยคาพูดต่อที่ประชุม ควรมีการเตรียมการในประเด็นต่อไปนี้ 1) จัดลาดับความคิดในการนาเสนออย่างเป็นระบบและนาเสนออย่างตรงไปตรงมาด้วยภาษาที่ชัดเจนและเข้าใจง่าย 2) ทาความเข้าใจกับเรื่องที่จะอธิบายให้ดี รวมถึงเตรียมข้อมูลที่อาจต้องใช้ในการตอบคาถาม 3) หลีกเลี่ยงการนาเสนอด้วยวิธีอ่านรายงาน 4) ควรมองไปยังผู้ฟังขณะรายงาน 5) ตอบคาถามอย่างตรงไปตรงมา 6) รายงานให้เสร็จภายในระยะเวลาที่กาหนด 7) ควรใช้โปรแกรมนาเสนอประกอบการรายงาน 8) ความเหมาะสมของเนื้อหาต่อผู้ฟัง 9) ถ้าเป็นโครงงานพัฒนาผลงาน ผลงานนั้นควรจะอยู่ในสภาพที่ทางานได้เป็นอย่างดี การนาเสนอและการแสดงผลงานของโครงงาน
  • 16. แหล่งอ้างอิง • http://www.acr.ac.th/acr/ACR_E- Learning/CAREER_COMPUTER/COMPUTER/M4/ComputerProject/content1.html • https://namkwanmay.wordpress.com/2011/02/08/ • https://kuenapa.wordpress.com/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8% A0%E0%B8%97%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B9%82%E0%B8%84%E0%B8%A3 %E0%B8%87%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0 %B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A7/ • https://sites.google.com/a/moeipit.ac.th/wirapons/khan-txn-kar-tha-khorng-ngan- khxmphiwtexr