SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 17
กฎของเลขยกกำลัง
ก่อนที่เรำจะรู้จักฟังก์ชันเอ็กซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอกำริทึมเรำต้องรู้จักกฎของเลขยกกำลังก่อนนะครับ;')
กรณีที่
a เป็นจำนวนจริงใดๆ ที่ไม่เท่ำกับศูนย์
m และ n เป็นจำนวเต็ม เท่ำนั้น(แต่ผลที่ได้ก็สำมำรถนำไปใช้กับกรณีทั่วๆไปได้)
ให้ am
= a x a x a x . . . x a ; คูณกัน m ตัว
an
= a x a x a x . . . x a ; คูณกัน n ตัว
1) กำรคูณของเลขยกกำลังที่มีฐำนเดียวกัน(aเหมือนกัน) ให้นำเลขชี้กำลังมำบวกกัน
เพรำะว่ำ am
x an
= (a x a x a x...x a) x (a x a x a x ... x a)
m ตัว n ตัว
= a x a x a x ... x a x a x a x a x ... x a
m + n ตัว
ดังนั้น am
x an
= am+n
เช่น a2
x a3
= (a x a)x(a x a x a)
= a x a x a x a x a , 5 ตัว
= a5
#
2) จำนวนใดๆ ยกกำลัง ศูนย์ มีค่ำเท่ำกับ1
เพรำะว่ำ am
x a0
= am+0
= am
ดังนั้น a0
= 1
, จำนวนใดๆ เมื่อคูณด้วย1 แล้วไม่ทำไให้ค่ำเปลี่ยนแปลงไป
am
x 1 = am
เช่น 80
= 1
1020
= 1
2,5000
= 1
เอะ แล้ว ก0
จะเท่ำกับ 1 หรือไม่?
3) กฎของ a-m
(เลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มลบ)โดยกฎกำรคูณเลขยกกำลังในข้อ 1)
เพรำะว่ำ am
x a-m
= am+(-m)
= am-m
= a0
= 1 , a0
= 1 กฏข้อ 2)
ดังนั้น a-m
=
1
am
, หำรทั้งสองข้ำงด้วยam
เช่น 19-2
=
1
192
5-4
=
1
54
4) กฏกำรหำรเลขยกกำลัง
กำหนดให้
am
an
=
a x a x a x ... x a
a x a x a x ... x a
,
m ตัว
n ตัว
= a x a x a x ... x a , m - n ตัว
ดังนั้น
am
an
= am - n
เช่น 1) กรณี m > n,
25
23
=
2 x 2 x 2 x 2 x 2
2 x 2 x 2
,
5 ตัว
2 ตัว
= 2 x 2 , เหลือ 5 - 3 = 2 ตัว
= 22
# 25-3
2) กรณี m < n,
32
36
=
3 x 3
3 x 3 x 3 x 3 x 3 x 3
,
2 ตัว
6 ตัว
=
1
3 x 3 x 3 x 3
, เหลือ 2 - 6 = -4
=
1
34
, กฏข้อ 3)
= 3-4
# 32-6
3) กรณี m = n
45
45
= 45-5
= 40
= 1
5) กฏกำรยกกำลังของเลขยกกำลัง
กำหนดให้ (am
)n
= am
x am
x am
x ... x am
, am
คูณกัน n ตัว
= am+m+m+...+m
, กฏข้อ 1) am
x an
= am+n
ดังนั้น (am
)n
= am x n
เช่น (53
)2
= 53 x 2
= 56
6) a1/m
เลขชี้กำลังเป็น เศษส่วน
พิจำรณำ a1/m
x a1/m
x a1/m
x ... x a1/m , m ตัว
จะได้ a1/m
x a1/m
x a1/m
x ... x a1/m
= a(1/m)+(1/m)+(1/m)+...+(1/m)
= (a1/m
)m
= a1
= a
ดังนั้น a1/m
= m
√a
เช่น 81/3
= 3
√8
= 2
สรุปกฏเกี่ยวกับเลขยกกำลังกละเลขชี้กำลัง
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล(Exponential Function)
จำกกำรศึกษำในเรื่องเลขยกกำลัง ซึ่งท้ำยที่สุดเรำได้สนใจเลขยกกำลังที่มีฐำนเป็นจำนวนจริงบวกและเลขชี้
กำลังเป็นจำนวนจริงใด ๆ
แต่ได้มีนักคณิตศำสตร์ได้สังเกตเห็นว่ำ ถ้ำเลขยกกำลังมีฐำนเป็น1 และเลขชี้กำลังเป็นจำนวนจริงใด
ๆ ดังนี้
ถ้ำกำหนดให้ a = 1 และ x เป็นจำนวนจริงใดแล้วจะได้
ax = 1x = 1
ข้อสังเกต
 ไม่ว่ำx จะเป็นจำนวนจริงใด ๆ
ก็ตำม1x ก็ยังคงเท่ำกับ 1 เสมอ ดังนั้นจึงไม่น่ำสนใจ เนื่องจำก เรำทรำบว่ำมันเป็นอะไรแน่ ๆ อยู่แล้ว
 เรำยังไม่ทรำบนะว่ำ เลขยกกำลังที่มีฐำนเป็นจำนวนจริงบวกยกเว้น1 และเลขชี้กำลังเป็นจำนวนจริงใ
ด ๆ
แสดงว่ำเรำจะต้องสนใจศึกษำเลขยกกำลังลักษณะนี้เป็นพิเศษ ซึ่งจะกล่ำวถึงใน เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โพ
เนนเชียลดังนี้
ข้อกำหนด (ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล)
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลคือ f = { (x,y) Î R ´ R+ / y = ax , a > 0, a ¹ 1 }
ข้อตกลง ในหนังสือคณิตศำสตร์บำงเล่มให้ข้อกำหนดของฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล เป็นฟังก์ชันที่อยู่ในรูปf(x
) =
kax เมื่อk เป็นค่ำคงตัวที่ไม่ใช่ 0 และ a เป็นจำนวนจริงบวกที่ไม่เป็น1 แต่ในหลักสูตรมัธยมศึกษำตอนปลำยนี้
จะถือว่ำฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลจะอยู่ในรูปf(x) =ax เมื่อa เป็น จำนวนจริงบวกที่ไม่เป็น1 เท่ำนั้น
ข้อสังเกต จำกข้อกำหนดฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล
 f(x) = 1x เป็นฟังก์ชันคงตัวเนื่องจำก1x =
1 ดังนั้นในข้อกำหนดฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลจึงไม่สนใจ ฐำน (a) ที่เป็น 1
 f(x) = 1x ไม่เป็นฟังก์ชันเอ็กซ์โพเนนเชียล เนื่องจำก f(x) = 1x เป็นฟังก์ชันคงตัว
 จำกเงื่อนไขที่ว่ำ y = ax, a > 0, a ¹ 1 ทำให้เรำทรำบได้เลยว่ำฐำน(a) มีอยู่ 2 ลักษณะ คือ 0 < a <
1 กับa > 1
 ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลจะมีอยู่ 2 ชนิด โดยขึ้นอยู่กับลักษณะของฐำน(a) ดังนี้
ชนิดที่ 1 y = ax, 0 < a < 1
ชนิดที่ 2 y = ax, a > 1
การแก้สมการเอ็กโปเนนเชียล
การแก้สมการเอกโพเนนเชียลที่มักพบอยู่บ่อยๆมี4 วิธีคือ
1. ทาให้ฐานเท่ากันคือทาให้ ap(x)
= aq(x)
แล้วสรุปว่าp(x) =q(x)
2. ทาให้กาลังเหมือนกันแต่ฐานต่างกันคือap(x)
= bq(x)
แล้วสรุปได้ว่าp(x) =0
3.ทาให้เป็นเลขจานวนเดียวยกกาลังแล้วมีค่าเท่ากับ1 คือทาเป็น(abc)u
= 1 แล้วสรุปว่าu= 0
การแก้อสมการเอกซ์โพเนนเชียล
กลุ่มที่ 1 ฐานเหมือนกันเลขชี้กาลังต่างกัน
1. เมื่อa > 1
จะได้ว่ำ
อสมกำรของเลขชี้กำลังจะคล้อยตำมอสมกำรของเลขยกกำลัง
เช่น ax
>
ay
จะได้ว่ำ x > y
ax
<
ay
จะได้ว่ำ x < y
2. เมื่อ
0 < a
< 1
จะได้ว่ำ
อสมกำรของเลขชี้กำลังจะตรงข้ำมกับอสมกำรของเลขชี้กำลัง
เช่น ax
>
ay
จะได้ว่ำ x < y
ax
<
ay
จะได้ว่ำ x > y
กลุ่มที่ 2 ฐำนต่ำงกันเลขชี้กำลังเหมือนกัน
1. ถ้ำอสมกำรของเลขยกกำลังคล้อยตำมอสมกำรของเลขฐำนจะได้ว่ำเลขชี้กำลัง< 0
เช่น a < b , ax
< bx
จะได้ว่ำ x > 0
a > b , ax
> bx
จะได้ว่ำ x > 0
2. ถ้ำอสมกำรของเลขยกกำลังตรงข้ำมกับอสมกำรของเลขฐำนจะได้ว่ำเลขชี้กำลัง< 0
เช่น a > b , ax
< bx
จะได้ว่ำ x < 0
a < b , ax
> bx
จะได้ว่ำ x < 0
y = loga x มีควำมหมำยว่ำ x= ay
ถ้ำ a = 10 เรียกว่ำ ลอกำริทึมสำมัญ เขียนแทนด้วย log x
ถ้ำ a = e ป 2.71828 เรียกว่ำ ลอกำริทึมธรรมชำติ เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ ln x ( คือ loge x )
โดเมนของฟังก์ชันลอกำริทึมเป็นเซตของจำนวนจริงบวกเรนจ์ของฟังก์ชันลอกำริทึมเป็นเซตของจำนวนจริง
สมบัติที่สำคัญ
1.
2.
loga x
loga xy
=
=
loga y ก็ต่อเมื่อ x= y
loga x + loga y
3.
4.
loga(x/y)
loga xy
=
=
loga x + loga y
yloga x + loga
5. logaa = 1
6. loga1 = 0
7. ln 1 = log 1 = 0
8. ln e = 1, log10 =1
9. eln x
= x , 10log x
= x
10. ln ex
= x , log 10x
= x
13. ax
= ex ln a
กำรหำค่ำ logx เขียน x = A ด 10n
เมื่อ 1 < A < 10 หำค่ำของlogA จำกตำรำงแล้วจะได้
log x = n + log A
กำรหำค่ำ xเมื่อทรำบค่ำ logx เช่น logx = 7.8341 ค่ำ x ทำได้โดยกำรใช้เครื่องคิดเลขและกำรเปิดตำรำง
1. เขียน logx = n + B เมื่อ 0 < B < 1 และ n เป็นจำนวนเต็ม
2. หำค่ำ y เมื่อ logy = B จำกตำรำงแอนติลอกำริทึมหรือตำรำงลอกำริทึม (โดยดูย้อนกลับ)ได้ค่ำ y
แล้วจะได้ x = y ด 10n
ฟังก์ชันลอกำริทึม Logarithmic Function
จำกฟังก์ชันลอกำริทึม มีควำมหมำยเหมือนกับ ดังนั้นกรำฟของ
จึงมีได้ 2 ลักษณะ คือ
1.กรำฟฟังก์ชัน
2.กรำฟฟังก์ชัน
เนื่องจำกฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล เป็นฟังก์ชัน
1-1 จำกR ไปทั่วถึง R+
ทำให้เรำทรำบได้เลยว่ำ อินเวอร์สของฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลจะเป็นฟังก์ชันแน่ ๆ และยังเป็นฟังก์ชัน 1-1
จำก R+ ไปทั่วถึง R
ถ้ำเรำเปลี่ยน x เป็น Y และเปลี่ยน y เป็น x ที่เงื่อนไขของฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล
จะได้ฟังก์ชันอินเวอร์สของฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลคือ
จุดกำเนิดของฟังก์ชันลอกำริทึม
เนื่องจำก นักคณิตศำสตร์ทั่วไปไม่นิยม ให้เงื่อนไขของฟังก์ชันใด ๆ อยู่ในรูป
ตัวแปรต้น (x) = กลุ่มของตัวแปรตำม (y) แต่นิยมให้เงื่อนไขอยู่ในรูป
ตัวแปรตำม (y) = กลุ่มตัวแปรต้น(x)
พบว่ำ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล มีเงื่อนไข
ตัวแปรตำม (y) = aตัวแปรต้น(x) ซึ่งอยู่ในรูปแบบที่นิยมอยู่แล้ว
แต่ ฟังก์ชันอินเวอร์สของฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล มีเงื่อนไข
ตัวแปรต้น (x) = aตัวแปรตำม (y) เห็นไหมไม่อยู่ในรูปแบบที่นิยม
ดังนั้น นักคณิตศำสตร์จึงอยำกจะเปลี่ยนเงื่อนไขฟังก์ชันอินเวอร์สของฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล
ใหม่เพื่อให้อยู่ในรูปแบบที่นิยมโดยกำหนดให้เขียน ใหม่เป็น แบบดื้อ ๆ เลย
ข้อตกลง
1. ถูกอ่ำนออกเสียงว่ำ “ลอกำริทึมเอกซ์ฐำนเอ” หรือ “ล็อกเอกซ์ฐำนเอ”
2.
ฟังก์ชันอินเวอร์สของฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลสำมำรถเขียนใหม่ได้เป็น
3. ฟังก์ชันอินเวอร์สของฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลถูกเรียกใหม่ว่ำ ฟังก์ชันลอกำริทึม
ข้อกำหนด
ฟังก์ชันลอกำริทึม คือ
เป็นอินเวอร์สของฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล
กรำฟของฟังก์ชันลอกำริทึม
จำกที่เรำทรำบอยู่แล้วว่ำฟังก์ชันลอกำริทึม กับฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลเป็นอินเวอร์สซึ่งกันและกัน
แสดงว่ำ กรำฟของฟัง์ชันทั้งสองจะสมมำตรซึ่งกันและกัน เมื่อเทียบกับเส้นตรง
ดังนั้น จึงได้กรำฟของฟังก์ชันลอกำริทึมทั้ง 2 ชนิด โดยขึ้นอยู่กับลักษณะของฐำน
ดังตำรำงต่อไปนี้
กับ กับ
นิยำมของลอกำริทึม
นิยำมฟังก์ชันลอกำริทึมคือ อินเวอรส์ของฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเซียลอยู่ในรูป
Exponential :
Log :
นิยำมฟังก์ชันลอกำริทึมคือ
จึงสรุปได้ว่ำ ตัวเลขหลัง ต้องเป็นจำนวนจริงบวก
ฐำนของ ต้องเป็นเลขจำนวนจริงบวกแต่ไม่เป็น 1
ค่ำของ คือ y เป็นจำนวนจริงบวกจำนวนจริงลบ หรือศูนย์ก็ได้
อ่ำนว่ำ “ลอกำริทึมเอกซ์ฐำนเอ” หรือ “ลอกเอ็กซ์ฐำนเอ” " loga"
เนื่องจำก f (ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเซียล)เป็นฟังก์ชัน 1 – 1 ดังนั้น
จึงเป็นฟังก์ชันและเป็นฟังก์ชัน 1 – 1 ด้วย
คุณสมบัติของลอกำริทึม
คุณสมบัติ 7 ประกำรของลอกำริทึมมีดังนี้
1. สมบัติกำรบวก
Example จงรวมพจน์ของ
2. สมบัติกำรลบ
Example จงรวมพจน์ของ
3. สมบัติของเลขลอกำริทึม ที่เท่ำกับเลขฐำน
Example จงหำค่ำของ
** กำรนิยำมในลอกำริทึม จะไม่นิยำมให้เป็นจำนวนลบ**
4. สมบัติของลอกำริทึม 1
* เหตุที่เป็นเช่นนี้ได้เพรำะหำกว่ำเรำเขียนกลับจำกรูปลอกำริทึม
จะได้เลขยกกำลังเป็น แต่ a เป็น - หรือ 0 ไม่ได้
5. สมบัติเลขยกกำลังของลอกำริทึม
* คุณสมบัตินี้บอกให้เรำนำเลขชี้กำลังของลอกำริทึมมำไว้ด้ำนหน้ำ เพื่อนำมำ
คูณกับเลขลอกำริทึม *
Example
6. คุณสมบัติฐำนลอกำริทึมที่เขียนเป็นเลขยกกำลังได้
Example
7. คุณสมบัติกำรเปลี่ยนฐำนของลอกำริทึม
*คุณสมบัติกำรเปลี่ยนฐำนได้นี้เป็นคุณสมบัติที่สำคัญสำหรับกำรแก้ปัญหำสมกำรลอกำริทึม
คุณสมบัตินี้บอกว่ำ
หำกเรำไม่พอใจฐำนลอกำริทึมที่โจทย์กำหนดมำ
เรำสำมำรถเปลี่ยนฐำนลอกำริทึมใหม่ได้ตำมต้องกำร แต่ต้องมำกว่ำ 0
และไม่เท่ำกับ 1 ซึ่งมักเปลี่ยนเป็นฐำน 10
*ลอกำริทึมฐำน 10
เป็นลอกำริทึมที่พบบ่อยและมักจะไม่นิยมเขียนเลขฐำนกำกับไว้โดยตกลงว่ำเมื่อ
เขียนลอกำริทึมที่ไม่มีฐำนแสดงว่ำเป็นลอกำริทึมฐำน 10เรียกว่ำ “ ลอกำริทึมสำมัญ ”
สูตรของลอกำริทึม
เงื่อนไข: ฐำนล็อกคือ มำกกว่ำ 0 , ไม่เท่ำกับ 1 หลังล็อก คือ มำกกว่ำ 0
1. ก็ต่อเมื่อ โดย และ และ
2. และ เมื่อ
3.
4.
5.
6. โดยทั่วไปนิยมเปลี่ยนเป็นฐำน 10
7.
8.
9.
10.
กรำฟของฟังก์ชันลอกำริทึม
ลอกำริทึมจำกฐำนต่ำงๆ:สีแดง คือ ฐำนe,สีเขียว คือ ฐำน 10 และสีม่วง คือ ฐำน 1.7
แต่ละขีดช่วงบนแกนคือ 1 หน่วย โปรดสังเกตว่ำลอกำริทึมของทุกฐำนจะผ่ำนจุด (1,0)
(ที่เป็นเช่นนี้ก็เพรำะจำนวนใดๆ (ที่ไม่ใช่ศูนย์)เมื่อยกกำลัง 0 มีค่ำเท่ำกับ 1)
ลอกำริทึม เป็นกำรดำเนินกำรทำงคณิตศำสตร์ ที่เป็นฟังก์ชันผกผันของ
ฟังก์ชันเอกโปเนนเชียล (ใช้ค่ำคงตัว หรือ "ฐำน"เป็นเลขยกกำลัง) ลอกำริทึมของจำนวน x
ที่มีฐำน b คือจำนวน n นั่นคือ x = bn เขียนได้เป็น
ตัวอย่ำงเช่น
เพรำะว่ำ
หำกเป็นจำนวนเต็มบวก, คือ ผลลัพธ์ของตัวประกอบ ตัว เท่ำกับ
อย่ำงไรก็ตำม อย่ำงน้อยหำกเป็นบวก นิยำมนี้อำจขยำยไปยังจำนวนจริง ใดๆ
ในทำนองเดียวกันฟังก์ชันลอกำริทึมอำจนิยำมได้สำหรับจำนวนจริงบวกใดๆ สำหรับฐำนบวก
อื่นๆ แต่ละฐำน นอกเหนือจำก 1 ในที่นี้ คือ ฟังก์ชันลอกำริทึม 1 ฟังก์ชัน
และฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียล 1 ฟังก์ชัน โดยมันเป็นฟังก์ชันผกผัน
ลอกำริทึมนั้นสำมำรถลดกำรดำเนินกำรคูณเป็นกำรบวกกำรหำรเป็นกำรลบ
ยกกำลังเป็นกำรคูณ และกำรถอดรำกเป็นกำรหำร
ดังนั้นลอกำริทึมจึงมีประโยชน์สำหรับกำรดำเนินกำรกับตัวเลขจำนวนมำกให้ง่ำย
ขึ้นและถ้ำมีกำรใช้อย่ำงแพร่หลำยก่อนมีกำรใช้คอมพิวเตอร์
โดยเฉพำะกำรคำนวณในด้ำนดำรำศำสตร์ ,วิศวกรรมศำสตร์ ,กำรเดินเรือ และกำรทำแผนที่
โดยมีคุณสมบัติทำงคณิตศำสตร์ที่สำคัญและยังคงใช้ในหลำยรูปแบบ
ฟังก์ชันเพิ่ม
กรำฟของฟังก์ชัน จะผ่ำนจุด (1,0) เสมอ เพรำะ
ถ้ำ เป็นฟังก์ชันเพิ่ม
ฟังก์ชันลอกำริทึมเป็นฟังก์ชัน 1-1 จำก ไปทั่วถึง
โดยอำศัยสมบัติของฟังก์ชัน 1-1 จะได้ว่ำ
ก็ต่อเมื่อ
จำกฟังก์ชันลอกำริทึม จะได้
โดเมนของฟังก์ชัน
เรนจ์ของฟังก์ชัน
ฟังก์ชันลด
กรำฟของฟังก์ชัน จะผ่ำนจุด (1,0) เสมอ เพรำะ
ถ้ำ เป็นฟังก์ชันลด
ฟังก์ชันลอกำริทึมเป็นฟังก์ชัน 1-1 จำก ไปทั่วถึง
โดยอำศัยสมบัติของฟังก์ชัน 1-1 จะได้ว่ำ
ก็ต่อเมื่อ
จำกฟังก์ชันลอกำริทึม จะได้
โดเมนของฟังก์ชัน
เรนจ์ของฟังก์ชัน

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

หลักการแก้สมการเกี่ยวกับเลขยกกำลัง
หลักการแก้สมการเกี่ยวกับเลขยกกำลังหลักการแก้สมการเกี่ยวกับเลขยกกำลัง
หลักการแก้สมการเกี่ยวกับเลขยกกำลังkroojaja
 
สมบัติอืนๆของเลขยกกำลัง
สมบัติอืนๆของเลขยกกำลังสมบัติอืนๆของเลขยกกำลัง
สมบัติอืนๆของเลขยกกำลังkroojaja
 
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001Thidarat Termphon
 
เลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึมเลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึมJiraprapa Suwannajak
 
เมทริกซ์ระดับชั้นมัธยมปลาย(Matrix)
เมทริกซ์ระดับชั้นมัธยมปลาย(Matrix)เมทริกซ์ระดับชั้นมัธยมปลาย(Matrix)
เมทริกซ์ระดับชั้นมัธยมปลาย(Matrix)Thanuphong Ngoapm
 
แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่
แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่
แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่Chon Chom
 
เฉลยแคลคูลัส
เฉลยแคลคูลัสเฉลยแคลคูลัส
เฉลยแคลคูลัสkrurutsamee
 
เลขยกกำลังม.4
เลขยกกำลังม.4เลขยกกำลังม.4
เลขยกกำลังม.4KruGift Girlz
 
สื่อรายวิชา ค 31201 (สมการเส้นตรง) ครูขวัญแก้ว มีเหมือน
สื่อรายวิชา ค 31201 (สมการเส้นตรง) ครูขวัญแก้ว  มีเหมือนสื่อรายวิชา ค 31201 (สมการเส้นตรง) ครูขวัญแก้ว  มีเหมือน
สื่อรายวิชา ค 31201 (สมการเส้นตรง) ครูขวัญแก้ว มีเหมือนพัน พัน
 
Exponential and logarithm function
Exponential and logarithm functionExponential and logarithm function
Exponential and logarithm functionThanuphong Ngoapm
 
การแก้สมการ
การแก้สมการการแก้สมการ
การแก้สมการAon Narinchoti
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นRitthinarongron School
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นkruthanapornkodnara
 

Mais procurados (20)

ใบงานเลขยกกำลังม.5
ใบงานเลขยกกำลังม.5ใบงานเลขยกกำลังม.5
ใบงานเลขยกกำลังม.5
 
Expo
ExpoExpo
Expo
 
หลักการแก้สมการเกี่ยวกับเลขยกกำลัง
หลักการแก้สมการเกี่ยวกับเลขยกกำลังหลักการแก้สมการเกี่ยวกับเลขยกกำลัง
หลักการแก้สมการเกี่ยวกับเลขยกกำลัง
 
สมบัติอืนๆของเลขยกกำลัง
สมบัติอืนๆของเลขยกกำลังสมบัติอืนๆของเลขยกกำลัง
สมบัติอืนๆของเลขยกกำลัง
 
Logic problem p
Logic problem pLogic problem p
Logic problem p
 
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
 
Linear1
Linear1Linear1
Linear1
 
เลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึมเลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึม
 
เมทริกซ์ระดับชั้นมัธยมปลาย(Matrix)
เมทริกซ์ระดับชั้นมัธยมปลาย(Matrix)เมทริกซ์ระดับชั้นมัธยมปลาย(Matrix)
เมทริกซ์ระดับชั้นมัธยมปลาย(Matrix)
 
แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่
แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่
แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่
 
เฉลยแคลคูลัส
เฉลยแคลคูลัสเฉลยแคลคูลัส
เฉลยแคลคูลัส
 
เลขยกกำลังม.4
เลขยกกำลังม.4เลขยกกำลังม.4
เลขยกกำลังม.4
 
สื่อรายวิชา ค 31201 (สมการเส้นตรง) ครูขวัญแก้ว มีเหมือน
สื่อรายวิชา ค 31201 (สมการเส้นตรง) ครูขวัญแก้ว  มีเหมือนสื่อรายวิชา ค 31201 (สมการเส้นตรง) ครูขวัญแก้ว  มีเหมือน
สื่อรายวิชา ค 31201 (สมการเส้นตรง) ครูขวัญแก้ว มีเหมือน
 
Matrix problem p
Matrix problem pMatrix problem p
Matrix problem p
 
เมทริกซ์...
เมทริกซ์...เมทริกซ์...
เมทริกซ์...
 
Exponential and logarithm function
Exponential and logarithm functionExponential and logarithm function
Exponential and logarithm function
 
การแก้สมการ
การแก้สมการการแก้สมการ
การแก้สมการ
 
Statistic1
Statistic1Statistic1
Statistic1
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้น
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้น
 

Semelhante a กฎของเลขยกกำลัง

กฎของเลขยกกำลัง
กฎของเลขยกกำลังกฎของเลขยกกำลัง
กฎของเลขยกกำลังNiwat Namisa
 
สรุปสูตรคณิตศาสตร์
สรุปสูตรคณิตศาสตร์สรุปสูตรคณิตศาสตร์
สรุปสูตรคณิตศาสตร์wisita42
 
บทที่1 จำนวนจริง
บทที่1 จำนวนจริงบทที่1 จำนวนจริง
บทที่1 จำนวนจริงBombam Waranya
 
ตัวกำหนด(Determinant)
ตัวกำหนด(Determinant)ตัวกำหนด(Determinant)
ตัวกำหนด(Determinant)kroojaja
 
สรุปเนื้อหา O- net ม.6
สรุปเนื้อหา O- net ม.6 สรุปเนื้อหา O- net ม.6
สรุปเนื้อหา O- net ม.6 sensehaza
 
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมaass012
 
สมบัติเลขยกกำลัง #1
สมบัติเลขยกกำลัง #1สมบัติเลขยกกำลัง #1
สมบัติเลขยกกำลัง #1Oracha_art
 
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์PumPui Oranuch
 
9789740328766
97897403287669789740328766
9789740328766CUPress
 
Expor&log1 (1)
Expor&log1 (1)Expor&log1 (1)
Expor&log1 (1)Chay Nyx
 
Expor&log1 (1)
Expor&log1 (1)Expor&log1 (1)
Expor&log1 (1)Chay Nyx
 

Semelhante a กฎของเลขยกกำลัง (20)

กฎของเลขยกกำลัง
กฎของเลขยกกำลังกฎของเลขยกกำลัง
กฎของเลขยกกำลัง
 
สรุปสูตรคณิตศาสตร์
สรุปสูตรคณิตศาสตร์สรุปสูตรคณิตศาสตร์
สรุปสูตรคณิตศาสตร์
 
บทที่1 จำนวนจริง
บทที่1 จำนวนจริงบทที่1 จำนวนจริง
บทที่1 จำนวนจริง
 
ตัวกำหนด(Determinant)
ตัวกำหนด(Determinant)ตัวกำหนด(Determinant)
ตัวกำหนด(Determinant)
 
ลอการิทึม
ลอการิทึมลอการิทึม
ลอการิทึม
 
Expo
ExpoExpo
Expo
 
Expo
ExpoExpo
Expo
 
Expo
ExpoExpo
Expo
 
Expo
ExpoExpo
Expo
 
7
77
7
 
ฟังก์ชัน
ฟังก์ชันฟังก์ชัน
ฟังก์ชัน
 
สรุปเนื้อหา O- net ม.6
สรุปเนื้อหา O- net ม.6 สรุปเนื้อหา O- net ม.6
สรุปเนื้อหา O- net ม.6
 
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
 
สมบัติเลขยกกำลัง #1
สมบัติเลขยกกำลัง #1สมบัติเลขยกกำลัง #1
สมบัติเลขยกกำลัง #1
 
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
 
9789740328766
97897403287669789740328766
9789740328766
 
9789740328766
97897403287669789740328766
9789740328766
 
Expor&log1 (1)
Expor&log1 (1)Expor&log1 (1)
Expor&log1 (1)
 
Expor&log1 (1)
Expor&log1 (1)Expor&log1 (1)
Expor&log1 (1)
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 

Mais de Niwat Namisa

ตัวอย่างโจทย์สถิติ
ตัวอย่างโจทย์สถิติตัวอย่างโจทย์สถิติ
ตัวอย่างโจทย์สถิติNiwat Namisa
 
ตัวอย่างโจทย์สถิติ
ตัวอย่างโจทย์สถิติตัวอย่างโจทย์สถิติ
ตัวอย่างโจทย์สถิติNiwat Namisa
 
00000070 1 20130107-130231
00000070 1 20130107-13023100000070 1 20130107-130231
00000070 1 20130107-130231Niwat Namisa
 
00000070 1 20130107-130231
00000070 1 20130107-13023100000070 1 20130107-130231
00000070 1 20130107-130231Niwat Namisa
 

Mais de Niwat Namisa (9)

Plaๅ
PlaๅPlaๅ
Plaๅ
 
10
10 10
10
 
ตัวอย่างโจทย์สถิติ
ตัวอย่างโจทย์สถิติตัวอย่างโจทย์สถิติ
ตัวอย่างโจทย์สถิติ
 
ตัวอย่างโจทย์สถิติ
ตัวอย่างโจทย์สถิติตัวอย่างโจทย์สถิติ
ตัวอย่างโจทย์สถิติ
 
10
10 10
10
 
10
10 10
10
 
Doc1
Doc1Doc1
Doc1
 
00000070 1 20130107-130231
00000070 1 20130107-13023100000070 1 20130107-130231
00000070 1 20130107-130231
 
00000070 1 20130107-130231
00000070 1 20130107-13023100000070 1 20130107-130231
00000070 1 20130107-130231
 

กฎของเลขยกกำลัง

  • 1. กฎของเลขยกกำลัง ก่อนที่เรำจะรู้จักฟังก์ชันเอ็กซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอกำริทึมเรำต้องรู้จักกฎของเลขยกกำลังก่อนนะครับ;') กรณีที่ a เป็นจำนวนจริงใดๆ ที่ไม่เท่ำกับศูนย์ m และ n เป็นจำนวเต็ม เท่ำนั้น(แต่ผลที่ได้ก็สำมำรถนำไปใช้กับกรณีทั่วๆไปได้) ให้ am = a x a x a x . . . x a ; คูณกัน m ตัว an = a x a x a x . . . x a ; คูณกัน n ตัว 1) กำรคูณของเลขยกกำลังที่มีฐำนเดียวกัน(aเหมือนกัน) ให้นำเลขชี้กำลังมำบวกกัน เพรำะว่ำ am x an = (a x a x a x...x a) x (a x a x a x ... x a) m ตัว n ตัว = a x a x a x ... x a x a x a x a x ... x a m + n ตัว ดังนั้น am x an = am+n เช่น a2 x a3 = (a x a)x(a x a x a) = a x a x a x a x a , 5 ตัว = a5 # 2) จำนวนใดๆ ยกกำลัง ศูนย์ มีค่ำเท่ำกับ1 เพรำะว่ำ am x a0 = am+0 = am
  • 2. ดังนั้น a0 = 1 , จำนวนใดๆ เมื่อคูณด้วย1 แล้วไม่ทำไให้ค่ำเปลี่ยนแปลงไป am x 1 = am เช่น 80 = 1 1020 = 1 2,5000 = 1 เอะ แล้ว ก0 จะเท่ำกับ 1 หรือไม่? 3) กฎของ a-m (เลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มลบ)โดยกฎกำรคูณเลขยกกำลังในข้อ 1) เพรำะว่ำ am x a-m = am+(-m) = am-m = a0 = 1 , a0 = 1 กฏข้อ 2) ดังนั้น a-m = 1 am , หำรทั้งสองข้ำงด้วยam เช่น 19-2 = 1 192 5-4 = 1 54 4) กฏกำรหำรเลขยกกำลัง กำหนดให้ am an = a x a x a x ... x a a x a x a x ... x a , m ตัว n ตัว = a x a x a x ... x a , m - n ตัว
  • 3. ดังนั้น am an = am - n เช่น 1) กรณี m > n, 25 23 = 2 x 2 x 2 x 2 x 2 2 x 2 x 2 , 5 ตัว 2 ตัว = 2 x 2 , เหลือ 5 - 3 = 2 ตัว = 22 # 25-3 2) กรณี m < n, 32 36 = 3 x 3 3 x 3 x 3 x 3 x 3 x 3 , 2 ตัว 6 ตัว = 1 3 x 3 x 3 x 3 , เหลือ 2 - 6 = -4 = 1 34 , กฏข้อ 3) = 3-4 # 32-6 3) กรณี m = n 45 45 = 45-5 = 40 = 1 5) กฏกำรยกกำลังของเลขยกกำลัง กำหนดให้ (am )n = am x am x am x ... x am , am คูณกัน n ตัว = am+m+m+...+m , กฏข้อ 1) am x an = am+n ดังนั้น (am )n = am x n เช่น (53 )2 = 53 x 2 = 56 6) a1/m เลขชี้กำลังเป็น เศษส่วน
  • 4. พิจำรณำ a1/m x a1/m x a1/m x ... x a1/m , m ตัว จะได้ a1/m x a1/m x a1/m x ... x a1/m = a(1/m)+(1/m)+(1/m)+...+(1/m) = (a1/m )m = a1 = a ดังนั้น a1/m = m √a เช่น 81/3 = 3 √8 = 2 สรุปกฏเกี่ยวกับเลขยกกำลังกละเลขชี้กำลัง ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล(Exponential Function)
  • 5. จำกกำรศึกษำในเรื่องเลขยกกำลัง ซึ่งท้ำยที่สุดเรำได้สนใจเลขยกกำลังที่มีฐำนเป็นจำนวนจริงบวกและเลขชี้ กำลังเป็นจำนวนจริงใด ๆ แต่ได้มีนักคณิตศำสตร์ได้สังเกตเห็นว่ำ ถ้ำเลขยกกำลังมีฐำนเป็น1 และเลขชี้กำลังเป็นจำนวนจริงใด ๆ ดังนี้ ถ้ำกำหนดให้ a = 1 และ x เป็นจำนวนจริงใดแล้วจะได้ ax = 1x = 1 ข้อสังเกต  ไม่ว่ำx จะเป็นจำนวนจริงใด ๆ ก็ตำม1x ก็ยังคงเท่ำกับ 1 เสมอ ดังนั้นจึงไม่น่ำสนใจ เนื่องจำก เรำทรำบว่ำมันเป็นอะไรแน่ ๆ อยู่แล้ว  เรำยังไม่ทรำบนะว่ำ เลขยกกำลังที่มีฐำนเป็นจำนวนจริงบวกยกเว้น1 และเลขชี้กำลังเป็นจำนวนจริงใ ด ๆ แสดงว่ำเรำจะต้องสนใจศึกษำเลขยกกำลังลักษณะนี้เป็นพิเศษ ซึ่งจะกล่ำวถึงใน เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โพ เนนเชียลดังนี้ ข้อกำหนด (ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล) ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลคือ f = { (x,y) Î R ´ R+ / y = ax , a > 0, a ¹ 1 } ข้อตกลง ในหนังสือคณิตศำสตร์บำงเล่มให้ข้อกำหนดของฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล เป็นฟังก์ชันที่อยู่ในรูปf(x ) = kax เมื่อk เป็นค่ำคงตัวที่ไม่ใช่ 0 และ a เป็นจำนวนจริงบวกที่ไม่เป็น1 แต่ในหลักสูตรมัธยมศึกษำตอนปลำยนี้ จะถือว่ำฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลจะอยู่ในรูปf(x) =ax เมื่อa เป็น จำนวนจริงบวกที่ไม่เป็น1 เท่ำนั้น ข้อสังเกต จำกข้อกำหนดฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล  f(x) = 1x เป็นฟังก์ชันคงตัวเนื่องจำก1x = 1 ดังนั้นในข้อกำหนดฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลจึงไม่สนใจ ฐำน (a) ที่เป็น 1  f(x) = 1x ไม่เป็นฟังก์ชันเอ็กซ์โพเนนเชียล เนื่องจำก f(x) = 1x เป็นฟังก์ชันคงตัว  จำกเงื่อนไขที่ว่ำ y = ax, a > 0, a ¹ 1 ทำให้เรำทรำบได้เลยว่ำฐำน(a) มีอยู่ 2 ลักษณะ คือ 0 < a < 1 กับa > 1  ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลจะมีอยู่ 2 ชนิด โดยขึ้นอยู่กับลักษณะของฐำน(a) ดังนี้ ชนิดที่ 1 y = ax, 0 < a < 1 ชนิดที่ 2 y = ax, a > 1
  • 6. การแก้สมการเอ็กโปเนนเชียล การแก้สมการเอกโพเนนเชียลที่มักพบอยู่บ่อยๆมี4 วิธีคือ 1. ทาให้ฐานเท่ากันคือทาให้ ap(x) = aq(x) แล้วสรุปว่าp(x) =q(x) 2. ทาให้กาลังเหมือนกันแต่ฐานต่างกันคือap(x) = bq(x) แล้วสรุปได้ว่าp(x) =0 3.ทาให้เป็นเลขจานวนเดียวยกกาลังแล้วมีค่าเท่ากับ1 คือทาเป็น(abc)u = 1 แล้วสรุปว่าu= 0 การแก้อสมการเอกซ์โพเนนเชียล กลุ่มที่ 1 ฐานเหมือนกันเลขชี้กาลังต่างกัน 1. เมื่อa > 1 จะได้ว่ำ อสมกำรของเลขชี้กำลังจะคล้อยตำมอสมกำรของเลขยกกำลัง เช่น ax > ay จะได้ว่ำ x > y ax < ay จะได้ว่ำ x < y 2. เมื่อ 0 < a < 1 จะได้ว่ำ อสมกำรของเลขชี้กำลังจะตรงข้ำมกับอสมกำรของเลขชี้กำลัง เช่น ax > ay จะได้ว่ำ x < y ax < ay จะได้ว่ำ x > y กลุ่มที่ 2 ฐำนต่ำงกันเลขชี้กำลังเหมือนกัน 1. ถ้ำอสมกำรของเลขยกกำลังคล้อยตำมอสมกำรของเลขฐำนจะได้ว่ำเลขชี้กำลัง< 0 เช่น a < b , ax < bx จะได้ว่ำ x > 0 a > b , ax > bx จะได้ว่ำ x > 0
  • 7. 2. ถ้ำอสมกำรของเลขยกกำลังตรงข้ำมกับอสมกำรของเลขฐำนจะได้ว่ำเลขชี้กำลัง< 0 เช่น a > b , ax < bx จะได้ว่ำ x < 0 a < b , ax > bx จะได้ว่ำ x < 0 y = loga x มีควำมหมำยว่ำ x= ay ถ้ำ a = 10 เรียกว่ำ ลอกำริทึมสำมัญ เขียนแทนด้วย log x ถ้ำ a = e ป 2.71828 เรียกว่ำ ลอกำริทึมธรรมชำติ เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ ln x ( คือ loge x ) โดเมนของฟังก์ชันลอกำริทึมเป็นเซตของจำนวนจริงบวกเรนจ์ของฟังก์ชันลอกำริทึมเป็นเซตของจำนวนจริง สมบัติที่สำคัญ 1. 2. loga x loga xy = = loga y ก็ต่อเมื่อ x= y loga x + loga y 3. 4. loga(x/y) loga xy = = loga x + loga y yloga x + loga 5. logaa = 1 6. loga1 = 0 7. ln 1 = log 1 = 0 8. ln e = 1, log10 =1 9. eln x = x , 10log x = x 10. ln ex = x , log 10x = x 13. ax = ex ln a กำรหำค่ำ logx เขียน x = A ด 10n เมื่อ 1 < A < 10 หำค่ำของlogA จำกตำรำงแล้วจะได้ log x = n + log A กำรหำค่ำ xเมื่อทรำบค่ำ logx เช่น logx = 7.8341 ค่ำ x ทำได้โดยกำรใช้เครื่องคิดเลขและกำรเปิดตำรำง 1. เขียน logx = n + B เมื่อ 0 < B < 1 และ n เป็นจำนวนเต็ม 2. หำค่ำ y เมื่อ logy = B จำกตำรำงแอนติลอกำริทึมหรือตำรำงลอกำริทึม (โดยดูย้อนกลับ)ได้ค่ำ y แล้วจะได้ x = y ด 10n
  • 8. ฟังก์ชันลอกำริทึม Logarithmic Function จำกฟังก์ชันลอกำริทึม มีควำมหมำยเหมือนกับ ดังนั้นกรำฟของ จึงมีได้ 2 ลักษณะ คือ 1.กรำฟฟังก์ชัน 2.กรำฟฟังก์ชัน เนื่องจำกฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล เป็นฟังก์ชัน 1-1 จำกR ไปทั่วถึง R+ ทำให้เรำทรำบได้เลยว่ำ อินเวอร์สของฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลจะเป็นฟังก์ชันแน่ ๆ และยังเป็นฟังก์ชัน 1-1 จำก R+ ไปทั่วถึง R ถ้ำเรำเปลี่ยน x เป็น Y และเปลี่ยน y เป็น x ที่เงื่อนไขของฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล จะได้ฟังก์ชันอินเวอร์สของฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลคือ จุดกำเนิดของฟังก์ชันลอกำริทึม
  • 9. เนื่องจำก นักคณิตศำสตร์ทั่วไปไม่นิยม ให้เงื่อนไขของฟังก์ชันใด ๆ อยู่ในรูป ตัวแปรต้น (x) = กลุ่มของตัวแปรตำม (y) แต่นิยมให้เงื่อนไขอยู่ในรูป ตัวแปรตำม (y) = กลุ่มตัวแปรต้น(x) พบว่ำ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล มีเงื่อนไข ตัวแปรตำม (y) = aตัวแปรต้น(x) ซึ่งอยู่ในรูปแบบที่นิยมอยู่แล้ว แต่ ฟังก์ชันอินเวอร์สของฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล มีเงื่อนไข ตัวแปรต้น (x) = aตัวแปรตำม (y) เห็นไหมไม่อยู่ในรูปแบบที่นิยม ดังนั้น นักคณิตศำสตร์จึงอยำกจะเปลี่ยนเงื่อนไขฟังก์ชันอินเวอร์สของฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล ใหม่เพื่อให้อยู่ในรูปแบบที่นิยมโดยกำหนดให้เขียน ใหม่เป็น แบบดื้อ ๆ เลย ข้อตกลง 1. ถูกอ่ำนออกเสียงว่ำ “ลอกำริทึมเอกซ์ฐำนเอ” หรือ “ล็อกเอกซ์ฐำนเอ” 2. ฟังก์ชันอินเวอร์สของฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลสำมำรถเขียนใหม่ได้เป็น 3. ฟังก์ชันอินเวอร์สของฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลถูกเรียกใหม่ว่ำ ฟังก์ชันลอกำริทึม ข้อกำหนด ฟังก์ชันลอกำริทึม คือ เป็นอินเวอร์สของฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล กรำฟของฟังก์ชันลอกำริทึม
  • 10. จำกที่เรำทรำบอยู่แล้วว่ำฟังก์ชันลอกำริทึม กับฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลเป็นอินเวอร์สซึ่งกันและกัน แสดงว่ำ กรำฟของฟัง์ชันทั้งสองจะสมมำตรซึ่งกันและกัน เมื่อเทียบกับเส้นตรง ดังนั้น จึงได้กรำฟของฟังก์ชันลอกำริทึมทั้ง 2 ชนิด โดยขึ้นอยู่กับลักษณะของฐำน ดังตำรำงต่อไปนี้ กับ กับ นิยำมของลอกำริทึม นิยำมฟังก์ชันลอกำริทึมคือ อินเวอรส์ของฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเซียลอยู่ในรูป Exponential : Log : นิยำมฟังก์ชันลอกำริทึมคือ จึงสรุปได้ว่ำ ตัวเลขหลัง ต้องเป็นจำนวนจริงบวก ฐำนของ ต้องเป็นเลขจำนวนจริงบวกแต่ไม่เป็น 1
  • 11. ค่ำของ คือ y เป็นจำนวนจริงบวกจำนวนจริงลบ หรือศูนย์ก็ได้ อ่ำนว่ำ “ลอกำริทึมเอกซ์ฐำนเอ” หรือ “ลอกเอ็กซ์ฐำนเอ” " loga" เนื่องจำก f (ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเซียล)เป็นฟังก์ชัน 1 – 1 ดังนั้น จึงเป็นฟังก์ชันและเป็นฟังก์ชัน 1 – 1 ด้วย คุณสมบัติของลอกำริทึม คุณสมบัติ 7 ประกำรของลอกำริทึมมีดังนี้ 1. สมบัติกำรบวก Example จงรวมพจน์ของ 2. สมบัติกำรลบ Example จงรวมพจน์ของ 3. สมบัติของเลขลอกำริทึม ที่เท่ำกับเลขฐำน Example จงหำค่ำของ ** กำรนิยำมในลอกำริทึม จะไม่นิยำมให้เป็นจำนวนลบ** 4. สมบัติของลอกำริทึม 1
  • 12. * เหตุที่เป็นเช่นนี้ได้เพรำะหำกว่ำเรำเขียนกลับจำกรูปลอกำริทึม จะได้เลขยกกำลังเป็น แต่ a เป็น - หรือ 0 ไม่ได้ 5. สมบัติเลขยกกำลังของลอกำริทึม * คุณสมบัตินี้บอกให้เรำนำเลขชี้กำลังของลอกำริทึมมำไว้ด้ำนหน้ำ เพื่อนำมำ คูณกับเลขลอกำริทึม * Example 6. คุณสมบัติฐำนลอกำริทึมที่เขียนเป็นเลขยกกำลังได้ Example 7. คุณสมบัติกำรเปลี่ยนฐำนของลอกำริทึม *คุณสมบัติกำรเปลี่ยนฐำนได้นี้เป็นคุณสมบัติที่สำคัญสำหรับกำรแก้ปัญหำสมกำรลอกำริทึม คุณสมบัตินี้บอกว่ำ หำกเรำไม่พอใจฐำนลอกำริทึมที่โจทย์กำหนดมำ เรำสำมำรถเปลี่ยนฐำนลอกำริทึมใหม่ได้ตำมต้องกำร แต่ต้องมำกว่ำ 0 และไม่เท่ำกับ 1 ซึ่งมักเปลี่ยนเป็นฐำน 10 *ลอกำริทึมฐำน 10 เป็นลอกำริทึมที่พบบ่อยและมักจะไม่นิยมเขียนเลขฐำนกำกับไว้โดยตกลงว่ำเมื่อ
  • 13. เขียนลอกำริทึมที่ไม่มีฐำนแสดงว่ำเป็นลอกำริทึมฐำน 10เรียกว่ำ “ ลอกำริทึมสำมัญ ” สูตรของลอกำริทึม เงื่อนไข: ฐำนล็อกคือ มำกกว่ำ 0 , ไม่เท่ำกับ 1 หลังล็อก คือ มำกกว่ำ 0 1. ก็ต่อเมื่อ โดย และ และ 2. และ เมื่อ 3. 4. 5. 6. โดยทั่วไปนิยมเปลี่ยนเป็นฐำน 10 7. 8. 9. 10.
  • 14. กรำฟของฟังก์ชันลอกำริทึม ลอกำริทึมจำกฐำนต่ำงๆ:สีแดง คือ ฐำนe,สีเขียว คือ ฐำน 10 และสีม่วง คือ ฐำน 1.7 แต่ละขีดช่วงบนแกนคือ 1 หน่วย โปรดสังเกตว่ำลอกำริทึมของทุกฐำนจะผ่ำนจุด (1,0) (ที่เป็นเช่นนี้ก็เพรำะจำนวนใดๆ (ที่ไม่ใช่ศูนย์)เมื่อยกกำลัง 0 มีค่ำเท่ำกับ 1) ลอกำริทึม เป็นกำรดำเนินกำรทำงคณิตศำสตร์ ที่เป็นฟังก์ชันผกผันของ ฟังก์ชันเอกโปเนนเชียล (ใช้ค่ำคงตัว หรือ "ฐำน"เป็นเลขยกกำลัง) ลอกำริทึมของจำนวน x ที่มีฐำน b คือจำนวน n นั่นคือ x = bn เขียนได้เป็น ตัวอย่ำงเช่น เพรำะว่ำ
  • 15. หำกเป็นจำนวนเต็มบวก, คือ ผลลัพธ์ของตัวประกอบ ตัว เท่ำกับ อย่ำงไรก็ตำม อย่ำงน้อยหำกเป็นบวก นิยำมนี้อำจขยำยไปยังจำนวนจริง ใดๆ ในทำนองเดียวกันฟังก์ชันลอกำริทึมอำจนิยำมได้สำหรับจำนวนจริงบวกใดๆ สำหรับฐำนบวก อื่นๆ แต่ละฐำน นอกเหนือจำก 1 ในที่นี้ คือ ฟังก์ชันลอกำริทึม 1 ฟังก์ชัน และฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียล 1 ฟังก์ชัน โดยมันเป็นฟังก์ชันผกผัน ลอกำริทึมนั้นสำมำรถลดกำรดำเนินกำรคูณเป็นกำรบวกกำรหำรเป็นกำรลบ ยกกำลังเป็นกำรคูณ และกำรถอดรำกเป็นกำรหำร ดังนั้นลอกำริทึมจึงมีประโยชน์สำหรับกำรดำเนินกำรกับตัวเลขจำนวนมำกให้ง่ำย ขึ้นและถ้ำมีกำรใช้อย่ำงแพร่หลำยก่อนมีกำรใช้คอมพิวเตอร์ โดยเฉพำะกำรคำนวณในด้ำนดำรำศำสตร์ ,วิศวกรรมศำสตร์ ,กำรเดินเรือ และกำรทำแผนที่ โดยมีคุณสมบัติทำงคณิตศำสตร์ที่สำคัญและยังคงใช้ในหลำยรูปแบบ ฟังก์ชันเพิ่ม
  • 16. กรำฟของฟังก์ชัน จะผ่ำนจุด (1,0) เสมอ เพรำะ ถ้ำ เป็นฟังก์ชันเพิ่ม ฟังก์ชันลอกำริทึมเป็นฟังก์ชัน 1-1 จำก ไปทั่วถึง โดยอำศัยสมบัติของฟังก์ชัน 1-1 จะได้ว่ำ ก็ต่อเมื่อ จำกฟังก์ชันลอกำริทึม จะได้ โดเมนของฟังก์ชัน เรนจ์ของฟังก์ชัน ฟังก์ชันลด
  • 17. กรำฟของฟังก์ชัน จะผ่ำนจุด (1,0) เสมอ เพรำะ ถ้ำ เป็นฟังก์ชันลด ฟังก์ชันลอกำริทึมเป็นฟังก์ชัน 1-1 จำก ไปทั่วถึง โดยอำศัยสมบัติของฟังก์ชัน 1-1 จะได้ว่ำ ก็ต่อเมื่อ จำกฟังก์ชันลอกำริทึม จะได้ โดเมนของฟังก์ชัน เรนจ์ของฟังก์ชัน