SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
คุณลักษณะเฉพาะครุภัณฑ์
เครื่องติดตามสัญญาณชีพพร้อมเครื่องกระตุกหัวใจในรถพยาบาล
ราคา ๖๔๕,๐๐๐.๐๐ บาท
-------------------------------------------------------------------------
๑. ความต้องการ เครื่องกระตุกหัวใจด้วยไฟฟ้าแบบกึ่งอัตโนมัติชนิด ๒ เฟส แบบมีจอภาพและเครื่องบันทึก
พร้อมทั้งวัดความอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือดและวัดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในลมหายใจ อยู่ในเครื่องเดียวกันเพื่อ
ความสะดวกในการใช้งาน
๒. วัตถุประสงค์การใช้งาน ใช้กระตุกหัวใจให้กลับทางานตามปกติในขวนการช่วยฟื้นคืนชีวิต พร้อมติดตามการทางาน
ของสัญญาณชีพอื่นๆ
๓. คุณสมบัติทั่วไป
๓.๑ สามารถทางานได้จากไฟฟ้ากระแสสลับความถี่ ๕๐ เฮิรตซ์ ๒๒๐ โวลต์ โดยไม่ต้องมีอุปกรณ์ต่อพ่วง จาก
แบตเตอรี่แบบชาร์จไฟได้ภายในเครื่อง และจากไฟฟ้ากระแสตรงจากภายนอก
๓.๒ มีแบตเตอรี่ชนิดชาร์จประจุไฟฟ้าใหม่ได้ในตัวเครื่อง
๓.๓ มีระบบการตรวจสอบการปล่อยพลังงาน (Defibrillator Test) เพื่อทดสอบประสิทธิภาพของการปล่อย
พลังงานในการกระตุกหัวใจ
๓.๔ ขนาดพอเหมาะ น้าหนักเบาไม่เกิน ๕.๗ กิโลกรัม มีหูหิ้วสะดวกต่อการเคลื่อนย้ายไปใช้ในที่ต่างๆ
๓.๕ มีภาคการทางานต่างๆ ดังนี้
๓.๕.๑ ภาคกระตุกหัวใจแบบมีจอภาพ (Manual Defibrillation)
๓.๕.๒ ภาคติดตามการทางานของหัวใจ (ECG Monitor)
๓.๕.๓ ภาคบันทึกผล (Printer)
๓.๕.๔ ภาคกระตุกหัวใจแบบกึ่งอัตโนมัติ (Semiautomatic Defibrillation)
๓.๕.๕ ภาควัดความอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือด ( SpO๒ - Pulse Oximetry)
๓.๕.๖ ภาควัดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในลมหายใจ (CO๒)
๓.๕.๗ สามารถเพิ่มภาคการทางานเหล่านี้ เช่น NIBP และการส่งข้อมูล ๑๒ LEADS ECG ทางระบบ
GSM ได้ในอนาคต
๓.๖ มีช่องต่อแบบ USB เพื่อส่งออกข้อมูลที่บันทึกข้อมูลไว้ในเครื่อง , ช่อง Ethernet สาหรับทาการปรับปรุง
ซอฟแวร์ของเครื่อง, มีช่องสาหรับส่ง Signal Output และช่องสาหรับปรับไฟฟ้ากระแสตรงจาก
ภายนอก (เช่นจากรถพยาบาล)
คาสั่งจังหวัดบุรีรัมย์ ที่ ๐๕๕๐๑ / ๒๕๕๘ ลงวันที่ ๑๑ มีนาคม ๒๕๕๘ ลายมือชื่อ
๑.นางสาวยุพาวรรณ ตระกูลรัมย์ นายแพทย์ปฏิบัติการ ประธานกรรมการ
๒.นางน้าฝน ศรีขาวรส พยาบาลวิชาชีพชานาญการ กรรมการ
๓. นางสาวภัสราธร เสาทอง พยาบาลวิชาชีพชานาญการ กรรมการ
-๒-
๓.๗ เป็นเครื่องมือที่ได้รับมาตรฐานของ IEC/EN๖๐๖๐๑-๑,IEC/EN๖๐๖ ๐๑-๒-๔ และ CE according to
directive ๙๓/๔๒/EEC
๓.๘ เป็นผลิตภัณฑ์ที่ผลิตจากประเทศในทวีปยุโรป โดยโรงงานผู้ผลิตได้มาตรฐาน ISO ๙๐๐๑ และ ISO
๑๓๔๘๕
๔. คุณสมบัติทางเทคนิค
๔.๑ ภาคจอภาพ
๔.๑.๑ จอแสดงสัญญาณภาพเป็นแบบ COLOUR LCD, backlit ขนาดไม่น้อยกว่า ๑๐.๔ นิ้วและ
สามารถปรับความสว่างได้
๔.๑.๒ สามารถแสดงรูปคลื่นได้อย่างน้อย ๔ รูปคลื่น โดยขึ้นอยู่กับ พาระมิเตอร์ที่สามารถทาได้ใน
ขณะนั้น
๔.๑.๓ สามารถแสดง ECG Waveform, ECG Calibration impulse, Lead, Date/time, Time
elapsed, Device connected to mains, Patient Type, Battery Status, Alarm Status,
Selected Energy, Number of Shocks, SpO๒ waveform, SpO๒ Value, SpO๒
high/low limit และ TREND Data
๔.๒ ภาคกระตุกหัวใจ (Defibrillation) และภาคกระตุกหัวใจแบบกึ่งอัตโนมัติ
(Semiautomatic Defibrillation)
๔.๒.๑ รูปคลื่นสาหรับกระตุกหัวใจแบบ Biphasic ชนิด Multipulse Biowave ที่ระดับพลังงานดังนี้
๔.๒.๑.๑ Adult SAED: สามารถตั้งระดับพลังงานล่วงหน้าได้ ๓ ระดับต่อเนื่องกัน ได้ระหว่าง ๒
ถึง ๒๐๐ จูลล์
๔.๒.๑.๒ Paediatric SAED: สามารถตั้งระดับพลังงานล่วงหน้าได้ ๓ ระดับต่อเนื่องกัน ได้ระหว่าง
๒ ถึง ๗๐ จูลล์
๔.๒.๑.๓ Paddle: สามารถเลือกตั้งระดับพลังงานได้อย่างน้อยดังนี้ ๒ ถึง ๒๐๐ จูลล์ โดยเลือก
พลังงานได้อย่างน้อย ๙ ระดับ
๔.๒.๑.๔ Adhesive electrodes: สามารถตั้งระดับพลังงานได้อย่างน้อยดังนี้ ๒ ถึง ๒๐๐ จูลล์
โดยเลือกพลังงานได้อย่างน้อย ๑๒ ระดับ
๔.๒.๑.๕ Internal: สามารถตั้งระดับพลังงานได้อย่างน้อยดังนี้ ๒ ถึง ๓๐ จูลล์ โดยเลือกพลังงาน
ได้อย่างน้อย ๖ ระดับ
คาสั่งจังหวัดบุรีรัมย์ ที่ ๐๕๕๐๑ / ๒๕๕๘ ลงวันที่ ๑๑ มีนาคม ๒๕๕๘ ลายมือชื่อ
๑.นางสาวยุพาวรรณ ตระกูลรัมย์ นายแพทย์ปฏิบัติการ ประธานกรรมการ
๒.นางน้าฝน ศรีขาวรส พยาบาลวิชาชีพชานาญการ กรรมการ
๓. นางสาวภัสราธร เสาทอง พยาบาลวิชาชีพชานาญการ กรรมการ
-๓-
๔.๒.๒ มีระบบการกระตุกหัวใจแบบ Asynchronised และแบบ Synchronised
๔.๒.๓ สามารถแสดงระดับพลังงานที่ต้องการได้จากปุ่มหมุนที่ด้านหน้าของเครื่องและที่แพดเดิ้ล และ
เครื่องจะแสดงบอกระดับพลังงานที่ตั้งไว้ให้ทราบบนจอภาพ
๔.๒.๔ สามารถกระตุกหัวใจโดยใช้ Adhesive Pads ได้
๔.๒.๕ มีปุ่มควบคุมการปล่อยประจุที่ Paddles และที่ตัวเครื่องกรณีใช้ Adhesive Pads
๔.๒.๖ มีระบบแนะนาการกระตุกหัวใจ (Semiautomatic External Defibrillator) เป็นข้อความและ
เป็นเสียงแนะนาการกระตุก (Voice Prompts) และเก็บข้อมูลผ่านทาง USB port
๔.๒.๗ เครื่องจะแนะนาให้กระตุกหัวใจเมื่อตรวจพบความผิดปกติของคลื่นไฟฟ้าหัวใจแบบ Ventricular
fibrillation หรือ ventricular tachycardia ที่มีอัตราการเต้นของหัวใจมากกว่า ๑๘๐ ครั้งต่อ
นาที โดยใช้เวลาในการวิเคราะห์คลื่นไฟฟ้าหัวใจไม่เกิน ๑๐ วินาที
๔.๓ ภาคติดตามสัญญาณคลื่นไฟฟ้าของหัวใจ
๔.๓.๑ สามารถรับสัญญาณคลื่นไฟฟ้าหัวใจได้จาก Defibrillation Electrode หรือ ECG Cable โดยมี
ช่องเสียบสายที่ด้านหน้าของเครื่อง
๔.๓.๒ สามารถแสดงคลื่นไฟฟ้าของหัวใจได้ ๑ ลีด ถ้าใช้สายแบบ ๓ เส้น หรือ กรณีใช้สายแบบ ๔ เส้น
จะแสดงคลื่นไฟฟ้าของหัวใจได้ ๓ ลีด พร้อมกัน หรือ กรณีใช้สายแบบ ๑๐ เส้น จะแสดง
คลื่นไฟฟ้าของหัวใจได้ ๑๒ ลีด พร้อมกัน
๔.๓.๓ สามารถวัดอัตราการเต้นของหัวใจได้ ตั้งแต่ ๓๐- ๓๐๐ ครั้งต่อนาที
๔.๓.๔ เลือกปรับระดับความสูงของรูปคลื่น (Sensitivity) ได้ที่ ๐.๒๕, ๐.๕, ๑ และ ๒ cm/mv และ
เลือกความเร็วของการแสดงรูปคลื่นไฟฟ้าหัวใจได้อย่างน้อย ๒ ระดับ
๔.๓.๕ สามารถตั้งการเตือนอัตราการเต้นของหัวใจสูงหรือต่ากว่ากาหนดได้ ( Alarm Limit)
๔.๓.๖ สามารถเลือกการทางานได้อย่างน้อย ๒ โหมด คือ ADULT และ NEONATE
๔.๓.๗ สามารถตั้งความดังของเสียง QRS ได้อย่างน้อย ๓ ระดับ
๔.๓.๘ สามารถเลือกให้แสดงค่าอัตราการเต้นของหัวใจได้จาก ECG และ SpO๒ (ถ้าเครื่องมีฟังก์ชั่นนี้)
๔.๔ ระบบแบตเตอรี่
๔.๔.๑ ใช้แบตเตอรี่แบบ Lithium/ion ชนิดประจุไฟใหม่ได้ภายใน เครื่อง
๔.๔.๒ กรณีแบตเตอรี่มีไฟฟ้าเต็มสามารถใช้กระตุกหัวใจที่พลังงานสูงสุดได้อย่างน้อย ๑๙๐ ครั้ง หรือ
ใช้งานแบบมอนิเตอร์ได้นานอย่างน้อย ๒ ชั่วโมง
๔.๔.๓ มีสัญญาณบอกขณะกาลังประจุไฟฟ้าเข้าแบตเตอรี่และมีสัญญาณเตือนเมื่อไฟในแบตเตอรี่อ่อน
( Low Battery)
คาสั่งจังหวัดบุรีรัมย์ ที่ ๐๕๕๐๑ / ๒๕๕๘ ลงวันที่ ๑๑ มีนาคม ๒๕๕๘ ลายมือชื่อ
๑.นางสาวยุพาวรรณ ตระกูลรัมย์ นายแพทย์ปฏิบัติการ ประธานกรรมการ
๒.นางน้าฝน ศรีขาวรส พยาบาลวิชาชีพชานาญการ กรรมการ
๓. นางสาวภัสราธร เสาทอง พยาบาลวิชาชีพชานาญการ กรรมการ
-๔-
๔.๔.๔ มีช่องสาหรับรองรับใส่แบตเตอรี่ก้อนที่ ๒ เพื่อเพิ่มระยะเวลาการทางานจากแบตเตอรี่
๔.๕ ระบบหน่วยความจา
๔.๕.๑ สามารถบันทึกคลื่นไฟฟ้าหัวใจได้นานอย่างน้อย ๓ ชั่วโมง หรือ อย่างน้อย ๕๐๐ เหตุการณ์ใน
โหมด SAED
๔.๕.๒ สามารถเก็บและเรียกดูค่า Graphic Trend & Tabular Trend ของทุกพารามิเตอร์ย้อนหลังได้
อย่างน้อย ๒๔ ชั่วโมง
๔.๖ เครื่องบันทึกผล (Printer)
๔.๖.๑ เครื่องบันทึกใช้ระบบหัวพิมพ์ความร้อน (Thermo Printer)
๔.๖.๒ มีความละเอียดในการพิมพ์ ๘ จุดต่อมิลลิเมตร (แนวตั้ง) และ ๔๐ จุดต่อมิลลิเมตร (แนวนอน) โดย
สามารถเลือกความเร็วของการพิมพ์ได้ ๒ ระดับคือ ๒๕ และ ๕๐ มิลลิเมตรต่อวินาที (ขึ้นกับ
ฟังก์ชั่นการทางาน)
๔.๖.๓ กระดาษบันทึกเป็นชนิดไวต่อความร้อน (Thermo reactive) แบบต่อเนื่องชนิด Z-folded กว้าง
อย่างน้อย ๗๒ มิลลิเมตร ยาวอย่างน้อย ๒๐ เมตร
๔.๖.๔ สามารถพิมพ์รูปคลื่นได้สูงสุดอย่างน้อย ๓ แชแนล (ขึ้นกับฟังก์ชั่นการทางาน) และ วัน เดือน ปี
เวลา, อัตราการเต้นของหัวใจ, defibrillation energy, defibrillation current, patient
impedance, type of printing, history of the printout, ECG speed, ECG Calibration
pulse, bandwidth of the ECG, TREND
๔.๗ ภาควัดความก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในลมหายใจ (CO๒)
๔.๗.๑ สามารถวัดค่าก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในลมหายใจและแสดงรูปคลื่นบนจอภาพ, numeric eCO๒
และ RRC
๔.๗.๒ ใช้เวลาในการเตรียมเซ็นเซอร์น้อยกว่า ๕ วินาที
๔.๗.๓ ใช้เทคโนโลยีการทางานแบบ Mainstream, Infared absorption โดยมีช่องเสียบเซ็นเซอร์ที่
ด้านหน้าเครื่อง
๔.๘ ภาควัดความอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือด ( SpO๒)
๔.๘.๑ สามารถวัดความอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือดและแสดงรูปคลื่นบนจอภาพ, numeric SpO๒,
signal quality value และ pulse rate โดยเลือกความเร็วของรูปคลื่นได้อย่างน้อย ๒ ระดับ
๔.๘.๒ สามารถตั้งสัญญาณเตือนค่าความอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือดได้ เมื่อค่าต่ากว่าที่กาหนด
๔.๘.๓ เปิด/ปิดการทางานจากการเสียบสายเซ็นเซอร์เข้ากับเครื่อง ที่ช่องเสียบด้านหน้าเครื่อง
คาสั่งจังหวัดบุรีรัมย์ ที่ ๐๕๕๐๑ / ๒๕๕๘ ลงวันที่ ๑๑ มีนาคม ๒๕๕๘ ลายมือชื่อ
๑.นางสาวยุพาวรรณ ตระกูลรัมย์ นายแพทย์ปฏิบัติการ ประธานกรรมการ
๒.นางน้าฝน ศรีขาวรส พยาบาลวิชาชีพชานาญการ กรรมการ
๓. นางสาวภัสราธร เสาทอง พยาบาลวิชาชีพชานาญการ กรรมการ
-๕-
๔.๘.๔ ใช้เทคโนโลยีการทางานแบบ Masimo และสามารถเลือกชนิดของผู้ป่วยเป็น ADULT และ
NEONATE
๕. อุปกรณ์ประกอบการใช้งาน
๕.๑ Standard Paddle จานวน ๑ ชุด
๕.๒ ECG Cable & ๓ Lead wire จานวน ๑ ชุด
๕.๓ Recorder Paper จานวน ๑ พับ
๕.๔ Defib Gel จานวน ๑ หลอด
๕.๕ Operating Manual จานวน ๑ ชุด
๕.๖ SAED Cable และ ADHESIVE ADULT PADS จานวน ๑ ชุด
๕.๗ SpO๒ Cable & ADULT Finger Sensor จานวน ๑ ชุด
๕.๘ CO๒ – IRMA sensor จานวน ๑ ชุด
๖. เงื่อนไขเฉพาะ
๖.๑ มีหนังสือคู่มือการซ่อมและวงจรของเครื่อง (TECHNICAL/SERVICE MANUAL)
๖.๒ รับประกันคุณภาพเป็นเวลาอย่างน้อย ๑ ปี นับจากวันรับมอบของครบ
๖. ๓ ผู้ขายต้องมีหนังสือรับรองแต่งตั้งการเป็นตัวแทนจาหน่ายจากบริษัทผู้ผลิตหรือผู้นาเข้ามาแสดงในวันยื่น
เอกสาร
๖.๔ ผู้ขายต้องจัดส่งเจ้าหน้าที่ที่ชานาญงานมาทางานสาธิตการใช้งานเครื่องและการดูแลรักษาเครื่องแก่
เจ้าหน้าที่ผู้ใช้งานจนสามารถใช้งานเครื่องเป็นอย่างดี
คาสั่งจังหวัดบุรีรัมย์ ที่ ๐๕๕๐๑ / ๒๕๕๘ ลงวันที่ ๑๑ มีนาคม ๒๕๕๘ ลายมือชื่อ
๑.นางสาวยุพาวรรณ ตระกูลรัมย์ นายแพทย์ปฏิบัติการ ประธานกรรมการ
๒.นางน้าฝน ศรีขาวรส พยาบาลวิชาชีพชานาญการ กรรมการ
๓. นางสาวภัสราธร เสาทอง พยาบาลวิชาชีพชานาญการ กรรมการ

More Related Content

More from nirutnon

แผนจัดซื้อวัสดุสำนักงาน ปี 2561
แผนจัดซื้อวัสดุสำนักงาน ปี 2561แผนจัดซื้อวัสดุสำนักงาน ปี 2561
แผนจัดซื้อวัสดุสำนักงาน ปี 2561nirutnon
 
แผนจัดซื้อวัสดุงานบ้านงานครัว ปี 2561
แผนจัดซื้อวัสดุงานบ้านงานครัว ปี 2561แผนจัดซื้อวัสดุงานบ้านงานครัว ปี 2561
แผนจัดซื้อวัสดุงานบ้านงานครัว ปี 2561nirutnon
 
แผนจัดซื้อวัสดุการแพทย์ ปี 2561
แผนจัดซื้อวัสดุการแพทย์ ปี 2561แผนจัดซื้อวัสดุการแพทย์ ปี 2561
แผนจัดซื้อวัสดุการแพทย์ ปี 2561nirutnon
 
แผนการจัดซื้อยาปีงบประมาณ ๖๑
แผนการจัดซื้อยาปีงบประมาณ ๖๑แผนการจัดซื้อยาปีงบประมาณ ๖๑
แผนการจัดซื้อยาปีงบประมาณ ๖๑nirutnon
 
แผนPlanfin61(2)
แผนPlanfin61(2)แผนPlanfin61(2)
แผนPlanfin61(2)nirutnon
 
ประกาศกฎกระทรวงแบบแสดงความบริสุทธ์ใจ
ประกาศกฎกระทรวงแบบแสดงความบริสุทธ์ใจประกาศกฎกระทรวงแบบแสดงความบริสุทธ์ใจ
ประกาศกฎกระทรวงแบบแสดงความบริสุทธ์ใจnirutnon
 
แบบรายงานแผนจัดซื้อจัดจ้างปี61
แบบรายงานแผนจัดซื้อจัดจ้างปี61แบบรายงานแผนจัดซื้อจัดจ้างปี61
แบบรายงานแผนจัดซื้อจัดจ้างปี61nirutnon
 
บันทึกข้อความเสนอแผนปี61
บันทึกข้อความเสนอแผนปี61บันทึกข้อความเสนอแผนปี61
บันทึกข้อความเสนอแผนปี61nirutnon
 
Green clean 2560
Green clean 2560Green clean 2560
Green clean 2560nirutnon
 
แผนจัดซื้อวัสดุสำนักงาน ปี 2560
แผนจัดซื้อวัสดุสำนักงาน ปี 2560แผนจัดซื้อวัสดุสำนักงาน ปี 2560
แผนจัดซื้อวัสดุสำนักงาน ปี 2560nirutnon
 
แผนจัดซื้อวัสดุงานบ้านงานครัว ปี 2560
แผนจัดซื้อวัสดุงานบ้านงานครัว ปี 2560แผนจัดซื้อวัสดุงานบ้านงานครัว ปี 2560
แผนจัดซื้อวัสดุงานบ้านงานครัว ปี 2560nirutnon
 
แผนจัดซื้อวัสดุการแพทย์ ปี 2560
แผนจัดซื้อวัสดุการแพทย์ ปี 2560แผนจัดซื้อวัสดุการแพทย์ ปี 2560
แผนจัดซื้อวัสดุการแพทย์ ปี 2560nirutnon
 

More from nirutnon (20)

Planmed
PlanmedPlanmed
Planmed
 
Planelect
PlanelectPlanelect
Planelect
 
Plan
PlanPlan
Plan
 
P1
P1P1
P1
 
P1
P1P1
P1
 
Doc3
Doc3Doc3
Doc3
 
Doc2
Doc2Doc2
Doc2
 
Doc1
Doc1Doc1
Doc1
 
แผนจัดซื้อวัสดุสำนักงาน ปี 2561
แผนจัดซื้อวัสดุสำนักงาน ปี 2561แผนจัดซื้อวัสดุสำนักงาน ปี 2561
แผนจัดซื้อวัสดุสำนักงาน ปี 2561
 
แผนจัดซื้อวัสดุงานบ้านงานครัว ปี 2561
แผนจัดซื้อวัสดุงานบ้านงานครัว ปี 2561แผนจัดซื้อวัสดุงานบ้านงานครัว ปี 2561
แผนจัดซื้อวัสดุงานบ้านงานครัว ปี 2561
 
แผนจัดซื้อวัสดุการแพทย์ ปี 2561
แผนจัดซื้อวัสดุการแพทย์ ปี 2561แผนจัดซื้อวัสดุการแพทย์ ปี 2561
แผนจัดซื้อวัสดุการแพทย์ ปี 2561
 
แผนการจัดซื้อยาปีงบประมาณ ๖๑
แผนการจัดซื้อยาปีงบประมาณ ๖๑แผนการจัดซื้อยาปีงบประมาณ ๖๑
แผนการจัดซื้อยาปีงบประมาณ ๖๑
 
แผนPlanfin61(2)
แผนPlanfin61(2)แผนPlanfin61(2)
แผนPlanfin61(2)
 
ประกาศกฎกระทรวงแบบแสดงความบริสุทธ์ใจ
ประกาศกฎกระทรวงแบบแสดงความบริสุทธ์ใจประกาศกฎกระทรวงแบบแสดงความบริสุทธ์ใจ
ประกาศกฎกระทรวงแบบแสดงความบริสุทธ์ใจ
 
แบบรายงานแผนจัดซื้อจัดจ้างปี61
แบบรายงานแผนจัดซื้อจัดจ้างปี61แบบรายงานแผนจัดซื้อจัดจ้างปี61
แบบรายงานแผนจัดซื้อจัดจ้างปี61
 
บันทึกข้อความเสนอแผนปี61
บันทึกข้อความเสนอแผนปี61บันทึกข้อความเสนอแผนปี61
บันทึกข้อความเสนอแผนปี61
 
Green clean 2560
Green clean 2560Green clean 2560
Green clean 2560
 
แผนจัดซื้อวัสดุสำนักงาน ปี 2560
แผนจัดซื้อวัสดุสำนักงาน ปี 2560แผนจัดซื้อวัสดุสำนักงาน ปี 2560
แผนจัดซื้อวัสดุสำนักงาน ปี 2560
 
แผนจัดซื้อวัสดุงานบ้านงานครัว ปี 2560
แผนจัดซื้อวัสดุงานบ้านงานครัว ปี 2560แผนจัดซื้อวัสดุงานบ้านงานครัว ปี 2560
แผนจัดซื้อวัสดุงานบ้านงานครัว ปี 2560
 
แผนจัดซื้อวัสดุการแพทย์ ปี 2560
แผนจัดซื้อวัสดุการแพทย์ ปี 2560แผนจัดซื้อวัสดุการแพทย์ ปี 2560
แผนจัดซื้อวัสดุการแพทย์ ปี 2560
 

คุณสมบัติเครื่องกระตุกหัวใจ

  • 1. คุณลักษณะเฉพาะครุภัณฑ์ เครื่องติดตามสัญญาณชีพพร้อมเครื่องกระตุกหัวใจในรถพยาบาล ราคา ๖๔๕,๐๐๐.๐๐ บาท ------------------------------------------------------------------------- ๑. ความต้องการ เครื่องกระตุกหัวใจด้วยไฟฟ้าแบบกึ่งอัตโนมัติชนิด ๒ เฟส แบบมีจอภาพและเครื่องบันทึก พร้อมทั้งวัดความอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือดและวัดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในลมหายใจ อยู่ในเครื่องเดียวกันเพื่อ ความสะดวกในการใช้งาน ๒. วัตถุประสงค์การใช้งาน ใช้กระตุกหัวใจให้กลับทางานตามปกติในขวนการช่วยฟื้นคืนชีวิต พร้อมติดตามการทางาน ของสัญญาณชีพอื่นๆ ๓. คุณสมบัติทั่วไป ๓.๑ สามารถทางานได้จากไฟฟ้ากระแสสลับความถี่ ๕๐ เฮิรตซ์ ๒๒๐ โวลต์ โดยไม่ต้องมีอุปกรณ์ต่อพ่วง จาก แบตเตอรี่แบบชาร์จไฟได้ภายในเครื่อง และจากไฟฟ้ากระแสตรงจากภายนอก ๓.๒ มีแบตเตอรี่ชนิดชาร์จประจุไฟฟ้าใหม่ได้ในตัวเครื่อง ๓.๓ มีระบบการตรวจสอบการปล่อยพลังงาน (Defibrillator Test) เพื่อทดสอบประสิทธิภาพของการปล่อย พลังงานในการกระตุกหัวใจ ๓.๔ ขนาดพอเหมาะ น้าหนักเบาไม่เกิน ๕.๗ กิโลกรัม มีหูหิ้วสะดวกต่อการเคลื่อนย้ายไปใช้ในที่ต่างๆ ๓.๕ มีภาคการทางานต่างๆ ดังนี้ ๓.๕.๑ ภาคกระตุกหัวใจแบบมีจอภาพ (Manual Defibrillation) ๓.๕.๒ ภาคติดตามการทางานของหัวใจ (ECG Monitor) ๓.๕.๓ ภาคบันทึกผล (Printer) ๓.๕.๔ ภาคกระตุกหัวใจแบบกึ่งอัตโนมัติ (Semiautomatic Defibrillation) ๓.๕.๕ ภาควัดความอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือด ( SpO๒ - Pulse Oximetry) ๓.๕.๖ ภาควัดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในลมหายใจ (CO๒) ๓.๕.๗ สามารถเพิ่มภาคการทางานเหล่านี้ เช่น NIBP และการส่งข้อมูล ๑๒ LEADS ECG ทางระบบ GSM ได้ในอนาคต ๓.๖ มีช่องต่อแบบ USB เพื่อส่งออกข้อมูลที่บันทึกข้อมูลไว้ในเครื่อง , ช่อง Ethernet สาหรับทาการปรับปรุง ซอฟแวร์ของเครื่อง, มีช่องสาหรับส่ง Signal Output และช่องสาหรับปรับไฟฟ้ากระแสตรงจาก ภายนอก (เช่นจากรถพยาบาล) คาสั่งจังหวัดบุรีรัมย์ ที่ ๐๕๕๐๑ / ๒๕๕๘ ลงวันที่ ๑๑ มีนาคม ๒๕๕๘ ลายมือชื่อ ๑.นางสาวยุพาวรรณ ตระกูลรัมย์ นายแพทย์ปฏิบัติการ ประธานกรรมการ ๒.นางน้าฝน ศรีขาวรส พยาบาลวิชาชีพชานาญการ กรรมการ ๓. นางสาวภัสราธร เสาทอง พยาบาลวิชาชีพชานาญการ กรรมการ
  • 2. -๒- ๓.๗ เป็นเครื่องมือที่ได้รับมาตรฐานของ IEC/EN๖๐๖๐๑-๑,IEC/EN๖๐๖ ๐๑-๒-๔ และ CE according to directive ๙๓/๔๒/EEC ๓.๘ เป็นผลิตภัณฑ์ที่ผลิตจากประเทศในทวีปยุโรป โดยโรงงานผู้ผลิตได้มาตรฐาน ISO ๙๐๐๑ และ ISO ๑๓๔๘๕ ๔. คุณสมบัติทางเทคนิค ๔.๑ ภาคจอภาพ ๔.๑.๑ จอแสดงสัญญาณภาพเป็นแบบ COLOUR LCD, backlit ขนาดไม่น้อยกว่า ๑๐.๔ นิ้วและ สามารถปรับความสว่างได้ ๔.๑.๒ สามารถแสดงรูปคลื่นได้อย่างน้อย ๔ รูปคลื่น โดยขึ้นอยู่กับ พาระมิเตอร์ที่สามารถทาได้ใน ขณะนั้น ๔.๑.๓ สามารถแสดง ECG Waveform, ECG Calibration impulse, Lead, Date/time, Time elapsed, Device connected to mains, Patient Type, Battery Status, Alarm Status, Selected Energy, Number of Shocks, SpO๒ waveform, SpO๒ Value, SpO๒ high/low limit และ TREND Data ๔.๒ ภาคกระตุกหัวใจ (Defibrillation) และภาคกระตุกหัวใจแบบกึ่งอัตโนมัติ (Semiautomatic Defibrillation) ๔.๒.๑ รูปคลื่นสาหรับกระตุกหัวใจแบบ Biphasic ชนิด Multipulse Biowave ที่ระดับพลังงานดังนี้ ๔.๒.๑.๑ Adult SAED: สามารถตั้งระดับพลังงานล่วงหน้าได้ ๓ ระดับต่อเนื่องกัน ได้ระหว่าง ๒ ถึง ๒๐๐ จูลล์ ๔.๒.๑.๒ Paediatric SAED: สามารถตั้งระดับพลังงานล่วงหน้าได้ ๓ ระดับต่อเนื่องกัน ได้ระหว่าง ๒ ถึง ๗๐ จูลล์ ๔.๒.๑.๓ Paddle: สามารถเลือกตั้งระดับพลังงานได้อย่างน้อยดังนี้ ๒ ถึง ๒๐๐ จูลล์ โดยเลือก พลังงานได้อย่างน้อย ๙ ระดับ ๔.๒.๑.๔ Adhesive electrodes: สามารถตั้งระดับพลังงานได้อย่างน้อยดังนี้ ๒ ถึง ๒๐๐ จูลล์ โดยเลือกพลังงานได้อย่างน้อย ๑๒ ระดับ ๔.๒.๑.๕ Internal: สามารถตั้งระดับพลังงานได้อย่างน้อยดังนี้ ๒ ถึง ๓๐ จูลล์ โดยเลือกพลังงาน ได้อย่างน้อย ๖ ระดับ คาสั่งจังหวัดบุรีรัมย์ ที่ ๐๕๕๐๑ / ๒๕๕๘ ลงวันที่ ๑๑ มีนาคม ๒๕๕๘ ลายมือชื่อ ๑.นางสาวยุพาวรรณ ตระกูลรัมย์ นายแพทย์ปฏิบัติการ ประธานกรรมการ ๒.นางน้าฝน ศรีขาวรส พยาบาลวิชาชีพชานาญการ กรรมการ ๓. นางสาวภัสราธร เสาทอง พยาบาลวิชาชีพชานาญการ กรรมการ
  • 3. -๓- ๔.๒.๒ มีระบบการกระตุกหัวใจแบบ Asynchronised และแบบ Synchronised ๔.๒.๓ สามารถแสดงระดับพลังงานที่ต้องการได้จากปุ่มหมุนที่ด้านหน้าของเครื่องและที่แพดเดิ้ล และ เครื่องจะแสดงบอกระดับพลังงานที่ตั้งไว้ให้ทราบบนจอภาพ ๔.๒.๔ สามารถกระตุกหัวใจโดยใช้ Adhesive Pads ได้ ๔.๒.๕ มีปุ่มควบคุมการปล่อยประจุที่ Paddles และที่ตัวเครื่องกรณีใช้ Adhesive Pads ๔.๒.๖ มีระบบแนะนาการกระตุกหัวใจ (Semiautomatic External Defibrillator) เป็นข้อความและ เป็นเสียงแนะนาการกระตุก (Voice Prompts) และเก็บข้อมูลผ่านทาง USB port ๔.๒.๗ เครื่องจะแนะนาให้กระตุกหัวใจเมื่อตรวจพบความผิดปกติของคลื่นไฟฟ้าหัวใจแบบ Ventricular fibrillation หรือ ventricular tachycardia ที่มีอัตราการเต้นของหัวใจมากกว่า ๑๘๐ ครั้งต่อ นาที โดยใช้เวลาในการวิเคราะห์คลื่นไฟฟ้าหัวใจไม่เกิน ๑๐ วินาที ๔.๓ ภาคติดตามสัญญาณคลื่นไฟฟ้าของหัวใจ ๔.๓.๑ สามารถรับสัญญาณคลื่นไฟฟ้าหัวใจได้จาก Defibrillation Electrode หรือ ECG Cable โดยมี ช่องเสียบสายที่ด้านหน้าของเครื่อง ๔.๓.๒ สามารถแสดงคลื่นไฟฟ้าของหัวใจได้ ๑ ลีด ถ้าใช้สายแบบ ๓ เส้น หรือ กรณีใช้สายแบบ ๔ เส้น จะแสดงคลื่นไฟฟ้าของหัวใจได้ ๓ ลีด พร้อมกัน หรือ กรณีใช้สายแบบ ๑๐ เส้น จะแสดง คลื่นไฟฟ้าของหัวใจได้ ๑๒ ลีด พร้อมกัน ๔.๓.๓ สามารถวัดอัตราการเต้นของหัวใจได้ ตั้งแต่ ๓๐- ๓๐๐ ครั้งต่อนาที ๔.๓.๔ เลือกปรับระดับความสูงของรูปคลื่น (Sensitivity) ได้ที่ ๐.๒๕, ๐.๕, ๑ และ ๒ cm/mv และ เลือกความเร็วของการแสดงรูปคลื่นไฟฟ้าหัวใจได้อย่างน้อย ๒ ระดับ ๔.๓.๕ สามารถตั้งการเตือนอัตราการเต้นของหัวใจสูงหรือต่ากว่ากาหนดได้ ( Alarm Limit) ๔.๓.๖ สามารถเลือกการทางานได้อย่างน้อย ๒ โหมด คือ ADULT และ NEONATE ๔.๓.๗ สามารถตั้งความดังของเสียง QRS ได้อย่างน้อย ๓ ระดับ ๔.๓.๘ สามารถเลือกให้แสดงค่าอัตราการเต้นของหัวใจได้จาก ECG และ SpO๒ (ถ้าเครื่องมีฟังก์ชั่นนี้) ๔.๔ ระบบแบตเตอรี่ ๔.๔.๑ ใช้แบตเตอรี่แบบ Lithium/ion ชนิดประจุไฟใหม่ได้ภายใน เครื่อง ๔.๔.๒ กรณีแบตเตอรี่มีไฟฟ้าเต็มสามารถใช้กระตุกหัวใจที่พลังงานสูงสุดได้อย่างน้อย ๑๙๐ ครั้ง หรือ ใช้งานแบบมอนิเตอร์ได้นานอย่างน้อย ๒ ชั่วโมง ๔.๔.๓ มีสัญญาณบอกขณะกาลังประจุไฟฟ้าเข้าแบตเตอรี่และมีสัญญาณเตือนเมื่อไฟในแบตเตอรี่อ่อน ( Low Battery) คาสั่งจังหวัดบุรีรัมย์ ที่ ๐๕๕๐๑ / ๒๕๕๘ ลงวันที่ ๑๑ มีนาคม ๒๕๕๘ ลายมือชื่อ ๑.นางสาวยุพาวรรณ ตระกูลรัมย์ นายแพทย์ปฏิบัติการ ประธานกรรมการ ๒.นางน้าฝน ศรีขาวรส พยาบาลวิชาชีพชานาญการ กรรมการ ๓. นางสาวภัสราธร เสาทอง พยาบาลวิชาชีพชานาญการ กรรมการ
  • 4. -๔- ๔.๔.๔ มีช่องสาหรับรองรับใส่แบตเตอรี่ก้อนที่ ๒ เพื่อเพิ่มระยะเวลาการทางานจากแบตเตอรี่ ๔.๕ ระบบหน่วยความจา ๔.๕.๑ สามารถบันทึกคลื่นไฟฟ้าหัวใจได้นานอย่างน้อย ๓ ชั่วโมง หรือ อย่างน้อย ๕๐๐ เหตุการณ์ใน โหมด SAED ๔.๕.๒ สามารถเก็บและเรียกดูค่า Graphic Trend & Tabular Trend ของทุกพารามิเตอร์ย้อนหลังได้ อย่างน้อย ๒๔ ชั่วโมง ๔.๖ เครื่องบันทึกผล (Printer) ๔.๖.๑ เครื่องบันทึกใช้ระบบหัวพิมพ์ความร้อน (Thermo Printer) ๔.๖.๒ มีความละเอียดในการพิมพ์ ๘ จุดต่อมิลลิเมตร (แนวตั้ง) และ ๔๐ จุดต่อมิลลิเมตร (แนวนอน) โดย สามารถเลือกความเร็วของการพิมพ์ได้ ๒ ระดับคือ ๒๕ และ ๕๐ มิลลิเมตรต่อวินาที (ขึ้นกับ ฟังก์ชั่นการทางาน) ๔.๖.๓ กระดาษบันทึกเป็นชนิดไวต่อความร้อน (Thermo reactive) แบบต่อเนื่องชนิด Z-folded กว้าง อย่างน้อย ๗๒ มิลลิเมตร ยาวอย่างน้อย ๒๐ เมตร ๔.๖.๔ สามารถพิมพ์รูปคลื่นได้สูงสุดอย่างน้อย ๓ แชแนล (ขึ้นกับฟังก์ชั่นการทางาน) และ วัน เดือน ปี เวลา, อัตราการเต้นของหัวใจ, defibrillation energy, defibrillation current, patient impedance, type of printing, history of the printout, ECG speed, ECG Calibration pulse, bandwidth of the ECG, TREND ๔.๗ ภาควัดความก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในลมหายใจ (CO๒) ๔.๗.๑ สามารถวัดค่าก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในลมหายใจและแสดงรูปคลื่นบนจอภาพ, numeric eCO๒ และ RRC ๔.๗.๒ ใช้เวลาในการเตรียมเซ็นเซอร์น้อยกว่า ๕ วินาที ๔.๗.๓ ใช้เทคโนโลยีการทางานแบบ Mainstream, Infared absorption โดยมีช่องเสียบเซ็นเซอร์ที่ ด้านหน้าเครื่อง ๔.๘ ภาควัดความอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือด ( SpO๒) ๔.๘.๑ สามารถวัดความอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือดและแสดงรูปคลื่นบนจอภาพ, numeric SpO๒, signal quality value และ pulse rate โดยเลือกความเร็วของรูปคลื่นได้อย่างน้อย ๒ ระดับ ๔.๘.๒ สามารถตั้งสัญญาณเตือนค่าความอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือดได้ เมื่อค่าต่ากว่าที่กาหนด ๔.๘.๓ เปิด/ปิดการทางานจากการเสียบสายเซ็นเซอร์เข้ากับเครื่อง ที่ช่องเสียบด้านหน้าเครื่อง คาสั่งจังหวัดบุรีรัมย์ ที่ ๐๕๕๐๑ / ๒๕๕๘ ลงวันที่ ๑๑ มีนาคม ๒๕๕๘ ลายมือชื่อ ๑.นางสาวยุพาวรรณ ตระกูลรัมย์ นายแพทย์ปฏิบัติการ ประธานกรรมการ ๒.นางน้าฝน ศรีขาวรส พยาบาลวิชาชีพชานาญการ กรรมการ ๓. นางสาวภัสราธร เสาทอง พยาบาลวิชาชีพชานาญการ กรรมการ
  • 5. -๕- ๔.๘.๔ ใช้เทคโนโลยีการทางานแบบ Masimo และสามารถเลือกชนิดของผู้ป่วยเป็น ADULT และ NEONATE ๕. อุปกรณ์ประกอบการใช้งาน ๕.๑ Standard Paddle จานวน ๑ ชุด ๕.๒ ECG Cable & ๓ Lead wire จานวน ๑ ชุด ๕.๓ Recorder Paper จานวน ๑ พับ ๕.๔ Defib Gel จานวน ๑ หลอด ๕.๕ Operating Manual จานวน ๑ ชุด ๕.๖ SAED Cable และ ADHESIVE ADULT PADS จานวน ๑ ชุด ๕.๗ SpO๒ Cable & ADULT Finger Sensor จานวน ๑ ชุด ๕.๘ CO๒ – IRMA sensor จานวน ๑ ชุด ๖. เงื่อนไขเฉพาะ ๖.๑ มีหนังสือคู่มือการซ่อมและวงจรของเครื่อง (TECHNICAL/SERVICE MANUAL) ๖.๒ รับประกันคุณภาพเป็นเวลาอย่างน้อย ๑ ปี นับจากวันรับมอบของครบ ๖. ๓ ผู้ขายต้องมีหนังสือรับรองแต่งตั้งการเป็นตัวแทนจาหน่ายจากบริษัทผู้ผลิตหรือผู้นาเข้ามาแสดงในวันยื่น เอกสาร ๖.๔ ผู้ขายต้องจัดส่งเจ้าหน้าที่ที่ชานาญงานมาทางานสาธิตการใช้งานเครื่องและการดูแลรักษาเครื่องแก่ เจ้าหน้าที่ผู้ใช้งานจนสามารถใช้งานเครื่องเป็นอย่างดี คาสั่งจังหวัดบุรีรัมย์ ที่ ๐๕๕๐๑ / ๒๕๕๘ ลงวันที่ ๑๑ มีนาคม ๒๕๕๘ ลายมือชื่อ ๑.นางสาวยุพาวรรณ ตระกูลรัมย์ นายแพทย์ปฏิบัติการ ประธานกรรมการ ๒.นางน้าฝน ศรีขาวรส พยาบาลวิชาชีพชานาญการ กรรมการ ๓. นางสาวภัสราธร เสาทอง พยาบาลวิชาชีพชานาญการ กรรมการ