SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
Download to read offline
รวมบทความการศึกษาไทยสู่การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
112
สมรรถนะครูเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในศตวรรษที่ 21
ปิยธันว์ เบญจเทพรัศมี *
บทนา
กระแสเทคโนโลยีในปัจจุบันทาให้วิถีการดารงชีวิตเปลี่ยนแปลงไป เกิดการแข่งขันทาง
ปัญญา โดยการใช้ข้อมูลข่าวสาร ความรู้ใหม่ ๆ ที่ทันสมัยมากขึ้น บุคคลที่มีเชี่ยวชาญในการ
แสวงหาความรู้ การปรับประยุกต์ใช้เครื่องมือในการแสวงหาความรู้ในรูปแบบต่าง ๆ ย่อมมีข้อ
ได้เปรียบในดาเนินชีวิต ICT ก็เป็นเครื่องมืออย่างหนึ่งที่ช่วยเสริมประสิทธิภาพในการแสวงหา
ความรู้ การพัฒนาของโลกที่ไม่หยุดนิ่งขยับเข้าใกล้ยุคศตวรรษที่ 21 ที่เป็นยุคแห่งการดาเนินชีวิต
ในแบบดิจิตอล ที่เราไม่สามารถปฏิเสธได้ แต่ถ้าหากเราทุกคนสามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีให้
เกิดประโยชน์สูงสุดต่อการดารงชีวิต ก็จะทาให้อยู่ในโลกแห่งข้อมูลข่าวสารที่เปลี่ยนแปลงอย่าง
รวดเร็วได้อย่างไม่อยากนัก การการรู้ไอซีทีจะทาให้บุคคลสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ในการ
ค้นหาความรู้เพื่อสร้างสรรค์ให้เกิดประโยชน์ ด้วยเหตุดังกล่าวจึงมีความจาเป็นที่ต้องให้มีการ
พัฒนาความรู้ และทักษะความสามารถในด้านนี้อย่างจริงจัง เพื่อให้ก้าวไปเป็นบุคคลในศตวรรษที่
21 ได้อย่างสมบูรณ์
การที่บุคคลจะเกิดการเรียนรู้นั้น จาเป็นต้องมีปัจจัยหลายอย่างมาส่งเสริมสนับสนุน
ครูก็เป็นส่วนหนึ่งที่ส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียน และการที่จะพัฒนาผู้เรียนไปให้ถึงเป้ าประสงค์
ของการเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ทักษะการรู้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เป็นสิ่งที่จาเป็นอย่างยิ่ง และครูผู้สอนจะต้องมีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะปฏิบัติ และเจตคติที่ดี
รวมถึงสมรรถนะและความสามารถพื้นฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่จาเป็น
สาหรับการศึกษา การเลือกรับ เลือกปฏิเสธ การเข้าถึงความรู้ จนกระทั่งการประยุกต์ใช้ให้เกิด
ประโยชน์อย่างสร้างสรรค์ โดยไม่หลงลืมคุณธรรมจริยธรรม ดังนั้นครู ICT จึงถือได้ว่าเป็นบุคคล
กลุ่มแรกที่ทุกฝ่ายให้ความสาคัญ เนื่องจากเป็นบุคลากรที่มีประสบการณ์และความรู้เกี่ยวกับ ICT
* นิสิตปริญญาเอก สาขาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยนเรศวร
รวมบทความการศึกษาไทยสู่การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
113
อีกทั้งมีส่วนในการให้ความรู้แก่ผู้เรียนที่จะพัฒนาไปเป็นบุคคลในศตวรรษหน้า ดังนั้นจึงจาเป็น
อย่างยิ่งที่จะต้องพัฒนาสมรรถนะครู ICT ให้สามารถจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีทักษะการรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT Literacy)ให้รู้จักเลือกรับ เลือกปฏิเสธ และรู้เท่าทัน
เทคโนโลยี
ความหมายของสมรรถนะ
นักวิชาการทางการศึกษาหลายท่านได้ให้ความหมายของสมรรถนะไว้ดังนี้
Hornby and Thomas (1989 , p.53) ได้กล่าวไว้ว่า สมรรถนะ หมายถึง ความรู้ ทักษะ
และคุณสมบัติของบุคคลในการบริหารจัดการและเป็นผู้นาที่มีประสิทธิภาพ
Woodraffe (1992, p.17) ได้กล่าวไว้ว่า สมรรถนะ หมายถึง กลุ่มของพฤติกรรมตาม
ความต้องการของตาแหน่งงานที่จะนาไปสู่ความสาเร็จในงานและหน้าที่ ซึ่งประกอบด้วย ความรู้
ทักษะและแรงจูงใจหรือคุณลักษณะของบุคคลนั้น
Lucia and Lapsinger (1999 , p.13) ได้กล่าวไว้ว่า สมรรถนะ หมายถึง ทักษะ ความรู้
และคุณลักษณะที่อยู่ในตัวบุคคล ที่จาเป็นต่อการปฏิบัติงานของบุคคล โดยสมรรถนะจะช่วย
ส่งเสริมให้การในการปฏิบัติของบุคคลประสบผลสาเร็จ
อภิรักษ์ วรรณสาธพ (2545, หน้า 52) ได้กล่าวไว้ว่า สมรรถนะ หมายถึง ทักษะ ความรู้
ไปจนถึงบทบาทในสังคม บุคลิกภาพและส่วนที่ลึกลงไปจนยากที่จะวัดได้เช่น เจตคติ ค่านิยม
อุปนิสัยและแรงบันดานใจ
สุบรรณ เอี่ยมวิจารณ์ (2548 , หน้า 52) ได้กล่าวไว้ว่า สมรรถนะ เป็นองค์ประกอบของ
ความรู้ ทักษะและเจตคติของบุคคลที่มีอิทธิพลอย่างมากต่อผลสัมฤทธิ์ของการทางานของบุคคล
นั้นๆ และเป็ นบทบาทหรือความรับผิดชอบ ซึ่งสัมพันธ์กับงานหรือความสามารถ วัดค่า
เปรียบเทียบกับเกณฑ์มาตรฐานและสามารถพัฒนาได้โดยการฝึกอบรมและการพัฒนา
จากการให้คาจากัดความ หรือความหมายของสมรรถนะ สามารถสรุปวิเคราะห์ได้ดัง
ตารางต่อไปนี้
รวมบทความการศึกษาไทยสู่การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
114
ชื่อ – สกุล
ความหมายของสมรรถนะ
ความรู้ ทักษะ เจตคติ
คุณลักษณะส่วน
บุคคล
Hornby and Thomas   
Woodraffe    
Lucia and Lapsinger   
อภิรักษ์ วรรณสาธพ    
สุบรรณ เอี่ยมวิจารณ์    
จากตารางดังกล่าวสามารถสรุปและสังเคราะห์ความหมายของสมรรถนะได้ว่า หมายถึง
ความสามารถที่เกิดจากความรู้ ทักษะ คุณลักษณะส่วนบุคคล อันได้แก่ทัศนะคติ แรงจูงใจที่ทาให้
บุคคลประสบความสาเร็จตามวัตถุประสงค์
สมรรถนะครู
จากความหมายของสมรรถนะโดยทั่วไปสู่สมรรถนะในการปฏิบัติงานของครู ซึ่งถือได้ว่า
เป็นหัวใจสาคัญของการส่งเสริมและพัฒนาการศึกษา ได้มีผู้ให้ความหมายไว้ดังนี้
มาลิดา อินทรีมีศักดิ์ (2541, หน้า 12) ได้ให้ความหมายของสมรรถนะครูว่า หมายถึง
พฤติกรรมของครูที่แสดงออกถึงความสามารถเข้าใจ ทักษะและเจตคติที่มีต่อการพัฒนาคุณภาพ
ของนักเรียน ทั้งทางร่างกาย สติปัญญา อารมณ์และสังคม
สุนันท์ สังข์อ่อนและคณะ (2544 , หน้า 53) ที่ได้กล่าวว่า สมรรถนะครู หมายถึง
ความสามารถของครูในการจัดการเรียนการสอน ซึ้งความสามารถ ดังกล่าวแสดงให้เห็นถึงความรู้
ทักษะและเจตคติหรือพฤติกรรมที่สามารถวัดและประเมินค่าได้
medley (1982 , p.55) ได้ให้ความหมายของสมรรมครูไว้ว่า หมายถึง ความรู้ทักษะและ
ความเชื้อ ความศรัทธาที่ครูพึงมี
Kabilan (2004 , p.51) ได้กล่าวไว้ว่า สมรรถนะครู หมายถึง ความสามารถในการ
ปฏิบัติงานครูซึ้งต้องอาศัย ทักษะความรู้ในการจัดการเรียนการสอน
จากความหมายของสมรรถนะครู ดังกล่าวข้างต้น สรุปได้ว่า สมรรถนะครู หมายถึง
ความรู้ ทักษะ เจตคติและคุณลักษณะที่ครูพึงมีในการพัฒนาผู้เรียนให้เกิดความพร้อมทั้งทางด้าน
ร่างการ อารมณ์ สังคมและสติปัญญาโดยจะประกอบด้วย มีความเชี่ยวชาญในวิธีการที่สอน มี
รวมบทความการศึกษาไทยสู่การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
115
ความเชี่ยวชาญในเทคนิคที่สอน มีแหล่งความรู้และความคิดสร้างสรรค์ มีความรู้และความ
ประสงค์ที่จะประเมินการสอน มีความใคร่สอน มีความสามารถในการสร้างมนุษย์สัมพันธ์กับ
บุคคลอื่น
สมรรถนะครูเพื่อส่งเสริมการพัฒนาการศึกษา
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้กาหนดกรอบการประเมินสมรรถนะครู
ขึ้นโดยมีกรอบความคิดมาจากแนวคิดของ McClelland นักจิตวิทยาของมหาวิทยาลัย Harvard ที่
อธิบายไว้ว่า “สมรรถนะเป็นคุณลักษณะของบุคคลเกี่ยวกับผลการปฏิบัติงาน ประกอบด้วย
ความรู้ (Knowledge) ทักษะ (Skills) ความสามารถ (Ability) และคุณลักษณะอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับ
การทางาน (Other Characteristics) และเป็นคุณลักษณะเชิงพฤติกรรมที่ทาให้บุคลากรในองค์กร
ปฏิบัติงานได้ผลงานที่โดดเด่นกว่าคนอื่นๆ ในสถานการณ์ที่หลากหลาย ซึ่งเกิดจากแรงผลักดัน
เบื้องลึก (Motives) อุปนิสัย (Traits) ภาพลักษณ์ภายใน (Self-image) และบทบาทที่แสดงออกต่อ
สังคม (Social role) ที่แตกต่างกันทาให้แสดงพฤติกรรมการทางานที่ต่างกัน ซึ่งสอดคล้องกับแนว
ทางการพัฒนาสมรรถนะการบริหารทรัพยากรบุคคลแนวใหม่ภาครัฐ ของสานักงานคณะกรรมการ
ข้าราชการพลเรือน โดยส่งเสริมสนับสนุนให้ส่วนราชการบริหารทรัพยากรบุคคลตามกรอบ
มาตรฐานความสาเร็จด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล (Standard for Success) เพื่อให้เกิด
ผลสัมฤทธิ์ต่อความสาเร็จของส่วนราชการ ซึ่งสามารถแบ่งได้เป็น 2 ส่วน คือ
1. สมรรถนะหลัก (Core Competency) ประกอบด้วย 5 สมรรถนะ คือ การมุ่ง
ผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงาน การบริการที่ดี การพัฒนาตนเอง การทางานเป็นทีม จริยธรรม และ
จรรยาบรรณวิชาชีพครู
2. สมรรถนะประจาสายงาน (Functional Competency) ประกอบด้วย 6 สมรรถนะ คือ
การบริหารหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ การพัฒนาผู้เรียน การบริหารจัดการชั้นเรียน
การวิเคราะห์ สังเคราะห์ และการวิจัยเพื่อพัฒนาผู้เรียน ภาวะผู้นาครู การสร้างความสัมพันธ์และ
ความร่วมมือกับชุมชนเพื่อการจัดการเรียนรู้
สมรรถนะด้านการบริหารหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้เป็นสมรรถนะประจาสายงานที่
มีความสาคัญอย่างมากเนื่องจากการที่จะพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ความสามารถนั้นครูผู้สอน
รวมบทความการศึกษาไทยสู่การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
116
จะต้องมีความรู้ความเข้าใจในการจัดการเรียนรู้ มีความรู้ความเข้าใจในการจัดการเรียนการสอน
ที่ส่งเสริมความสามารถของผู้เรียนอย่างแท้จริง ซึ่งสมรรถนะนั้น Medley(1982 , p.55) ได้กล่าว
ว่าจะต้องมีความรู้ครอบคลุมทั้งด้านทักษะและความเชื่อความศรัทธาที่ครูพึงมี ซึ่งจะประกอบด้วย
เชี่ยวชาญในวิธีการที่สอนมีความเชี่ยวชาญในเทคนิคที่สอน มีแหล่งความรู้และความคิด
สร้างสรรค์ มีความรู้และความประสงค์ที่จะประเมินการสอน มีความใคร่สอน มีความสามารถใน
การสร้างมนุษย์สัมพันธ์กับบุคคลอื่น
ส่วน Verner et.al.(1992 , p. 44) ระบุว่านอกเหนือจากที่กล่าวมาข้างต้นนั้นครูควรจะ
มีการพัฒนาทั้งสิ้น 4 ด้าน ได้แก่ ด้านปฏิสัมพันธ์ ด้านการจัดการเรียนการสอน ด้านการ
ประเมินผล และด้านความก้าวหน้าในอาชีพ
ดังนั้นสมรรถนะที่สาคัญของครูมีส่วนในการส่งเสริมและพัฒนาการศึกษานั้นประเด็นที่
สาคัญคือ การพัฒนาหลักสูตร คือ ครูจะต้องสามารถวิเคราะห์ ปรับปรุง พัฒนาหลักสูตรได้ ครู
จะต้องมีความสามารถด้านการจัดการเรียนรู้ ครูจะต้องมีความสามารถด้านการวัดและ
ประเมินผลการศึกษา และความสามารถด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียนให้ประสบความสาเร็จ
สมรรถนะครู ICT
สมรรถนะที่บุคคลทั่วไปพึงมีนั้นประกอบด้วยความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณลักษณะของ
ตัวบุคคล ส่วนสมรรถนะครูนั้นจะเป็นการระบุชัดเจนในเรื่องของการมีความรู้ ทักษะ เจตคติและ
การมีพฤติกรรมต่างๆ ที่บ่งบอกถึงความสามารถในด้านที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษา สมรรถนะ
ครู ICT ก็เช่นกัน จะเป็นการระบุถึง ความรู้ ทักษะ เจตคติ และความสามารถที่ที่ครู ICT พึงมีเพื่อ
พัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน ซึ่งสามารถสรุปวิเคราะห์จากนักการศึกษาและงานวิจัยได้ดังตาราง
ต่อไปนี้ได้ดังนี้
รวมบทความการศึกษาไทยสู่การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
117
สมรรถนะครู
ICT
นักการศึกษา / งานวิจัย
Kabilan ใจทิพย์
ณ สงขลา
กฤษณวรรณ
กิติผดุง
ดวงใจ
อาบใจ
จันทิมา
แสงเลิศอุทัย
ความรู้ - ความรู้ความ
เข้าใจด้าน
เทคโนโลยี
- ความรู้ความเข้าใจ
เกี่ยวกับเทคโนโลยี
- ความรู้ด้าน
ภาษาคอมพิวเตอร์
- การโปรแกรม
และการ
บารุงรักษา
- คอมพิวเตอร์
ระบบปฏิบัติการ
- เทคโนโลยี
สารสนเทศและ
การสื่อสาร
- เนื้อหาสาระ
เทคโนโลยี
สารสนเทศ
- ข่าวสารด้าน ICT
ทักษะ - ทักษะด้าน
เทคโนโลยี
- ใช้คอมพิวเตอร์เป็น
เครื่องมือหลักในการ
แสวงหาความรู้และการ
สื่อสาร
- การเลือก
สารสนเทศ
- การใช้งาน
โปรแกรม /
ซอฟต์แวร์
- การใช้
คอมพิวเตอร์
- การใช้โปรอ
กรม
- การใช้งาน
คอมในการเรียน
การสอน
- การปฏิบัติงาน
ของครูโดยใช้
ความรู้ความ
ชานาญทาง ICT
เจตคติ - แรงจูงใจ/เจต
คติในการ
ปฏิบัติงาน
- การตระหนัก
ถึงความสาคัญ
ของ ICT
- ความมั่นใจ
สนใจ พึงพอใจ
มุ่งมั่น มีวินัย
พยายาม ใฝ่เรียนรู้
- เห็นประโยชน์
ใฝ่เรียนรู้
- รับผิดชอบ
- ไม่ละเมิด
ลิขสิทธิ์ต่าง ๆ
- มีเจตคติทางบวก
- เห็นคุณค่า
ประโยชน์ สนใจ ใส่
ใจและมุ่งมั่น
พฤติกรรม /
ความสามารถ
- การเรียนรู้
ด้วยตนเอง
- การ
ปฏิสัมพันธ์กับ
บุคคลอื่น
- บูรณาการเทคโนโลยี
กับการเรียนการสอนใน
ชั้นเรียน สร้าง
บรรยากาศให้เกิดการ
คิดวิเคราะห์
- ปรับปรุงตนเองอยู่
เสมอ
จากตารางข้างต้นจะเห็นได้ว่าครูจาเป็นต้องมีสมรรถนะทางด้านเทคโนโลยี กล่าวคือ
จะต้องมีความรู้ ทักษะเละเจตคติ ที่ดีต่อการสอนโดยการใช้เทคโนโลยี และการสอนให้ผู้เรียนใช้
เทคโนโลยี รวมถึงการปรับประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์อย่างสร้างสรรค์ ส่วนมหาวิทยาลัย
รวมบทความการศึกษาไทยสู่การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
118
ศรีนครินทรวิโรฒ (2551) ได้กาหนดกรอบสมรรถนะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารไว้ใน
โครงการบริการวิชาการเพื่อการพัฒนาสมรรถนะด้านไอซีที เป็น 2 กรอบใหญ่ ๆ คือ
1. สมรรถนะหลัก (Core Competency) ด้านไอซีที ประกอบด้วย 6 ประเด็น ดังนี้
1.1 ความรู้พื้นฐานด้านไอซีที (Basic ICT) หมายถึง การมีสมรรถนะในการใช้
คอมพิวเตอร์ขั้นพื้นฐานเพื่อนาไปใช้ประกอบการทางานต่างๆ อย่างมีประสิทธิภาพ
1.2 การใช้ไอซีทีเพื่อการติดต่อสื่อสาร (ICT for Communication) หมายถึง การมี
สมรรถนะในการใช้ไอซีทีเพื่อการติดต่อสื่อสารกับผู้อื่นอย่างมีจรรยาบรรณที่ดีและมีประสิทธิภาพ
1.3 การรู้สารสนเทศ (Information Literacy) หมายถึง การมีสมรรถนะในการเข้าถึง
สารสนเทศ การประเมินสารสนเทศที่ได้ และการนาสารสนเทศไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1.4 การจัดการเอกสาร (Document Management) หมายถึง การมีสมรรถนะใน
การใช้ไอซีทีเพื่อการจัดการเอกสารต่างๆ อย่างเป็นระบบ และมีความสะดวกในการค้นคืนเอกสาร
ต่างๆ มาใช้อย่างมีประสิทธิภาพ
1.5 การนาเสนอด้วยไอซีที (Electronic Presentation) หมายถึง การมีสมรรถนะใน
การใช้ไอซีทีเพื่อการนาเสนอข้อมูลที่มีอยู่ในรูปแบบต่างๆ อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ เช่น
การนาเสนอข้อมูลด้วยโปรแกรมพรีเซ็นเทชั่น การนาเสนอข้อมูลในรูปตาราง หรือ แผนภูมิ เป็นต้น
1.6 การจัดการข้อมูลและสารสนเทศ (Data & Information Management) หมายถึง
การมีสมรรถนะในการใช้ไอซีทีเพื่อจัดการข้อมูลหรือสารสนเทศต่างๆ ที่ได้มาใหม่ โดยจัดทาหรือ
ดัดแปลงให้อยู่ในรูปของดิจิทัลอย่างเป็นระบบ เพื่อให้สามารถนาข้อมูลเหล่านั้นมาใช้งานต่างๆ ได้
ในภายหลัง
2. สมรรถนะประจาสายงาน (Functional Competency) หมายถึง การมีสมรรถนะใน
การคัดสรรไอซีทีหรือการประยุกต์ไอซีทีที่หลากหลายมาใช้งานได้อย่างเหมาะสม เพื่อให้การ
ปฏิบัติงานต่างๆ มีประสิทธิภาพ
จะเห็นได้ว่าสมรรถนะสาคัญของครู ICT คือการที่จะต้องเป็นผู้มีทักษะการรู้เทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสารคลอบคลุมและรอบด้าน ก้าวทันการพัฒนาและเปลี่ยนแปลงของ
เทคโนโลยี เลือกใช้เทคโนโลยีให้เกิดประโยชน์กับการจัดการเรียนการสอน มุ่งเน้นและส่งเสริมให้
เกิดการเรียนรู้ของผู้เรียน และมีการพัฒนาตนเองอยู่เสมอ ซึ่งก่อนที่จะพัฒนาให้ผู้เรียนรู้เทคโนโลยี
รวมบทความการศึกษาไทยสู่การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
119
สารสนเทศและการสื่อสาร ครูจะต้องมีเทคนิควิธีการในการจัดกระบวนการเรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สื่อ
และนวัตกรรมที่ส่งเสริมสนับสนุนให้เกิดการพัฒนาทั้งตัวครูและผู้เรียนอยู่ตลอดเวลา
สมรรถนะครู ICT ในศตวรรษที่ 21
การรู้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT Literacy)เป็นสิ่งสาคัญอย่างหนึ่งในยุค
ศตวรรษที่ 21 ทั้งนี้เนื่องจากการรู้ไอซีทีจะทาให้บุคคลสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อผล
ในทางปฏิบัติในสังคมแห่งความรู้เพื่อเสริมสร้างประสิทธิภาพในการดารงชีวิตได้อย่างที่ควรจะ
เป็น ด้วยเหตุดังกล่าวจึงมีความจาเป็นที่ต้องให้ความรู้ความเข้าใจแก่บุคคลทั่วไปในเรื่องของ
ทักษะและความสามารถในด้านนี้เพื่อให้สามารถดารงชีวิตอยู่ได้ในโลกยุคปัจจุบันที่เต็มไปด้วย
เทคโนโลยี
สมรรถนะและความสามารถพื้นฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่จาเป็น
สาหรับการศึกษา การเรียนรู้ การทางานและการดารงชีวิต ในยุคแห่งเทคโนโลยีสารสนเทศหรือ
สังคมแห่งความรู้ ดังนั้นครูผู้สอนควรมีสมรรถนะที่จะสามารถใช้ในการจัดการเรียนการสอนเพื่อ
ส่งเสริมให้ผู้เรียนรู้ ICT ซึ่งมีดังนี้
1. ความเชี่ยวชาญด้านความรู้ความเข้าใจ (Cognitive Proficiency) เป็นทักษะพื้นฐาน
ที่ใช้ในชีวิตประจาวัน ได้แก่ การอ่านการเขียน การคิดวิเคราะห์ การแก้ปัญหา และการคานวณ
2. ความเชี่ยวชาญด้านเทคนิค (Technical Proficiency) หมายถึงองค์ประกอบพื้นฐาน
และองค์ประกอบต่างๆ เกี่ยวกับเทคโนโลยีดิจิตอล รวมถึงความรู้พื้นฐานทางด้าน ระบบสื่อสาร
ต่างๆ ระบบฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ และระบบเครือข่าย
3. ความเชี่ยวชาญด้านไอซีที (ICT Proficiency) เป็นทักษะที่บูรณาการทักษะพื้นฐาน
ด้านการรู้คิดในชีวิตประจาวันกับทักษะทางด้านเทคนิค และสามารถนามาประยุกต์ใช้กับงาน
ต่างๆ ได้อย่าเหมาะสม และมีประสิทธิภาพ ทั้งกับงานที่ง่ายไปจนถึงงานที่มีความซับซ้อน ได้อย่าง
มีประสบการณ์ กล่าวคือความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เป็นความ
ชานาญในการใช้เทคโนโลยีดิจิตอลและเทคโนโลยีการสื่อสารเพื่อ
3.1 การเข้าถึงข้อมูล เป็นความชานาญในการเข้าถึงข้อมูล รู้ว่าจะเก็บและสืบค้น
ข้อมูลได้อย่างไร
รวมบทความการศึกษาไทยสู่การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
120
3.2 การจัดการกระทากับข้อมูล เป็นความชานาญในการจัดการ จาแนก และจัด
กลุ่มข้อมูล
3.3 การวิเคราะห์และแสดงผลข้อมูล เป็นความชานาญในการแปลความหมาย
ข้อมูล เปรียบเทียบ วิเคราะห์ หาความสัมพันธ์ของข้อมูล สรุปและแสดงผลข้อมูลได้
3.4 การประเมินผลข้อมูล เป็นความชานาญในการประเมินคุณภาพ ประโยชน์ใช้
สอย หรือประสิทธิภาพของข้อมูล
3.5 การสร้างข้อมูลขึ้นมาใหม่ เป็นความชานาญในการสร้างข้อมูลขึ้นใหม่โดย
อาศัยการดัดแปลง การประยุกต์ใช้ การออกแบบใหม่ การประดิษฐ์คิดค้นหรือการสร้างข้อมูล
ขึ้นมาใหม่
ฉะนั้นการจัดการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนสามารถใช้เทคโนโลยีเป็นเครื่องมือในการสื่อสาร
เพื่อให้เกิดการเข้าถึง (access) การจัดการ (manage) การบูรณาการ (integrate) การประเมินผล
(evaluate) และการสร้างสารสนเทศ (create information) นั้นจึงเป็นหน้าที่หลักสาคัญของครู ICT
ซึ่งสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนเรียนรู้เทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สื่อสาร เพื่อให้สามารถทางานได้ในสังคมฐานความรู้ เนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลง มิติทั้งทาง
สังคม เศรษฐกิจ การเมือง และเทคโนโลยี อันเป็นผลมาจากการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ และ
การปรับเปลี่ยนโครงสร้างเศรษฐกิจการเมืองโลก
บทสรุป
จากประเด็นการศึกษาเรื่องสมรรถนะครู ICT นั้น สมรรถนะที่สาคัญที่ควรนาไปศึกษาและ
พัฒนาต่อยอดคือ การจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนเรียนรู้เทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สื่อสาร สามารถนาสิ่งทีได้รับจากกระบวนการจัดการเรียนรู้ของครูได้ประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์
ต่อตนเองและสังคม ทาอย่างไรครูถึงจะสามารถสอนให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้เทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสื่อสารครบตามองค์ประกอบของการรู้ ICT จะมีวิธีการอย่างไรในการพัฒนาให้ครูสามารถ
ออกแบบกระบวนการจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยี ก้าวทันการ
เปลี่ยนแปลง รวมถึงรู้เท่าทันเทคโนโลยี และสามารถใช้งานเทคโนโลยีได้อย่างสร้างสรรค์และเกิด
รวมบทความการศึกษาไทยสู่การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
121
ประโยชน์สูงสุด การพัฒนาสมรรถนะครูจึงเป็นสิ่งที่สาคัญในการพัฒนาการศึกษา เป็นอีกหนึ่งแรง
ผลัดดัน ที่ก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงที่ยิ่งใหญ่ในอนาคต
เอกสารอ้างอิง
กฤษณวรรณ กิติผดุง.(2541).ความต้องการการพัฒนาสมรรถภาพการใช้คอมพิวเตอร์ของ
ครูสังคมศึกษาในโรงเรียนมัธยมศึกษา. วิทยานิพนธ์ .จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
กรุงเทพฯ.
ใจทิพย์ ณ สงขลา. (2547). สมรรถภาพครูในยุคแห่งการเรียนอิเล็กทรอนิกส์. วารสารครุศาสตร์.
32(3), 120-128.
ดวงรัตน์ อาบใจ .(2547). สมรรถภาพที่พึงประสงค์สาหรับครูมัธยมศึกษาตอนต้นที่ใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สาหรับโรงเรียนพัฒนาการศึกษา ระดับ
มัธยมศึกษาตอนต้น.วิทยานิพนธ์.จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.กรุงเทพฯ
มาลิดา อินทรีมีศักดิ์ . (2541) .สมรรถภาพของครูระดับก่อนประถมศึกษา สังกัดสานักงาน
การประถมศึกษา จังหวัดนครปฐม.วิทยานิพนธ์.มหาวิทยาลัยศิลปากร.กรุงเทพฯ.
สุนันท์ สังข์อ่อน, รัชนี ชังชูและดวงใจ ผือโย. (2544). การพัฒนาสมรรถภาพครูในการสร้างและ
ใช้หลักสูตรและการสอนแบบบูรณาการในระดับประถมศึกษา. วารสารศึกษาศาสตร์
ปริทัศน์. 16(3), 51-55.
อภิรักษ์ วรรณสาธพ. (2545). คน : Competencyความท้าทายขององค์กรยุคใหม่. Productivity
World. 7(41), 17-27.
อุกฤษณ์ กาญจนเกตุ. (2543). Competency-Based Human Management. การบริหารคน.
21(4), 19-22.
Hornby, Derek and Thomas, Reymond. (1989). Toward a Better Standard of
management. Personal Management. 21(1), 52-55.
Kabilan, Muhammad Kamarul. (2004). Online Professional Development : A Literature
Analysis of Teacher Competency. Journal of Computing in Teacher
Education. 21(2), 51-57.
รวมบทความการศึกษาไทยสู่การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
122
McClelland, D. C. (1973). Testing for Competency Rather than the Intelligence.
American Psychologist. 28(1), 1-14.
Woodruffe, Charles. (1992). What is meant by competency?. New York : McGraw-Hill.

More Related Content

What's hot

หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบworapanthewaha
 
บัตรลงคะแนน2
บัตรลงคะแนน2บัตรลงคะแนน2
บัตรลงคะแนน2Pattama Poyangyuen
 
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1gchom
 
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7eตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7ekroojaja
 
สารบัญภาษาไทย
สารบัญภาษาไทยสารบัญภาษาไทย
สารบัญภาษาไทยPoppy Nana
 
ฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้นฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้นY'Yuyee Raksaya
 
ใบงาน-ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ใบงาน-ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ใบงาน-ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ใบงาน-ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์Hikaru Sai
 
การสร้างข้อสอบอัตนัย
การสร้างข้อสอบอัตนัยการสร้างข้อสอบอัตนัย
การสร้างข้อสอบอัตนัยTupPee Zhouyongfang
 
โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์krubuatoom
 
เกณฑ์โครงการคณิตศาสตร์
เกณฑ์โครงการคณิตศาสตร์เกณฑ์โครงการคณิตศาสตร์
เกณฑ์โครงการคณิตศาสตร์waranyuati
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันphaephae
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์srkschool
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม Terapong Piriyapan
 
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานแบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานKhemjira_P
 
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืชการตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืชdnavaroj
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่1 สิ่งแวดล้อมกับสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่1 สิ่งแวดล้อมกับสุขภาพแผนการจัดการเรียนรู้ที่1 สิ่งแวดล้อมกับสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่1 สิ่งแวดล้อมกับสุขภาพUmmara Kijruangsri
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงWareerut Hunter
 
ใบความรู้ สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+426+dltvsocp2+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+426+dltvsocp2+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+426+dltvsocp2+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+426+dltvsocp2+T1 p1 3-sheetPrachoom Rangkasikorn
 
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ โรงเรียน...
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ  โรงเรียน...คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ  โรงเรียน...
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ โรงเรียน...ถูกต้อง ไม่จำเป็นต้องถูกใจ
 

What's hot (20)

หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบ
 
โครงงานวุ้นกะทิ
โครงงานวุ้นกะทิโครงงานวุ้นกะทิ
โครงงานวุ้นกะทิ
 
บัตรลงคะแนน2
บัตรลงคะแนน2บัตรลงคะแนน2
บัตรลงคะแนน2
 
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
 
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7eตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
 
สารบัญภาษาไทย
สารบัญภาษาไทยสารบัญภาษาไทย
สารบัญภาษาไทย
 
ฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้นฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้น
 
ใบงาน-ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ใบงาน-ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ใบงาน-ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ใบงาน-ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
 
การสร้างข้อสอบอัตนัย
การสร้างข้อสอบอัตนัยการสร้างข้อสอบอัตนัย
การสร้างข้อสอบอัตนัย
 
โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์
 
เกณฑ์โครงการคณิตศาสตร์
เกณฑ์โครงการคณิตศาสตร์เกณฑ์โครงการคณิตศาสตร์
เกณฑ์โครงการคณิตศาสตร์
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
 
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานแบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
 
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืชการตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่1 สิ่งแวดล้อมกับสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่1 สิ่งแวดล้อมกับสุขภาพแผนการจัดการเรียนรู้ที่1 สิ่งแวดล้อมกับสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่1 สิ่งแวดล้อมกับสุขภาพ
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
 
ใบความรู้ สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+426+dltvsocp2+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+426+dltvsocp2+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+426+dltvsocp2+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+426+dltvsocp2+T1 p1 3-sheet
 
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ โรงเรียน...
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ  โรงเรียน...คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ  โรงเรียน...
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ โรงเรียน...
 

Viewers also liked

ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21Teacher Sophonnawit
 
ครูในศตวรรษที่ 21
ครูในศตวรรษที่ 21ครูในศตวรรษที่ 21
ครูในศตวรรษที่ 21KruBeeKa
 
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆNaphachol Aon
 
การปฏ ร ปการศ_กษาไทยในศตวรรษท__ 21
การปฏ ร ปการศ_กษาไทยในศตวรรษท__ 21การปฏ ร ปการศ_กษาไทยในศตวรรษท__ 21
การปฏ ร ปการศ_กษาไทยในศตวรรษท__ 21Yai Muay
 
เทคโนโลยีสมัยใหม่
เทคโนโลยีสมัยใหม่เทคโนโลยีสมัยใหม่
เทคโนโลยีสมัยใหม่Anakkwee Saeton
 
ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21Rujroad Kaewurai
 
(Draft) The Third Thailand Information and Communication Technology Master Pl...
(Draft) The Third Thailand Information and Communication Technology Master Pl...(Draft) The Third Thailand Information and Communication Technology Master Pl...
(Draft) The Third Thailand Information and Communication Technology Master Pl...Boonlert Aroonpiboon
 
คำทับศัพท์และศัพท์บัญญัติ
คำทับศัพท์และศัพท์บัญญัติคำทับศัพท์และศัพท์บัญญัติ
คำทับศัพท์และศัพท์บัญญัติsurang1
 
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศบทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศSrion Janeprapapong
 
2 ระบบเศรษฐกิจ
2 ระบบเศรษฐกิจ2 ระบบเศรษฐกิจ
2 ระบบเศรษฐกิจPanadda Lmn
 
วิจัยแก้ไขปัญหาหมอกควันจังหวัดพะเยา
วิจัยแก้ไขปัญหาหมอกควันจังหวัดพะเยาวิจัยแก้ไขปัญหาหมอกควันจังหวัดพะเยา
วิจัยแก้ไขปัญหาหมอกควันจังหวัดพะเยาThawiwat Khongtor
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีBoonlert Aroonpiboon
 

Viewers also liked (20)

ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
 
ครูในศตวรรษที่ 21
ครูในศตวรรษที่ 21ครูในศตวรรษที่ 21
ครูในศตวรรษที่ 21
 
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 
การปฏ ร ปการศ_กษาไทยในศตวรรษท__ 21
การปฏ ร ปการศ_กษาไทยในศตวรรษท__ 21การปฏ ร ปการศ_กษาไทยในศตวรรษท__ 21
การปฏ ร ปการศ_กษาไทยในศตวรรษท__ 21
 
เทคโนโลยีสมัยใหม่
เทคโนโลยีสมัยใหม่เทคโนโลยีสมัยใหม่
เทคโนโลยีสมัยใหม่
 
Communication skill
Communication skillCommunication skill
Communication skill
 
Shopping cart
Shopping cartShopping cart
Shopping cart
 
ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
 
(Draft) The Third Thailand Information and Communication Technology Master Pl...
(Draft) The Third Thailand Information and Communication Technology Master Pl...(Draft) The Third Thailand Information and Communication Technology Master Pl...
(Draft) The Third Thailand Information and Communication Technology Master Pl...
 
คำทับศัพท์และศัพท์บัญญัติ
คำทับศัพท์และศัพท์บัญญัติคำทับศัพท์และศัพท์บัญญัติ
คำทับศัพท์และศัพท์บัญญัติ
 
Good Corporate Citizenship
Good Corporate CitizenshipGood Corporate Citizenship
Good Corporate Citizenship
 
Thai Education Master Plan # 11
Thai Education Master Plan # 11Thai Education Master Plan # 11
Thai Education Master Plan # 11
 
competency
competencycompetency
competency
 
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศบทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
 
2 ระบบเศรษฐกิจ
2 ระบบเศรษฐกิจ2 ระบบเศรษฐกิจ
2 ระบบเศรษฐกิจ
 
สื่อการสอน
สื่อการสอนสื่อการสอน
สื่อการสอน
 
วิจัยแก้ไขปัญหาหมอกควันจังหวัดพะเยา
วิจัยแก้ไขปัญหาหมอกควันจังหวัดพะเยาวิจัยแก้ไขปัญหาหมอกควันจังหวัดพะเยา
วิจัยแก้ไขปัญหาหมอกควันจังหวัดพะเยา
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
 
คู่มือการใช้ Prezi
คู่มือการใช้ Preziคู่มือการใช้ Prezi
คู่มือการใช้ Prezi
 

Similar to สมรรถนะครูเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในศตวรรษที่ 21

การเรียนรู้ในรศตวรรษที่ 21
การเรียนรู้ในรศตวรรษที่ 21การเรียนรู้ในรศตวรรษที่ 21
การเรียนรู้ในรศตวรรษที่ 21T' Bomb Kim-bomb
 
Introduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medieIntroduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medieThamonwan Kottapan
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1Pari Za
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1Pari Za
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารThamonwan Kottapan
 
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาSattakamon
 
powerpoint บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อกาารเรียนรู้
powerpoint บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อกาารเรียนรู้powerpoint บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อกาารเรียนรู้
powerpoint บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อกาารเรียนรู้Kanatip Sriwarom
 
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากล
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากลการเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากล
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากลธนเดช วิไลรัตนากูล
 
Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Aon Narinchoti
 
Prefix 15082557-042337-t1d71p
Prefix 15082557-042337-t1d71pPrefix 15082557-042337-t1d71p
Prefix 15082557-042337-t1d71pNam Chon
 
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนNatmol Thedsanabun
 
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนNatmol Thedsanabun
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯเค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯPannathat Champakul
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
บทที่ 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาบทที่ 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
บทที่ 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาDee Arna'
 

Similar to สมรรถนะครูเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในศตวรรษที่ 21 (20)

การเรียนรู้ในรศตวรรษที่ 21
การเรียนรู้ในรศตวรรษที่ 21การเรียนรู้ในรศตวรรษที่ 21
การเรียนรู้ในรศตวรรษที่ 21
 
Introduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medieIntroduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medie
 
บทท 6
บทท   6บทท   6
บทท 6
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
บทท 6..
บทท  6..บทท  6..
บทท 6..
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
 
powerpoint บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อกาารเรียนรู้
powerpoint บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อกาารเรียนรู้powerpoint บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อกาารเรียนรู้
powerpoint บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อกาารเรียนรู้
 
แนวทาง Tok
แนวทาง Tokแนวทาง Tok
แนวทาง Tok
 
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยี
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีการเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยี
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยี
 
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากล
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากลการเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากล
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากล
 
Digital e book
Digital e bookDigital e book
Digital e book
 
Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936
 
Prefix 15082557-042337-t1d71p
Prefix 15082557-042337-t1d71pPrefix 15082557-042337-t1d71p
Prefix 15082557-042337-t1d71p
 
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯเค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
บทที่ 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาบทที่ 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
บทที่ 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
 
Media&tech2learn 001-Part 1
Media&tech2learn 001-Part 1Media&tech2learn 001-Part 1
Media&tech2learn 001-Part 1
 

สมรรถนะครูเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในศตวรรษที่ 21

  • 1. รวมบทความการศึกษาไทยสู่การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 112 สมรรถนะครูเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในศตวรรษที่ 21 ปิยธันว์ เบญจเทพรัศมี * บทนา กระแสเทคโนโลยีในปัจจุบันทาให้วิถีการดารงชีวิตเปลี่ยนแปลงไป เกิดการแข่งขันทาง ปัญญา โดยการใช้ข้อมูลข่าวสาร ความรู้ใหม่ ๆ ที่ทันสมัยมากขึ้น บุคคลที่มีเชี่ยวชาญในการ แสวงหาความรู้ การปรับประยุกต์ใช้เครื่องมือในการแสวงหาความรู้ในรูปแบบต่าง ๆ ย่อมมีข้อ ได้เปรียบในดาเนินชีวิต ICT ก็เป็นเครื่องมืออย่างหนึ่งที่ช่วยเสริมประสิทธิภาพในการแสวงหา ความรู้ การพัฒนาของโลกที่ไม่หยุดนิ่งขยับเข้าใกล้ยุคศตวรรษที่ 21 ที่เป็นยุคแห่งการดาเนินชีวิต ในแบบดิจิตอล ที่เราไม่สามารถปฏิเสธได้ แต่ถ้าหากเราทุกคนสามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีให้ เกิดประโยชน์สูงสุดต่อการดารงชีวิต ก็จะทาให้อยู่ในโลกแห่งข้อมูลข่าวสารที่เปลี่ยนแปลงอย่าง รวดเร็วได้อย่างไม่อยากนัก การการรู้ไอซีทีจะทาให้บุคคลสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ในการ ค้นหาความรู้เพื่อสร้างสรรค์ให้เกิดประโยชน์ ด้วยเหตุดังกล่าวจึงมีความจาเป็นที่ต้องให้มีการ พัฒนาความรู้ และทักษะความสามารถในด้านนี้อย่างจริงจัง เพื่อให้ก้าวไปเป็นบุคคลในศตวรรษที่ 21 ได้อย่างสมบูรณ์ การที่บุคคลจะเกิดการเรียนรู้นั้น จาเป็นต้องมีปัจจัยหลายอย่างมาส่งเสริมสนับสนุน ครูก็เป็นส่วนหนึ่งที่ส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียน และการที่จะพัฒนาผู้เรียนไปให้ถึงเป้ าประสงค์ ของการเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ทักษะการรู้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เป็นสิ่งที่จาเป็นอย่างยิ่ง และครูผู้สอนจะต้องมีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะปฏิบัติ และเจตคติที่ดี รวมถึงสมรรถนะและความสามารถพื้นฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่จาเป็น สาหรับการศึกษา การเลือกรับ เลือกปฏิเสธ การเข้าถึงความรู้ จนกระทั่งการประยุกต์ใช้ให้เกิด ประโยชน์อย่างสร้างสรรค์ โดยไม่หลงลืมคุณธรรมจริยธรรม ดังนั้นครู ICT จึงถือได้ว่าเป็นบุคคล กลุ่มแรกที่ทุกฝ่ายให้ความสาคัญ เนื่องจากเป็นบุคลากรที่มีประสบการณ์และความรู้เกี่ยวกับ ICT * นิสิตปริญญาเอก สาขาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยนเรศวร
  • 2. รวมบทความการศึกษาไทยสู่การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 113 อีกทั้งมีส่วนในการให้ความรู้แก่ผู้เรียนที่จะพัฒนาไปเป็นบุคคลในศตวรรษหน้า ดังนั้นจึงจาเป็น อย่างยิ่งที่จะต้องพัฒนาสมรรถนะครู ICT ให้สามารถจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีทักษะการรู้ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT Literacy)ให้รู้จักเลือกรับ เลือกปฏิเสธ และรู้เท่าทัน เทคโนโลยี ความหมายของสมรรถนะ นักวิชาการทางการศึกษาหลายท่านได้ให้ความหมายของสมรรถนะไว้ดังนี้ Hornby and Thomas (1989 , p.53) ได้กล่าวไว้ว่า สมรรถนะ หมายถึง ความรู้ ทักษะ และคุณสมบัติของบุคคลในการบริหารจัดการและเป็นผู้นาที่มีประสิทธิภาพ Woodraffe (1992, p.17) ได้กล่าวไว้ว่า สมรรถนะ หมายถึง กลุ่มของพฤติกรรมตาม ความต้องการของตาแหน่งงานที่จะนาไปสู่ความสาเร็จในงานและหน้าที่ ซึ่งประกอบด้วย ความรู้ ทักษะและแรงจูงใจหรือคุณลักษณะของบุคคลนั้น Lucia and Lapsinger (1999 , p.13) ได้กล่าวไว้ว่า สมรรถนะ หมายถึง ทักษะ ความรู้ และคุณลักษณะที่อยู่ในตัวบุคคล ที่จาเป็นต่อการปฏิบัติงานของบุคคล โดยสมรรถนะจะช่วย ส่งเสริมให้การในการปฏิบัติของบุคคลประสบผลสาเร็จ อภิรักษ์ วรรณสาธพ (2545, หน้า 52) ได้กล่าวไว้ว่า สมรรถนะ หมายถึง ทักษะ ความรู้ ไปจนถึงบทบาทในสังคม บุคลิกภาพและส่วนที่ลึกลงไปจนยากที่จะวัดได้เช่น เจตคติ ค่านิยม อุปนิสัยและแรงบันดานใจ สุบรรณ เอี่ยมวิจารณ์ (2548 , หน้า 52) ได้กล่าวไว้ว่า สมรรถนะ เป็นองค์ประกอบของ ความรู้ ทักษะและเจตคติของบุคคลที่มีอิทธิพลอย่างมากต่อผลสัมฤทธิ์ของการทางานของบุคคล นั้นๆ และเป็ นบทบาทหรือความรับผิดชอบ ซึ่งสัมพันธ์กับงานหรือความสามารถ วัดค่า เปรียบเทียบกับเกณฑ์มาตรฐานและสามารถพัฒนาได้โดยการฝึกอบรมและการพัฒนา จากการให้คาจากัดความ หรือความหมายของสมรรถนะ สามารถสรุปวิเคราะห์ได้ดัง ตารางต่อไปนี้
  • 3. รวมบทความการศึกษาไทยสู่การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 114 ชื่อ – สกุล ความหมายของสมรรถนะ ความรู้ ทักษะ เจตคติ คุณลักษณะส่วน บุคคล Hornby and Thomas    Woodraffe     Lucia and Lapsinger    อภิรักษ์ วรรณสาธพ     สุบรรณ เอี่ยมวิจารณ์     จากตารางดังกล่าวสามารถสรุปและสังเคราะห์ความหมายของสมรรถนะได้ว่า หมายถึง ความสามารถที่เกิดจากความรู้ ทักษะ คุณลักษณะส่วนบุคคล อันได้แก่ทัศนะคติ แรงจูงใจที่ทาให้ บุคคลประสบความสาเร็จตามวัตถุประสงค์ สมรรถนะครู จากความหมายของสมรรถนะโดยทั่วไปสู่สมรรถนะในการปฏิบัติงานของครู ซึ่งถือได้ว่า เป็นหัวใจสาคัญของการส่งเสริมและพัฒนาการศึกษา ได้มีผู้ให้ความหมายไว้ดังนี้ มาลิดา อินทรีมีศักดิ์ (2541, หน้า 12) ได้ให้ความหมายของสมรรถนะครูว่า หมายถึง พฤติกรรมของครูที่แสดงออกถึงความสามารถเข้าใจ ทักษะและเจตคติที่มีต่อการพัฒนาคุณภาพ ของนักเรียน ทั้งทางร่างกาย สติปัญญา อารมณ์และสังคม สุนันท์ สังข์อ่อนและคณะ (2544 , หน้า 53) ที่ได้กล่าวว่า สมรรถนะครู หมายถึง ความสามารถของครูในการจัดการเรียนการสอน ซึ้งความสามารถ ดังกล่าวแสดงให้เห็นถึงความรู้ ทักษะและเจตคติหรือพฤติกรรมที่สามารถวัดและประเมินค่าได้ medley (1982 , p.55) ได้ให้ความหมายของสมรรมครูไว้ว่า หมายถึง ความรู้ทักษะและ ความเชื้อ ความศรัทธาที่ครูพึงมี Kabilan (2004 , p.51) ได้กล่าวไว้ว่า สมรรถนะครู หมายถึง ความสามารถในการ ปฏิบัติงานครูซึ้งต้องอาศัย ทักษะความรู้ในการจัดการเรียนการสอน จากความหมายของสมรรถนะครู ดังกล่าวข้างต้น สรุปได้ว่า สมรรถนะครู หมายถึง ความรู้ ทักษะ เจตคติและคุณลักษณะที่ครูพึงมีในการพัฒนาผู้เรียนให้เกิดความพร้อมทั้งทางด้าน ร่างการ อารมณ์ สังคมและสติปัญญาโดยจะประกอบด้วย มีความเชี่ยวชาญในวิธีการที่สอน มี
  • 4. รวมบทความการศึกษาไทยสู่การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 115 ความเชี่ยวชาญในเทคนิคที่สอน มีแหล่งความรู้และความคิดสร้างสรรค์ มีความรู้และความ ประสงค์ที่จะประเมินการสอน มีความใคร่สอน มีความสามารถในการสร้างมนุษย์สัมพันธ์กับ บุคคลอื่น สมรรถนะครูเพื่อส่งเสริมการพัฒนาการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้กาหนดกรอบการประเมินสมรรถนะครู ขึ้นโดยมีกรอบความคิดมาจากแนวคิดของ McClelland นักจิตวิทยาของมหาวิทยาลัย Harvard ที่ อธิบายไว้ว่า “สมรรถนะเป็นคุณลักษณะของบุคคลเกี่ยวกับผลการปฏิบัติงาน ประกอบด้วย ความรู้ (Knowledge) ทักษะ (Skills) ความสามารถ (Ability) และคุณลักษณะอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับ การทางาน (Other Characteristics) และเป็นคุณลักษณะเชิงพฤติกรรมที่ทาให้บุคลากรในองค์กร ปฏิบัติงานได้ผลงานที่โดดเด่นกว่าคนอื่นๆ ในสถานการณ์ที่หลากหลาย ซึ่งเกิดจากแรงผลักดัน เบื้องลึก (Motives) อุปนิสัย (Traits) ภาพลักษณ์ภายใน (Self-image) และบทบาทที่แสดงออกต่อ สังคม (Social role) ที่แตกต่างกันทาให้แสดงพฤติกรรมการทางานที่ต่างกัน ซึ่งสอดคล้องกับแนว ทางการพัฒนาสมรรถนะการบริหารทรัพยากรบุคคลแนวใหม่ภาครัฐ ของสานักงานคณะกรรมการ ข้าราชการพลเรือน โดยส่งเสริมสนับสนุนให้ส่วนราชการบริหารทรัพยากรบุคคลตามกรอบ มาตรฐานความสาเร็จด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล (Standard for Success) เพื่อให้เกิด ผลสัมฤทธิ์ต่อความสาเร็จของส่วนราชการ ซึ่งสามารถแบ่งได้เป็น 2 ส่วน คือ 1. สมรรถนะหลัก (Core Competency) ประกอบด้วย 5 สมรรถนะ คือ การมุ่ง ผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงาน การบริการที่ดี การพัฒนาตนเอง การทางานเป็นทีม จริยธรรม และ จรรยาบรรณวิชาชีพครู 2. สมรรถนะประจาสายงาน (Functional Competency) ประกอบด้วย 6 สมรรถนะ คือ การบริหารหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ การพัฒนาผู้เรียน การบริหารจัดการชั้นเรียน การวิเคราะห์ สังเคราะห์ และการวิจัยเพื่อพัฒนาผู้เรียน ภาวะผู้นาครู การสร้างความสัมพันธ์และ ความร่วมมือกับชุมชนเพื่อการจัดการเรียนรู้ สมรรถนะด้านการบริหารหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้เป็นสมรรถนะประจาสายงานที่ มีความสาคัญอย่างมากเนื่องจากการที่จะพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ความสามารถนั้นครูผู้สอน
  • 5. รวมบทความการศึกษาไทยสู่การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 116 จะต้องมีความรู้ความเข้าใจในการจัดการเรียนรู้ มีความรู้ความเข้าใจในการจัดการเรียนการสอน ที่ส่งเสริมความสามารถของผู้เรียนอย่างแท้จริง ซึ่งสมรรถนะนั้น Medley(1982 , p.55) ได้กล่าว ว่าจะต้องมีความรู้ครอบคลุมทั้งด้านทักษะและความเชื่อความศรัทธาที่ครูพึงมี ซึ่งจะประกอบด้วย เชี่ยวชาญในวิธีการที่สอนมีความเชี่ยวชาญในเทคนิคที่สอน มีแหล่งความรู้และความคิด สร้างสรรค์ มีความรู้และความประสงค์ที่จะประเมินการสอน มีความใคร่สอน มีความสามารถใน การสร้างมนุษย์สัมพันธ์กับบุคคลอื่น ส่วน Verner et.al.(1992 , p. 44) ระบุว่านอกเหนือจากที่กล่าวมาข้างต้นนั้นครูควรจะ มีการพัฒนาทั้งสิ้น 4 ด้าน ได้แก่ ด้านปฏิสัมพันธ์ ด้านการจัดการเรียนการสอน ด้านการ ประเมินผล และด้านความก้าวหน้าในอาชีพ ดังนั้นสมรรถนะที่สาคัญของครูมีส่วนในการส่งเสริมและพัฒนาการศึกษานั้นประเด็นที่ สาคัญคือ การพัฒนาหลักสูตร คือ ครูจะต้องสามารถวิเคราะห์ ปรับปรุง พัฒนาหลักสูตรได้ ครู จะต้องมีความสามารถด้านการจัดการเรียนรู้ ครูจะต้องมีความสามารถด้านการวัดและ ประเมินผลการศึกษา และความสามารถด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียนให้ประสบความสาเร็จ สมรรถนะครู ICT สมรรถนะที่บุคคลทั่วไปพึงมีนั้นประกอบด้วยความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณลักษณะของ ตัวบุคคล ส่วนสมรรถนะครูนั้นจะเป็นการระบุชัดเจนในเรื่องของการมีความรู้ ทักษะ เจตคติและ การมีพฤติกรรมต่างๆ ที่บ่งบอกถึงความสามารถในด้านที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษา สมรรถนะ ครู ICT ก็เช่นกัน จะเป็นการระบุถึง ความรู้ ทักษะ เจตคติ และความสามารถที่ที่ครู ICT พึงมีเพื่อ พัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน ซึ่งสามารถสรุปวิเคราะห์จากนักการศึกษาและงานวิจัยได้ดังตาราง ต่อไปนี้ได้ดังนี้
  • 6. รวมบทความการศึกษาไทยสู่การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 117 สมรรถนะครู ICT นักการศึกษา / งานวิจัย Kabilan ใจทิพย์ ณ สงขลา กฤษณวรรณ กิติผดุง ดวงใจ อาบใจ จันทิมา แสงเลิศอุทัย ความรู้ - ความรู้ความ เข้าใจด้าน เทคโนโลยี - ความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับเทคโนโลยี - ความรู้ด้าน ภาษาคอมพิวเตอร์ - การโปรแกรม และการ บารุงรักษา - คอมพิวเตอร์ ระบบปฏิบัติการ - เทคโนโลยี สารสนเทศและ การสื่อสาร - เนื้อหาสาระ เทคโนโลยี สารสนเทศ - ข่าวสารด้าน ICT ทักษะ - ทักษะด้าน เทคโนโลยี - ใช้คอมพิวเตอร์เป็น เครื่องมือหลักในการ แสวงหาความรู้และการ สื่อสาร - การเลือก สารสนเทศ - การใช้งาน โปรแกรม / ซอฟต์แวร์ - การใช้ คอมพิวเตอร์ - การใช้โปรอ กรม - การใช้งาน คอมในการเรียน การสอน - การปฏิบัติงาน ของครูโดยใช้ ความรู้ความ ชานาญทาง ICT เจตคติ - แรงจูงใจ/เจต คติในการ ปฏิบัติงาน - การตระหนัก ถึงความสาคัญ ของ ICT - ความมั่นใจ สนใจ พึงพอใจ มุ่งมั่น มีวินัย พยายาม ใฝ่เรียนรู้ - เห็นประโยชน์ ใฝ่เรียนรู้ - รับผิดชอบ - ไม่ละเมิด ลิขสิทธิ์ต่าง ๆ - มีเจตคติทางบวก - เห็นคุณค่า ประโยชน์ สนใจ ใส่ ใจและมุ่งมั่น พฤติกรรม / ความสามารถ - การเรียนรู้ ด้วยตนเอง - การ ปฏิสัมพันธ์กับ บุคคลอื่น - บูรณาการเทคโนโลยี กับการเรียนการสอนใน ชั้นเรียน สร้าง บรรยากาศให้เกิดการ คิดวิเคราะห์ - ปรับปรุงตนเองอยู่ เสมอ จากตารางข้างต้นจะเห็นได้ว่าครูจาเป็นต้องมีสมรรถนะทางด้านเทคโนโลยี กล่าวคือ จะต้องมีความรู้ ทักษะเละเจตคติ ที่ดีต่อการสอนโดยการใช้เทคโนโลยี และการสอนให้ผู้เรียนใช้ เทคโนโลยี รวมถึงการปรับประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์อย่างสร้างสรรค์ ส่วนมหาวิทยาลัย
  • 7. รวมบทความการศึกษาไทยสู่การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 118 ศรีนครินทรวิโรฒ (2551) ได้กาหนดกรอบสมรรถนะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารไว้ใน โครงการบริการวิชาการเพื่อการพัฒนาสมรรถนะด้านไอซีที เป็น 2 กรอบใหญ่ ๆ คือ 1. สมรรถนะหลัก (Core Competency) ด้านไอซีที ประกอบด้วย 6 ประเด็น ดังนี้ 1.1 ความรู้พื้นฐานด้านไอซีที (Basic ICT) หมายถึง การมีสมรรถนะในการใช้ คอมพิวเตอร์ขั้นพื้นฐานเพื่อนาไปใช้ประกอบการทางานต่างๆ อย่างมีประสิทธิภาพ 1.2 การใช้ไอซีทีเพื่อการติดต่อสื่อสาร (ICT for Communication) หมายถึง การมี สมรรถนะในการใช้ไอซีทีเพื่อการติดต่อสื่อสารกับผู้อื่นอย่างมีจรรยาบรรณที่ดีและมีประสิทธิภาพ 1.3 การรู้สารสนเทศ (Information Literacy) หมายถึง การมีสมรรถนะในการเข้าถึง สารสนเทศ การประเมินสารสนเทศที่ได้ และการนาสารสนเทศไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1.4 การจัดการเอกสาร (Document Management) หมายถึง การมีสมรรถนะใน การใช้ไอซีทีเพื่อการจัดการเอกสารต่างๆ อย่างเป็นระบบ และมีความสะดวกในการค้นคืนเอกสาร ต่างๆ มาใช้อย่างมีประสิทธิภาพ 1.5 การนาเสนอด้วยไอซีที (Electronic Presentation) หมายถึง การมีสมรรถนะใน การใช้ไอซีทีเพื่อการนาเสนอข้อมูลที่มีอยู่ในรูปแบบต่างๆ อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ เช่น การนาเสนอข้อมูลด้วยโปรแกรมพรีเซ็นเทชั่น การนาเสนอข้อมูลในรูปตาราง หรือ แผนภูมิ เป็นต้น 1.6 การจัดการข้อมูลและสารสนเทศ (Data & Information Management) หมายถึง การมีสมรรถนะในการใช้ไอซีทีเพื่อจัดการข้อมูลหรือสารสนเทศต่างๆ ที่ได้มาใหม่ โดยจัดทาหรือ ดัดแปลงให้อยู่ในรูปของดิจิทัลอย่างเป็นระบบ เพื่อให้สามารถนาข้อมูลเหล่านั้นมาใช้งานต่างๆ ได้ ในภายหลัง 2. สมรรถนะประจาสายงาน (Functional Competency) หมายถึง การมีสมรรถนะใน การคัดสรรไอซีทีหรือการประยุกต์ไอซีทีที่หลากหลายมาใช้งานได้อย่างเหมาะสม เพื่อให้การ ปฏิบัติงานต่างๆ มีประสิทธิภาพ จะเห็นได้ว่าสมรรถนะสาคัญของครู ICT คือการที่จะต้องเป็นผู้มีทักษะการรู้เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารคลอบคลุมและรอบด้าน ก้าวทันการพัฒนาและเปลี่ยนแปลงของ เทคโนโลยี เลือกใช้เทคโนโลยีให้เกิดประโยชน์กับการจัดการเรียนการสอน มุ่งเน้นและส่งเสริมให้ เกิดการเรียนรู้ของผู้เรียน และมีการพัฒนาตนเองอยู่เสมอ ซึ่งก่อนที่จะพัฒนาให้ผู้เรียนรู้เทคโนโลยี
  • 8. รวมบทความการศึกษาไทยสู่การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 119 สารสนเทศและการสื่อสาร ครูจะต้องมีเทคนิควิธีการในการจัดกระบวนการเรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สื่อ และนวัตกรรมที่ส่งเสริมสนับสนุนให้เกิดการพัฒนาทั้งตัวครูและผู้เรียนอยู่ตลอดเวลา สมรรถนะครู ICT ในศตวรรษที่ 21 การรู้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT Literacy)เป็นสิ่งสาคัญอย่างหนึ่งในยุค ศตวรรษที่ 21 ทั้งนี้เนื่องจากการรู้ไอซีทีจะทาให้บุคคลสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อผล ในทางปฏิบัติในสังคมแห่งความรู้เพื่อเสริมสร้างประสิทธิภาพในการดารงชีวิตได้อย่างที่ควรจะ เป็น ด้วยเหตุดังกล่าวจึงมีความจาเป็นที่ต้องให้ความรู้ความเข้าใจแก่บุคคลทั่วไปในเรื่องของ ทักษะและความสามารถในด้านนี้เพื่อให้สามารถดารงชีวิตอยู่ได้ในโลกยุคปัจจุบันที่เต็มไปด้วย เทคโนโลยี สมรรถนะและความสามารถพื้นฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่จาเป็น สาหรับการศึกษา การเรียนรู้ การทางานและการดารงชีวิต ในยุคแห่งเทคโนโลยีสารสนเทศหรือ สังคมแห่งความรู้ ดังนั้นครูผู้สอนควรมีสมรรถนะที่จะสามารถใช้ในการจัดการเรียนการสอนเพื่อ ส่งเสริมให้ผู้เรียนรู้ ICT ซึ่งมีดังนี้ 1. ความเชี่ยวชาญด้านความรู้ความเข้าใจ (Cognitive Proficiency) เป็นทักษะพื้นฐาน ที่ใช้ในชีวิตประจาวัน ได้แก่ การอ่านการเขียน การคิดวิเคราะห์ การแก้ปัญหา และการคานวณ 2. ความเชี่ยวชาญด้านเทคนิค (Technical Proficiency) หมายถึงองค์ประกอบพื้นฐาน และองค์ประกอบต่างๆ เกี่ยวกับเทคโนโลยีดิจิตอล รวมถึงความรู้พื้นฐานทางด้าน ระบบสื่อสาร ต่างๆ ระบบฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ และระบบเครือข่าย 3. ความเชี่ยวชาญด้านไอซีที (ICT Proficiency) เป็นทักษะที่บูรณาการทักษะพื้นฐาน ด้านการรู้คิดในชีวิตประจาวันกับทักษะทางด้านเทคนิค และสามารถนามาประยุกต์ใช้กับงาน ต่างๆ ได้อย่าเหมาะสม และมีประสิทธิภาพ ทั้งกับงานที่ง่ายไปจนถึงงานที่มีความซับซ้อน ได้อย่าง มีประสบการณ์ กล่าวคือความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เป็นความ ชานาญในการใช้เทคโนโลยีดิจิตอลและเทคโนโลยีการสื่อสารเพื่อ 3.1 การเข้าถึงข้อมูล เป็นความชานาญในการเข้าถึงข้อมูล รู้ว่าจะเก็บและสืบค้น ข้อมูลได้อย่างไร
  • 9. รวมบทความการศึกษาไทยสู่การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 120 3.2 การจัดการกระทากับข้อมูล เป็นความชานาญในการจัดการ จาแนก และจัด กลุ่มข้อมูล 3.3 การวิเคราะห์และแสดงผลข้อมูล เป็นความชานาญในการแปลความหมาย ข้อมูล เปรียบเทียบ วิเคราะห์ หาความสัมพันธ์ของข้อมูล สรุปและแสดงผลข้อมูลได้ 3.4 การประเมินผลข้อมูล เป็นความชานาญในการประเมินคุณภาพ ประโยชน์ใช้ สอย หรือประสิทธิภาพของข้อมูล 3.5 การสร้างข้อมูลขึ้นมาใหม่ เป็นความชานาญในการสร้างข้อมูลขึ้นใหม่โดย อาศัยการดัดแปลง การประยุกต์ใช้ การออกแบบใหม่ การประดิษฐ์คิดค้นหรือการสร้างข้อมูล ขึ้นมาใหม่ ฉะนั้นการจัดการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนสามารถใช้เทคโนโลยีเป็นเครื่องมือในการสื่อสาร เพื่อให้เกิดการเข้าถึง (access) การจัดการ (manage) การบูรณาการ (integrate) การประเมินผล (evaluate) และการสร้างสารสนเทศ (create information) นั้นจึงเป็นหน้าที่หลักสาคัญของครู ICT ซึ่งสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนเรียนรู้เทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสาร เพื่อให้สามารถทางานได้ในสังคมฐานความรู้ เนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลง มิติทั้งทาง สังคม เศรษฐกิจ การเมือง และเทคโนโลยี อันเป็นผลมาจากการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ และ การปรับเปลี่ยนโครงสร้างเศรษฐกิจการเมืองโลก บทสรุป จากประเด็นการศึกษาเรื่องสมรรถนะครู ICT นั้น สมรรถนะที่สาคัญที่ควรนาไปศึกษาและ พัฒนาต่อยอดคือ การจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนเรียนรู้เทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสาร สามารถนาสิ่งทีได้รับจากกระบวนการจัดการเรียนรู้ของครูได้ประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ ต่อตนเองและสังคม ทาอย่างไรครูถึงจะสามารถสอนให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารครบตามองค์ประกอบของการรู้ ICT จะมีวิธีการอย่างไรในการพัฒนาให้ครูสามารถ ออกแบบกระบวนการจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยี ก้าวทันการ เปลี่ยนแปลง รวมถึงรู้เท่าทันเทคโนโลยี และสามารถใช้งานเทคโนโลยีได้อย่างสร้างสรรค์และเกิด
  • 10. รวมบทความการศึกษาไทยสู่การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 121 ประโยชน์สูงสุด การพัฒนาสมรรถนะครูจึงเป็นสิ่งที่สาคัญในการพัฒนาการศึกษา เป็นอีกหนึ่งแรง ผลัดดัน ที่ก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงที่ยิ่งใหญ่ในอนาคต เอกสารอ้างอิง กฤษณวรรณ กิติผดุง.(2541).ความต้องการการพัฒนาสมรรถภาพการใช้คอมพิวเตอร์ของ ครูสังคมศึกษาในโรงเรียนมัธยมศึกษา. วิทยานิพนธ์ .จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. กรุงเทพฯ. ใจทิพย์ ณ สงขลา. (2547). สมรรถภาพครูในยุคแห่งการเรียนอิเล็กทรอนิกส์. วารสารครุศาสตร์. 32(3), 120-128. ดวงรัตน์ อาบใจ .(2547). สมรรถภาพที่พึงประสงค์สาหรับครูมัธยมศึกษาตอนต้นที่ใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สาหรับโรงเรียนพัฒนาการศึกษา ระดับ มัธยมศึกษาตอนต้น.วิทยานิพนธ์.จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.กรุงเทพฯ มาลิดา อินทรีมีศักดิ์ . (2541) .สมรรถภาพของครูระดับก่อนประถมศึกษา สังกัดสานักงาน การประถมศึกษา จังหวัดนครปฐม.วิทยานิพนธ์.มหาวิทยาลัยศิลปากร.กรุงเทพฯ. สุนันท์ สังข์อ่อน, รัชนี ชังชูและดวงใจ ผือโย. (2544). การพัฒนาสมรรถภาพครูในการสร้างและ ใช้หลักสูตรและการสอนแบบบูรณาการในระดับประถมศึกษา. วารสารศึกษาศาสตร์ ปริทัศน์. 16(3), 51-55. อภิรักษ์ วรรณสาธพ. (2545). คน : Competencyความท้าทายขององค์กรยุคใหม่. Productivity World. 7(41), 17-27. อุกฤษณ์ กาญจนเกตุ. (2543). Competency-Based Human Management. การบริหารคน. 21(4), 19-22. Hornby, Derek and Thomas, Reymond. (1989). Toward a Better Standard of management. Personal Management. 21(1), 52-55. Kabilan, Muhammad Kamarul. (2004). Online Professional Development : A Literature Analysis of Teacher Competency. Journal of Computing in Teacher Education. 21(2), 51-57.
  • 11. รวมบทความการศึกษาไทยสู่การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 122 McClelland, D. C. (1973). Testing for Competency Rather than the Intelligence. American Psychologist. 28(1), 1-14. Woodruffe, Charles. (1992). What is meant by competency?. New York : McGraw-Hill.