SlideShare a Scribd company logo
1 of 49
Download to read offline
คูมือครู
㪌»ÃСͺ¡ÒÃÊ͹ËÇÁ¡Ñº

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ©ºÑº Í- .

·Õè ȸ. ¨Ð»ÃСÒÈÃÒ¡Òú¹àÇçºä«µ
µÑé§áµ‹ Á. ¤. ’55 ໚¹µŒ¹ä»

ภาพปกนี้มีขนาดเทากับหนังสือเรียนฉบับจริงของนักเรียน
เอกสารประกอบคูมือครู

กลุมสาระการเรียนรู สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

รายวิชา

พระพุทธศาสนา

ครู
รับ

สําห

ชั้นมัธยมศึกษาปที่

เอกสารหลักสูตรแกนกลางฯ ’51 ประกอบดวย
●
●
●
●
●

คําแนะนําการใชคูมือครู
แถบสี/สัญลักษณที่ใชสื่อความหมายในคูมือครู
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง
คําอธิบายรายวิชา
ตารางวิเคราะหเนื้อหากับมาตรฐานการเรียนรู
และตัวชี้วัด

ตารางแสดงความแตกตางระหวาง “ คูมือครู ” กับ “ หนังสือเรียน * ”
ความแตกตาง

ขนาดตัวอักษร
ปกดานหลัง
ระบบการจัดพิมพ
สวนเสริมดานหนา

คูมือครู
ยอลงจากปกติ 20%

พิมพ 4 สี
มี เอกสารหลักสูตร
คําอธิบายรายวิชา
มี กิจกรรมแบบ 5E
ความรูเสริมสําหรับครู
พิมพสอดแทรกไวตลอดทั้งเลม
●

หนังสือเรียน
ขนาดปกติ 100% : ตัวอักษรใหญกวา
ที่พิมพในคูมือครูนี้
มีใบอนุญาต/ใบประกันคุณภาพ
พิมพ 4 สี

-

●

เนื้อหาในเลม

●
●

* ที่ ศธ. อนุญาตใหโรงเรียนใชได

มีเฉพาะเนื้อหาสาระตามที่ ศธ.
อนุญาตฯ/สนพ.ประกันคุณภาพ

3
คําแนะนําการใชคูมือครู

: การจัดการเรียนรูสูหองเรียนคุณภาพ

คูมอครู พระพุทธศาสนา ม.3 จัดทําขึนเพืออํานวยความสะดวกแกครูผสอนในการวางแผนและเตรียมการสอน
ื
้ ่
ู
โดยใชหนังสือเรียน พระพุทธศาสนา ม.3 ของบริษัท อักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด เปนสื่อหลัก (Core Material)
เสร�ม ประกอบการออกแบบกิจกรรมการเรียนรูใหสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดกลุมสาระการเรียนรู
2 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม รายวิชา พระพุทธศาสนา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน พ.ศ. 2551
้ ้
โดยจัดทําตามหลักการสําคัญ ดังนี้

1. ออกแบบการสอนเปนหนวยการเรียนรูอิงมาตรฐาน

คูมือครู พระพุทธศาสนา ม.3 จัดทําเปนหนวยการเรียนรูตามลําดับสาระการเรียนรูที่ระบุไวในมาตรฐาน
การเรียนรูและตัวชี้วัด แตละหนวยจะกําหนดเปาหมายการสอนและจุดประสงคการเรียนรู (Objective Learning)
กิจกรรมการเรียนรู (Learning Activities) และแนวทางการประเมินผลการเรียนรู (Learning Evaluation)
ไวชัดเจน ครูผูสอนสามารถจัดทําแผนการสอนใหครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดที่เปนเปาหมาย
การเรียนรูของแตละหนวยการเรียนรู (ตามแผนภูมิ) และสามารถบันทึกผลการจัดการเรียนการสอนไดอยางมั่นใจ



สภ

าพ

ผู

จุดป

น

ระส

เรีย

งค

ก

ู

ียนร

ร
า รเ

มาตรฐานการเรียนรู
ตัวชี้วัดชั้นป

ทักษะการคิด
การวัดประเมินผล
การเรียนรู

กิจกรรมการเรียนรู

เทคนิคการสอน

แผนภูมิแสดงองคประกอบของการออกแบบการเรียนรูอิงมาตรฐานและเนนผูเรียนเปนสําคัญ

2. การจัดการเรียนรูที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญ

แนวคิดในการจัดการเรียนการสอนที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญ พัฒนามาจากปรัชญาและทฤษฎีการเรียนรู
Constructivism ที่เชื่อวาการเรียนรูเปนกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในสมองของผูเรียนแตละคน ผูเรียนเปนผูสราง
ความรูโดยการเชื่อมโยงระหวางสิ่งที่ไดพบเห็นกับความรูหรือประสบการณเดิมที่มีอยู
ทฤษฎีนี้มีความเชื่อวา นักเรียนทุกคนไดเรียนรูและมีความรูความเขาใจสิ่งตางๆ ติดตัวมากอนที่จะเขาสู
หองเรียน ซึงเปนการเรียนรูทเี่ กิดจากบริบทและสิงแวดลอมรอบตัวนักเรียนแตละคน ดังนันการจัดกระบวนการเรียนรู
่

่
้
ในแตละบทเรียน ผูสอนจะตองคํานึงถึง
คูมอครู
 ื
1) ความรูเดิมของนักเรียน
การสอนที่ดีจึงตองเริ่มตนจากจุดที่วา
นักเรียนมีความรูอะไรมาบาง แลวจึงให
ความรูหรือประสบการณใหมเพือตอยอด

่
จากความรูเดิม

2) ความรูเ ดิมของนักเรียนถูกตอง
หรือไม ผูสอนตองปรับเปลี่ยนความรู
ความเขาใจเดิมของนักเรียนใหถูกตอง
และเปนพฤติกรรมการเรียนรูใหมที่มี
คุณคาตอนักเรียน เพื่อสรางเจตคติหรือ
ทัศนคติที่ดีตอการเรียน

3) นั ก เรี ย นสร า งความหมาย
สําหรับตนเอง ผูสอนตองสงเสริมให
นักเรียนนําขอมูลความรูที่ไดไปลงมือ
ปฏิ บั ติ และประยุ ก ต ใ ช ค วามรู  อ ย า ง
ถู ก ต อ ง ในบริ บ ทที่ เ ป น จริ ง ของชี วิ ต
นักเรียน เพื่อขยายความรูใหลึกซึ้งและ
มีคุณคาตอตัวนักเรียนมากที่สุด

เสร�ม

3

แนวคิด Constructivism เนนใหผเู รียนสรางความรูโดยผานกระบวนการคิดและความอยากรูของตนเอง


โดยมีผูสอนเปนผูสรางบรรยากาศการเรียนรูและกระตุนความสนใจ คอยจัดสถานการณใหผูเรียนเกิดความ
ขัดแยงทางความคิดระหวางประสบการณเดิมกับประสบการณความรูใหม ผูเรียนจะพยายามปรับขอมูลใหม
กับประสบการณที่มีอยูเดิม แลวสรางเปนความรูใหมหรือแนวคิดใหมๆ ไดดวยตนเอง

3. การบูรณาการกระบวนการคิด

การเรียนรูของนักเรียนแตละคนจะเกิดขึนทีสมองซึงทําหนาทีรคด ภายใตสภาพแวดลอมทีเ่ อืออํานวย และ

้ ่
่
่ ู ิ
้
ไดรับการกระตุนจูงใจอยางเหมาะสมสอดคลองกับสภาพจิตใจและความตองการของนักเรียน การจัดกระบวนการ
เรียนรูและสาระการเรียนรูที่มีความหมายตอผูเรียนนั้น จะชวยกระตุนใหสมองรับรูและสามารถเรียนรูไดอยางมี
ประสิทธิภาพตามขั้นตอนการทํางานของสมอง ดังนี้
1) สมองจะเรียนรูและสืบคนโดย
2) สมองจะแยกแยะคุ ณค าของ
การสังเกต คนหา ซักถาม และทดลอง สิงตางๆ โดยการลงมติ ตัดสินใจ วิพากษ
่
ปฏิบัติ จนคนพบความรูความเขาใจได วิจารณ แสดงความคิดเห็น ยอมรับหรือ
อยางรวดเร็ว
ตอตานตามอารมณความรูสึกที่เกิดขึ้น
ในขณะที่เรียนรู

3) สมองจะประมวลเนื้ อ หาสาระ
โดยการสรุปเปนความคิดรวบยอดจาก
เรื่องราวที่ไดเรียนรูใหมนําไปผสมผสาน
กับความรู หรือประสบการณเดิมที่ถูก
จัดเก็บอยูในสมอง ผานการกลั่นกรอง
เพื่อสังเคราะหเปนความรูความเขาใจ
ใหมๆ หรือเปนเหตุผลทัศนคติใหมที่จะ
ฝงแนนในสมองของผูเรียน

การเรียนรูที่มีประสิทธิภาพจึงตองเปนการเรียนรูที่เกิดจากกระบวนการคิดของผูเรียน เพราะการเรียนรูจะ
เกิดขึ้นเมื่อสมองรูคิดและตองเปนการคิดไดครบถวนตามขั้นตอนการทํางานของสมอง โดยเริ่มตนจาก
1) ระดับการคิดขั้นพื้นฐาน ไดแก 2) ระดั บ ลั ก ษณะการคิ ด ได แ ก 3) ระดั บ กระบวนการคิ ด ได แ ก
การสังเกต การจําแนก การคาดคะเน การคิดกวาง คิดลึกซึ้ง คิดหลากหลาย กระบวนการคิ ด อย า งมี วิ จ ารณญาณ
การสื่อความหมาย การรวบรวมขอมูล คิดไกล คิดคลอง คิดอยางมีเหตุผล กระบวนการแกปญหา กระบวนการคิด
การสรุปผล เปนตน
เปนตน
สรางสรรค กระบวนการคิดสังเคราะห
วิจัย เปนตน

คูมอครู
 ื
4. การบูรณาการกระบวนการเรียนรูพื้นฐานอาชีพ

กระทรวงศึกษาธิการมีนโยบายสงเสริมการเรียนพืนฐานอาชีพในระดับการศึกษาขันพืนฐาน เพือเสริมสรางทักษะที่
้
้ ้
่
จําเปนสําหรับการประกอบอาชีพ และดํารงชีวตในสังคมทองถินของผูเ รียนอยางมีความสุข และเปนการเตรียมความพรอม
ิ
่
ีั ้
่

เสร�ม ดานกําลังคนใหมทกษะพืนฐานและศักยภาพในการทํางาน เพือการแขงขันและกาวสูประชาคมอาเซียนหรือประชาคมโลก
4 ตอไป
4.1 ทักษะพื้นฐานเพื่อการประกอบอาชีพ การจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาผูเรียนในรายวิชาพื้นฐาน
ทุกกลุมสาระการเรียนรูและทุกระดับชั้นเรียน ผูสอนควรบูรณาการประสบการณการเรียนรูพื้นฐานอาชีพควบคู
ไปกั บ การเรี ย นการสอนด า นวิ ช าการ โดยฝ ก ทั ก ษะสํ า คั ญ ตามที่ สํ า นั ก วิ ช าการและมาตรฐานการศึ ก ษา (สวก.)
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) เสนอแนะไว ดังนี้
1. ฝกทักษะกระบวนการคิด มีการวางแผนตลอดแนว เพื่อศึกษาขอมูลอาชีพ
2. ฝกการตัดสินใจอยางเปนระบบ โดยใชขอมูลจากการศึกษา คนควาแหลงเรียนรูในชุมชน เพื่อลดความ
เสี่ยงในการลงทุนและเพิ่มความมั่นใจเรื่องการตลาด
3. ฝกกระบวนการวางแผน การผลิต และการจัดจําหนาย โดยนักเรียนคิดตนทุน กําไรดวยตนเอง
4. ฝกการเรียนรูเรื่องคุณธรรม จริยธรรม ดานการประกอบอาชีพ และการทํางานกลุม โดยมีจิตอาสาเพื่อ
สวนรวม
5. ฝกการทํางานอยางมีประสิทธิภาพ มีการประเมินผล ปรับปรุง พัฒนา และสรางสรรคตอยอดผลผลิต
6. ฝกการเสริมสรางความเชื่อมั่น ความเพียรพยายาม เห็นคุณคาและภาคภูมิใ จในตนเอง (Self
Esteem) ในการประกอบอาชีพ และเจตคติในพื้นฐานทางอาชีพ
การจัดการเรียนการสอนที่ใหผูเรียนไดลงมือปฏิบัติทักษะดังกลาว จะชวยใหผูเรียนไดรับประสบการณจริง
มีทักษะ ความสามารถ และความชํานาญในการทํางานที่จะใชในการประกอบอาชีพและเปนแรงงานที่มีคุณภาพเขาสู
ตลาดแรงงานในอนาคต
4.2 การจัดกระบวนการเรียนรูพื้นฐานอาชีพ การจัดกระบวนการเรียนรูมีความสําคัญอยางยิ่งที่จะชวยให
นั ก เรี ย นมี ก ารพั ฒ นาทั้ ง ด า นความรู  ทั ก ษะ และคุ ณ ลั ก ษณะตามเป า หมายของหลั ก สู ต ร การพั ฒ นาผู  เ รี ย น
ดานทักษะพื้นฐานอาชีพตองอาศัยกระบวนการเรียนรูที่หลากหลายเปนเครื่องมือที่จะนําไปสูคุณภาพที่ตองการ
เทคนิควิธีการตางๆ ที่ผูสอนจะตองพิจารณาใหเหมาะสมกับเนื้อหาวิชาและวัยของผูเรียน โดยใหความสําคัญกับ
การฝ ก ปฏิ บั ติ แ ละเน น การวั ด ประเมิ น ผลจากการปฏิ บั ติ ต ามสภาพจริ ง ด ว ยวิ ธี ก ารที่ จั ด กิ จ กรรมการบู ร ณาการ
ให เ หมาะสมกั บ วั ย และระดั บ ชั้ น ของผู  เ รี ย น สอดคล อ งกั บ มาตรฐานการเรี ย นรู  แ ละตั ว ชี้ วั ด ของกลุ ม สาระต า งๆ
ที่กําหนดไวในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 การวิเคราะหมาตรฐานและตัวชี้วัดที่จะนําไป
จัดเนื้อหาความรูและทักษะ เพื่อพัฒนาผูเรียนดานพื้นฐานอาชีพ ดังตัวอยางตอไปนี้
1. กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย
กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทยมุงเนนการพัฒนาใหผูเรียนมีความรูความสามารถในการใชภาษาไทย
เพื่ อ การสื่ อ สาร เป น เครื่ อ งมื อ ในการเรี ย นรู  การแสวงหาความรู  และประสบการณ ต  า งๆ เพื่ อ พั ฒ นาความรู 
กระบวนการคิดวิเคราะห วิจารณ และสรางสรรค ใหทันตอการเปลี่ยนแปลงของสังคมและความกาวหนาทาง
วิทยาศาสตร เทคโนโลยี จึงเปนกลุมสาระการเรียนรูที่เปนทักษะพื้นฐานการประกอบอาชีพทุกอาชีพ ตัวชี้วัดที่
สามารถนํามาพัฒนาทักษะอาชีพ เชน
คูมอครู
 ื
ท 2.1 ม.1/8 เขียนรายงานการศึกษาคนควาและโครงงาน
ท 1.1 ม.4-6/8 สังเคราะหความรูจากการอานสื่อสิ่งพิมพ สื่ออิเล็กทรอนิกส และแหลงเรียนรู
ตางๆ มาพัฒนาตน พัฒนาการเรียน และพัฒนาความรูทางอาชีพ
ท 2.1 ม.4-6/4 ผลิตงานเขียนของตนเองในรูปแบบตางๆ
เสร�ม
ท 2.1 ม.4-6/5 ประเมินงานเขียนของผูอื่น แลวนํามาพัฒนางานเขียนของตนเอง
5
การจัดการเรียนการสอนตามตัวชี้วัดดังกลาวขางตน จะเปนทักษะพื้นฐานของการนําไปสูอาชีพ
ทุกอาชีพ และเปนการปูทางไปสูอาชีพเฉพาะเกี่ยวกับการเขียน เชน นักเขียน นักประพันธ นักหนังสือพิมพ
นักวิจารณ เปนตน
2. กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรมุงเนนการพัฒนาผูเรียนในการเชื่อมโยงความรูกับกระบวนการ
มีทักษะสําคัญในการคนควาและสรางองคความรู พัฒนาวิธีการคิด ทั้งความคิดที่เปนเหตุเปนผล คิดสรางสรรค
คิดวิเคราะห วิจารณ โดยใชกระบวนการในการสืบเสาะหาความรู การแกปญหาที่หลากหลาย เพื่อใหมีความรู
ความเขาใจในธรรมชาติและเทคโนโลยี นําความรูไปใชอยางมีเหตุผล มีคุณธรรม และอยูในสังคมแหงการเรียนรู
ไดอยางเหมาะสม โดยมีมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดที่เปนพื้นฐานของการประกอบอาชีพตางๆ มากมาย เชน
ว 1.1 ม.1/13 อธิ บ ายหลั ก การและผลของการใช เ ทคโนโลยี ชี ว ภาพในการขยายพั น ธุ
ปรับปรุงพันธุและเพิ่มผลผลิตของพืช และนําความรูไปใชประโยชน
ว 1.1 ม.2/4 อธิบายหลักการและผลของการใชเทคโนโลยีชีวภาพในการขยายพันธุ ปรับปรุง
พันธุและเพิ่มผลผลิตของสัตว และนําความรูไปใชประโยชน
ว 1.2 ม.4-6/3 สืบคนขอมูลและอภิปรายผลของเทคโนโลยีชวภาพทีมตอมนุษยและสิงแวดลอม
ี
่ี
่
และนําความรูไปใชประโยชน
การจัดการเรียนการสอนตามตัวชี้วัดดังกลาวขางตนจะเปนทักษะพื้นฐานของการนําไปสูอาชีพที่
เกี่ยวกับเกษตรกร วิทยาศาสตร การเกษตร นักวิจัย เปนตน
3. กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมมุงเนนการพัฒนาใหผูเรียนมีความรูความ
เขาใจเกี่ยวกับการดํารงชีวิตของมนุษย การอยูรวมกันในสังคมที่มีความเชื่อมโยงสัมพันธกัน มีความแตกตางกัน
อยางหลากหลาย สามารถจัดการทรัพยากรทีมอยูอยางจํากัด และเขาใจการเปลียนแปลง เพือชวยใหสามารถปรับ
่ี 
่
่
ตนเองกับบริบทและสภาพแวดลอม เปนพลเมืองดี มีความรับผิดชอบ มีความรู ทักษะ คุณธรรม และคานิยมที่
เหมาะสม มีมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดที่เปนพื้นฐานของการประกอบอาชีพตางๆ เชน
ส 4.3 ม.1/3 วิเคราะหอิทธิพลของวัฒนธรรมและภูมิปญญาไทยสมัยสุโขทัยและสังคมไทยใน
ปจจุบัน
ส 4.3 ม.2/3 ระบุภมปญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยาและธนบุรี และอิทธิพลของภูมปญญา
ูิ
ิ
ดังกลาวตอการพัฒนาชาติไทยในยุคตอมา
ส 4.3 ม.3/3 วิเคราะหภมปญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร และอิทธิพลตอการพัฒนา
ูิ
ชาติไทย
คูมอครู
 ื
ส 4.3 ม.4-6/3 วางแผนกําหนดแนวทางและการมีสวนรวมในการอนุรักษภูมิปญญาไทยและ
วัฒนธรรมไทย
การจัดการเรียนการสอนตามตัวชี้วัดดังกลาวขางตนจะเปนทักษะพื้นฐานและสรางเจตคติตออาชีพ
่
ิ
่
ิ
เสร�ม เกียวกับภูมปญญาไทยในทองถิน เชน นักโบราณคดี นักประวัตศาสตร แพทยแผนโบราณ นวดแผนไทย ชางทอผา
ไ
่
6 จักสาน นักดนตรีญทย การทําขนมหรืออาหารไทย เปนตน และเปนรากฐานของการศึกษาเพือพัฒนาตอยอดอาชีพ
ที่มีฐานของภูมิป ญาไทย
4. กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา
กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา เปนการศึกษาเพื่อการดํารงสุขภาพ การเสริมสราง
สุขภาพ และการพัฒนาคุณภาพชีวิต มุงใหผูเรียนพัฒนาพฤติกรรมดานความรู เจตคติ คุณธรรม คานิยม และ
การปฏิบัติเกี่ยวกับสุขภาพ และการใชกิจกรรมเคลื่อนไหว การออกกําลังกาย การเลนเกมและกีฬา เปนเครื่องมือ
พัฒนาทั้งดานรางกาย จิตใจ อารมณ สังคม สติปญญา รวมทั้งสมรรถภาพเพื่อสุขภาพและกีฬา โดยมีมาตรฐาน
และตัวชี้วัดที่เปนพื้นฐานของการประกอบอาชีพตางๆ เชน
ตัวชี้วัด
พ 3.2 ม.1/2 ออกกําลังกายและเลือกเขาเลนกีฬาตามความถนัด ความสนใจ อยางเต็ม
ความสามารถ พรอมทั้งมีการประเมินการเลนของตนและผูอื่น
พ 3.2 ม.4-6/1 ออกกําลังกายและเลนกีฬาที่เหมาะสมกับตนเองอยางสมํ่าเสมอและใชความ
สามารถของตนเองเพิ่มศักยภาพของทีม ลดความเปนตัวตน คํานึงถึงผล
ที่เกิดตอสังคม
การจัดการเรียนการสอนตามตัวชี้วัดดังกลาวนอกจากจะเปนการสรางทักษะพื้นฐานในอาชีพ
ดานการกีฬา เชน นักฟุตบอล นักวอลเลยบอล นักมวย นักเทนนิส นักลีลาศ ฯลฯ ยังชวยเสริมสรางปลูกฝงทักษะ
และเจตคติในการทํางานเปนทีมและทํางานกับผูอื่น ซึ่งเปนสิ่งสําคัญในการประกอบอาชีพทุกประเภทอีกดวย
5. กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ
กลุมสาระการเรียนรูศิลปะเปนกลุมสาระการเรียนรูที่ชวยพัฒนาใหผูเรียนมีความคิดสรางสรรค มี
จินตนาการทางศิลปะ ชื่นชมความงาม มีสุนทรียภาพ ซึ่งมีผลตอคุณภาพชีวิตมนุษย พัฒนาใหผูเรียนเกิดความรู
ความเขาใจ มีทกษะวิธการทางศิลปะ เกิดความซาบซึงในคุณคาของศิลปะ เปดโอกาสใหผเู รียนแสดงออกอยางอิสระ
ั
ี
้
โดยมีตัวอยางมาตรฐานและตัวชี้วัดที่เปนพื้นฐานของการประกอบอาชีพตางๆ มากมาย เชน
ทัศนศิลป
ศ 1.1 ม.1/5 ออกแบบรูปภาพ สัญลักษณ หรือกราฟกอืนๆ ในการนําเสนอความคิดและขอมูล
่
ศ 1.1 ม.2/3 วาดภาพดวยเทคนิคที่หลากหลายในการสื่อความหมายและเรื่องราวตางๆ
ศ 1.1 ม.3/7 สรางสรรคงานทัศนศิลปสอความหมายเปนเรืองราวโดยประยุกตใชทศนธาตุและ
ื่
่
ั
หลักการออกแบบ
ศ 1.1 ม.4-6/10 สรางสรรคงานทัศนศิลปไทย สากลโดยศึกษาจากแนวคิดและวิธีการสรางงาน
ของศิลปนที่ตนชื่นชอบ
การจัดการเรียนการสอนตามตัวชีวดดังกลาวจะเปนทักษะพืนฐานในการพัฒนาไปสูอาชีพทีแสดงออก
้ั
้

่
ทางศิลปะและการสรางสรรค เชน จิตรกร นักออกแบบเสื้อผา เครื่องแตงกายและเครื่องใช สถาปนิก มัณฑนากร
เปนตน
คูมอครู
 ื
ดนตรี
ศ 2.1 ม.1/3
ศ 2.1 ม.2/3
ศ 2.1 ม.3/3

รองเพลงและใชเครืองดนตรีบรรเลงประกอบการรองเพลงดวยบทเพลงทีหลากหลาย
่
่
รองเพลงและเลนดนตรีเดี่ยวและรวมวง
รองเพลง เลนดนตรีเดี่ยวและรวมวง โดยเนนเทคนิคการรอง การเลน
เสร�ม
การแสดงออก และคุณภาพเสียง
7
ศ 2.1 ม.4-6/4 อาน เขียน โนตดนตรีไทยและสากลในอัตราจังหวะตางๆ
การจัดการเรียนการสอนตามตัวชีวดดังกลาวจะเปนทักษะพืนฐานในการพัฒนาไปสูอาชีพทางดนตรี
้ั
้

เชน นักรอง นักดนตรี นักแตงเพลง เปนตน
นาฏศิลป
ศ 3.1 ม.1/3 แสดงนาฏศิลปและละครในรูปแบบงายๆ
ศ 3.1 ม.2/2 สรางสรรคการแสดงโดยใชองคประกอบนาฏศิลปและการละคร
ศ 3.1 ม.3/6 รวมจัดงานการแสดงในบทบาทหนาที่ตางๆ
ศ 3.1 ม.4-6/2 สรางสรรคละครสั้นในรูปแบบที่ชื่นชอบ
การจัดการเรียนการสอนตามตัวชี้วัดดังกลาวจะเปนทักษะพื้นฐานในการพัฒนาไปสูอาชีพทาง
นาฏศิลปหรือการแสดง เชน นาฏลีลา นักแสดง นักจัดการแสดง ผูกํากับการแสดง นักแตงบทละคร เปนตน
6. กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี
กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยีมุงพัฒนาใหผูเรียนมีฐานความรูความสามารถ
และทักษะที่จําเปนสําหรับนําไปปรับใชในการประกอบอาชีพและการศึกษาตอในสาขาอาชีพตางๆ ไดอยาง
หลากหลาย รวมทั้งใหเห็นแนวทางในการประกอบอาชีพและการศึกษาตอตามความรู ความถนัด และความสนใจ
มาตรฐานและตัวชีวดของกลมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยีสวนใหญมลกษณะเปนทักษะกระบวนการ
้ั
ุ


ีั
ทํางาน ซึ่งผูสอนสามารถจัดเนื้อหาและกิจกรรมการสอนใหสอดคลองกับความตองการของผูเรียนและทองถิ่นได
เพื่อพัฒนาไปสูการประกอบอาชีพตางๆ เชน
ง 1.1 ม.4-6/2 สรางผลงานอยางมีความคิดสรางสรรค และมีทักษะการทํางานรวมกัน
ง 1.1 ม.4-6/7 ใชพลังงาน ทรัพยากรในการทํางานอยางคุมคาและยั่งยืน เพื่อการอนุรักษ
สิ่งแวดลอม
ง 4.1 ม.2/3 มีทักษะพื้นฐานที่จําเปนสําหรับการประกอบอาชีพที่สนใจ
ง 4.1 ม.3/3 ประเมินทางเลือกในการประกอบอาชีพทีสอดคลองกับความรู ความถนัด และความ
่
สนใจของตนเอง
ง 4.1 ม.4-6/2 เลือกและใชเทคโนโลยีอยางเหมาะสมกับอาชีพ
ง 4.1 ม.4-6/3 มีประสบการณในอาชีพที่ถนัดและสนใจ
การจัดรายวิชาพื้นฐานในกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยีจึงสามารถดําเนินการ
ไดอยางหลากหลาย ทั้งอาชีพในกลุมเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม ความคิดสรางสรรค การบริหาร
จัดการ และการบริการ ตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ และสอดคลองกับบริบทของทองถิ่น ความพรอม
ของสถานศึกษา และความตองการของผูเรียนเปนสําคัญ
คูมอครู
 ื
เพือเปนแนวทางการพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนใหสนองตามนโยบายการจัดการเรียนการสอน
่
พื้นฐานอาชีพในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานของรัฐบาลและกระทรวงศึกษาธิการ ผูจัดทําจึงวิเคราะหมาตรฐาน
การเรียนรูและตัวชี้วัดในรายวิชา พระพุทธศาสนา ที่สอดคลองกับทักษะปฏิบัติเพื่อเตรียมความพรอมดานพื้นฐาน
เสร�ม อาชีพ โดยเสนอแนะกิจกรรมการเรียนรูไวเปนแนวทางในการจัดการเรียนการสอนบูรณาการประสบการณ
8 การทํางานแกผูเรียน ใหบรรลุเจตนารมณของพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 7 ที่ระบุให
การจัดการศึกษาตองปลูกฝงใหเยาวชนมีความรูอันเปนสากล มีจิตสํานึกในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดลอม ตลอดจนมีความสามารถในการประกอบอาชีพ รูจักพึ่งตนเอง และมีความคิดสรางสรรค เพื่อ
การดํารงชีวิต การศึกษาตอและการประกอบอาชีพอยางมีคุณภาพของผูเรียนตอไปในอนาคต

5. การใชวัฏจักรการเรียนรู 5E

รูปแบบการสอนทีสมพันธกบกระบวนการคิดและการทํางานของสมองของผูเ รียนทีนยมใชอยางแพรหลาย
่ั
ั
่ิ
คือ วัฏจักรการเรียนรู 5E ซึ่งผูจัดทําคูมือครูไดนํามาใชเปนแนวทางออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนในคูมือครู
ฉบับนี้ตามลําดับขั้นตอนการเรียนรู ดังนี้
ขั้นที่ 1 กระตุนความสนใจ (Engage)
เปนขันทีผสอนนําเขาสูบทเรียน เพือกระตุนความสนใจของนักเรียนดวยเรืองราวหรือเหตุการณทนาสนใจ
้ ่ ู

่

่
ี่ 
โดยใชเทคนิควิธการสอนและคําถามทบทวนความรูหรือประสบการณเดิมของผูเ รียน เพือเชือมโยงผูเ รียนเขาสู
ี

่ ่
บทเรียนใหม ชวยใหนักเรียนสามารถสรุปประเด็นสําคัญที่เปนหัวขอการเรียนรูของบทเรียนได จึงเปนขั้นตอน
การสอนที่สําคัญ เพราะเปนการเตรียมความพรอมและสรางแรงจูงใจใฝเรียนรูแกผูเรียน
ขั้นที่ 2 สํารวจคนหา (Explore)
เปนขันทีผสอนเปดโอกาสใหผเู รียนไดสงเกตและรวมมือกันสํารวจ เพือใหเห็นปญหา รวมถึงวิธการศึกษา
้ ่ ู
ั
่
ี
คนควาขอมูลความรูที่จะนําไปสูความเขาใจประเด็นปญหานั้นๆ
เมื่อนักเรียนทําความเขาใจในประเด็นหัวขอที่จะศึกษาคนควาอยางถองแทแลวก็ลงมือปฏิบัติ เพื่อเก็บ
รวบรวมขอมูลความรู สํารวจตรวจสอบ โดยวิธการตางๆ เชน สัมภาษณ ทดลอง อานคนควาขอมูลจากเอกสาร
ี
แหลงขอมูลตางๆ จนไดขอมูลความรูตามที่ตั้งประเด็นศึกษาไว
ขั้นที่ 3 อธิบายความรู (Explain)
เปนขันทีผสอนมีปฏิสมพันธกบผูเ รียน เชน ใหการแนะนํา หรือตังคําถามกระตุนใหคด เพือใหผเู รียนไดคนหา
้ ่ ู
ั
ั
้
 ิ ่

คําตอบ และนําขอมูลความรูจากการศึกษาคนควาในขั้นที่ 2 มาวิเคราะห แปลผล สรุปผล และนําเสนอผล
ที่ไดศึกษาคนความาในรูปแบบสารสนเทศตางๆ เชน เขียนแผนภูมิ แผนผังแสดงมโนทัศน เขียนความเรียง
เขียนรายงาน เปนตน สมองของผูเรียนจะทําหนาที่คิดวิเคราะห สังเคราะหอยางเปนระบบ

คูมอครู
 ื
ขั้นที่ 4 ขยายความเขาใจ (Expand)
เปนขั้นที่ผูสอนไดใชเทคนิควิธีการสอนที่จะชวยพัฒนาผูเรียนใหนําความรูที่เกิดขึ้นไปคิดคนตอๆ ไป
เพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรูและการทํางานรวมกันเปนกลุม ระดมสมองเพื่อคิดสรางสรรครวมกัน
นักเรียนสามารถนําความรูที่สรางขึ้นใหมไปเชื่อมโยงกับประสบการณเดิม โดยนําขอสรุปที่ไดไปอธิบาย
ในเหตุการณตางๆ หรือนําไปปฏิบัติในสถานการณใหมๆ ที่เกี่ยวของกับชีวิตประจําวันของตนเอง เพื่อขยาย
ความรูความเขาใจใหกวางขวางยิงขึน สมองของผูเ รียนทําหนาทีคดริเริมสรางสรรคอยางมีคณภาพ เสริมสราง

่ ้
่ิ ่
ุ
วิสัยทัศนใหกวางไกลออกไป

เสร�ม

9

ขั้นที่ 5 ตรวจสอบผล (Evaluate)
เปนขันทีผสอนใชประเมินมโนทัศนของผูเ รียน โดยตรวจสอบจากความคิดทีเ่ ปลียนไปและความคิดรวบยอด
้ ่ ู
่
ที่เกิดขึ้นใหม ตรวจสอบทักษะ กระบวนการปฏิบัติ การแกปญหา การตอบคําถามรวบยอด และการเคารพ
ความคิดหรือยอมรับเหตุผลของคนอื่น เพื่อการสรางสรรคความรูรวมกัน
นักเรียนสามารถประเมินผลการเรียนรูของตนเอง เพื่อสรุปผลวานักเรียนมีความรูอะไรเพิ่มขึ้นมาบาง
มากนอยเพียงใด และจะนําความรูเหลานั้นไปประยุกตใชในการเรียนรูเรื่องอื่นๆ ไดอยางไร นักเรียนจะเกิด
เจตคติและเห็นคุณคาของตนเองจากผลการเรียนรูที่เกิดขึ้น ซึ่งเปนการเรียนรูที่มีความสุขอยางแทจริง
การจัดกิจกรรมการเรียนรูตามวัฏจักรการสรางความรูแบบ 5E จึงเปนรูปแบบการเรียนการสอนที่เนน
ผูเ รียนเปนสําคัญ โดยสงเสริมใหผเู รียนใชกระบวนการสรางความรูดวยตนเอง ฝกฝนใหใชกระบวนการคิด และ

กระบวนการกลุมอยางชํานาญ กอใหเกิดทักษะการเรียนรูและทักษะชีวิตที่มีคุณภาพ ตามเปาหมายของการ
ปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) ทุกประการ
คณะผูจัดทํา

คูมอครู
 ื
แถบสีและสัญลักษณ ที่ใชสื่อความหมายในคูมือครู
1. แถบสี

แถบสีแสดงขั้นตอนการสอนและการจัดกิจกรรม
แบบ 5E เพื่อใหครูทราบวาเปนขั้นการสอนขั้นใด

เสร�ม

10

สีแดง

สีเขียว

สีสม

กระตุนความสนใจ


สํารวจคนหา

อธิบายความรู

•

•

•

Engage

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใช
เทคนิคกระตุนความ
สนใจ เพื่อโยงเขาสู
บทเรียน

Explore

เปนขั้นที่ผูสอนให
ผูเรียนสํารวจปญหา
และศึกษาขอมูล

Explain

เปนขั้นที่ผูสอนให
ผูเรียนคนหาคําตอบ
จนเกิดความรูเชิง
ประจักษ

สีฟา

สีมวง

ขยายความเขาใจ
Expand

•

เปนขั้นที่ผูสอนให
ผูเรียนนําความรูไป
คิดคนตอๆ ไป

ตรวจสอบผล
Evaluate

•

เปนขั้นที่ผูสอน
ประเมินมโนทัศน
ของผูเรียน

สัญลักษณ

2. สัญลักษณ

วัตถุประสงค

เปาหมาย
การเรียนรู

คูมอครู
 ื

B

@

• แสดงเปาหมาย
การเรียนรูที่
นักเรียนตอง
บรรลุตาม
ตัวชี้วัด

หลักฐาน เกร็ดแนะครู
แสดงผล
การเรียนรู
• แสดงรองรอย
หลักฐานที่
แสดงผล
การเรียนรู
ตามตัวชี้วัด

นักเรียน
ควรรู

NET

B

มุม IT

ขอสอบ

พื้นฐาน
อาชีพ

• แทรกความรู • ขยายความรู • แนะนําแหลง • วิเคราะหแนว • กิจกรรม
เสริมสําหรับครู เพิ่มเติมจาก
คนควาจาก
ขอสอบ O-NET สําหรับครู
ขอเสนอแนะ
เนื้อหา เพื่อให เว็บไซต เพื่อให เพื่อใหครู
เพื่อใชเปน
ขอควรระวัง
นักเรียนไดมี
ครูและนักเรียน เนนยํ้าเนื้อหา
แนวทางใน
ขอสังเกต
ความรูมากขึ้น ไดเขาถึงขอมูล ที่มักออก
การชวยพัฒนา
แนวทางการ
ความรูที่
ขอสอบ O-NET อาชีพใหกับ
จัดกิจกรรม
หลากหลาย
• ขอสอบ O-NET นักเรียน
และอื่นๆ
พิจารณาออก
เพื่อประโยชน
ขอสอบจาก
ในการจัดการ
เนื้อหา ม.1, 2
เรียนการสอน
และ 3
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง (เฉพาะชั้น ม.3)*
สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม

มาตรฐาน ส 1.1 รู และเขาใจประวัติ ความสําคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนา
ที่ตนนับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกตอง ยึดมั่นและปฏิบัติตามหลักธรรม
เพื่ออยูรวมกันอยางสันติสุข
ชั้น

ตัวชี้วัด

เสร�ม

11

สาระการเรียนรูแกนกลาง

ม.3 1. อธิบายการเผยแผพระพุทธ- • การเผยแผพระพุทธศาสนาเขาสูประเทศตางๆ ทั่วโลกและ
ศาสนาหรือศาสนาทีตนนับถือ การนับถือพระพุทธศาสนาของประเทศเหลานั้นในปจจุบัน
่
สูประเทศตางๆ ทั่วโลก
2. วิเคราะหความสําคัญของ
พระพุทธศาสนาหรือศาสนา
ที่ตนนับถือ ในฐานะที่ชวย
สรางสรรคอารยธรรมและ
ความสงบสุขแกโลก

• ความสําคัญของพระพุทธศาสนาในฐานะที่ชวยสรางสรรค
อารยธรรมและความสงบสุขใหแกโลก

3. อภิปรายความสําคัญของ
พระพุทธศาสนาหรือศาสนา
ที่ตนนับถือ กับปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงและ
การพัฒนาอยางยั่งยืน

• สัมมนาพระพุทธศาสนากับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและ
การพัฒนาอยางยั่งยืน (ที่สอดคลองกับหลักธรรมในสาระการ
เรียนรู ขอ 6)

4. วิเคราะหพุทธประวัติจาก
พระพุทธรูปปางตางๆ หรือ
ประวัติศาสดาที่ตนนับถือ
ตามที่กําหนด

• ศึกษาพุทธประวัติจากพระพุทธรูปปางตางๆ เชน
- ปางมารวิชัย
- ปางลีลา
- ปางปฐมเทศนา
- ปางประจําวันเกิด
• สรุปและวิเคราะหพุทธประวัติ
- ปฐมเทศนา
- โอวาทปาฏิโมกข

5. วิเคราะหและประพฤติตนตาม
แบบอยางการดําเนินชีวิตและ
ขอคิดจากประวัติสาวก ชาดก
เรืองเลา และศาสนิกชนตัวอยาง
่
ตามที่กําหนด

• พระอัญญาโกณฑัญญะ
• พระมหาปชาบดีเถรี
• พระเขมาเถรี
• พระเจาปเสนทิโกศล
• นันทิวิสาลชาดก
• สุวัณณหังสชาดก
• หมอมเจาหญิงพูนพิศมัย ดิศกุล
• ศาสตราจารยสัญญา ธรรมศักดิ์

* สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน, กระทรวงศึกษาธิการ. ตัวชีว้ ดและสาระการเรียนรูแกนกลาง
้ ้
ั

กลุมสาระการเรียนรู สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม. (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, 2551), หนา 6 - 51.

คูมอครู
 ื
ชั้น

เสร�ม

12

คูมอครู
 ื

ตัวชี้วัด

6. อธิบายสังฆคุณและขอธรรม
สําคัญในกรอบอริยสัจ 4
หรือหลักธรรมของศาสนา
ที่ตนนับถือตามที่กําหนด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

• พระรัตนตรัย
- สังฆคุณ 9
• อริยสัจ 4
- ทุกข (ธรรมที่ควรรู)
- ขันธ 5
- ไตรลักษณ
• สมุทัย (ธรรมที่ควรละ)
- หลักกรรม
- วัฏฏะ 3
- ปปญจธรรม 3 (ตัณหา มานะ ทิฏฐิ)
• นิโรธ (ธรรมที่ควรบรรลุ)
- อัตถะ 3
• มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ)
- มรรคมีองค 8
- ปญญา 3
- สัปปุริสธรรม 7
- บุญกิริยาวัตถุ 10
- อุบาสกธรรม 7
- มงคล 38
- มีศิลปวิทยา
- พบสมณะ
- ฟงธรรมตามกาล
- สนทนาธรรมตามกาล
• พุทธศาสนสุภาษิต
- อตฺตา หเว ชิตํ เสยฺโย
ชนะตนนั่นแลดีกวา
- ธมฺมจารี สุขํ เสติ
ผูประพฤติธรรมยอมอยูเปนสุข
- ปมาโท มจฺจุโน ปทํ
ความประมาทเปนทางแหงความตาย
- สุสฺสูสํ ลภเต ปฺํ
ผูฟงดวยดียอมไดปญญา
- เรื่องนารูจากพระไตรปฎก :
พุทธปณิธาน 4 ในมหาปรินิพพานสูตร
ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

7. เห็นคุณคาและวิเคราะห
• การปฏิบัติตนตามหลักธรรม (ตามสาระการเรียนรู ขอ 6)
การปฏิบตตนตามหลักธรรมใน
ัิ
การพัฒนาตน เพือเตรียมพรอม
่
สําหรับการทํางานและการมี
ครอบครัว

เสร�ม

13

8. เห็นคุณคาของการพัฒนาจิต • พัฒนาการเรียนรูดวยวิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการ 2 วิธี
เพือการเรียนรูและดําเนินชีวต คือ วิธีคิดแบบอริยสัจและวิธีคิดแบบสืบสาวเหตุปจจัย
่

ิ
ดวยวิธคดแบบโยนิโสมนสิการ
ีิ
คือ วิธีคิดแบบอริยสัจและ
วิธีคิดแบบสืบสาวเหตุปจจัย
หรือการพัฒนาจิตตามแนวทาง
ของศาสนาที่ตนนับถือ
9. สวดมนต แผเมตตา บริหารจิต • สวดมนตแปลและแผเมตตา
และเจริญปญญาดวยอานาปาน- • รูและเขาใจวิธีปฏิบัติและประโยชนของการบริหารจิตและ
เจริญปญญา
สติ หรือตามแนวทางของ
• ฝกการบริหารจิตและเจริญปญญาตามหลักสติปฏฐานเนน
ศาสนาที่ตนนับถือ
อานาปานสติ
• นําวิธีการบริหารจิตและเจริญปญญาไปใชในชีวิตประจําวัน
10. วิเคราะหความแตกตางและ • วิถีการดําเนินชีวิตของศาสนิกชนศาสนาอื่นๆ
ยอมรับวิถีการดําเนินชีวิต
ของศาสนิกชนในศาสนาอืนๆ
่

คูมอครู
 ื
มาตรฐาน ส 1.2 เขาใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเปนศาสนิกชนที่ดี และธํารงรักษาพระพุทธศาสนา
หรือศาสนาที่ตนนับถือ
เสร�ม

14

ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

ม.3 1. วิเคราะหหนาที่และบทบาท • หนาที่ของพระภิกษุในการปฏิบัติตามหลักพระธรรมวินัยและ
ของสาวกและปฏิบัติตนตอ
จริยวัตรอยางเหมาะสม
สาวก ตามที่กําหนดไดถูกตอง • การปฏิบัติตนตอพระภิกษุในงานศาสนพิธีที่บาน การสนทนา
การแตงกาย มรรยาทการพูดกับพระภิกษุตามฐานะ
2. ปฏิบัติตนอยางเหมาะสมตอ • การเปนศิษยที่ดีตามหลักทิศเบื้องขวาในทิศ 6
บุคคลตางๆ ตามหลักศาสนา ของพระพุทธศาสนา
ตามที่กําหนด
3. ปฏิบตหนาทีของศาสนิกชนทีดี • การปฏิบัติหนาที่ชาวพุทธตามพุทธปณิธาน 4
ัิ ่
่
ในมหาปรินิพพานสูตร
4. ปฏิบตตนในศาสนพิธี พิธกรรม • พิธีทําบุญงานมงคล งานอวมงคล
ัิ
ี
ไดถูกตอง
• การนิมนตพระภิกษุ การเตรียมทีตงพระพุทธรูปและเครืองบูชา
่ ั้
่
การวงดายสายสิญจน การปูลาดอาสนะ การเตรียมเครืองรับรอง
่
การจุดธูปเทียน
• ขอปฏิบัติในวันเลี้ยงพระ การถวายขาวพระพุทธ การถวาย
ไทยธรรม การกรวดนํ้า
5. อธิบายประวัติวันสําคัญทาง
ศาสนาตามที่กําหนดและ
ปฏิบัติตนไดถูกตอง

6. แสดงตนเปนพุทธมามกะ
หรือแสดงตนเปนศาสนิกชน
ของศาสนาที่ตนนับถือ

• การแสดงตนเปนพุทธมามกะ
- ขั้นเตรียมการ
- ขั้นพิธีการ

7. นําเสนอแนวทางในการธํารง
รักษาศาสนาที่ตนนับถือ

คูมอครู
 ื

• ประวัติวันสําคัญทางพระพุทธศาสนาในประเทศไทย
- วันวิสาขบูชา (วันสําคัญสากล)
- วันธรรมสวนะและเทศกาลสําคัญ
• หลักปฏิบัติตน : การฟงพระธรรมเทศนา การแตงกาย
ในการประกอบศาสนพิธีที่วัด การงดเวนอบายมุข
• การประพฤติปฏิบัติในวันธรรมสวนะ และเทศกาลสําคัญ

• การศึกษาเรียนรูเรื่ององคประกอบของพระพุทธศาสนา
นําไปปฏิบัติและเผยแผตามโอกาส
• การศึกษาการรวมตัวขององคกรชาวพุทธ
• การปลูกจิตสํานึกในดานการบํารุงรักษาวัดและพุทธสถาน
ใหเกิดประโยชน
คําอธิบายรายวิชา
รายวิชา พระพุทธศาสนา
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3
รหัสวิชา ส…………………………………

กลุมสาระการเรียนรู สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
ภาคเรียนที่ 1-2
เวลา 40 ชั่วโมง/ป เสร�ม

ศึกษา วิเคราะห การเผยแผพระพุทธศาสนาสูประเทศตางๆ ทั่วโลก ความสําคัญของพระพุทธศาสนาในฐานะ
ทีชวยสรางสรรคอารยธรรมและความสงบสุขแกโลก ความสําคัญของพระพุทธศาสนากับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
่
และการพัฒนาอยางยั่งยืน พุทธประวัติจากพระพุทธรูปปางตางๆ การประพฤติตนตามแบบอยางการดําเนินชีวิต
และขอคิดจากประวัติพุทธสาวก พุทธสาวิกา (พระอัญญาโกณฑัญญะ พระนางมหาปชาบดีโคตมีเถรี พระเขมาเถรี
พระเจาปเสนทิโกศล) ชาดก (นันทิวิสาลชาดก สุวัณณหังสชาดก) ศาสนิกชนตัวอยาง (ศ.สัญญา ธรรมศักดิ์ และ
หมอมเจาหญิงพูนพิศมัย ดิศกุล)
อธิบายสังฆคุณและขอธรรมสําคัญในกรอบอริยสัจ 4 ในเรื่องทุกข (ธรรมที่ควรรู) ประกอบดวยขันธ 5
(ไตรลักษณ) สมุทัย (ธรรมที่ควรละ) ประกอบดวย หลักกรรม (วัฏฏะ 3) ปปญจธรรม 3 (ตัณหา, มานะ, ทิฏฐิ) นิโรธ
(ธรรมที่ควรรู) ประกอบดวย อัตถะ 3 มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ) ประกอบดวย มรรคมีองค 8, ปญญา 3, สัปปุริสธรรม
7 บุญกิริยาวัตถุ 3 อุบาสกธรรม 1 มงคล 38 (มีศิลปวิทยา พบสมณะ ฟงธรรมตามกาล สนทนาธรรมตามกาล)
พุทธศาสนสุภาษิตในเรื่อง อตฺตา หเว ชิตํ เสยฺโย, ธมฺมจารี สุขํ เสติ, ปมาโท มจฺจุโน ปทํ, สุสฺสูสํ ลภเต ปฺ 
เรืองนารูจากพระไตรปฎก : พุทธปณิธาน 4 ในมหาปรินพพานสูตร การปฏิบตตนตามหลักธรรมในการพัฒนาตน เพือ
่

ิ
ัิ
่
เตรียมความพรอมสําหรับการทํางานและการมีครอบครัว การพัฒนาจิต เพื่อการเรียนรูและดําเนินชีวิตดวยวิธีคิด
แบบโยนิโสมนสิการ (วิธคดแบบอริยสัจ วิธคดแบบสืบสาวเหตุปจจัย สวดมนตแปล แผเมตตา บริหารจิตและเจริญปญญา
ีิ
ีิ

ดวยอานาปานสติ) หนาทีและบทบาทของสาวกและการปฏิบตตนตอสาวกไดถกตอง ปฏิบตตนอยางเหมาะสมตอบุคคล
่
ัิ
ู
ัิ
ตางๆ ตามหลักศาสนา ตามหนาทีของศาสนิกชนทีดี ศาสนพิธี พิธกรรม ประวัตวนสําคัญทางพระพุทธศาสนา การแสดงตน
่
่
ี
ิั
เปนพุทธมามกะ การเสนอแนวทางในการธํารงรักษาศาสนาทีตนนับถือ การยอมรับความแตกตางและวิถการดําเนินชีวต
่
ี
ิ
ของศาสนิกชนในศาสนาอื่น
โดยใชกระบวนการคิด กระบวนการสืบคนขอมูล กระบวนการทางสังคม กระบวนการปฏิบติ กระบวนการเผชิญ
ั
สถานการณและแกปญหา กระบวนการกลุม เพื่อใหเกิดความรูความเขาใจ สามารถนําไปปฏิบัติในการดําเนินชีวิต
นําไปพัฒนาและแกปญหาของชุมชนและสังคม มีคุณลักษณะอันพึงประสงคในดานรักชาติ ศาสน กษัตริย ซื่อสัตย
สุจริต มีวินัย ใฝเรียนรู อยูอยางพอเพียง มุงมั่นในการทํางาน รักความเปนไทย มีจิตสาธารณะ สามารถดําเนินชีวิต
อยูรวมกันไดอยางสันติสุข
ตัวชี้วัด
ส 1.1 ม.3/1
ม.3/6
ส 1.2 ม.3/1
ม.3/6

15

ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4 ม.3/5
ม.3/7 ม.3/8 ม.3/9 ม.3/10
ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4 ม.3/5
ม.3/7

รวม 17 ตัวชี้วัด
คูมอครู
 ื
ตาราง

ÇÔà¤ÃÒÐˏÁҵðҹ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙáÅеÑǪÕÇ´ ÃÒÂÇÔªÒ ¾Ãоط¸ÈÒÊ¹Ò Á.3
Œ
éÑ

คําชี้แจง : ใหผูสอนใชตารางน�้ตรวจสอบความสอดคลองของเน�้อหาสาระการเรียนรูในหนวยการเรียนรูกับมาตรฐานการเรียนรู

เสร�ม

16

และตัวชี้วัดชั้นป

สาระที่ 1

มาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด

หนวยการเรียนรู

หนวยการเรียนรูที่ 1 : ประวัติ
และความสําคัญของพระพุทธศาสนา
หนวยการเรียนรูที่ 2 : พุทธประวัติ
พระสาวก ศาสนิกชนตัวอยางและชาดก

มาตรฐาน ส 1.1
ตัวชี้วัด

มาตรฐาน ส 1.2
ตัวชี้วัด

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 1 2 3 4 5 6 7
✓ ✓

✓ ✓

หนวยการเรียนรูที่ 3 : หลักธรรมทาง
พระพุทธศาสนา

✓ ✓

หนวยการเรียนรูที่ 4 : พระไตรปฎก
และพุทธศาสนสุภาษิต

✓

หนวยการเรียนรูที่ 5 : หนาที่ชาวพุทธ
และมารยาทชาวพุทธ

✓ ✓ ✓

หนวยการเรียนรูที่ 6 : วันสําคัญทาง
พระพุทธศาสนาและศาสนพิธี

✓ ✓

หนวยการเรียนรูที่ 7 : การบริหารจิต
และการเจริญปญญา
หนวยการเรียนรูที่ 8 : พระพุทธศาสนา
กับการแกปญหาและการพัฒนา
หนวยการเรียนรูที่ 9 : ศาสนากับ
การอยูรวมกันในประเทศไทย

คูมอครู
 ื

✓ ✓

✓ ✓

✓

✓
กระตุนความสนใจ

Engage

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
Expand

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ÃÒÂÇÔªÒ¾×é¹°Ò¹

¾Ãоط¸ÈÒÊ¹Ò Á.ó

ªÑ¹ÁѸÂÁÈÖ¡ÉÒ»‚·Õè ó
é

¡ÅØ‹ÁÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙŒÊѧ¤ÁÈÖ¡ÉÒ ÈÒÊ¹Ò áÅÐÇѲ¹¸ÃÃÁ
µÒÁËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òõõñ
¼ÙŒàÃÕºàÃÕ§

È. ´Ã. ÇԷ ÇÔÈ·àǷ
È. ¾ÔàÈÉ àÊ°ÕÂþ§É ÇÃó»¡

¼ÙŒµÃǨ

È. ¾ÔàÈÉ ¨íÒ¹§¤ ·Í§»ÃÐàÊÃÔ°
ÃÈ. ªÙÈÑ¡´Ôì ·Ô¾Âà¡ÉÃ
¹ÒÂÊíÒÃÇ ÊÒÃѵ¶

ºÃóҸԡÒÃ

¹ÒÂÊÁà¡ÕÂÃµÔ ÀÙ‹ÃÐ˧ɏ

¼ÙŒ¨Ñ´·íÒ¤Ù‹Á×ͤÃÙ

Ä´ÕÇÃó ÁÒ´Õ¡ØÅ
ÊؾѵÃÒ ÂÐÅÒäÊÂ
áÁ¹¾§É àËçÁ¡Í§
พิมพครั้งที่ ๑

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ
รหัสสินคา ๒๓๑๓๒๑๐
รหัสสินคา ๒๓๔๓๑๖๑

¤Œ¹¤ÇÒÁÃÙŒ¢ÂÒ¤ÇÒÁ¤Ô´¨Ò¡

EB GUIDE

ที่พิมพกํากับหัวขอสําคัญในหนังสือเรียนหลักสูตรแกนกลางฯ
ผาน www.aksorn.com ไปยังแหลงความรูทั่วไทย-ทั่วโลก

Evaluate
พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3

More Related Content

What's hot

142968777910465
142968777910465142968777910465
142968777910465YingZaa TK
 
การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2พัน พัน
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิSurapong Klamboot
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจDuangnapa Inyayot
 
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdfบทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdfakke1881
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2Weerachat Martluplao
 
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล natdhanai rungklin
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนkrupornpana55
 
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3teerachon
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓kruthai40
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานPhongsak Kongkham
 
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าวหลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าวChainarong Maharak
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อkrupornpana55
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการsomdetpittayakom school
 
พุทธศาสนิกชนตัวอย่าง ส16101 สังคม ป.6
พุทธศาสนิกชนตัวอย่าง ส16101 สังคม ป.6พุทธศาสนิกชนตัวอย่าง ส16101 สังคม ป.6
พุทธศาสนิกชนตัวอย่าง ส16101 สังคม ป.6Thanawut Rattanadon
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีSivagon Soontong
 

What's hot (20)

ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2
 
142968777910465
142968777910465142968777910465
142968777910465
 
การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
 
ใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมายใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมาย
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจ
 
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdfบทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2
 
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียน
 
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3
 
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
 
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าวหลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 
พุทธศาสนิกชนตัวอย่าง ส16101 สังคม ป.6
พุทธศาสนิกชนตัวอย่าง ส16101 สังคม ป.6พุทธศาสนิกชนตัวอย่าง ส16101 สังคม ป.6
พุทธศาสนิกชนตัวอย่าง ส16101 สังคม ป.6
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 

Similar to พระพุทธศาสนา ม.3

แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพแผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพpronprom11
 
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพแผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพpronprom11
 
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษKobwit Piriyawat
 
Basic education challenge for status of the country
Basic education challenge for status of the countryBasic education challenge for status of the country
Basic education challenge for status of the countryArtit Promratpan
 
ต้อนรับคณะนักศึกษา ปโท ดูงาน
ต้อนรับคณะนักศึกษา ปโท ดูงาน ต้อนรับคณะนักศึกษา ปโท ดูงาน
ต้อนรับคณะนักศึกษา ปโท ดูงาน Orange Wongwaiwit
 
ในฝันสู่มาตรฐานสากล เอเชียแอร์พอร์ท
ในฝันสู่มาตรฐานสากล เอเชียแอร์พอร์ทในฝันสู่มาตรฐานสากล เอเชียแอร์พอร์ท
ในฝันสู่มาตรฐานสากล เอเชียแอร์พอร์ทIct Krutao
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7benty2443
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7nattawad147
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524gam030
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7wanneemayss
 

Similar to พระพุทธศาสนา ม.3 (20)

แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพแผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
 
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพแผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
 
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
 
2222222
22222222222222
2222222
 
Basic education challenge for status of the country
Basic education challenge for status of the countryBasic education challenge for status of the country
Basic education challenge for status of the country
 
ต้อนรับคณะนักศึกษา ปโท ดูงาน
ต้อนรับคณะนักศึกษา ปโท ดูงาน ต้อนรับคณะนักศึกษา ปโท ดูงาน
ต้อนรับคณะนักศึกษา ปโท ดูงาน
 
ในฝันสู่มาตรฐานสากล เอเชียแอร์พอร์ท
ในฝันสู่มาตรฐานสากล เอเชียแอร์พอร์ทในฝันสู่มาตรฐานสากล เอเชียแอร์พอร์ท
ในฝันสู่มาตรฐานสากล เอเชียแอร์พอร์ท
 
Focus 7-55
Focus 7-55Focus 7-55
Focus 7-55
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 

More from New Nan

ภูมิศาสตร์กายภาพ เล่ม 1
ภูมิศาสตร์กายภาพ เล่ม 1ภูมิศาสตร์กายภาพ เล่ม 1
ภูมิศาสตร์กายภาพ เล่ม 1New Nan
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย
ภูมิศาสตร์ประเทศไทยภูมิศาสตร์ประเทศไทย
ภูมิศาสตร์ประเทศไทยNew Nan
 
Korea+final
Korea+finalKorea+final
Korea+finalNew Nan
 
ขุนนางอยุธยา
ขุนนางอยุธยาขุนนางอยุธยา
ขุนนางอยุธยาNew Nan
 
ญี่ปุ่น ฝ่าวิกฤตสู่อนาคต
ญี่ปุ่น ฝ่าวิกฤตสู่อนาคตญี่ปุ่น ฝ่าวิกฤตสู่อนาคต
ญี่ปุ่น ฝ่าวิกฤตสู่อนาคตNew Nan
 
ญี่ปุ่น การก่อตัวเป็นชาติใหม่
ญี่ปุ่น การก่อตัวเป็นชาติใหม่ญี่ปุ่น การก่อตัวเป็นชาติใหม่
ญี่ปุ่น การก่อตัวเป็นชาติใหม่New Nan
 
โครงสร้างสังคมญี่ปุ่น
โครงสร้างสังคมญี่ปุ่นโครงสร้างสังคมญี่ปุ่น
โครงสร้างสังคมญี่ปุ่นNew Nan
 
ไม่เป็นไร ใครๆ เขาก็ทำกัน
ไม่เป็นไร ใครๆ เขาก็ทำกัน ไม่เป็นไร ใครๆ เขาก็ทำกัน
ไม่เป็นไร ใครๆ เขาก็ทำกัน New Nan
 
7 คำถามที่คุณต้องเจอในการสอบสัมภาษณ์
7 คำถามที่คุณต้องเจอในการสอบสัมภาษณ์7 คำถามที่คุณต้องเจอในการสอบสัมภาษณ์
7 คำถามที่คุณต้องเจอในการสอบสัมภาษณ์New Nan
 
200 ทิปลับวินโดวส์ windows 7
200 ทิปลับวินโดวส์ windows 7200 ทิปลับวินโดวส์ windows 7
200 ทิปลับวินโดวส์ windows 7New Nan
 
ประเภทเถา
ประเภทเถาประเภทเถา
ประเภทเถาNew Nan
 
ประเภทต้น
ประเภทต้นประเภทต้น
ประเภทต้นNew Nan
 
ท่าเด็ด 11 ลีลา (เหมาะสำหรับคู่รักมือใหม่จนถึงคู่รักระดับชิงแชมป์)
ท่าเด็ด 11 ลีลา (เหมาะสำหรับคู่รักมือใหม่จนถึงคู่รักระดับชิงแชมป์)ท่าเด็ด 11 ลีลา (เหมาะสำหรับคู่รักมือใหม่จนถึงคู่รักระดับชิงแชมป์)
ท่าเด็ด 11 ลีลา (เหมาะสำหรับคู่รักมือใหม่จนถึงคู่รักระดับชิงแชมป์)New Nan
 
10 เรื่องบนเตียงที่ผู้ชายทำพลาดประจำ
10 เรื่องบนเตียงที่ผู้ชายทำพลาดประจำ 10 เรื่องบนเตียงที่ผู้ชายทำพลาดประจำ
10 เรื่องบนเตียงที่ผู้ชายทำพลาดประจำ New Nan
 
คู่มือล้างพิษตับและลำไส้
คู่มือล้างพิษตับและลำไส้ คู่มือล้างพิษตับและลำไส้
คู่มือล้างพิษตับและลำไส้ New Nan
 
20 คำที่ทำไม่ได้ +
20 คำที่ทำไม่ได้ +20 คำที่ทำไม่ได้ +
20 คำที่ทำไม่ได้ +New Nan
 
9 อาหารกินแล้วฉลาด !
9 อาหารกินแล้วฉลาด !9 อาหารกินแล้วฉลาด !
9 อาหารกินแล้วฉลาด !New Nan
 
เปิดพื้นที่จริง
เปิดพื้นที่จริงเปิดพื้นที่จริง
เปิดพื้นที่จริงNew Nan
 
กบฏนักมวย
กบฏนักมวยกบฏนักมวย
กบฏนักมวยNew Nan
 
นครปอมเปอี
นครปอมเปอีนครปอมเปอี
นครปอมเปอีNew Nan
 

More from New Nan (20)

ภูมิศาสตร์กายภาพ เล่ม 1
ภูมิศาสตร์กายภาพ เล่ม 1ภูมิศาสตร์กายภาพ เล่ม 1
ภูมิศาสตร์กายภาพ เล่ม 1
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย
ภูมิศาสตร์ประเทศไทยภูมิศาสตร์ประเทศไทย
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย
 
Korea+final
Korea+finalKorea+final
Korea+final
 
ขุนนางอยุธยา
ขุนนางอยุธยาขุนนางอยุธยา
ขุนนางอยุธยา
 
ญี่ปุ่น ฝ่าวิกฤตสู่อนาคต
ญี่ปุ่น ฝ่าวิกฤตสู่อนาคตญี่ปุ่น ฝ่าวิกฤตสู่อนาคต
ญี่ปุ่น ฝ่าวิกฤตสู่อนาคต
 
ญี่ปุ่น การก่อตัวเป็นชาติใหม่
ญี่ปุ่น การก่อตัวเป็นชาติใหม่ญี่ปุ่น การก่อตัวเป็นชาติใหม่
ญี่ปุ่น การก่อตัวเป็นชาติใหม่
 
โครงสร้างสังคมญี่ปุ่น
โครงสร้างสังคมญี่ปุ่นโครงสร้างสังคมญี่ปุ่น
โครงสร้างสังคมญี่ปุ่น
 
ไม่เป็นไร ใครๆ เขาก็ทำกัน
ไม่เป็นไร ใครๆ เขาก็ทำกัน ไม่เป็นไร ใครๆ เขาก็ทำกัน
ไม่เป็นไร ใครๆ เขาก็ทำกัน
 
7 คำถามที่คุณต้องเจอในการสอบสัมภาษณ์
7 คำถามที่คุณต้องเจอในการสอบสัมภาษณ์7 คำถามที่คุณต้องเจอในการสอบสัมภาษณ์
7 คำถามที่คุณต้องเจอในการสอบสัมภาษณ์
 
200 ทิปลับวินโดวส์ windows 7
200 ทิปลับวินโดวส์ windows 7200 ทิปลับวินโดวส์ windows 7
200 ทิปลับวินโดวส์ windows 7
 
ประเภทเถา
ประเภทเถาประเภทเถา
ประเภทเถา
 
ประเภทต้น
ประเภทต้นประเภทต้น
ประเภทต้น
 
ท่าเด็ด 11 ลีลา (เหมาะสำหรับคู่รักมือใหม่จนถึงคู่รักระดับชิงแชมป์)
ท่าเด็ด 11 ลีลา (เหมาะสำหรับคู่รักมือใหม่จนถึงคู่รักระดับชิงแชมป์)ท่าเด็ด 11 ลีลา (เหมาะสำหรับคู่รักมือใหม่จนถึงคู่รักระดับชิงแชมป์)
ท่าเด็ด 11 ลีลา (เหมาะสำหรับคู่รักมือใหม่จนถึงคู่รักระดับชิงแชมป์)
 
10 เรื่องบนเตียงที่ผู้ชายทำพลาดประจำ
10 เรื่องบนเตียงที่ผู้ชายทำพลาดประจำ 10 เรื่องบนเตียงที่ผู้ชายทำพลาดประจำ
10 เรื่องบนเตียงที่ผู้ชายทำพลาดประจำ
 
คู่มือล้างพิษตับและลำไส้
คู่มือล้างพิษตับและลำไส้ คู่มือล้างพิษตับและลำไส้
คู่มือล้างพิษตับและลำไส้
 
20 คำที่ทำไม่ได้ +
20 คำที่ทำไม่ได้ +20 คำที่ทำไม่ได้ +
20 คำที่ทำไม่ได้ +
 
9 อาหารกินแล้วฉลาด !
9 อาหารกินแล้วฉลาด !9 อาหารกินแล้วฉลาด !
9 อาหารกินแล้วฉลาด !
 
เปิดพื้นที่จริง
เปิดพื้นที่จริงเปิดพื้นที่จริง
เปิดพื้นที่จริง
 
กบฏนักมวย
กบฏนักมวยกบฏนักมวย
กบฏนักมวย
 
นครปอมเปอี
นครปอมเปอีนครปอมเปอี
นครปอมเปอี
 

พระพุทธศาสนา ม.3

  • 1. คูมือครู 㪌»ÃСͺ¡ÒÃÊ͹ËÇÁ¡Ñº ˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ©ºÑº Í- . ·Õè ȸ. ¨Ð»ÃСÒÈÃÒ¡Òú¹àÇçºä«µ µÑé§áµ‹ Á. ¤. ’55 ໚¹µŒ¹ä» ภาพปกนี้มีขนาดเทากับหนังสือเรียนฉบับจริงของนักเรียน
  • 2. เอกสารประกอบคูมือครู กลุมสาระการเรียนรู สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม รายวิชา พระพุทธศาสนา ครู รับ สําห ชั้นมัธยมศึกษาปที่ เอกสารหลักสูตรแกนกลางฯ ’51 ประกอบดวย ● ● ● ● ● คําแนะนําการใชคูมือครู แถบสี/สัญลักษณที่ใชสื่อความหมายในคูมือครู ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง คําอธิบายรายวิชา ตารางวิเคราะหเนื้อหากับมาตรฐานการเรียนรู และตัวชี้วัด ตารางแสดงความแตกตางระหวาง “ คูมือครู ” กับ “ หนังสือเรียน * ” ความแตกตาง ขนาดตัวอักษร ปกดานหลัง ระบบการจัดพิมพ สวนเสริมดานหนา คูมือครู ยอลงจากปกติ 20% พิมพ 4 สี มี เอกสารหลักสูตร คําอธิบายรายวิชา มี กิจกรรมแบบ 5E ความรูเสริมสําหรับครู พิมพสอดแทรกไวตลอดทั้งเลม ● หนังสือเรียน ขนาดปกติ 100% : ตัวอักษรใหญกวา ที่พิมพในคูมือครูนี้ มีใบอนุญาต/ใบประกันคุณภาพ พิมพ 4 สี - ● เนื้อหาในเลม ● ● * ที่ ศธ. อนุญาตใหโรงเรียนใชได มีเฉพาะเนื้อหาสาระตามที่ ศธ. อนุญาตฯ/สนพ.ประกันคุณภาพ 3
  • 3. คําแนะนําการใชคูมือครู : การจัดการเรียนรูสูหองเรียนคุณภาพ คูมอครู พระพุทธศาสนา ม.3 จัดทําขึนเพืออํานวยความสะดวกแกครูผสอนในการวางแผนและเตรียมการสอน ื ้ ่ ู โดยใชหนังสือเรียน พระพุทธศาสนา ม.3 ของบริษัท อักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด เปนสื่อหลัก (Core Material) เสร�ม ประกอบการออกแบบกิจกรรมการเรียนรูใหสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดกลุมสาระการเรียนรู 2 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม รายวิชา พระพุทธศาสนา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน พ.ศ. 2551 ้ ้ โดยจัดทําตามหลักการสําคัญ ดังนี้ 1. ออกแบบการสอนเปนหนวยการเรียนรูอิงมาตรฐาน คูมือครู พระพุทธศาสนา ม.3 จัดทําเปนหนวยการเรียนรูตามลําดับสาระการเรียนรูที่ระบุไวในมาตรฐาน การเรียนรูและตัวชี้วัด แตละหนวยจะกําหนดเปาหมายการสอนและจุดประสงคการเรียนรู (Objective Learning) กิจกรรมการเรียนรู (Learning Activities) และแนวทางการประเมินผลการเรียนรู (Learning Evaluation) ไวชัดเจน ครูผูสอนสามารถจัดทําแผนการสอนใหครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดที่เปนเปาหมาย การเรียนรูของแตละหนวยการเรียนรู (ตามแผนภูมิ) และสามารถบันทึกผลการจัดการเรียนการสอนไดอยางมั่นใจ  สภ าพ ผู จุดป น ระส เรีย งค ก ู ียนร ร า รเ มาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัดชั้นป ทักษะการคิด การวัดประเมินผล การเรียนรู กิจกรรมการเรียนรู เทคนิคการสอน แผนภูมิแสดงองคประกอบของการออกแบบการเรียนรูอิงมาตรฐานและเนนผูเรียนเปนสําคัญ 2. การจัดการเรียนรูที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญ แนวคิดในการจัดการเรียนการสอนที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญ พัฒนามาจากปรัชญาและทฤษฎีการเรียนรู Constructivism ที่เชื่อวาการเรียนรูเปนกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในสมองของผูเรียนแตละคน ผูเรียนเปนผูสราง ความรูโดยการเชื่อมโยงระหวางสิ่งที่ไดพบเห็นกับความรูหรือประสบการณเดิมที่มีอยู ทฤษฎีนี้มีความเชื่อวา นักเรียนทุกคนไดเรียนรูและมีความรูความเขาใจสิ่งตางๆ ติดตัวมากอนที่จะเขาสู หองเรียน ซึงเปนการเรียนรูทเี่ กิดจากบริบทและสิงแวดลอมรอบตัวนักเรียนแตละคน ดังนันการจัดกระบวนการเรียนรู ่  ่ ้ ในแตละบทเรียน ผูสอนจะตองคํานึงถึง คูมอครู  ื
  • 4. 1) ความรูเดิมของนักเรียน การสอนที่ดีจึงตองเริ่มตนจากจุดที่วา นักเรียนมีความรูอะไรมาบาง แลวจึงให ความรูหรือประสบการณใหมเพือตอยอด  ่ จากความรูเดิม 2) ความรูเ ดิมของนักเรียนถูกตอง หรือไม ผูสอนตองปรับเปลี่ยนความรู ความเขาใจเดิมของนักเรียนใหถูกตอง และเปนพฤติกรรมการเรียนรูใหมที่มี คุณคาตอนักเรียน เพื่อสรางเจตคติหรือ ทัศนคติที่ดีตอการเรียน 3) นั ก เรี ย นสร า งความหมาย สําหรับตนเอง ผูสอนตองสงเสริมให นักเรียนนําขอมูลความรูที่ไดไปลงมือ ปฏิ บั ติ และประยุ ก ต ใ ช ค วามรู  อ ย า ง ถู ก ต อ ง ในบริ บ ทที่ เ ป น จริ ง ของชี วิ ต นักเรียน เพื่อขยายความรูใหลึกซึ้งและ มีคุณคาตอตัวนักเรียนมากที่สุด เสร�ม 3 แนวคิด Constructivism เนนใหผเู รียนสรางความรูโดยผานกระบวนการคิดและความอยากรูของตนเอง   โดยมีผูสอนเปนผูสรางบรรยากาศการเรียนรูและกระตุนความสนใจ คอยจัดสถานการณใหผูเรียนเกิดความ ขัดแยงทางความคิดระหวางประสบการณเดิมกับประสบการณความรูใหม ผูเรียนจะพยายามปรับขอมูลใหม กับประสบการณที่มีอยูเดิม แลวสรางเปนความรูใหมหรือแนวคิดใหมๆ ไดดวยตนเอง 3. การบูรณาการกระบวนการคิด การเรียนรูของนักเรียนแตละคนจะเกิดขึนทีสมองซึงทําหนาทีรคด ภายใตสภาพแวดลอมทีเ่ อืออํานวย และ  ้ ่ ่ ่ ู ิ ้ ไดรับการกระตุนจูงใจอยางเหมาะสมสอดคลองกับสภาพจิตใจและความตองการของนักเรียน การจัดกระบวนการ เรียนรูและสาระการเรียนรูที่มีความหมายตอผูเรียนนั้น จะชวยกระตุนใหสมองรับรูและสามารถเรียนรูไดอยางมี ประสิทธิภาพตามขั้นตอนการทํางานของสมอง ดังนี้ 1) สมองจะเรียนรูและสืบคนโดย 2) สมองจะแยกแยะคุ ณค าของ การสังเกต คนหา ซักถาม และทดลอง สิงตางๆ โดยการลงมติ ตัดสินใจ วิพากษ ่ ปฏิบัติ จนคนพบความรูความเขาใจได วิจารณ แสดงความคิดเห็น ยอมรับหรือ อยางรวดเร็ว ตอตานตามอารมณความรูสึกที่เกิดขึ้น ในขณะที่เรียนรู 3) สมองจะประมวลเนื้ อ หาสาระ โดยการสรุปเปนความคิดรวบยอดจาก เรื่องราวที่ไดเรียนรูใหมนําไปผสมผสาน กับความรู หรือประสบการณเดิมที่ถูก จัดเก็บอยูในสมอง ผานการกลั่นกรอง เพื่อสังเคราะหเปนความรูความเขาใจ ใหมๆ หรือเปนเหตุผลทัศนคติใหมที่จะ ฝงแนนในสมองของผูเรียน การเรียนรูที่มีประสิทธิภาพจึงตองเปนการเรียนรูที่เกิดจากกระบวนการคิดของผูเรียน เพราะการเรียนรูจะ เกิดขึ้นเมื่อสมองรูคิดและตองเปนการคิดไดครบถวนตามขั้นตอนการทํางานของสมอง โดยเริ่มตนจาก 1) ระดับการคิดขั้นพื้นฐาน ไดแก 2) ระดั บ ลั ก ษณะการคิ ด ได แ ก 3) ระดั บ กระบวนการคิ ด ได แ ก การสังเกต การจําแนก การคาดคะเน การคิดกวาง คิดลึกซึ้ง คิดหลากหลาย กระบวนการคิ ด อย า งมี วิ จ ารณญาณ การสื่อความหมาย การรวบรวมขอมูล คิดไกล คิดคลอง คิดอยางมีเหตุผล กระบวนการแกปญหา กระบวนการคิด การสรุปผล เปนตน เปนตน สรางสรรค กระบวนการคิดสังเคราะห วิจัย เปนตน คูมอครู  ื
  • 5. 4. การบูรณาการกระบวนการเรียนรูพื้นฐานอาชีพ กระทรวงศึกษาธิการมีนโยบายสงเสริมการเรียนพืนฐานอาชีพในระดับการศึกษาขันพืนฐาน เพือเสริมสรางทักษะที่ ้ ้ ้ ่ จําเปนสําหรับการประกอบอาชีพ และดํารงชีวตในสังคมทองถินของผูเ รียนอยางมีความสุข และเปนการเตรียมความพรอม ิ ่ ีั ้ ่  เสร�ม ดานกําลังคนใหมทกษะพืนฐานและศักยภาพในการทํางาน เพือการแขงขันและกาวสูประชาคมอาเซียนหรือประชาคมโลก 4 ตอไป 4.1 ทักษะพื้นฐานเพื่อการประกอบอาชีพ การจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาผูเรียนในรายวิชาพื้นฐาน ทุกกลุมสาระการเรียนรูและทุกระดับชั้นเรียน ผูสอนควรบูรณาการประสบการณการเรียนรูพื้นฐานอาชีพควบคู ไปกั บ การเรี ย นการสอนด า นวิ ช าการ โดยฝ ก ทั ก ษะสํ า คั ญ ตามที่ สํ า นั ก วิ ช าการและมาตรฐานการศึ ก ษา (สวก.) สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) เสนอแนะไว ดังนี้ 1. ฝกทักษะกระบวนการคิด มีการวางแผนตลอดแนว เพื่อศึกษาขอมูลอาชีพ 2. ฝกการตัดสินใจอยางเปนระบบ โดยใชขอมูลจากการศึกษา คนควาแหลงเรียนรูในชุมชน เพื่อลดความ เสี่ยงในการลงทุนและเพิ่มความมั่นใจเรื่องการตลาด 3. ฝกกระบวนการวางแผน การผลิต และการจัดจําหนาย โดยนักเรียนคิดตนทุน กําไรดวยตนเอง 4. ฝกการเรียนรูเรื่องคุณธรรม จริยธรรม ดานการประกอบอาชีพ และการทํางานกลุม โดยมีจิตอาสาเพื่อ สวนรวม 5. ฝกการทํางานอยางมีประสิทธิภาพ มีการประเมินผล ปรับปรุง พัฒนา และสรางสรรคตอยอดผลผลิต 6. ฝกการเสริมสรางความเชื่อมั่น ความเพียรพยายาม เห็นคุณคาและภาคภูมิใ จในตนเอง (Self Esteem) ในการประกอบอาชีพ และเจตคติในพื้นฐานทางอาชีพ การจัดการเรียนการสอนที่ใหผูเรียนไดลงมือปฏิบัติทักษะดังกลาว จะชวยใหผูเรียนไดรับประสบการณจริง มีทักษะ ความสามารถ และความชํานาญในการทํางานที่จะใชในการประกอบอาชีพและเปนแรงงานที่มีคุณภาพเขาสู ตลาดแรงงานในอนาคต 4.2 การจัดกระบวนการเรียนรูพื้นฐานอาชีพ การจัดกระบวนการเรียนรูมีความสําคัญอยางยิ่งที่จะชวยให นั ก เรี ย นมี ก ารพั ฒ นาทั้ ง ด า นความรู  ทั ก ษะ และคุ ณ ลั ก ษณะตามเป า หมายของหลั ก สู ต ร การพั ฒ นาผู  เ รี ย น ดานทักษะพื้นฐานอาชีพตองอาศัยกระบวนการเรียนรูที่หลากหลายเปนเครื่องมือที่จะนําไปสูคุณภาพที่ตองการ เทคนิควิธีการตางๆ ที่ผูสอนจะตองพิจารณาใหเหมาะสมกับเนื้อหาวิชาและวัยของผูเรียน โดยใหความสําคัญกับ การฝ ก ปฏิ บั ติ แ ละเน น การวั ด ประเมิ น ผลจากการปฏิ บั ติ ต ามสภาพจริ ง ด ว ยวิ ธี ก ารที่ จั ด กิ จ กรรมการบู ร ณาการ ให เ หมาะสมกั บ วั ย และระดั บ ชั้ น ของผู  เ รี ย น สอดคล อ งกั บ มาตรฐานการเรี ย นรู  แ ละตั ว ชี้ วั ด ของกลุ ม สาระต า งๆ ที่กําหนดไวในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 การวิเคราะหมาตรฐานและตัวชี้วัดที่จะนําไป จัดเนื้อหาความรูและทักษะ เพื่อพัฒนาผูเรียนดานพื้นฐานอาชีพ ดังตัวอยางตอไปนี้ 1. กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทยมุงเนนการพัฒนาใหผูเรียนมีความรูความสามารถในการใชภาษาไทย เพื่ อ การสื่ อ สาร เป น เครื่ อ งมื อ ในการเรี ย นรู  การแสวงหาความรู  และประสบการณ ต  า งๆ เพื่ อ พั ฒ นาความรู  กระบวนการคิดวิเคราะห วิจารณ และสรางสรรค ใหทันตอการเปลี่ยนแปลงของสังคมและความกาวหนาทาง วิทยาศาสตร เทคโนโลยี จึงเปนกลุมสาระการเรียนรูที่เปนทักษะพื้นฐานการประกอบอาชีพทุกอาชีพ ตัวชี้วัดที่ สามารถนํามาพัฒนาทักษะอาชีพ เชน คูมอครู  ื
  • 6. ท 2.1 ม.1/8 เขียนรายงานการศึกษาคนควาและโครงงาน ท 1.1 ม.4-6/8 สังเคราะหความรูจากการอานสื่อสิ่งพิมพ สื่ออิเล็กทรอนิกส และแหลงเรียนรู ตางๆ มาพัฒนาตน พัฒนาการเรียน และพัฒนาความรูทางอาชีพ ท 2.1 ม.4-6/4 ผลิตงานเขียนของตนเองในรูปแบบตางๆ เสร�ม ท 2.1 ม.4-6/5 ประเมินงานเขียนของผูอื่น แลวนํามาพัฒนางานเขียนของตนเอง 5 การจัดการเรียนการสอนตามตัวชี้วัดดังกลาวขางตน จะเปนทักษะพื้นฐานของการนําไปสูอาชีพ ทุกอาชีพ และเปนการปูทางไปสูอาชีพเฉพาะเกี่ยวกับการเขียน เชน นักเขียน นักประพันธ นักหนังสือพิมพ นักวิจารณ เปนตน 2. กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรมุงเนนการพัฒนาผูเรียนในการเชื่อมโยงความรูกับกระบวนการ มีทักษะสําคัญในการคนควาและสรางองคความรู พัฒนาวิธีการคิด ทั้งความคิดที่เปนเหตุเปนผล คิดสรางสรรค คิดวิเคราะห วิจารณ โดยใชกระบวนการในการสืบเสาะหาความรู การแกปญหาที่หลากหลาย เพื่อใหมีความรู ความเขาใจในธรรมชาติและเทคโนโลยี นําความรูไปใชอยางมีเหตุผล มีคุณธรรม และอยูในสังคมแหงการเรียนรู ไดอยางเหมาะสม โดยมีมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดที่เปนพื้นฐานของการประกอบอาชีพตางๆ มากมาย เชน ว 1.1 ม.1/13 อธิ บ ายหลั ก การและผลของการใช เ ทคโนโลยี ชี ว ภาพในการขยายพั น ธุ ปรับปรุงพันธุและเพิ่มผลผลิตของพืช และนําความรูไปใชประโยชน ว 1.1 ม.2/4 อธิบายหลักการและผลของการใชเทคโนโลยีชีวภาพในการขยายพันธุ ปรับปรุง พันธุและเพิ่มผลผลิตของสัตว และนําความรูไปใชประโยชน ว 1.2 ม.4-6/3 สืบคนขอมูลและอภิปรายผลของเทคโนโลยีชวภาพทีมตอมนุษยและสิงแวดลอม ี ่ี ่ และนําความรูไปใชประโยชน การจัดการเรียนการสอนตามตัวชี้วัดดังกลาวขางตนจะเปนทักษะพื้นฐานของการนําไปสูอาชีพที่ เกี่ยวกับเกษตรกร วิทยาศาสตร การเกษตร นักวิจัย เปนตน 3. กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมมุงเนนการพัฒนาใหผูเรียนมีความรูความ เขาใจเกี่ยวกับการดํารงชีวิตของมนุษย การอยูรวมกันในสังคมที่มีความเชื่อมโยงสัมพันธกัน มีความแตกตางกัน อยางหลากหลาย สามารถจัดการทรัพยากรทีมอยูอยางจํากัด และเขาใจการเปลียนแปลง เพือชวยใหสามารถปรับ ่ี  ่ ่ ตนเองกับบริบทและสภาพแวดลอม เปนพลเมืองดี มีความรับผิดชอบ มีความรู ทักษะ คุณธรรม และคานิยมที่ เหมาะสม มีมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดที่เปนพื้นฐานของการประกอบอาชีพตางๆ เชน ส 4.3 ม.1/3 วิเคราะหอิทธิพลของวัฒนธรรมและภูมิปญญาไทยสมัยสุโขทัยและสังคมไทยใน ปจจุบัน ส 4.3 ม.2/3 ระบุภมปญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยาและธนบุรี และอิทธิพลของภูมปญญา ูิ ิ ดังกลาวตอการพัฒนาชาติไทยในยุคตอมา ส 4.3 ม.3/3 วิเคราะหภมปญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร และอิทธิพลตอการพัฒนา ูิ ชาติไทย คูมอครู  ื
  • 7. ส 4.3 ม.4-6/3 วางแผนกําหนดแนวทางและการมีสวนรวมในการอนุรักษภูมิปญญาไทยและ วัฒนธรรมไทย การจัดการเรียนการสอนตามตัวชี้วัดดังกลาวขางตนจะเปนทักษะพื้นฐานและสรางเจตคติตออาชีพ ่ ิ ่ ิ เสร�ม เกียวกับภูมปญญาไทยในทองถิน เชน นักโบราณคดี นักประวัตศาสตร แพทยแผนโบราณ นวดแผนไทย ชางทอผา ไ ่ 6 จักสาน นักดนตรีญทย การทําขนมหรืออาหารไทย เปนตน และเปนรากฐานของการศึกษาเพือพัฒนาตอยอดอาชีพ ที่มีฐานของภูมิป ญาไทย 4. กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา เปนการศึกษาเพื่อการดํารงสุขภาพ การเสริมสราง สุขภาพ และการพัฒนาคุณภาพชีวิต มุงใหผูเรียนพัฒนาพฤติกรรมดานความรู เจตคติ คุณธรรม คานิยม และ การปฏิบัติเกี่ยวกับสุขภาพ และการใชกิจกรรมเคลื่อนไหว การออกกําลังกาย การเลนเกมและกีฬา เปนเครื่องมือ พัฒนาทั้งดานรางกาย จิตใจ อารมณ สังคม สติปญญา รวมทั้งสมรรถภาพเพื่อสุขภาพและกีฬา โดยมีมาตรฐาน และตัวชี้วัดที่เปนพื้นฐานของการประกอบอาชีพตางๆ เชน ตัวชี้วัด พ 3.2 ม.1/2 ออกกําลังกายและเลือกเขาเลนกีฬาตามความถนัด ความสนใจ อยางเต็ม ความสามารถ พรอมทั้งมีการประเมินการเลนของตนและผูอื่น พ 3.2 ม.4-6/1 ออกกําลังกายและเลนกีฬาที่เหมาะสมกับตนเองอยางสมํ่าเสมอและใชความ สามารถของตนเองเพิ่มศักยภาพของทีม ลดความเปนตัวตน คํานึงถึงผล ที่เกิดตอสังคม การจัดการเรียนการสอนตามตัวชี้วัดดังกลาวนอกจากจะเปนการสรางทักษะพื้นฐานในอาชีพ ดานการกีฬา เชน นักฟุตบอล นักวอลเลยบอล นักมวย นักเทนนิส นักลีลาศ ฯลฯ ยังชวยเสริมสรางปลูกฝงทักษะ และเจตคติในการทํางานเปนทีมและทํางานกับผูอื่น ซึ่งเปนสิ่งสําคัญในการประกอบอาชีพทุกประเภทอีกดวย 5. กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ กลุมสาระการเรียนรูศิลปะเปนกลุมสาระการเรียนรูที่ชวยพัฒนาใหผูเรียนมีความคิดสรางสรรค มี จินตนาการทางศิลปะ ชื่นชมความงาม มีสุนทรียภาพ ซึ่งมีผลตอคุณภาพชีวิตมนุษย พัฒนาใหผูเรียนเกิดความรู ความเขาใจ มีทกษะวิธการทางศิลปะ เกิดความซาบซึงในคุณคาของศิลปะ เปดโอกาสใหผเู รียนแสดงออกอยางอิสระ ั ี ้ โดยมีตัวอยางมาตรฐานและตัวชี้วัดที่เปนพื้นฐานของการประกอบอาชีพตางๆ มากมาย เชน ทัศนศิลป ศ 1.1 ม.1/5 ออกแบบรูปภาพ สัญลักษณ หรือกราฟกอืนๆ ในการนําเสนอความคิดและขอมูล ่ ศ 1.1 ม.2/3 วาดภาพดวยเทคนิคที่หลากหลายในการสื่อความหมายและเรื่องราวตางๆ ศ 1.1 ม.3/7 สรางสรรคงานทัศนศิลปสอความหมายเปนเรืองราวโดยประยุกตใชทศนธาตุและ ื่ ่ ั หลักการออกแบบ ศ 1.1 ม.4-6/10 สรางสรรคงานทัศนศิลปไทย สากลโดยศึกษาจากแนวคิดและวิธีการสรางงาน ของศิลปนที่ตนชื่นชอบ การจัดการเรียนการสอนตามตัวชีวดดังกลาวจะเปนทักษะพืนฐานในการพัฒนาไปสูอาชีพทีแสดงออก ้ั ้  ่ ทางศิลปะและการสรางสรรค เชน จิตรกร นักออกแบบเสื้อผา เครื่องแตงกายและเครื่องใช สถาปนิก มัณฑนากร เปนตน คูมอครู  ื
  • 8. ดนตรี ศ 2.1 ม.1/3 ศ 2.1 ม.2/3 ศ 2.1 ม.3/3 รองเพลงและใชเครืองดนตรีบรรเลงประกอบการรองเพลงดวยบทเพลงทีหลากหลาย ่ ่ รองเพลงและเลนดนตรีเดี่ยวและรวมวง รองเพลง เลนดนตรีเดี่ยวและรวมวง โดยเนนเทคนิคการรอง การเลน เสร�ม การแสดงออก และคุณภาพเสียง 7 ศ 2.1 ม.4-6/4 อาน เขียน โนตดนตรีไทยและสากลในอัตราจังหวะตางๆ การจัดการเรียนการสอนตามตัวชีวดดังกลาวจะเปนทักษะพืนฐานในการพัฒนาไปสูอาชีพทางดนตรี ้ั ้  เชน นักรอง นักดนตรี นักแตงเพลง เปนตน นาฏศิลป ศ 3.1 ม.1/3 แสดงนาฏศิลปและละครในรูปแบบงายๆ ศ 3.1 ม.2/2 สรางสรรคการแสดงโดยใชองคประกอบนาฏศิลปและการละคร ศ 3.1 ม.3/6 รวมจัดงานการแสดงในบทบาทหนาที่ตางๆ ศ 3.1 ม.4-6/2 สรางสรรคละครสั้นในรูปแบบที่ชื่นชอบ การจัดการเรียนการสอนตามตัวชี้วัดดังกลาวจะเปนทักษะพื้นฐานในการพัฒนาไปสูอาชีพทาง นาฏศิลปหรือการแสดง เชน นาฏลีลา นักแสดง นักจัดการแสดง ผูกํากับการแสดง นักแตงบทละคร เปนตน 6. กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยีมุงพัฒนาใหผูเรียนมีฐานความรูความสามารถ และทักษะที่จําเปนสําหรับนําไปปรับใชในการประกอบอาชีพและการศึกษาตอในสาขาอาชีพตางๆ ไดอยาง หลากหลาย รวมทั้งใหเห็นแนวทางในการประกอบอาชีพและการศึกษาตอตามความรู ความถนัด และความสนใจ มาตรฐานและตัวชีวดของกลมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยีสวนใหญมลกษณะเปนทักษะกระบวนการ ้ั ุ   ีั ทํางาน ซึ่งผูสอนสามารถจัดเนื้อหาและกิจกรรมการสอนใหสอดคลองกับความตองการของผูเรียนและทองถิ่นได เพื่อพัฒนาไปสูการประกอบอาชีพตางๆ เชน ง 1.1 ม.4-6/2 สรางผลงานอยางมีความคิดสรางสรรค และมีทักษะการทํางานรวมกัน ง 1.1 ม.4-6/7 ใชพลังงาน ทรัพยากรในการทํางานอยางคุมคาและยั่งยืน เพื่อการอนุรักษ สิ่งแวดลอม ง 4.1 ม.2/3 มีทักษะพื้นฐานที่จําเปนสําหรับการประกอบอาชีพที่สนใจ ง 4.1 ม.3/3 ประเมินทางเลือกในการประกอบอาชีพทีสอดคลองกับความรู ความถนัด และความ ่ สนใจของตนเอง ง 4.1 ม.4-6/2 เลือกและใชเทคโนโลยีอยางเหมาะสมกับอาชีพ ง 4.1 ม.4-6/3 มีประสบการณในอาชีพที่ถนัดและสนใจ การจัดรายวิชาพื้นฐานในกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยีจึงสามารถดําเนินการ ไดอยางหลากหลาย ทั้งอาชีพในกลุมเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม ความคิดสรางสรรค การบริหาร จัดการ และการบริการ ตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ และสอดคลองกับบริบทของทองถิ่น ความพรอม ของสถานศึกษา และความตองการของผูเรียนเปนสําคัญ คูมอครู  ื
  • 9. เพือเปนแนวทางการพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนใหสนองตามนโยบายการจัดการเรียนการสอน ่ พื้นฐานอาชีพในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานของรัฐบาลและกระทรวงศึกษาธิการ ผูจัดทําจึงวิเคราะหมาตรฐาน การเรียนรูและตัวชี้วัดในรายวิชา พระพุทธศาสนา ที่สอดคลองกับทักษะปฏิบัติเพื่อเตรียมความพรอมดานพื้นฐาน เสร�ม อาชีพ โดยเสนอแนะกิจกรรมการเรียนรูไวเปนแนวทางในการจัดการเรียนการสอนบูรณาการประสบการณ 8 การทํางานแกผูเรียน ใหบรรลุเจตนารมณของพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 7 ที่ระบุให การจัดการศึกษาตองปลูกฝงใหเยาวชนมีความรูอันเปนสากล มีจิตสํานึกในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอม ตลอดจนมีความสามารถในการประกอบอาชีพ รูจักพึ่งตนเอง และมีความคิดสรางสรรค เพื่อ การดํารงชีวิต การศึกษาตอและการประกอบอาชีพอยางมีคุณภาพของผูเรียนตอไปในอนาคต 5. การใชวัฏจักรการเรียนรู 5E รูปแบบการสอนทีสมพันธกบกระบวนการคิดและการทํางานของสมองของผูเ รียนทีนยมใชอยางแพรหลาย ่ั ั ่ิ คือ วัฏจักรการเรียนรู 5E ซึ่งผูจัดทําคูมือครูไดนํามาใชเปนแนวทางออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนในคูมือครู ฉบับนี้ตามลําดับขั้นตอนการเรียนรู ดังนี้ ขั้นที่ 1 กระตุนความสนใจ (Engage) เปนขันทีผสอนนําเขาสูบทเรียน เพือกระตุนความสนใจของนักเรียนดวยเรืองราวหรือเหตุการณทนาสนใจ ้ ่ ู  ่  ่ ี่  โดยใชเทคนิควิธการสอนและคําถามทบทวนความรูหรือประสบการณเดิมของผูเ รียน เพือเชือมโยงผูเ รียนเขาสู ี  ่ ่ บทเรียนใหม ชวยใหนักเรียนสามารถสรุปประเด็นสําคัญที่เปนหัวขอการเรียนรูของบทเรียนได จึงเปนขั้นตอน การสอนที่สําคัญ เพราะเปนการเตรียมความพรอมและสรางแรงจูงใจใฝเรียนรูแกผูเรียน ขั้นที่ 2 สํารวจคนหา (Explore) เปนขันทีผสอนเปดโอกาสใหผเู รียนไดสงเกตและรวมมือกันสํารวจ เพือใหเห็นปญหา รวมถึงวิธการศึกษา ้ ่ ู ั ่ ี คนควาขอมูลความรูที่จะนําไปสูความเขาใจประเด็นปญหานั้นๆ เมื่อนักเรียนทําความเขาใจในประเด็นหัวขอที่จะศึกษาคนควาอยางถองแทแลวก็ลงมือปฏิบัติ เพื่อเก็บ รวบรวมขอมูลความรู สํารวจตรวจสอบ โดยวิธการตางๆ เชน สัมภาษณ ทดลอง อานคนควาขอมูลจากเอกสาร ี แหลงขอมูลตางๆ จนไดขอมูลความรูตามที่ตั้งประเด็นศึกษาไว ขั้นที่ 3 อธิบายความรู (Explain) เปนขันทีผสอนมีปฏิสมพันธกบผูเ รียน เชน ใหการแนะนํา หรือตังคําถามกระตุนใหคด เพือใหผเู รียนไดคนหา ้ ่ ู ั ั ้  ิ ่  คําตอบ และนําขอมูลความรูจากการศึกษาคนควาในขั้นที่ 2 มาวิเคราะห แปลผล สรุปผล และนําเสนอผล ที่ไดศึกษาคนความาในรูปแบบสารสนเทศตางๆ เชน เขียนแผนภูมิ แผนผังแสดงมโนทัศน เขียนความเรียง เขียนรายงาน เปนตน สมองของผูเรียนจะทําหนาที่คิดวิเคราะห สังเคราะหอยางเปนระบบ คูมอครู  ื
  • 10. ขั้นที่ 4 ขยายความเขาใจ (Expand) เปนขั้นที่ผูสอนไดใชเทคนิควิธีการสอนที่จะชวยพัฒนาผูเรียนใหนําความรูที่เกิดขึ้นไปคิดคนตอๆ ไป เพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรูและการทํางานรวมกันเปนกลุม ระดมสมองเพื่อคิดสรางสรรครวมกัน นักเรียนสามารถนําความรูที่สรางขึ้นใหมไปเชื่อมโยงกับประสบการณเดิม โดยนําขอสรุปที่ไดไปอธิบาย ในเหตุการณตางๆ หรือนําไปปฏิบัติในสถานการณใหมๆ ที่เกี่ยวของกับชีวิตประจําวันของตนเอง เพื่อขยาย ความรูความเขาใจใหกวางขวางยิงขึน สมองของผูเ รียนทําหนาทีคดริเริมสรางสรรคอยางมีคณภาพ เสริมสราง  ่ ้ ่ิ ่ ุ วิสัยทัศนใหกวางไกลออกไป เสร�ม 9 ขั้นที่ 5 ตรวจสอบผล (Evaluate) เปนขันทีผสอนใชประเมินมโนทัศนของผูเ รียน โดยตรวจสอบจากความคิดทีเ่ ปลียนไปและความคิดรวบยอด ้ ่ ู ่ ที่เกิดขึ้นใหม ตรวจสอบทักษะ กระบวนการปฏิบัติ การแกปญหา การตอบคําถามรวบยอด และการเคารพ ความคิดหรือยอมรับเหตุผลของคนอื่น เพื่อการสรางสรรคความรูรวมกัน นักเรียนสามารถประเมินผลการเรียนรูของตนเอง เพื่อสรุปผลวานักเรียนมีความรูอะไรเพิ่มขึ้นมาบาง มากนอยเพียงใด และจะนําความรูเหลานั้นไปประยุกตใชในการเรียนรูเรื่องอื่นๆ ไดอยางไร นักเรียนจะเกิด เจตคติและเห็นคุณคาของตนเองจากผลการเรียนรูที่เกิดขึ้น ซึ่งเปนการเรียนรูที่มีความสุขอยางแทจริง การจัดกิจกรรมการเรียนรูตามวัฏจักรการสรางความรูแบบ 5E จึงเปนรูปแบบการเรียนการสอนที่เนน ผูเ รียนเปนสําคัญ โดยสงเสริมใหผเู รียนใชกระบวนการสรางความรูดวยตนเอง ฝกฝนใหใชกระบวนการคิด และ  กระบวนการกลุมอยางชํานาญ กอใหเกิดทักษะการเรียนรูและทักษะชีวิตที่มีคุณภาพ ตามเปาหมายของการ ปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) ทุกประการ คณะผูจัดทํา คูมอครู  ื
  • 11. แถบสีและสัญลักษณ ที่ใชสื่อความหมายในคูมือครู 1. แถบสี แถบสีแสดงขั้นตอนการสอนและการจัดกิจกรรม แบบ 5E เพื่อใหครูทราบวาเปนขั้นการสอนขั้นใด เสร�ม 10 สีแดง สีเขียว สีสม กระตุนความสนใจ  สํารวจคนหา อธิบายความรู • • • Engage เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใช เทคนิคกระตุนความ สนใจ เพื่อโยงเขาสู บทเรียน Explore เปนขั้นที่ผูสอนให ผูเรียนสํารวจปญหา และศึกษาขอมูล Explain เปนขั้นที่ผูสอนให ผูเรียนคนหาคําตอบ จนเกิดความรูเชิง ประจักษ สีฟา สีมวง ขยายความเขาใจ Expand • เปนขั้นที่ผูสอนให ผูเรียนนําความรูไป คิดคนตอๆ ไป ตรวจสอบผล Evaluate • เปนขั้นที่ผูสอน ประเมินมโนทัศน ของผูเรียน สัญลักษณ 2. สัญลักษณ วัตถุประสงค เปาหมาย การเรียนรู คูมอครู  ื B @ • แสดงเปาหมาย การเรียนรูที่ นักเรียนตอง บรรลุตาม ตัวชี้วัด หลักฐาน เกร็ดแนะครู แสดงผล การเรียนรู • แสดงรองรอย หลักฐานที่ แสดงผล การเรียนรู ตามตัวชี้วัด นักเรียน ควรรู NET B มุม IT ขอสอบ พื้นฐาน อาชีพ • แทรกความรู • ขยายความรู • แนะนําแหลง • วิเคราะหแนว • กิจกรรม เสริมสําหรับครู เพิ่มเติมจาก คนควาจาก ขอสอบ O-NET สําหรับครู ขอเสนอแนะ เนื้อหา เพื่อให เว็บไซต เพื่อให เพื่อใหครู เพื่อใชเปน ขอควรระวัง นักเรียนไดมี ครูและนักเรียน เนนยํ้าเนื้อหา แนวทางใน ขอสังเกต ความรูมากขึ้น ไดเขาถึงขอมูล ที่มักออก การชวยพัฒนา แนวทางการ ความรูที่ ขอสอบ O-NET อาชีพใหกับ จัดกิจกรรม หลากหลาย • ขอสอบ O-NET นักเรียน และอื่นๆ พิจารณาออก เพื่อประโยชน ขอสอบจาก ในการจัดการ เนื้อหา ม.1, 2 เรียนการสอน และ 3
  • 12. ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง (เฉพาะชั้น ม.3)* สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม มาตรฐาน ส 1.1 รู และเขาใจประวัติ ความสําคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนา ที่ตนนับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกตอง ยึดมั่นและปฏิบัติตามหลักธรรม เพื่ออยูรวมกันอยางสันติสุข ชั้น ตัวชี้วัด เสร�ม 11 สาระการเรียนรูแกนกลาง ม.3 1. อธิบายการเผยแผพระพุทธ- • การเผยแผพระพุทธศาสนาเขาสูประเทศตางๆ ทั่วโลกและ ศาสนาหรือศาสนาทีตนนับถือ การนับถือพระพุทธศาสนาของประเทศเหลานั้นในปจจุบัน ่ สูประเทศตางๆ ทั่วโลก 2. วิเคราะหความสําคัญของ พระพุทธศาสนาหรือศาสนา ที่ตนนับถือ ในฐานะที่ชวย สรางสรรคอารยธรรมและ ความสงบสุขแกโลก • ความสําคัญของพระพุทธศาสนาในฐานะที่ชวยสรางสรรค อารยธรรมและความสงบสุขใหแกโลก 3. อภิปรายความสําคัญของ พระพุทธศาสนาหรือศาสนา ที่ตนนับถือ กับปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงและ การพัฒนาอยางยั่งยืน • สัมมนาพระพุทธศาสนากับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและ การพัฒนาอยางยั่งยืน (ที่สอดคลองกับหลักธรรมในสาระการ เรียนรู ขอ 6) 4. วิเคราะหพุทธประวัติจาก พระพุทธรูปปางตางๆ หรือ ประวัติศาสดาที่ตนนับถือ ตามที่กําหนด • ศึกษาพุทธประวัติจากพระพุทธรูปปางตางๆ เชน - ปางมารวิชัย - ปางลีลา - ปางปฐมเทศนา - ปางประจําวันเกิด • สรุปและวิเคราะหพุทธประวัติ - ปฐมเทศนา - โอวาทปาฏิโมกข 5. วิเคราะหและประพฤติตนตาม แบบอยางการดําเนินชีวิตและ ขอคิดจากประวัติสาวก ชาดก เรืองเลา และศาสนิกชนตัวอยาง ่ ตามที่กําหนด • พระอัญญาโกณฑัญญะ • พระมหาปชาบดีเถรี • พระเขมาเถรี • พระเจาปเสนทิโกศล • นันทิวิสาลชาดก • สุวัณณหังสชาดก • หมอมเจาหญิงพูนพิศมัย ดิศกุล • ศาสตราจารยสัญญา ธรรมศักดิ์ * สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน, กระทรวงศึกษาธิการ. ตัวชีว้ ดและสาระการเรียนรูแกนกลาง ้ ้ ั  กลุมสาระการเรียนรู สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม. (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, 2551), หนา 6 - 51.  คูมอครู  ื
  • 13. ชั้น เสร�ม 12 คูมอครู  ื ตัวชี้วัด 6. อธิบายสังฆคุณและขอธรรม สําคัญในกรอบอริยสัจ 4 หรือหลักธรรมของศาสนา ที่ตนนับถือตามที่กําหนด สาระการเรียนรูแกนกลาง • พระรัตนตรัย - สังฆคุณ 9 • อริยสัจ 4 - ทุกข (ธรรมที่ควรรู) - ขันธ 5 - ไตรลักษณ • สมุทัย (ธรรมที่ควรละ) - หลักกรรม - วัฏฏะ 3 - ปปญจธรรม 3 (ตัณหา มานะ ทิฏฐิ) • นิโรธ (ธรรมที่ควรบรรลุ) - อัตถะ 3 • มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ) - มรรคมีองค 8 - ปญญา 3 - สัปปุริสธรรม 7 - บุญกิริยาวัตถุ 10 - อุบาสกธรรม 7 - มงคล 38 - มีศิลปวิทยา - พบสมณะ - ฟงธรรมตามกาล - สนทนาธรรมตามกาล • พุทธศาสนสุภาษิต - อตฺตา หเว ชิตํ เสยฺโย ชนะตนนั่นแลดีกวา - ธมฺมจารี สุขํ เสติ ผูประพฤติธรรมยอมอยูเปนสุข - ปมาโท มจฺจุโน ปทํ ความประมาทเปนทางแหงความตาย - สุสฺสูสํ ลภเต ปฺํ ผูฟงดวยดียอมไดปญญา - เรื่องนารูจากพระไตรปฎก : พุทธปณิธาน 4 ในมหาปรินิพพานสูตร
  • 14. ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง 7. เห็นคุณคาและวิเคราะห • การปฏิบัติตนตามหลักธรรม (ตามสาระการเรียนรู ขอ 6) การปฏิบตตนตามหลักธรรมใน ัิ การพัฒนาตน เพือเตรียมพรอม ่ สําหรับการทํางานและการมี ครอบครัว เสร�ม 13 8. เห็นคุณคาของการพัฒนาจิต • พัฒนาการเรียนรูดวยวิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการ 2 วิธี เพือการเรียนรูและดําเนินชีวต คือ วิธีคิดแบบอริยสัจและวิธีคิดแบบสืบสาวเหตุปจจัย ่  ิ ดวยวิธคดแบบโยนิโสมนสิการ ีิ คือ วิธีคิดแบบอริยสัจและ วิธีคิดแบบสืบสาวเหตุปจจัย หรือการพัฒนาจิตตามแนวทาง ของศาสนาที่ตนนับถือ 9. สวดมนต แผเมตตา บริหารจิต • สวดมนตแปลและแผเมตตา และเจริญปญญาดวยอานาปาน- • รูและเขาใจวิธีปฏิบัติและประโยชนของการบริหารจิตและ เจริญปญญา สติ หรือตามแนวทางของ • ฝกการบริหารจิตและเจริญปญญาตามหลักสติปฏฐานเนน ศาสนาที่ตนนับถือ อานาปานสติ • นําวิธีการบริหารจิตและเจริญปญญาไปใชในชีวิตประจําวัน 10. วิเคราะหความแตกตางและ • วิถีการดําเนินชีวิตของศาสนิกชนศาสนาอื่นๆ ยอมรับวิถีการดําเนินชีวิต ของศาสนิกชนในศาสนาอืนๆ ่ คูมอครู  ื
  • 15. มาตรฐาน ส 1.2 เขาใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเปนศาสนิกชนที่ดี และธํารงรักษาพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ เสร�ม 14 ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง ม.3 1. วิเคราะหหนาที่และบทบาท • หนาที่ของพระภิกษุในการปฏิบัติตามหลักพระธรรมวินัยและ ของสาวกและปฏิบัติตนตอ จริยวัตรอยางเหมาะสม สาวก ตามที่กําหนดไดถูกตอง • การปฏิบัติตนตอพระภิกษุในงานศาสนพิธีที่บาน การสนทนา การแตงกาย มรรยาทการพูดกับพระภิกษุตามฐานะ 2. ปฏิบัติตนอยางเหมาะสมตอ • การเปนศิษยที่ดีตามหลักทิศเบื้องขวาในทิศ 6 บุคคลตางๆ ตามหลักศาสนา ของพระพุทธศาสนา ตามที่กําหนด 3. ปฏิบตหนาทีของศาสนิกชนทีดี • การปฏิบัติหนาที่ชาวพุทธตามพุทธปณิธาน 4 ัิ ่ ่ ในมหาปรินิพพานสูตร 4. ปฏิบตตนในศาสนพิธี พิธกรรม • พิธีทําบุญงานมงคล งานอวมงคล ัิ ี ไดถูกตอง • การนิมนตพระภิกษุ การเตรียมทีตงพระพุทธรูปและเครืองบูชา ่ ั้ ่ การวงดายสายสิญจน การปูลาดอาสนะ การเตรียมเครืองรับรอง ่ การจุดธูปเทียน • ขอปฏิบัติในวันเลี้ยงพระ การถวายขาวพระพุทธ การถวาย ไทยธรรม การกรวดนํ้า 5. อธิบายประวัติวันสําคัญทาง ศาสนาตามที่กําหนดและ ปฏิบัติตนไดถูกตอง 6. แสดงตนเปนพุทธมามกะ หรือแสดงตนเปนศาสนิกชน ของศาสนาที่ตนนับถือ • การแสดงตนเปนพุทธมามกะ - ขั้นเตรียมการ - ขั้นพิธีการ 7. นําเสนอแนวทางในการธํารง รักษาศาสนาที่ตนนับถือ คูมอครู  ื • ประวัติวันสําคัญทางพระพุทธศาสนาในประเทศไทย - วันวิสาขบูชา (วันสําคัญสากล) - วันธรรมสวนะและเทศกาลสําคัญ • หลักปฏิบัติตน : การฟงพระธรรมเทศนา การแตงกาย ในการประกอบศาสนพิธีที่วัด การงดเวนอบายมุข • การประพฤติปฏิบัติในวันธรรมสวนะ และเทศกาลสําคัญ • การศึกษาเรียนรูเรื่ององคประกอบของพระพุทธศาสนา นําไปปฏิบัติและเผยแผตามโอกาส • การศึกษาการรวมตัวขององคกรชาวพุทธ • การปลูกจิตสํานึกในดานการบํารุงรักษาวัดและพุทธสถาน ใหเกิดประโยชน
  • 16. คําอธิบายรายวิชา รายวิชา พระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 รหัสวิชา ส………………………………… กลุมสาระการเรียนรู สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ภาคเรียนที่ 1-2 เวลา 40 ชั่วโมง/ป เสร�ม ศึกษา วิเคราะห การเผยแผพระพุทธศาสนาสูประเทศตางๆ ทั่วโลก ความสําคัญของพระพุทธศาสนาในฐานะ ทีชวยสรางสรรคอารยธรรมและความสงบสุขแกโลก ความสําคัญของพระพุทธศาสนากับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ่ และการพัฒนาอยางยั่งยืน พุทธประวัติจากพระพุทธรูปปางตางๆ การประพฤติตนตามแบบอยางการดําเนินชีวิต และขอคิดจากประวัติพุทธสาวก พุทธสาวิกา (พระอัญญาโกณฑัญญะ พระนางมหาปชาบดีโคตมีเถรี พระเขมาเถรี พระเจาปเสนทิโกศล) ชาดก (นันทิวิสาลชาดก สุวัณณหังสชาดก) ศาสนิกชนตัวอยาง (ศ.สัญญา ธรรมศักดิ์ และ หมอมเจาหญิงพูนพิศมัย ดิศกุล) อธิบายสังฆคุณและขอธรรมสําคัญในกรอบอริยสัจ 4 ในเรื่องทุกข (ธรรมที่ควรรู) ประกอบดวยขันธ 5 (ไตรลักษณ) สมุทัย (ธรรมที่ควรละ) ประกอบดวย หลักกรรม (วัฏฏะ 3) ปปญจธรรม 3 (ตัณหา, มานะ, ทิฏฐิ) นิโรธ (ธรรมที่ควรรู) ประกอบดวย อัตถะ 3 มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ) ประกอบดวย มรรคมีองค 8, ปญญา 3, สัปปุริสธรรม 7 บุญกิริยาวัตถุ 3 อุบาสกธรรม 1 มงคล 38 (มีศิลปวิทยา พบสมณะ ฟงธรรมตามกาล สนทนาธรรมตามกาล) พุทธศาสนสุภาษิตในเรื่อง อตฺตา หเว ชิตํ เสยฺโย, ธมฺมจารี สุขํ เสติ, ปมาโท มจฺจุโน ปทํ, สุสฺสูสํ ลภเต ปฺ  เรืองนารูจากพระไตรปฎก : พุทธปณิธาน 4 ในมหาปรินพพานสูตร การปฏิบตตนตามหลักธรรมในการพัฒนาตน เพือ ่  ิ ัิ ่ เตรียมความพรอมสําหรับการทํางานและการมีครอบครัว การพัฒนาจิต เพื่อการเรียนรูและดําเนินชีวิตดวยวิธีคิด แบบโยนิโสมนสิการ (วิธคดแบบอริยสัจ วิธคดแบบสืบสาวเหตุปจจัย สวดมนตแปล แผเมตตา บริหารจิตและเจริญปญญา ีิ ีิ  ดวยอานาปานสติ) หนาทีและบทบาทของสาวกและการปฏิบตตนตอสาวกไดถกตอง ปฏิบตตนอยางเหมาะสมตอบุคคล ่ ัิ ู ัิ ตางๆ ตามหลักศาสนา ตามหนาทีของศาสนิกชนทีดี ศาสนพิธี พิธกรรม ประวัตวนสําคัญทางพระพุทธศาสนา การแสดงตน ่ ่ ี ิั เปนพุทธมามกะ การเสนอแนวทางในการธํารงรักษาศาสนาทีตนนับถือ การยอมรับความแตกตางและวิถการดําเนินชีวต ่ ี ิ ของศาสนิกชนในศาสนาอื่น โดยใชกระบวนการคิด กระบวนการสืบคนขอมูล กระบวนการทางสังคม กระบวนการปฏิบติ กระบวนการเผชิญ ั สถานการณและแกปญหา กระบวนการกลุม เพื่อใหเกิดความรูความเขาใจ สามารถนําไปปฏิบัติในการดําเนินชีวิต นําไปพัฒนาและแกปญหาของชุมชนและสังคม มีคุณลักษณะอันพึงประสงคในดานรักชาติ ศาสน กษัตริย ซื่อสัตย สุจริต มีวินัย ใฝเรียนรู อยูอยางพอเพียง มุงมั่นในการทํางาน รักความเปนไทย มีจิตสาธารณะ สามารถดําเนินชีวิต อยูรวมกันไดอยางสันติสุข ตัวชี้วัด ส 1.1 ม.3/1 ม.3/6 ส 1.2 ม.3/1 ม.3/6 15 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4 ม.3/5 ม.3/7 ม.3/8 ม.3/9 ม.3/10 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4 ม.3/5 ม.3/7 รวม 17 ตัวชี้วัด คูมอครู  ื
  • 17. ตาราง ÇÔà¤ÃÒÐˏÁҵðҹ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙáÅеÑǪÕÇ´ ÃÒÂÇÔªÒ ¾Ãоط¸ÈÒÊ¹Ò Á.3 Œ éÑ คําชี้แจง : ใหผูสอนใชตารางน�้ตรวจสอบความสอดคลองของเน�้อหาสาระการเรียนรูในหนวยการเรียนรูกับมาตรฐานการเรียนรู เสร�ม 16 และตัวชี้วัดชั้นป สาระที่ 1 มาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด หนวยการเรียนรู หนวยการเรียนรูที่ 1 : ประวัติ และความสําคัญของพระพุทธศาสนา หนวยการเรียนรูที่ 2 : พุทธประวัติ พระสาวก ศาสนิกชนตัวอยางและชาดก มาตรฐาน ส 1.1 ตัวชี้วัด มาตรฐาน ส 1.2 ตัวชี้วัด 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 1 2 3 4 5 6 7 ✓ ✓ ✓ ✓ หนวยการเรียนรูที่ 3 : หลักธรรมทาง พระพุทธศาสนา ✓ ✓ หนวยการเรียนรูที่ 4 : พระไตรปฎก และพุทธศาสนสุภาษิต ✓ หนวยการเรียนรูที่ 5 : หนาที่ชาวพุทธ และมารยาทชาวพุทธ ✓ ✓ ✓ หนวยการเรียนรูที่ 6 : วันสําคัญทาง พระพุทธศาสนาและศาสนพิธี ✓ ✓ หนวยการเรียนรูที่ 7 : การบริหารจิต และการเจริญปญญา หนวยการเรียนรูที่ 8 : พระพุทธศาสนา กับการแกปญหาและการพัฒนา หนวยการเรียนรูที่ 9 : ศาสนากับ การอยูรวมกันในประเทศไทย คูมอครู  ื ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓
  • 18. กระตุนความสนใจ  Engage สํารวจคนหา อธิบายความรู Explore Explain ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Expand ˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ÃÒÂÇÔªÒ¾×é¹°Ò¹ ¾Ãоط¸ÈÒÊ¹Ò Á.ó ªÑ¹ÁѸÂÁÈÖ¡ÉÒ»‚·Õè ó é ¡ÅØ‹ÁÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙŒÊѧ¤ÁÈÖ¡ÉÒ ÈÒÊ¹Ò áÅÐÇѲ¹¸ÃÃÁ µÒÁËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òõõñ ¼ÙŒàÃÕºàÃÕ§ È. ´Ã. ÇԷ ÇÔÈ·àǷ È. ¾ÔàÈÉ àÊ°ÕÂþ§É ÇÃó»¡ ¼ÙŒµÃǨ È. ¾ÔàÈÉ ¨íÒ¹§¤ ·Í§»ÃÐàÊÃÔ° ÃÈ. ªÙÈÑ¡´Ôì ·Ô¾Âà¡Éà ¹ÒÂÊíÒÃÇ ÊÒÃѵ¶ ºÃóҸԡÒà ¹ÒÂÊÁà¡ÕÂÃµÔ ÀÙ‹ÃÐ˧ɏ ¼ÙŒ¨Ñ´·íÒ¤Ù‹Á×ͤÃÙ Ä´ÕÇÃó ÁÒ´Õ¡ØÅ ÊؾѵÃÒ ÂÐÅÒäÊ áÁ¹¾§É àËçÁ¡Í§ พิมพครั้งที่ ๑ สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ รหัสสินคา ๒๓๑๓๒๑๐ รหัสสินคา ๒๓๔๓๑๖๑ ¤Œ¹¤ÇÒÁÃÙŒ¢ÂÒ¤ÇÒÁ¤Ô´¨Ò¡ EB GUIDE ที่พิมพกํากับหัวขอสําคัญในหนังสือเรียนหลักสูตรแกนกลางฯ ผาน www.aksorn.com ไปยังแหลงความรูทั่วไทย-ทั่วโลก Evaluate