SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
1

                     โครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร 5
                       ปี การศึกษา 2555

                          ชื่อโครงงาน
               สื่ อการเรี ยนรู้เรื่ องศาสนาพุทธ



                      ชื่อผูทาโครงงาน
                            ้

1. นางสาวอรญา      รชตะโสฬส                 เลขที่ 18   ชั้นม.6 ห้อง13
2. นางสาวกัญจณ์ชญา สมหวัง                   เลขที่ 27   ชั้น ม.6 ห้อง13
3. นางสาวกัญญาภัค โพธิยา                    เลขที่ 28   ชั้นม.6 ห้อง13




                ชื่ออาจารย์ที่ปรึ กษาโครงงาน
                    นางเขื่อนทอง มูลวรรณ์




    ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรี ยนที่ 1-2 ปี การศึกษา 2555




         โรงเรี ยนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
       สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2



                                                         ใบงาน
                                          การจัดทาข้ อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์

    สมาชิ กในกลุ่ม .……
    1.นางสาวอรญา รชตะโสฬส                    เลขที่ 18           2.นางสาวกัญจณ์ชญา   สมหวัง       เลขที่ 27
    3.นางสาวกัญญาภัค โพธิยา                  เลขที่ 28

ชื่อโครงงาน สื่ อการเรี ยนรู้เรื่ องศาสนาพุทธ
Project : Media of Learning about Buddhism.
ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่ อเพื่อการศึกษา
ชื่ อผู้ทาโครงงาน
1. นางสาวอรญา              รชตะโสฬส เลขที่ 18             ชั้นม.6 ห้อง13
2. นางสาวกัญจณ์ชญา สมหวัง                     เลขที่ 27   ชั้น ม.6 ห้อง13
3. นางสาวกัญญาภัค โพธิยา                      เลขที่ 28   ชั้นม.6 ห้อง13

ชื่อทีปรึกษา นางเขื่อนทอง มูลวรรณ์
      ่
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรี ยนที่ 1-2 ปี การศึกษา 2555

ทีมาและความสาคัญของโครงงาน
   ่
           พระพุทธศาสนา หรื อ ศาสนาพุทธ เป็ นศาสนาที่เข้ามาสู่ ในประเทศไทยจนถึงปั จจุบน เมื่อประมาณ พ.ศ.
                                                                                               ั
236 สมัยเดียวกันกับประเทศศรี ลงกา ด้วยการส่ งพระสมณทูตไปเผยแผ่พระพุทธศาสนาในประเทศต่างๆ 9 สาย
                                    ั
                                                                                           ่
โดยการอุปถัมภ์ของพระเจ้าอโศกมหาราช กษัตริ ยอินเดีย ในขณะนั้นประเทศไทยรวมอยูในดินแดนที่เรี ยกว่า
                                                  ์
                                                           ่
สุ วรรณภูมิ ซึ่ งมีขอบเขตกว้างขวาง มีประเทศรวมกันอยูในดินแดนส่ วนนี้ท้ ง 7 ประเทศในปั จจุบน ได้แก่
                                                                                 ั               ั
                                                                                   ่ ั
ไทย พม่า ศรี ลงกา ญวน กัมพูชา ลาว มาเลเซีย ซึ่ งสันนิษฐานว่ามีใจกลางอยูท่ีจงหวัดนครปฐมของไทย เนื่องจากได้
                 ั
พบโบราณวัตถุที่สาคัญ เช่นพระปฐมเจดีย ์ และรู ปธรรมจักรกวางหมอบเป็ นหลักฐานสาคัญ แต่พม่าก็สันนิษฐานว่า
มีในกลางอยูที่เมืองสะเทิม ภาคใต้ของพม่า พระพุทธศาสนาเข้ามาสู่ สุวรรณภูมิในยุคนี้ นาโดยพระโสณะและพระ
              ่
อุตตระ พระเถระชาวอินเดีย เดินทางมาเผยแผ่พุทธศาสนาในแถบนี้ จนเจริ ญรุ่ งเรื องมาตามลาดับ และในปัจจุบน        ั
ศาสนาพุทธก็เป็ นศาสนาที่ประชาชนชาวไทยนั้นนับถือมากเป็ นอันดับหนึ่ง
 การจัดสร้าง          โครงงานพัฒนาสื่ อเพื่อการศึกษาที่เป็ นส่ วนหนึ่งของวิชาคอมพิวเตอร์ จึงมีความสาคัญที่จะ
เป็ นสื่ อในการให้ความรู ้เรื่ องศาสนาพุทธ และจะได้รู้เรี ยนรู ้เกี่ยวกับประวัติของศาสนาพุทธ หลักธรรมสาคัญของ
พุทธศาสนา และพิธีกรรมในศาสนาพุทธ ซึ่งคนไทยเรานั้นเป็ นชาวพุทธ ในการดาเนินชีวตก็ตองเกี่ยวข้องกับ
                                                                                             ิ ้
3

ศาสนาพุทธ เพราะเป็ นสิ่ งที่ยดเหนี่ยวจิตใจของคนเรา และก็มีพิธีกรรมต่างๆ ในศาสนาพุทธที่คนไทยได้รับการสื บ
                              ึ
ทอดมาช้านานให้เรี ยนรู ้สืบต่อไป ดังนั้นศาสนาพุทธจึงมีความสาคัญที่ตองเรี ยนรู้
                                                                   ้

วัตถุประสงค์
1. เพื่อพัฒนาการเรี ยนการสอนโดยใช้สื่อจากคอมพิวเตอร์
2. เพื่อช่วยให้การเรี ยนรู้ง่ายขึ้น สะดวกและรวดเร็ ว
3. เพื่อให้การเรี ยนรู ้ในเรื่ องศาสนาพุทธมีความชัดเจนและทันสมัยกับปั จจุบน
                                                                          ั
4. เพื่อการใช้เทคโนโลยีในการศึกษาให้เป็ นประโยชน์
5. เพื่อให้คนในสมาชิกกลุ่มรู ้จกทางานเป็ นทีม
                                   ั

ขอบเขตโครงงาน
       การนาโปรแกรมซอฟแวร์ คอมพิวเตอร์ มาช่วยใช้เป็ นสื่ อของการเรี ยนการสอน ทาให้การศึกษามี
ความก้าวหน้าในเทคโนโลยีและทันสมัย ซึ่ งจะมีความสะดวกในการค้นคว้าหาข้อมูลเรื่ องศาสนาพุทธมากยิงขึ้น
                                                                                             ่

หลักการและทฤษฎี
             ศาสนาพุทธ หรื อ พระพุทธศาสนา หรื อ พุทธศาสนา โดยความหมายแล้ว หมายถึงศาสนาแห่งความรู ้แจ้ง
เป็ นศาสนาที่มีพระรัตนตรัย เป็ นสรณะอันสู งสุ ด อันได้แก่ พระพุทธเจ้า พระธรรม และ พระสงฆ์ โดยพระรัตนตรัย
ทั้ง 3 นี้ยอมมีคุณเกี่ยวพันเป็ นอันเดียวกัน จะแยกออกจากกันโดยเฉพาะไม่ได้ ด้วยพระพุทธเจ้าทรงตรัสรู ้ธรรมก่อน
           ่
แล้วสอนให้พระสงฆ์รู้ธรรม พระธรรมนั้น พระสงฆ์ซ่ ึ งเป็ นสาวกของพระพุทธเจ้าย่อมจาทรงไว้ ปฏิบติและสั่ง       ั
สอนสื บต่อพระศาสนา พระรัตนตรัยนี้เปรี ยบด้วยวัตถุวเิ ศษที่มีราคาอย่างสู ง คือ แก้ว จึงเรี ยกพระพุทธ พระธรรม
พระสงฆ์ ว่า รัตนะ คาว่า "รัตนะ" แปลว่าแก้ว,สิ่ งมีค่าสู งยิง,สิ่ งประเสริ ฐ ซึ่ งคาว่ารัตนะในที่น้ ีจะหมายถึง พระ
                                                           ่
                                                                                      ่
รัตนตรัย ซึ่ งก็คือแก้ว 3 ดวง ผูที่นบถือพระพุทธศาสนาก็คือนับถือแก้ว 3 ดวงนี้วามีคุณ ย่อมจะเป็ นที่พ่ ึงที่ระลึกแก่
                                ้ ั
ตน
        หลักธรรมคาสอนทางพุทธศาสนาได้ถูกบันทึกรวบรวมไว้ในคัมภีร์ชื่อ พระไตรปิ ฏก อันประกอบด้วย
"พระธรรม" คือความรู ้ในสัจธรรมต่างๆ ที่พระพุทธเจ้าทรงได้ตรัสรู ้ดวยพระองค์เอง แล้วนามาแสดงแก่ชาวโลก
                                                                   ้
กับ "พระวินย" คือข้อบังคับต่างๆ ที่ทรงบัญญัติไว้สาหรับผูที่บวชเป็ นสาวกในศาสนานี้ผถูกเรี ยกว่า พระภิกษุ
            ั                                           ้                         ู้
สงฆ์ (ชาย) และ พระภิกษุณีสงฆ์ (หญิง)
       พระพุทธเจ้าได้เริ่ มออกเผยแผ่คาสอนดังกล่าวในภูมิภาคที่เป็ นประเทศอินเดียในปั จจุบน ตั้งแต่เมื่อ 45 ปี
                                                                                        ั
ก่อนพุทธศักราช ปั จจุบนศาสนาพุทธได้เผยแผ่ไปทัวทั้งโลก โดยเฉพาะใน ทวีปเอเชีย ทั้งในเอเชียกลาง และเอเชีย
                      ั                       ่
ตะวันออก, ตลอดจนเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อันรวมถึงประเทศไทยด้วย
นอกเหนือจากพระรัตนตรัยแล้ว ผูนบถือโดยทัวไปที่ไม่ได้บวชเป็ นพระภิกษุสงฆ์ เราเรี ยกว่า พุทธศาสนิกชน พุทธ
                              ้ ั          ่
มามกะ พุทธสาวก หรื อ อุบาสก (ชาย) /อุบาสิ กา (หญิง) ภิกษุสงฆ์ ภิกษุณีสงฆ์ อุบาสก อุบาสิ กา รวมกันเรี ยกว่า
พุทธบริ ษท 4
         ั
4

      หลังจากพระพุทธเจ้าตรัสรู้แล้ว ได้เสด็จไปโปรดพระปัญจวัคคีย ์ ณ ป่ าอิสิปตนมฤคทายวัน แขวงเมือง
พาราณสี พระองค์ได้ทรงแสดงปฐมเทศนา ธัมมจักกัปปวัตตนสู ตร แก่พระปั ญจวัคคีย ์ พระโกณฑัญญะบรรลุเป็ น
พระโสดาบัน และกราบทูลขอบวช นับเป็ นพระสงฆ์องค์แรกในโลก ในสมัยพุทธกาล พระองค์ได้เสด็จไปเผยแผ่
พุทธศาสนาตามที่ต่าง ๆ ในชมพูทวีปเป็ นเวลานานกว่า 45 พรรษา จนกระทังปริ นิพพาน
                                                                     ่
         ภายหลังการปริ นิพพานของพระพุทธเจ้า ได้เกิดความขัดแย้งอันเกิดจากการตีความพระธรรมคาสอนและ
พระวินยไม่ตรงกัน จึงมีการแก้ไขโดยมีการจัดทาสังคายนาร้อยกรองพระธรรมวินยที่ถูกต้องไว้เป็ นหลักฐาน
         ั                                                                 ั
สาหรับยึดถือเป็ นแบบแผนต่อไป จึงนาไปสู่ การทาสังคายนาพระไตรปิ ฎก ในการทาสังคายนาพระไตรปิ ฎกครั้งที่ 2
นี้เองที่พระพุทธศาสนาแตกออกเป็ นหลายนิกายกว่า 20 นิกาย[21] และในการทาสังคายนาพระไตรปิ ฎกครั้งที่ 3 ใน
รัชสมัยพระเจ้าอโศกมหาราช พระองค์ได้ทรงแต่งสมณทูต 9 สายออกไปเผยแผ่พุทธศาสนา จนกระทังพุทธศาสนา
                                                                                         ่
แผ่ขยายไปอย่างกว้างขวาง
      ศาสนาพุทธมีความเจริ ญรุ่ งเรื องและความเสื่ อมถอยสลับกัน เนื่องจากการส่ งเสริ มของผูมีอานาจปกครองใน
                                                                                          ้
แต่ละท้องถิ่น แต่ในภาพรวมแล้ว พุทธศาสนาในอินเดียเริ่ มอ่อนแอลงหลังพุทธศตวรรษที่ 15 เป็ นต้นมา โดย
ศาสนาฮินดูได้เข้ามาแทนที่ เช่นเดียวกับการเสื่ อมถอยของพุทธศาสนาในเอเชียกลาง จีน เกาหลี ในขณะที่ศาสนา
                   ่ ่
พุทธได้เข้าไปตั้งมันอยูในญี่ปุ่น และประเทศในเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้
      ต่อมาในพุทธศตวรรษที่ 25 ช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่สองเป็ นต้นมา ศาสนาพุทธเริ่ มเป็ นที่ดึงดูดใจของ
ชาวตะวันตกมากขึ้น และได้มีการตั้งองค์กรทางพุทธศาสนาระดับโลกโดยชาวพุทธจากเอเชีย ยุโรป และอเมริ กา
เหนือรวม 27 ประเทศที่ศรี ลงกาเมื่อ พ.ศ. 2493 ในชื่อ "องค์กรพุทธศาสนิกสัมพันธ์แห่งโลก"
                          ั
หลักธรรมสาคัญของพระพุทธศาสนา
       ศาสนาพุทธสอนว่า ปรมัตถธรรมหรื อสรรพสิ่ งมี 4 อย่างคือ จิต เจตสิ ก รู ป นิพพาน จึงปฏิเสธการมีอยูของ            ่
พระเจ้า (เพราะพระเจ้าจัดเข้าในปรมัตถธรรมไม่ได้) และเชื่อว่าโลกนี้เกิดขึ้นเองจากกฎแห่งธรรมชาติ 5 ประการ
อันมี กฎแห่ งสภาวะ (อุตุนิยาม) มีธาตุท้ ง 5 คือ ดิน น้ า ลม ไฟ และอากาศ ที่เปลี่ยนสถานะเป็ นธาตุต่าง ๆ กลับไป
                                           ั
กลับมา กฎแห่ งชีวต (พีชนิยาม) คือกฎสมตา (ปรับสมดุล) กฎวัฏฏตา (หมุนวนเวียน) และกฎชีวตา (มีปฏิสัมพันธ์
                    ิ                                                                             ิ
ต่อกัน) ที่ทาให้เกิดชีวตินทรี ย ์ รวมทั้ง กฎแห่ งวิญญาน (จิตนิยาม) คือนามธาตุที่กลายเป็ น ธรรมธาตุ7 ที่เป็ นไป
                       ิ
ตาม กฎแห่ งเหตุผล (กรรมนิยาม) และ กฎไตรลักษณ์ (ธรรมนิยาม) กฎไตรลักษณ์เป็ นสิ่ งที่ทาให้มีการสร้าง ดารง
รักษาอยู่ และทาลายไปของทุกสรรพสิ่ ง เมื่อย่อกฎทั้ง 3 แล้ว จะเหลือเพียง ทุกข์ เท่ านั้นทีเ่ กิดขึน ทุกข์ เท่ านั้นทีดับไป
                                                                                                ้                  ่


วิธีดาเนินงาน
1. ประชุมวางแผน
2. ร่ างโครงร่ างโครงงาน
3. ค้นคว้าข้อมูล
4. วิเคราะห์ขอมูล ดาเนินการ
               ้
5



     แนวทางการดาเนินงาน
             การนาโปรแกรมซอฟแวร์ คอมพิวเตอร์ มาประยุกต์ใช้งาน กับ การเรี ยนโดยการใช้สื่อทางเทคโนโลยี จะทา
     ให้การค้นคว้าหาความรู ้เกี่ยวกับเรื่ องศาสนาพุทธได้ง่ายขึ้นและมีความสะดวก รวดเร็ วในการเรี ยนรู ้ในเนื้อหานั้น

     เครื่องมือและอุปกรณ์ ทใช้
                           ี่
     - คอมพิวเตอร์
     - โปรแกรมซอฟแวร์ ต่างๆ
     - งบประมาณ 1,000 บาท

     ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน

ลาดั             ขั้นตอน                          สัปดาห์ที่               ผูรับผิดชอบ
                                                                             ้
 บ                                                     1 1      1 1 1 1 1
                                   1 2 3 4 5 6 7 8 9         12
 ที่                                                   0 1      3 4 5 6 7
 1       คิดหัวข้อโครงงาน          /                                      อรญา
 2       ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล     /                                      อรญา
 3       จัดทาโครงร่ างงาน             /                                  กัญญาภัค
 4       ปฏิบติการสร้าง
              ั                                      /                    กัญจณ์ชญา
         โครงงาน                                                          ,อรญา
 5       ปรับปรุ งทดสอบ                                /                  กัญจณ์ชญา
                                                                          ,อรญา,
                                                                          กัญญาภัค
 6       การทาเอกสารรายงาน                                   /            อรญา,
                                                                          กัญญาภัค
 7       ประเมินผลงาน                                             /       กัญจณ์ชญา
                                                                          ,อรญา,
                                                                          กัญญาภัค
 8       นาเสนอโครงงาน                                                /   อรญา
6

ผลทีคาดว่าจะได้ รับ
       ่
- การศึกษาโดยการใช้สื่อทางเทคโนโลยีจะมีความสะดวก และรวดเร็ วในการเรี ยนรู ้มากขึ้น
- สื่ อนี้จะสามารถให้ความรู ้ให้แก่คนที่คนคว้าหาเรื่ องศาสนาพุทธได้มากขึ้น
                                         ้
- สามารถนาสื่ อที่ทาขึ้นมานั้นใช้ได้ต่อไปในระยะเวลายาวนาน

สถานทีดาเนินการ
         ่
- ที่บาน
      ้
- โรงเรี ยน
- ห้องสมุด

กลุ่มสาระการเรียนรู้ ทเี่ กียวข้ อง
                             ่
- กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้สงคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
                           ั

แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่ งข้ อมูลต่ าง ๆ ทีนามาใช้ การทาโครงงาน)
                                                ่
        http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A8%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%99%E0%B8%B2%
E0%B8%9E%E0%B8%B8%E0%B8%97%E0%B8%98
        http://www.panyathai.or.th/wiki/index.php/%E0%B8%A8%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%99
%E0%B8%B2%E0%B8%9E%E0%B8%B8%E0%B8%97%E0%B8%98

More Related Content

Viewers also liked

Javascript: The good parts for humans (part 4)
Javascript: The good parts for humans (part 4)Javascript: The good parts for humans (part 4)
Javascript: The good parts for humans (part 4)Anji Beeravalli
 
DSRT Presentation Slides 2011
DSRT Presentation Slides 2011DSRT Presentation Slides 2011
DSRT Presentation Slides 2011Julian Stadon
 
5 Key Principles of Obesity Management
5 Key Principles of Obesity Management5 Key Principles of Obesity Management
5 Key Principles of Obesity ManagementArya M. Sharma
 
Portfolio 2014 spring
Portfolio 2014 springPortfolio 2014 spring
Portfolio 2014 springDaniel Hollis
 
Cyber Worlds 2011 submission
Cyber Worlds 2011 submission Cyber Worlds 2011 submission
Cyber Worlds 2011 submission Julian Stadon
 
рабочая программа по математике 9 класс 5 часов
рабочая программа по математике 9 класс  5 часоврабочая программа по математике 9 класс  5 часов
рабочая программа по математике 9 класс 5 часовoksana197319
 
Vocabulary - Week 4
Vocabulary - Week 4Vocabulary - Week 4
Vocabulary - Week 4lressler
 
Vocabulary - Week 2
Vocabulary - Week 2Vocabulary - Week 2
Vocabulary - Week 2lressler
 
Naufalcolinadeline 1 e3_blood_bloodvessel
Naufalcolinadeline 1 e3_blood_bloodvesselNaufalcolinadeline 1 e3_blood_bloodvessel
Naufalcolinadeline 1 e3_blood_bloodvesselNaufal Hakim
 
WC EMBA Brochure executive-mba-global
WC EMBA Brochure executive-mba-globalWC EMBA Brochure executive-mba-global
WC EMBA Brochure executive-mba-globalc73039203
 
Javascript: The good parts for humans (part 3)
Javascript: The good parts for humans (part 3)Javascript: The good parts for humans (part 3)
Javascript: The good parts for humans (part 3)Anji Beeravalli
 
SHLOMO - VOL 1. August 2012 - UAE Edition
SHLOMO - VOL 1. August 2012 - UAE EditionSHLOMO - VOL 1. August 2012 - UAE Edition
SHLOMO - VOL 1. August 2012 - UAE Editionindianorthodoxnetwork
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖Phonpat Songsomphao
 
starstarstarconversionfromonethingtothenext
starstarstarconversionfromonethingtothenextstarstarstarconversionfromonethingtothenext
starstarstarconversionfromonethingtothenextDaniel Hollis
 
Refer on executive web copy v3-3
Refer on executive web copy v3-3Refer on executive web copy v3-3
Refer on executive web copy v3-3johnwelburn
 
愛的承諾Apo 2010年版com99080204
愛的承諾Apo 2010年版com99080204愛的承諾Apo 2010年版com99080204
愛的承諾Apo 2010年版com99080204惠燕 蔡
 
Copernica summit 2014 - Een goed profiel is het halve werk
Copernica summit 2014 - Een goed profiel is het halve werkCopernica summit 2014 - Een goed profiel is het halve werk
Copernica summit 2014 - Een goed profiel is het halve werkArlanet - Digital Engineers
 

Viewers also liked (20)

Javascript: The good parts for humans (part 4)
Javascript: The good parts for humans (part 4)Javascript: The good parts for humans (part 4)
Javascript: The good parts for humans (part 4)
 
DSRT Presentation Slides 2011
DSRT Presentation Slides 2011DSRT Presentation Slides 2011
DSRT Presentation Slides 2011
 
5 page Domain
5 page Domain5 page Domain
5 page Domain
 
5 Key Principles of Obesity Management
5 Key Principles of Obesity Management5 Key Principles of Obesity Management
5 Key Principles of Obesity Management
 
Portfolio 2014 spring
Portfolio 2014 springPortfolio 2014 spring
Portfolio 2014 spring
 
Cyber Worlds 2011 submission
Cyber Worlds 2011 submission Cyber Worlds 2011 submission
Cyber Worlds 2011 submission
 
рабочая программа по математике 9 класс 5 часов
рабочая программа по математике 9 класс  5 часоврабочая программа по математике 9 класс  5 часов
рабочая программа по математике 9 класс 5 часов
 
Vocabulary - Week 4
Vocabulary - Week 4Vocabulary - Week 4
Vocabulary - Week 4
 
Vocabulary - Week 2
Vocabulary - Week 2Vocabulary - Week 2
Vocabulary - Week 2
 
Naufalcolinadeline 1 e3_blood_bloodvessel
Naufalcolinadeline 1 e3_blood_bloodvesselNaufalcolinadeline 1 e3_blood_bloodvessel
Naufalcolinadeline 1 e3_blood_bloodvessel
 
WC EMBA Brochure executive-mba-global
WC EMBA Brochure executive-mba-globalWC EMBA Brochure executive-mba-global
WC EMBA Brochure executive-mba-global
 
Javascript: The good parts for humans (part 3)
Javascript: The good parts for humans (part 3)Javascript: The good parts for humans (part 3)
Javascript: The good parts for humans (part 3)
 
Ahmed obaid
Ahmed obaidAhmed obaid
Ahmed obaid
 
SHLOMO - VOL 1. August 2012 - UAE Edition
SHLOMO - VOL 1. August 2012 - UAE EditionSHLOMO - VOL 1. August 2012 - UAE Edition
SHLOMO - VOL 1. August 2012 - UAE Edition
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖
 
starstarstarconversionfromonethingtothenext
starstarstarconversionfromonethingtothenextstarstarstarconversionfromonethingtothenext
starstarstarconversionfromonethingtothenext
 
Section04 threads
Section04 threadsSection04 threads
Section04 threads
 
Refer on executive web copy v3-3
Refer on executive web copy v3-3Refer on executive web copy v3-3
Refer on executive web copy v3-3
 
愛的承諾Apo 2010年版com99080204
愛的承諾Apo 2010年版com99080204愛的承諾Apo 2010年版com99080204
愛的承諾Apo 2010年版com99080204
 
Copernica summit 2014 - Een goed profiel is het halve werk
Copernica summit 2014 - Een goed profiel is het halve werkCopernica summit 2014 - Een goed profiel is het halve werk
Copernica summit 2014 - Een goed profiel is het halve werk
 

Similar to Projectm6 2-2554

ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย  ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย Bom Anuchit
 
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต) พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต) niralai
 
หน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธหน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธprimpatcha
 
พุทธศาสนากับโหราศาสตร์
พุทธศาสนากับโหราศาสตร์พุทธศาสนากับโหราศาสตร์
พุทธศาสนากับโหราศาสตร์PhusitSudhammo
 
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
13. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  213. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  2
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2hadradchai7515
 
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
13. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  213. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  2
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2hadradchai
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1suchinmam
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาpentanino
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่นการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่นsumanan vanict
 
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555Panda Jing
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10thTongsamut vorasan
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10thTongsamut vorasan
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
ภาษากับการสื่อสาร
ภาษากับการสื่อสารภาษากับการสื่อสาร
ภาษากับการสื่อสารJack Like
 
การศึกษาไทยในสมัยโบราณ
การศึกษาไทยในสมัยโบราณการศึกษาไทยในสมัยโบราณ
การศึกษาไทยในสมัยโบราณssuser930700
 

Similar to Projectm6 2-2554 (20)

ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย  ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
 
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต) พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
 
หน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธหน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธ
 
พุทธศาสนากับโหราศาสตร์
พุทธศาสนากับโหราศาสตร์พุทธศาสนากับโหราศาสตร์
พุทธศาสนากับโหราศาสตร์
 
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
13. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  213. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  2
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
 
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
13. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  213. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  2
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่นการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
 
Nrru 005
Nrru 005Nrru 005
Nrru 005
 
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
 
ภาษากับการสื่อสาร
ภาษากับการสื่อสารภาษากับการสื่อสาร
ภาษากับการสื่อสาร
 
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdfธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
 
การศึกษาไทยในสมัยโบราณ
การศึกษาไทยในสมัยโบราณการศึกษาไทยในสมัยโบราณ
การศึกษาไทยในสมัยโบราณ
 

More from Net'Net Zii

สื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธ
สื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธสื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธ
สื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธNet'Net Zii
 
สื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธ
สื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธสื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธ
สื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธNet'Net Zii
 
Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Net'Net Zii
 
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภท “การประยุกต์ใช้งาน”
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภท “การประยุกต์ใช้งาน”ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภท “การประยุกต์ใช้งาน”
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภท “การประยุกต์ใช้งาน”Net'Net Zii
 
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท“การทดลองทฤษฎี”
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท“การทดลองทฤษฎี”ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท“การทดลองทฤษฎี”
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท“การทดลองทฤษฎี”Net'Net Zii
 
ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา”
ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา”ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา”
ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา”Net'Net Zii
 
ใบงานที่ 3 ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 ขอบข่ายและประเภทของโครงงานNet'Net Zii
 
ใบงานที่ 2 ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2 ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 2 ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2 ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์Net'Net Zii
 
ใบงานที่ 1 ประวัติส่วนตัว
ใบงานที่ 1 ประวัติส่วนตัวใบงานที่ 1 ประวัติส่วนตัว
ใบงานที่ 1 ประวัติส่วนตัวNet'Net Zii
 

More from Net'Net Zii (9)

สื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธ
สื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธสื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธ
สื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธ
 
สื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธ
สื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธสื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธ
สื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธ
 
Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554
 
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภท “การประยุกต์ใช้งาน”
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภท “การประยุกต์ใช้งาน”ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภท “การประยุกต์ใช้งาน”
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภท “การประยุกต์ใช้งาน”
 
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท“การทดลองทฤษฎี”
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท“การทดลองทฤษฎี”ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท“การทดลองทฤษฎี”
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท“การทดลองทฤษฎี”
 
ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา”
ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา”ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา”
ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา”
 
ใบงานที่ 3 ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
 
ใบงานที่ 2 ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2 ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 2 ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2 ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่ 1 ประวัติส่วนตัว
ใบงานที่ 1 ประวัติส่วนตัวใบงานที่ 1 ประวัติส่วนตัว
ใบงานที่ 1 ประวัติส่วนตัว
 

Projectm6 2-2554

  • 1. 1 โครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร 5 ปี การศึกษา 2555 ชื่อโครงงาน สื่ อการเรี ยนรู้เรื่ องศาสนาพุทธ ชื่อผูทาโครงงาน ้ 1. นางสาวอรญา รชตะโสฬส เลขที่ 18 ชั้นม.6 ห้อง13 2. นางสาวกัญจณ์ชญา สมหวัง เลขที่ 27 ชั้น ม.6 ห้อง13 3. นางสาวกัญญาภัค โพธิยา เลขที่ 28 ชั้นม.6 ห้อง13 ชื่ออาจารย์ที่ปรึ กษาโครงงาน นางเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรี ยนที่ 1-2 ปี การศึกษา 2555 โรงเรี ยนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้ อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิ กในกลุ่ม .…… 1.นางสาวอรญา รชตะโสฬส เลขที่ 18 2.นางสาวกัญจณ์ชญา สมหวัง เลขที่ 27 3.นางสาวกัญญาภัค โพธิยา เลขที่ 28 ชื่อโครงงาน สื่ อการเรี ยนรู้เรื่ องศาสนาพุทธ Project : Media of Learning about Buddhism. ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่ อเพื่อการศึกษา ชื่ อผู้ทาโครงงาน 1. นางสาวอรญา รชตะโสฬส เลขที่ 18 ชั้นม.6 ห้อง13 2. นางสาวกัญจณ์ชญา สมหวัง เลขที่ 27 ชั้น ม.6 ห้อง13 3. นางสาวกัญญาภัค โพธิยา เลขที่ 28 ชั้นม.6 ห้อง13 ชื่อทีปรึกษา นางเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ่ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรี ยนที่ 1-2 ปี การศึกษา 2555 ทีมาและความสาคัญของโครงงาน ่ พระพุทธศาสนา หรื อ ศาสนาพุทธ เป็ นศาสนาที่เข้ามาสู่ ในประเทศไทยจนถึงปั จจุบน เมื่อประมาณ พ.ศ. ั 236 สมัยเดียวกันกับประเทศศรี ลงกา ด้วยการส่ งพระสมณทูตไปเผยแผ่พระพุทธศาสนาในประเทศต่างๆ 9 สาย ั ่ โดยการอุปถัมภ์ของพระเจ้าอโศกมหาราช กษัตริ ยอินเดีย ในขณะนั้นประเทศไทยรวมอยูในดินแดนที่เรี ยกว่า ์ ่ สุ วรรณภูมิ ซึ่ งมีขอบเขตกว้างขวาง มีประเทศรวมกันอยูในดินแดนส่ วนนี้ท้ ง 7 ประเทศในปั จจุบน ได้แก่ ั ั ่ ั ไทย พม่า ศรี ลงกา ญวน กัมพูชา ลาว มาเลเซีย ซึ่ งสันนิษฐานว่ามีใจกลางอยูท่ีจงหวัดนครปฐมของไทย เนื่องจากได้ ั พบโบราณวัตถุที่สาคัญ เช่นพระปฐมเจดีย ์ และรู ปธรรมจักรกวางหมอบเป็ นหลักฐานสาคัญ แต่พม่าก็สันนิษฐานว่า มีในกลางอยูที่เมืองสะเทิม ภาคใต้ของพม่า พระพุทธศาสนาเข้ามาสู่ สุวรรณภูมิในยุคนี้ นาโดยพระโสณะและพระ ่ อุตตระ พระเถระชาวอินเดีย เดินทางมาเผยแผ่พุทธศาสนาในแถบนี้ จนเจริ ญรุ่ งเรื องมาตามลาดับ และในปัจจุบน ั ศาสนาพุทธก็เป็ นศาสนาที่ประชาชนชาวไทยนั้นนับถือมากเป็ นอันดับหนึ่ง การจัดสร้าง โครงงานพัฒนาสื่ อเพื่อการศึกษาที่เป็ นส่ วนหนึ่งของวิชาคอมพิวเตอร์ จึงมีความสาคัญที่จะ เป็ นสื่ อในการให้ความรู ้เรื่ องศาสนาพุทธ และจะได้รู้เรี ยนรู ้เกี่ยวกับประวัติของศาสนาพุทธ หลักธรรมสาคัญของ พุทธศาสนา และพิธีกรรมในศาสนาพุทธ ซึ่งคนไทยเรานั้นเป็ นชาวพุทธ ในการดาเนินชีวตก็ตองเกี่ยวข้องกับ ิ ้
  • 3. 3 ศาสนาพุทธ เพราะเป็ นสิ่ งที่ยดเหนี่ยวจิตใจของคนเรา และก็มีพิธีกรรมต่างๆ ในศาสนาพุทธที่คนไทยได้รับการสื บ ึ ทอดมาช้านานให้เรี ยนรู ้สืบต่อไป ดังนั้นศาสนาพุทธจึงมีความสาคัญที่ตองเรี ยนรู้ ้ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาการเรี ยนการสอนโดยใช้สื่อจากคอมพิวเตอร์ 2. เพื่อช่วยให้การเรี ยนรู้ง่ายขึ้น สะดวกและรวดเร็ ว 3. เพื่อให้การเรี ยนรู ้ในเรื่ องศาสนาพุทธมีความชัดเจนและทันสมัยกับปั จจุบน ั 4. เพื่อการใช้เทคโนโลยีในการศึกษาให้เป็ นประโยชน์ 5. เพื่อให้คนในสมาชิกกลุ่มรู ้จกทางานเป็ นทีม ั ขอบเขตโครงงาน การนาโปรแกรมซอฟแวร์ คอมพิวเตอร์ มาช่วยใช้เป็ นสื่ อของการเรี ยนการสอน ทาให้การศึกษามี ความก้าวหน้าในเทคโนโลยีและทันสมัย ซึ่ งจะมีความสะดวกในการค้นคว้าหาข้อมูลเรื่ องศาสนาพุทธมากยิงขึ้น ่ หลักการและทฤษฎี ศาสนาพุทธ หรื อ พระพุทธศาสนา หรื อ พุทธศาสนา โดยความหมายแล้ว หมายถึงศาสนาแห่งความรู ้แจ้ง เป็ นศาสนาที่มีพระรัตนตรัย เป็ นสรณะอันสู งสุ ด อันได้แก่ พระพุทธเจ้า พระธรรม และ พระสงฆ์ โดยพระรัตนตรัย ทั้ง 3 นี้ยอมมีคุณเกี่ยวพันเป็ นอันเดียวกัน จะแยกออกจากกันโดยเฉพาะไม่ได้ ด้วยพระพุทธเจ้าทรงตรัสรู ้ธรรมก่อน ่ แล้วสอนให้พระสงฆ์รู้ธรรม พระธรรมนั้น พระสงฆ์ซ่ ึ งเป็ นสาวกของพระพุทธเจ้าย่อมจาทรงไว้ ปฏิบติและสั่ง ั สอนสื บต่อพระศาสนา พระรัตนตรัยนี้เปรี ยบด้วยวัตถุวเิ ศษที่มีราคาอย่างสู ง คือ แก้ว จึงเรี ยกพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ ว่า รัตนะ คาว่า "รัตนะ" แปลว่าแก้ว,สิ่ งมีค่าสู งยิง,สิ่ งประเสริ ฐ ซึ่ งคาว่ารัตนะในที่น้ ีจะหมายถึง พระ ่ ่ รัตนตรัย ซึ่ งก็คือแก้ว 3 ดวง ผูที่นบถือพระพุทธศาสนาก็คือนับถือแก้ว 3 ดวงนี้วามีคุณ ย่อมจะเป็ นที่พ่ ึงที่ระลึกแก่ ้ ั ตน หลักธรรมคาสอนทางพุทธศาสนาได้ถูกบันทึกรวบรวมไว้ในคัมภีร์ชื่อ พระไตรปิ ฏก อันประกอบด้วย "พระธรรม" คือความรู ้ในสัจธรรมต่างๆ ที่พระพุทธเจ้าทรงได้ตรัสรู ้ดวยพระองค์เอง แล้วนามาแสดงแก่ชาวโลก ้ กับ "พระวินย" คือข้อบังคับต่างๆ ที่ทรงบัญญัติไว้สาหรับผูที่บวชเป็ นสาวกในศาสนานี้ผถูกเรี ยกว่า พระภิกษุ ั ้ ู้ สงฆ์ (ชาย) และ พระภิกษุณีสงฆ์ (หญิง) พระพุทธเจ้าได้เริ่ มออกเผยแผ่คาสอนดังกล่าวในภูมิภาคที่เป็ นประเทศอินเดียในปั จจุบน ตั้งแต่เมื่อ 45 ปี ั ก่อนพุทธศักราช ปั จจุบนศาสนาพุทธได้เผยแผ่ไปทัวทั้งโลก โดยเฉพาะใน ทวีปเอเชีย ทั้งในเอเชียกลาง และเอเชีย ั ่ ตะวันออก, ตลอดจนเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อันรวมถึงประเทศไทยด้วย นอกเหนือจากพระรัตนตรัยแล้ว ผูนบถือโดยทัวไปที่ไม่ได้บวชเป็ นพระภิกษุสงฆ์ เราเรี ยกว่า พุทธศาสนิกชน พุทธ ้ ั ่ มามกะ พุทธสาวก หรื อ อุบาสก (ชาย) /อุบาสิ กา (หญิง) ภิกษุสงฆ์ ภิกษุณีสงฆ์ อุบาสก อุบาสิ กา รวมกันเรี ยกว่า พุทธบริ ษท 4 ั
  • 4. 4 หลังจากพระพุทธเจ้าตรัสรู้แล้ว ได้เสด็จไปโปรดพระปัญจวัคคีย ์ ณ ป่ าอิสิปตนมฤคทายวัน แขวงเมือง พาราณสี พระองค์ได้ทรงแสดงปฐมเทศนา ธัมมจักกัปปวัตตนสู ตร แก่พระปั ญจวัคคีย ์ พระโกณฑัญญะบรรลุเป็ น พระโสดาบัน และกราบทูลขอบวช นับเป็ นพระสงฆ์องค์แรกในโลก ในสมัยพุทธกาล พระองค์ได้เสด็จไปเผยแผ่ พุทธศาสนาตามที่ต่าง ๆ ในชมพูทวีปเป็ นเวลานานกว่า 45 พรรษา จนกระทังปริ นิพพาน ่ ภายหลังการปริ นิพพานของพระพุทธเจ้า ได้เกิดความขัดแย้งอันเกิดจากการตีความพระธรรมคาสอนและ พระวินยไม่ตรงกัน จึงมีการแก้ไขโดยมีการจัดทาสังคายนาร้อยกรองพระธรรมวินยที่ถูกต้องไว้เป็ นหลักฐาน ั ั สาหรับยึดถือเป็ นแบบแผนต่อไป จึงนาไปสู่ การทาสังคายนาพระไตรปิ ฎก ในการทาสังคายนาพระไตรปิ ฎกครั้งที่ 2 นี้เองที่พระพุทธศาสนาแตกออกเป็ นหลายนิกายกว่า 20 นิกาย[21] และในการทาสังคายนาพระไตรปิ ฎกครั้งที่ 3 ใน รัชสมัยพระเจ้าอโศกมหาราช พระองค์ได้ทรงแต่งสมณทูต 9 สายออกไปเผยแผ่พุทธศาสนา จนกระทังพุทธศาสนา ่ แผ่ขยายไปอย่างกว้างขวาง ศาสนาพุทธมีความเจริ ญรุ่ งเรื องและความเสื่ อมถอยสลับกัน เนื่องจากการส่ งเสริ มของผูมีอานาจปกครองใน ้ แต่ละท้องถิ่น แต่ในภาพรวมแล้ว พุทธศาสนาในอินเดียเริ่ มอ่อนแอลงหลังพุทธศตวรรษที่ 15 เป็ นต้นมา โดย ศาสนาฮินดูได้เข้ามาแทนที่ เช่นเดียวกับการเสื่ อมถอยของพุทธศาสนาในเอเชียกลาง จีน เกาหลี ในขณะที่ศาสนา ่ ่ พุทธได้เข้าไปตั้งมันอยูในญี่ปุ่น และประเทศในเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ ต่อมาในพุทธศตวรรษที่ 25 ช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่สองเป็ นต้นมา ศาสนาพุทธเริ่ มเป็ นที่ดึงดูดใจของ ชาวตะวันตกมากขึ้น และได้มีการตั้งองค์กรทางพุทธศาสนาระดับโลกโดยชาวพุทธจากเอเชีย ยุโรป และอเมริ กา เหนือรวม 27 ประเทศที่ศรี ลงกาเมื่อ พ.ศ. 2493 ในชื่อ "องค์กรพุทธศาสนิกสัมพันธ์แห่งโลก" ั หลักธรรมสาคัญของพระพุทธศาสนา ศาสนาพุทธสอนว่า ปรมัตถธรรมหรื อสรรพสิ่ งมี 4 อย่างคือ จิต เจตสิ ก รู ป นิพพาน จึงปฏิเสธการมีอยูของ ่ พระเจ้า (เพราะพระเจ้าจัดเข้าในปรมัตถธรรมไม่ได้) และเชื่อว่าโลกนี้เกิดขึ้นเองจากกฎแห่งธรรมชาติ 5 ประการ อันมี กฎแห่ งสภาวะ (อุตุนิยาม) มีธาตุท้ ง 5 คือ ดิน น้ า ลม ไฟ และอากาศ ที่เปลี่ยนสถานะเป็ นธาตุต่าง ๆ กลับไป ั กลับมา กฎแห่ งชีวต (พีชนิยาม) คือกฎสมตา (ปรับสมดุล) กฎวัฏฏตา (หมุนวนเวียน) และกฎชีวตา (มีปฏิสัมพันธ์ ิ ิ ต่อกัน) ที่ทาให้เกิดชีวตินทรี ย ์ รวมทั้ง กฎแห่ งวิญญาน (จิตนิยาม) คือนามธาตุที่กลายเป็ น ธรรมธาตุ7 ที่เป็ นไป ิ ตาม กฎแห่ งเหตุผล (กรรมนิยาม) และ กฎไตรลักษณ์ (ธรรมนิยาม) กฎไตรลักษณ์เป็ นสิ่ งที่ทาให้มีการสร้าง ดารง รักษาอยู่ และทาลายไปของทุกสรรพสิ่ ง เมื่อย่อกฎทั้ง 3 แล้ว จะเหลือเพียง ทุกข์ เท่ านั้นทีเ่ กิดขึน ทุกข์ เท่ านั้นทีดับไป ้ ่ วิธีดาเนินงาน 1. ประชุมวางแผน 2. ร่ างโครงร่ างโครงงาน 3. ค้นคว้าข้อมูล 4. วิเคราะห์ขอมูล ดาเนินการ ้
  • 5. 5 แนวทางการดาเนินงาน การนาโปรแกรมซอฟแวร์ คอมพิวเตอร์ มาประยุกต์ใช้งาน กับ การเรี ยนโดยการใช้สื่อทางเทคโนโลยี จะทา ให้การค้นคว้าหาความรู ้เกี่ยวกับเรื่ องศาสนาพุทธได้ง่ายขึ้นและมีความสะดวก รวดเร็ วในการเรี ยนรู ้ในเนื้อหานั้น เครื่องมือและอุปกรณ์ ทใช้ ี่ - คอมพิวเตอร์ - โปรแกรมซอฟแวร์ ต่างๆ - งบประมาณ 1,000 บาท ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดั ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผูรับผิดชอบ ้ บ 1 1 1 1 1 1 1 1 2 3 4 5 6 7 8 9 12 ที่ 0 1 3 4 5 6 7 1 คิดหัวข้อโครงงาน / อรญา 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล / อรญา 3 จัดทาโครงร่ างงาน / กัญญาภัค 4 ปฏิบติการสร้าง ั / กัญจณ์ชญา โครงงาน ,อรญา 5 ปรับปรุ งทดสอบ / กัญจณ์ชญา ,อรญา, กัญญาภัค 6 การทาเอกสารรายงาน / อรญา, กัญญาภัค 7 ประเมินผลงาน / กัญจณ์ชญา ,อรญา, กัญญาภัค 8 นาเสนอโครงงาน / อรญา
  • 6. 6 ผลทีคาดว่าจะได้ รับ ่ - การศึกษาโดยการใช้สื่อทางเทคโนโลยีจะมีความสะดวก และรวดเร็ วในการเรี ยนรู ้มากขึ้น - สื่ อนี้จะสามารถให้ความรู ้ให้แก่คนที่คนคว้าหาเรื่ องศาสนาพุทธได้มากขึ้น ้ - สามารถนาสื่ อที่ทาขึ้นมานั้นใช้ได้ต่อไปในระยะเวลายาวนาน สถานทีดาเนินการ ่ - ที่บาน ้ - โรงเรี ยน - ห้องสมุด กลุ่มสาระการเรียนรู้ ทเี่ กียวข้ อง ่ - กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้สงคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ั แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่ งข้ อมูลต่ าง ๆ ทีนามาใช้ การทาโครงงาน) ่ http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A8%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%99%E0%B8%B2% E0%B8%9E%E0%B8%B8%E0%B8%97%E0%B8%98 http://www.panyathai.or.th/wiki/index.php/%E0%B8%A8%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%99 %E0%B8%B2%E0%B8%9E%E0%B8%B8%E0%B8%97%E0%B8%98