O slideshow foi denunciado.
Seu SlideShare está sendo baixado. ×
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio

Confira estes a seguir

1 de 6 Anúncio

Mais Conteúdo rRelacionado

Diapositivos para si (20)

Semelhante a EKG in ACLS (16)

Anúncio

Mais de Narenthorn EMS Center (20)

Mais recentes (20)

Anúncio

EKG in ACLS

  1. 1. คลื่นไฟฟาหัวใจสำหรับการกูชีพขั้นสูง นพ. ราม บรรพพงษ * ความรูเกี่ยวกับคลื่นไฟฟาหัวใจ (Electrocardiogram) เปนสวนสำคัญสำหรับการกูชีพขั้นสูง โดยหลัก แลวขั้นตอนในการกูชีพมีอยู 3 กรณี นั่นคือ ผูปวยไมมีชีพจร, ผูปวยชีพจรเตนชาผิดปกติ (Bradycardia) และผู ปวยชีพจรเตนเร็วผิดปกติ (Tachycardia) แนวทางการรักษาผูปวยรวมทั้งการใหยาชนิดตางๆ ตองอาศัยการ อานผลคลื่นไฟฟาหัวใจเปนสวนสำคัญในการตัดสินใจ ผูเขียนมีวัตถุประสงคใหผูอานสามารถอานคลื่นไฟฟา หัวใจได โดยพยายามเรียบเรียงเปนลำดับเพื่องายตอความเขาใจ สิ่งสำคัญที่ตองรูเกี่ยวกับลักษณะของคลื่นไฟฟาหัวใจ 1. หนาตาและ wave ตางๆ ของคลื่นไฟฟาหัวใจ * หนาตาของ EKG ที่ ปกติประกอบไปดวย P wave ตามมาดวย QRS complex ซึ่ง เปนสวนประกอบของ Q คือ wave ที่หัวลงตัวแรก, R คือ wave หัวขึ้นตัวแรก และ S คือ wave ที่หัวลงตัวที่สอง และ สุดทายคือ T wave ระยะ ระหวาง S และ T wave เรียกวา ST segment ซึ่งเปนบริเวณที่ เราจะใชในการประเมินผูปวย กลามเนื้อหัวใจขาดเลือดชนิด รุนแรง หรือ STEMI (ST segment elevation myocardial infarction) 2. การคำนวณอัตราการเตนของหัวใจ * วิธีการงายที่สุดในการดูอัตราการเตนของหัวใจคือดูคาที่เครื่องทำ EKG คำนวณมาใหเรียบรอยแลว อยางไรก็ตามหากตองการคำนวณดวยตัวเองก็สามารถทำไดโดยใชสูตรดานลาง โดย RR-interval คือระยะจาก R wave ตัวแรกและตัวที่สอง (1 ชองใหญ = 5 ชองเล็ก) อัตราการเตนของหัวใจ = 1500 หรือ 300 (Heart rate) ระยะ RR-interval (นับเปนชองเล็ก) ระยะ RR-interval (นับเปนชองใหญ)
  2. 2. * นอกจากการใชสูตรคำนวณแลว เราอาจประมาณคราวๆ ได โดยหาก RR-interval หางกัน 1, 2, 3, 4, 5, 6 ชองใหญก็จะเทากับอัตราการเตนของหัวใจ 300, 150, 100, 75, 60, 50 ครั้งตอนาที ตามลำดับ ซึ่งหากจำ ตัวเลขไดก็จะเปนประโยชนอยางมากเวลาประเมินผูปวยในภาวะฉุกเฉินที่ตองรีบทำการรักษา ตัวอยางที่ 1 การคำนวณอัตราการเตนของหัวใจ 13 ชองเล็ก * คำนวณตามสูตร = 1500/13 = 115 ครั้งตอนาที * หากประเมินคราวๆ RR-interval หางกันประมาณ 2 ชองกวาๆ ฉะนั้นอัตราการเตนของหัวใจก็จะ อยูที่ระหวาง 100-150 ครั้งตอนาที * ในกรณีชีพจรของผูปวยไมสม่ำเสมอ (ระยะ RR-interval ไมเทากัน) หรือเรียกวา “irregular” จะไม สามารถใชสูตรขางบนได โดยจะตองเปลี่ยนไปใชวิธีนับใหม โดยนับจำนวน QRS complex ใน 6 วินาที (30 ชองใหญ) แลวคูณดวย 10 ก็จะไดอัตราการเตนของหัวใจ ตัวอยางที่ 2 การคำนวณอัตราการเตนของหัวใจกรณีหัวใจเตนไมสม่ำเสมอ 30 ชองใหญ * มีจำนวน QRS complex 11 waves ในชวง 30 ชองใหญ (6 วินาที) เพราะฉะนั้น อัตราการเตน ของหัวใจคือ 11x10 = 110 ครั้งตอนาที * โดยปกติแลวอัตราการเตนของหัวใจปกติจะอยูที่ 60-100 ครั้งตอนาที อยางไรก็ตามในหลักสูตรการกู ชีพขั้นสูงจะถือวาผูปวยมีชีพจรเตนเร็วผิดปกติ (tachycardia) เมื่อ HR ≥150 ครั้งตอนาที และมีชีพจรเตน ชาผิดปกติ (bradycardia) เมื่อ HR <50 ครั้งตอนาที การกำหนดเชนนี้ เนื่องจากชีพจรถูกรบกวนไดดวย หลายสาเหตุ ยกตัวอยางเชน ผูปวยอายุ 80 ป มีไขสูง ปวดหลัง ปสสาวะแสบขัด BP 80/40, HR 121, BT 40.1 จริงอยูที่ผูปวยชีพจรเตนเร็วกวา 100 ครั้งตอนาที แตในรายนี้ชีพจรที่เตนเร็วอาจจะมาจากไขที่สูง และความดัน ที่ตกก็อาจจะเกิดจากผูปวยมีภาวะ sepsis ฉะนั้นการจะโทษวาผูปวยรายนี้มีความดันโลหิตที่ต่ำจากชีพจรที่เตน เร็วจึงเปนเรื่องที่ไมเหมาะสม การที่ชีพจรจะเปนสาเหตุหลักที่ทำใหอาการของคนไขเปลี่ยนแปลงได ตองมีอัตรา ที่ชาหรือเร็วจากคาปกติคอนขางมาก
  3. 3. 3. การประเมินความกวางของ QRS complex * สิ่งสุดทายที่ควรทราบคือการประเมิน QRS complex วากวางหรือแคบ โดยจะถือวา QRS complex ผิดปกติ เมื่อมีความกวางมากกวา 3 ชองเล็ก ตัวอยางที่ 3 ตัวอยาง normal และ wide QRS complex QRS กวาง QRS ปกติ QRS 2 ชอง QRS 7 ชอง * เมื่อเขาใจหลักการดูคลื่นไฟฟาหัวใจอยางคราวๆ แลว ก็มาถึงขั้นตอนการนำไปใชกับผูปวย โดยใหเริ่ม ที่การคลำชีพจรของผูปวย เพื่อจะแยกกลุมผูปวยที่ไมมีชีพจร ออกจากผูปวยชีพจรเตนชาหรือเร็วผิดปกติ สถานการณที่คลำชีพจรไมได (Pulseless arrest) * คลื่นไฟฟาสำคัญที่ตองรูจักในกลุมผูปวยที่ไมมีชีพจรมีอยู 4 รูปแบบดวยกัน โดยแบงเปนแบบที่ตองได รับการ Defibrillation ประกอบไปดวย VT (Ventricular tachycardia) และ VF (Ventricular fibrillation) และ แบบที่ไมตองไดรับการ Defibrillation ประกอบไปดวย Asystole และ PEA (Pulseless electrical activity) คลื่นไฟฟาหัวใจที่ตองไดรับการ Defibrillation 1. VT (Ventricular tachycardia) * VT เปนคลื่นไฟฟาที่ออกมาจาก ventricle มีลักษณะ wide QRS complex และเตนอยาง !! ขอควรระวัง VT มีทั้งแบบไมมีชีพจร (Pulseless สม่ำเสมอ ดังตัวอยางดานบน VT) ซึ่งตองทำการ defibrillation และมีชีพจร (Pulse VT) * อยางไรก็ตามมี VT แบบพิเศษที่เรียกวา ซึ่งวิธีการรักษาคือการใหยา หรือทำ cardioversion ฉะนั้น จึงตองประเมินชีพจรของผูปวยเสมอ กอนจะอาน EKG Torsade de pointes โดย คลื่นไฟฟาจะเปน เหมือนกับ VT แตความสูง (amplitude) ของ wave
  4. 4. จะคอยๆ ขึ้นและลงสลับเปนลูกคลื่น สาเหตุที่ตองจำรูปแบบของ Torsade de pointes เพราะตองให MgSo4 ในการรักษา รูปตัวอยาง Torsade de pointes 2. VF (Ventricular fibrillation) ! ! ขอควรระวัง บางครั้ง VF ที่มี ความสูงของ wave ไมมาก จะแยกกับ Asystole ไดยาก การกดเพิ่ม amplitude ของ wave ใน * เครื่อง EKG monitor ก็สามารถชวยใหเห็น * VF มีลักษณะ wide QRS complex เชนกันแตจะเตนไม wave ของ VF ไดงายขึ้น สม่ำเสมอ และไมมีรูปแบบชัดเจน คลื่นไฟฟาหัวใจที่ไมจำเปนตอง Defibrillation 1. Asystole * ลักษณะเปนเสนตรงขีดเดียว ซึ่งสามารถจดจำไดงาย ขอควรระวังคือ ถาหาก electrode ที่แปะกับ คนไขหลุดแลว อาจทำใหสับสนคิดวาผูปวยเปน Asystole ได 2. PEA (Pulseless electrical activity) ! ! ขอควรระวัง สิ่งที่ผิดพลาดบอย * PEA คือการที่ระบบสงไฟฟาในหัวใจยังทำงานได แต ความผิดปกติอยูที่กลามเนื้อหัวใจไมสามารถบีบเอาเลือดจาก สำหรับ PEA คือการรักษาผูปวยโดยดูแค หัวใจออกมาได ฉะนั้นหากผูปวยไมมีชีพจรและมีคลื่นไฟฟา EKG และไมไดคลำชีพจรผูปวย บางทีผูปวย หัวใจที่นอกเหนือจากทั้ง VT, VF และ Asystole จะถือวาเปน มี EKG ปกติ แตอาจจะ cardiac arrest อยูก็ PEA ทั้งหมด และตองไดรับการรักษาในแนวทางของผูปวยที่ เปนได จึงขอเนนย้ำใหคลำชีพจรผูปวย เสมอกอนที่จะอาน EKG ไมมีชีพจร
  5. 5. สถานการณที่คลำชีพจรได แตเตนชาผิดปกติ (< 50 ครั้งตอนาที) * ใชการคิดคำนวณดังที่กลาวไปแลว ประเมินอัตราการ เตนของหัวใจ ถา <50 ครั้งตอนาทีก็จะอยูในกลุมชีพจรเตนชา สำหรับกลุมผูปวยชีพจรเตนชาผิดปกติ (Bradycardia) การ ! * อาการของผูปวยที่ตองไดรับ การรักษาอยางเรงดวน ตัดสินใจในการรักษาผูปวยจะขึ้นอยูกับอาการของผูปวยวารีบ 1. ความดันโลหิตต่ำ (hypotension) 2. ซึมหรือสับสน ดวนมากเพียงใด ผูปวยที่มีชีพจรเตนชาแตไมมีอาการอะไร อาจ 3. มีอาการแสดงของภาวะชอค (เหงื่อแตก, มีเวลาเพียงพอใหแพทยไดสืบคนหาสาเหตุและใหการรักษา ตัวเย็น) อยางไรก็ตามหากผูปวยมี อาการที่ตองไดรับการรักษาเรง 4. อาการแนนหนาอกเฉียบพลันที่สงสัยวา ดวน จะมีแนวทางการรักษาดังนี้ เกิดจากภาวะกลามเนื้อหัวใจขาดเลือด 1. ดูแลให Oxygen และทางเดินหายใจของผูปวย ถาเหนื่อย 5. มีภาวะน้ำทวมปอดเฉียบพลัน (Acute heart failure) มากอาจจำเปนตองใสทอชวยหายใจ, ติด monitor vital sign รวมทั้ง EKG, เปด IV และหากมีเวลาพอใหทำ EKG 12 leads 2. ปรึกษาแพทยผูเชี่ยวชาญ 3. เริ่มรักษาดวยการให Atropine dose โดยเริ่มที่ 0.5 mg. ในครั้งแรก และสามารถใหซ้ำไดทุก 3-5 นาที ขนาดยามากที่สุดซึ่งสามารถใหไดคือ 3 mg. 4. หากผูปวยไมตอบสนองตอ Atropine ใหเลือกระหวาง • ให Dopamine IV infusion : 2-10 mcg/kg per minute หรือ • ให Epinephrine (Adrenaline) IV infusion : 2-10 mcg/kg per minute หรือ • ใชเครื่องกระตุนหัวใจทางผิวหนัง (percutaneous pacemaker) สถานการณที่คลำชีพจรได แตเตนเร็วผิดปกติ (≥150 ครั้งตอนาที) * หลักการประเมินและรักษาผูปวยชีพจรเตนเร็วผิดปกติ (Tachycardia) คลายคลึงกันกับการดูแลผูปวย ชีพจรเตนชาผิดปกติ เพียงแตขั้นตอนจะซับซอนกวาเล็กนอย โดยตองไดขอมูล 2 อยางจาก EKG อยางแรกคือ QRS complex กวางหรือแคบ อยางที่สองคือชีพจรเตนสม่ำเสมอหรือไม (regularity) การรักษาจะขึ้นอยูกับสิ่งที่ เราพบใน EKG รวมกับอาการของผูปวย หากผูปวยมี อาการที่ตองไดรับการรักษาเรงดวน จะมีแนวทางใน การรักษาดังนี้ 1. ดูแลให Oxygen และทางเดินหายใจของผูปวย ถาเหนื่อยมากอาจจำเปนตองใสทอชวยหายใจ, ติด monitor vital sign รวมทั้ง EKG, เปด IV และหากมีเวลาพอใหทำ EKG 12 leads 2. ปรึกษาแพทยผูเชี่ยวชาญ 3. พิจารณาใหยาระงับปวดและคลายกลามเนื้อ เชน Dormicum 2.5-5 mg., Valium 5-10 mg. กับผูปวยที่ ยังรูสึกตัว และทำ Synchronized cardioversion โดยมีหลักการในการเลือกขนาดของพลังงานที่ใชดัง ตารางที่ 1 อยางไรก็ตามหากคลื่นไฟฟาผูปวยมี QRS complex ที่แคบ และเตนอยางสม่ำเสมอ อาจ พิจารณาให Adenosine กอนจะตัดสินใจทำ cardioversion ได โดยขนาดที่ใชในครั้งแรกคือ 6 mg. และ สามารถให 12 mg. ซ้ำไดอีก 2 ครั้ง
  6. 6. ตารางที่ 1 แสดงขนาดของพลังงานที่ใชในการ Synchronized cardioversion ใน EKG แบบตางๆ QRS complex Regularity ขนาดของพลังงาน (J) แคบ สม่ำเสมอ 50-100 * แคบ ไมสม่ำเสมอ 120-200 กวาง สม่ำเสมอ 100 กวาง ไมสม่ำเสมอ ใหเปลี่ยนไป defibrillation แทน (กดปุม sync. ออก) * อาจพิจารณาให Adenosine กอนตัดสินใจทำ Cardioversion * * อยางไรก็ตามหากอาการของผูปวยไมเรงดวน จะพิจารณาใหยากับผูปวยแทนการทำ Synchronized cardioversion โดยหาก QRS complex แคบ และเตนสม่ำเสมอ จะให Adenosine ในขนาดดังที่กลาวมาแลว แตถาเปนแบบอื่นๆ จะพิจารณาใหยา Antiarrhythmic ตัวอื่นๆ เพิ่มเติม การประเมินผูปวยกลามเนื้อหัวใจขาดเลือดชนิด ST-segment elevation myocardial infarction (STEMI) * ผูปวยกลามเนื้อหัวใจขาดเลือด มีความเสี่ยงตอการเกิดหัวใจเตนผิดจังหวะรุนแรงซึ่งอาจเปนสาเหตุให เกิดชีพจรเตนเร็ว/ชาผิดปกติ หรือรุนแรงถึงขั้นชีพจรหยุดเตน ฉะนั้นนอกจากรักษาการเตนหัวใจที่ผิดปกติแลว ผูปวยกลามเนื้อหัวใจขาดเลือดยังตองไดรับการเปดเสนเลือด coronary ไมวาจะดวยการใสสายสวนหัวใจ หรือ การใหยาละลายลิ่มเลือดตามความเหมาะสม * EKG ที่พบในกลามเนื้อหัวใจขาดเลือดนั้นจะมีความผิดปกติที่ ST-segment ซึ่งจะยกขึ้นกวา baseline ดังตัวอยางดานลาง ตัวอยางที่ 4 ตัวอยาง ST-segment elevation ST segment ที่ยกขึ้นจาก baseline ST segment ปกติ

×