SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์และ
               ออกแบบระบบสารสนเทศ
ระบบ (System)
   ระบบ (System) คือ กลุ่ม (Set) ที่มีองค์ประกอบ
    (Component) หลาย ๆ ส่วน โดยแต่ละองค์ประกอบจะ
    ทำางานร่วมกันเพื่อจุดประสงค์ (Purpose) เดียวกัน
       เช่น ระบบงานทางคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วยองค์ประกอบหลัก
        3 ส่วน คือ ฮาร์ดแวร์ (Hardware) ซอฟต์แวร์ (Software) และ
        บุคลากร (Peopleware) ทั้ง 3 ส่วนนี้จะทำางานเพื่อจุดประสงค์ใน
        การประมวลผล เพื่อให้ได้มาซึ่งผลลัพธ์ตามความต้องการ
ภาพรวมของระบบ
   ระบบจะถูกกำาหนดด้วย ขอบเขต (Boundary) โดยส่วนที่
    อยู่ภายในขอบเขตจะประกอบด้วย ระบบย่อย (Subsystem)
    ซึ่งระบบย่อย ก็คือ องค์ประกอบของระบบ
   ระบบที่ดีควรมี ระบบย่อย ที่สมบูรณ์ในตัว การสื่อสารภายใน
    ระบบย่อยจะส่งข้อมูลระหว่างกัน มีการโต้ตอบ (Feedback)
    หรือ การตรวจสอบ (Monitoring) เพื่อให้ระบบสามารถ
    ดำาเนินการไปสู่เป้าหมาย (Goal) ที่ต้องการ โดยสิ่ง
    แวดล้อม (Environment) คือ สิ่งที่มีผลกระทบต่อระบบ
ผลกระทบจากสิงแวดล้อม
            ่
   ผลกระทบภายใน (Internal Environment) คือ ผลกระทบ
    ที่เกิดจากภายในองค์การที่ส่งผลกระทบต่อองค์การ เช่น
       ต้นทุนการผลิตที่สูงขึ้น
       ปัญหาความขัดแย้งระหว่างพนักงาน
       ปัญหาการบังคับบัญชาในองค์การ
       ปัญหาการขาดแคลนพนักงานในตำาแหน่งหน้าที่
       ปัญหาการขาดงาน
   ผลกระทบภายนอกระบบ (External Environment) คือ
    ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากภายนอกองค์การที่สามารถเกิดขึ้น
    ได้เตลอดเวลา โดยที่องค์การไม่สามารถหลีกเลี่ยงหรือ
    ควบคุมได้ เช่น
       คู่แข่งทางการค้า
       นโยบาย กฏระเบียบ ของ รัฐ
       ภัยธรรมชาติ
       ความต้องการของลูกค้า
       เทคโนโลยี
ระบบธุรกิจ
   ระบบธุรกิจ (Business System) คือ ระบบที่ประกอบด้วย
    ระบบย่อยพื้นฐานต่าง ๆ เช่น ระบบการผลิต ระบบการตลาด
    ระบบบัญชี ระบบสินค้าคงคลัง และระบบบริหารงานบุคคล
   แต่ละระบบย่อยล้วนแต่มีความสัมพันธ์กันทั้งสิ้น เช่น เมื่อมี
    การขายสินค้า ฝ่ายบัญชี ก็จะทำาการบันทึกบัญชีรายได้จาก
    การขายสินค้า เอกสารการขายก็ต้องนำาไปตัดยอดสินค้า
    คงคลัง
   กรรมวิธีในการดำาเนินงานเพื่อให้ภาพรวมของระบบธุรกิจ
    สามารถดำาเนินการได้ด้วยดี ต้องขึ้นกับ ระบบย่อย ต่าง ๆ ที่
    ดี ดังนั้นเมื่อมีการศึกษาระบบงานใด ๆ ควรมีการพิจารณา
    จาก

        What?                               How?




            When?                           Who?
   What คือ การหาวัตถุประสงค์ของระบบว่าคืออะไร มีแผน
    งาน ขั้นตอนอย่างไร
   How คือ การหาวิธีการทำางาน ต้องใช้เครื่องมือใด เพื่อให้
    งานสำาเร็จได้อย่างรวดเร็วย
   When คือ การหาช่วงเวลาในการเริมทำางาน การจัดตาราง
                                     ่
    การทำางานอย่างมีระบบ
   Who คือ บุคคลที่มีหน้าที่รับผิดชอบ
ลักษณะของระบบ
   ระบบปิด (Close System) คือ ระบบที่ไม่มีปฏิสัมพันธ์กับสิ่ง
    แวดล้อม มีจุดมุ่งหมายในการทำางานภายในตัวเอง โดยไม่
    เกี่ยวข้องหรือรับข้อมูลจากสิ่งแวดล้อมใด ๆ
   ระบบเปิด (Open System) คือ ระบบที่มีปฏิสัมพันธ์กบสิ่ง
                                                        ั
    แวดล้อม มีการแลกเปลี่ยนซึงกันและกันกับสภาพแวดล้อม
                                 ่
    ที่เป็นอยู่ ด้วยการแลกเปลี่ยนหรือรับ-ส่งข้อมูลเข้ามาใน
    ระบบ
ข้อมูลและสารสนเทศ
   ข้อมูล (Data) คือ ข้อมูลดิบ (Raw Data) ที่มีความหมาย
    ในตัวมันเอง โดยที่ยังไม่กอให้เกิดประโยชน์
                             ่
   สารสนเทศ (Information) คือ การนำาข้อมูลมาผ่านการ
    ประมวลผลใด ๆ เพื่อให้เกิดสารสนเทศและเป็นประโยชน์
    ต่อผู้ใช้
การวิเคราะห์ระบบ
   เมื่อระบบการทำางานที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน ไม่สามารถบรรลุ
    วัตถุประสงค์ หรือเป็นไปอย่างไม่มีประสิทธิภาพ ซึ่งอาจเป็น
    ผลมาจากสภาพสิ่งแวดล้อมที่เกียวข้องกับระบบงานที่
                                       ่
    เปลี่ยนแปลงไป จึงต้องมี การวิเคราะห์ระบบ (System
    Analysis) ที่เป็นอยู่ว่ามีข้อดี-ข้อเสียประการใด เพื่อจะได้
    ทำาการปรับปรุงแก้ไขให้ระบบทำางานได้ดีขึ้น
   การวิเคราะห์ระบบงาน เป็นการศึกษาถึงปัญหาที่เกิดขึ้นใน
    ระบบงานปัจจุบัน (Current System) เพื่อการออกแบบ
    ระบบการทำางานใหม่ (New System) นอกจากออกแบบ
    สร้างระบบงานใหม่แล้ว เป้าหมายในการวิเคราะห์ระบบยัง
    เป็นการปรับปรุง แก้ไขระบบงานเดิมให้ดีขึ้น
นักวิเคราะห์ระบบ
   นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis: SA) เป็นผู้ที่ประสาน
    การติดต่อกับบุคคลต่าง ๆ เพื่อรวบรวมข้อมูล ความต้องการ
    (Requirement) เพื่อสร้างระบบงานใหม่ โดยงานหลักคือ
       การวางแผน (Planning)
       การวิเคราะห์ความต้องการ (Requirement Analysis)
       การเขียนข้อกำาหนดและรายละเอียด (Specification)
       กำาหนดความต้องการฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ของระบบ
       กำาหนดเทคโนโลยีที่นำามาใช้งาน
วงจรการพัฒนาระบบ
   วงจรการพัฒนาระบบ (System Development Life Cycle:
    SDLC) เป็นวงจรที่แสดงถึงกิจกรรมต่าง ๆ แต่ละขั้นตอน
    ตั้งแต่เริ่มจนกระทั่งสำาเร็จ ในการพัฒนาระบบมีอยู่ 7 ขั้น
    ตอน คือ
       กำาหนดปัญหา (Problem Definition)
       วิเคราะห์ (Analysis)
       ออกแบบ (Design)
       พัฒนา (Development)
       ทดสอบ (Test)
       ติดตั้ง (Implementation)
       บำารุงรักษา (Maintenance)
การกำาหนดปัญหา
   การกำาหนดปัญหา เป็นขั้นตอนของการกำาหนดขอบเขตของ
    ปัญหา สาเหตุของปัญหาจากการดำาเนินงานในปัจจุบัน
    ความเป็นไปได้ในการสร้างระบบงานใหม่ การกำาหนดความ
    ต้องการ (Requirement) ระหว่างนักวิเคราะห์ระบบกับผู้ใช้
    งาน โดยข้อมูลเหล่านี้ได้จากการสัมภาษณ์ การรวบรวม
    ข้อมูลจากการดำาเนินงาน เพื่อทำาการสรุปเป็นข้อกำาหนด
    (Requirement Specification) ที่ชัดเจน
วิเคราะห์
   การวิเคราะห์ เป็นขั้นตอนของการวิเคราะห์การดำาเนินงาน
    ของระบบปัจจุบัน โดยการนำา Requirement Specification
    ที่ได้มาจากการกำาหนดปัญหา เพื่อทำาการพัฒนาเป็นแบบ
    จำาลอง (Logical Model) ซึ่งประกอบด้วย แผนภาพกระแส
    ข้อมูล (Data Flow Diagram) คำาอธิบายการประมวลผล
    ข้อมูล (Process Description) และแบบจำาลองข้อมูล
    (Data Model) ในรูปแบบของ ER-Diagram (Entity
    Relationship) ทำาให้ทราบถึงรายละเอียดขั้นตอนการ
    ดำาเนินงานในระบบ มีความเกี่ยวข้องหรือมีความสัมพันธ์กับ
    สิ่งใด
การออกแบบ
   การออกแบบ เป็นขั้นตอนของการนำาผลลัพธ์ที่ได้จากการ
    วิเคราะห์ มาพัฒนาเป็น Physical Model ให้สอดคล้องกัน
    โดยการออกแบบเริ่มจาก ส่วนของอุปกรณ์และเทคโนโลยี
    ต่าง ๆ และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่นำามาพัฒนา การ
    ออกแบบจำาลองข้อมูล (Data Model) การออกแบบรายงาน
    (Output Design) และการออกแบบจอภาพในการติดต่อกับ
    ผู้ใช้งาน (User Interface: UI) การจัดทำาพจนานุกรม
    ข้อมูล (Data Dictionary)
พัฒนา
   การพัฒนา เป็นขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม ด้วยการสร้าง
    ชุดคำาสั่งหรือเขียนโปรแกรมเพื่อการสร้างระบบงาน โดย
    โปรแกรมที่ใช้ในการพัฒนาจะต้องพิจารณาถึงความเหมาะ
    สมกับเทคโนโลยีที่ใช้งานอยู่
ทดสอบ
   การทดสอบระบบ เป็นขั้นตอนของการทดสอบระบบก่อนที่
    จะนำาไปใช้งานจริง ทีมงานจะทำาการทดสอบข้อมูลเบื้องต้น
    ก่อน ด้วยการสร้างข้อมูลจำาลองเพื่อตรวจสอบการทำางาน
    ของระบบ
ติดตัง
     ้
   การติดตั้ง เป็นขั้นตอนต่อมาหลังจากที่ทำาการทดสอบ จน
    มั่นใจแล้วว่าระบบสามารถทำางานได้จริง และตรงกับความ
    ต้องการของผู้ใช้ระบบ จากนั้นจึงดำาเนินการติดตั้งระบบเพื่อ
    ใช้งานจริงต่อไป
บำารุงรักษา
   การบำารุงรักษา เป็นขั้นตอนของการปรับปรุงแก้ไขระบบ
    หลังจากที่ได้มีการติดตั้งและใช้งานแล้ว ในขั้นตอนนี้อาจจะ
    เกิดจากปัญหาของโปรแกรม (Bug) ซึ่งโปรแกรมเมอร์จะ
    ต้องแก้ไขให้ถูกต้อง หรืออาจเกิดจากความต้องการของผู้
    ใช้เพิ่มเติม

More Related Content

What's hot

เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศmilk tnc
 
ระบบ (System)
ระบบ (System)ระบบ (System)
ระบบ (System)tumetr
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศsiriyapa
 
ระบบสารสน..[1]
ระบบสารสน..[1]ระบบสารสน..[1]
ระบบสารสน..[1]orathai
 
การพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศ
การพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศการพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศ
การพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการบทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการPrakaywan Tumsangwan
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศyanika12
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศjureeratlove
 
ตัวอย่างงานบทที่ 3 DFD Diagram
ตัวอย่างงานบทที่ 3 DFD Diagramตัวอย่างงานบทที่ 3 DFD Diagram
ตัวอย่างงานบทที่ 3 DFD Diagramrubtumproject.com
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศPetch Boonyakorn
 

What's hot (15)

เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ระบบ (System)
ระบบ (System)ระบบ (System)
ระบบ (System)
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
ระบบสารสน..[1]
ระบบสารสน..[1]ระบบสารสน..[1]
ระบบสารสน..[1]
 
การพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศ
การพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศการพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศ
การพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศ
 
Dss pp
Dss ppDss pp
Dss pp
 
บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการบทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบ
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
Work3-05
Work3-05Work3-05
Work3-05
 
ตัวอย่างงานบทที่ 3 DFD Diagram
ตัวอย่างงานบทที่ 3 DFD Diagramตัวอย่างงานบทที่ 3 DFD Diagram
ตัวอย่างงานบทที่ 3 DFD Diagram
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
Sallai pro
Sallai proSallai pro
Sallai pro
 
Ch6
Ch6Ch6
Ch6
 

Viewers also liked

Viewers also liked (10)

Materi ips
Materi ipsMateri ips
Materi ips
 
Личные Кабинеты Компании "Амрита" - путеводитель
Личные Кабинеты Компании "Амрита" - путеводитель Личные Кабинеты Компании "Амрита" - путеводитель
Личные Кабинеты Компании "Амрита" - путеводитель
 
active|edge - corporate wargaming
active|edge - corporate wargamingactive|edge - corporate wargaming
active|edge - corporate wargaming
 
M
MM
M
 
TVN slideshare 2
TVN slideshare 2TVN slideshare 2
TVN slideshare 2
 
CV_Update_Anang Supriyatna_2016
CV_Update_Anang Supriyatna_2016CV_Update_Anang Supriyatna_2016
CV_Update_Anang Supriyatna_2016
 
Materi ips
Materi ipsMateri ips
Materi ips
 
Express entry
Express entryExpress entry
Express entry
 
Release Management and QA
Release Management and QARelease Management and QA
Release Management and QA
 
Lamp lightsssssssssssss
Lamp lightsssssssssssssLamp lightsssssssssssss
Lamp lightsssssssssssss
 

Similar to M

ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศTheerapat Nilchot
 
38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศTippathai Infinity
 
38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศTippathai Infinity
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ053681478
 
อรณี มารดาวงค์
อรณี  มารดาวงค์ อรณี  มารดาวงค์
อรณี มารดาวงค์ orathai
 
อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25
อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25
อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25อรนุช พรฤทธา
 
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่ายระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่ายSassygirl Sassyboy
 
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่ายระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่ายSassygirl Sassyboy
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมnuknook
 
บทที่ 8. ประเภทของระบบสารสนเทศ
บทที่ 8. ประเภทของระบบสารสนเทศบทที่ 8. ประเภทของระบบสารสนเทศ
บทที่ 8. ประเภทของระบบสารสนเทศPokypoky Leonardo
 
บทที่6
บทที่6บทที่6
บทที่6somjit003
 

Similar to M (20)

ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
Sdlc
SdlcSdlc
Sdlc
 
38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ
 
38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
template system
template systemtemplate system
template system
 
Project Sky
Project SkyProject Sky
Project Sky
 
วรกานต์ ต๋าตุ๋น
วรกานต์ ต๋าตุ๋น วรกานต์ ต๋าตุ๋น
วรกานต์ ต๋าตุ๋น
 
อรณี มารดาวงค์
อรณี  มารดาวงค์ อรณี  มารดาวงค์
อรณี มารดาวงค์
 
อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25
อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25
อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25
 
ณัฐชา ม.201 เลขที่20
ณัฐชา ม.201 เลขที่20ณัฐชา ม.201 เลขที่20
ณัฐชา ม.201 เลขที่20
 
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่ายระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
 
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่ายระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอม
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
Design6
Design6Design6
Design6
 
บทที่ 8. ประเภทของระบบสารสนเทศ
บทที่ 8. ประเภทของระบบสารสนเทศบทที่ 8. ประเภทของระบบสารสนเทศ
บทที่ 8. ประเภทของระบบสารสนเทศ
 
แบบจำลองระบบ
แบบจำลองระบบแบบจำลองระบบ
แบบจำลองระบบ
 
บทที่6
บทที่6บทที่6
บทที่6
 

M

  • 2. ระบบ (System)  ระบบ (System) คือ กลุ่ม (Set) ที่มีองค์ประกอบ (Component) หลาย ๆ ส่วน โดยแต่ละองค์ประกอบจะ ทำางานร่วมกันเพื่อจุดประสงค์ (Purpose) เดียวกัน  เช่น ระบบงานทางคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วยองค์ประกอบหลัก 3 ส่วน คือ ฮาร์ดแวร์ (Hardware) ซอฟต์แวร์ (Software) และ บุคลากร (Peopleware) ทั้ง 3 ส่วนนี้จะทำางานเพื่อจุดประสงค์ใน การประมวลผล เพื่อให้ได้มาซึ่งผลลัพธ์ตามความต้องการ
  • 3. ภาพรวมของระบบ  ระบบจะถูกกำาหนดด้วย ขอบเขต (Boundary) โดยส่วนที่ อยู่ภายในขอบเขตจะประกอบด้วย ระบบย่อย (Subsystem) ซึ่งระบบย่อย ก็คือ องค์ประกอบของระบบ  ระบบที่ดีควรมี ระบบย่อย ที่สมบูรณ์ในตัว การสื่อสารภายใน ระบบย่อยจะส่งข้อมูลระหว่างกัน มีการโต้ตอบ (Feedback) หรือ การตรวจสอบ (Monitoring) เพื่อให้ระบบสามารถ ดำาเนินการไปสู่เป้าหมาย (Goal) ที่ต้องการ โดยสิ่ง แวดล้อม (Environment) คือ สิ่งที่มีผลกระทบต่อระบบ
  • 4. ผลกระทบจากสิงแวดล้อม ่  ผลกระทบภายใน (Internal Environment) คือ ผลกระทบ ที่เกิดจากภายในองค์การที่ส่งผลกระทบต่อองค์การ เช่น  ต้นทุนการผลิตที่สูงขึ้น  ปัญหาความขัดแย้งระหว่างพนักงาน  ปัญหาการบังคับบัญชาในองค์การ  ปัญหาการขาดแคลนพนักงานในตำาแหน่งหน้าที่  ปัญหาการขาดงาน
  • 5. ผลกระทบภายนอกระบบ (External Environment) คือ ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากภายนอกองค์การที่สามารถเกิดขึ้น ได้เตลอดเวลา โดยที่องค์การไม่สามารถหลีกเลี่ยงหรือ ควบคุมได้ เช่น  คู่แข่งทางการค้า  นโยบาย กฏระเบียบ ของ รัฐ  ภัยธรรมชาติ  ความต้องการของลูกค้า  เทคโนโลยี
  • 6. ระบบธุรกิจ  ระบบธุรกิจ (Business System) คือ ระบบที่ประกอบด้วย ระบบย่อยพื้นฐานต่าง ๆ เช่น ระบบการผลิต ระบบการตลาด ระบบบัญชี ระบบสินค้าคงคลัง และระบบบริหารงานบุคคล  แต่ละระบบย่อยล้วนแต่มีความสัมพันธ์กันทั้งสิ้น เช่น เมื่อมี การขายสินค้า ฝ่ายบัญชี ก็จะทำาการบันทึกบัญชีรายได้จาก การขายสินค้า เอกสารการขายก็ต้องนำาไปตัดยอดสินค้า คงคลัง
  • 7. กรรมวิธีในการดำาเนินงานเพื่อให้ภาพรวมของระบบธุรกิจ สามารถดำาเนินการได้ด้วยดี ต้องขึ้นกับ ระบบย่อย ต่าง ๆ ที่ ดี ดังนั้นเมื่อมีการศึกษาระบบงานใด ๆ ควรมีการพิจารณา จาก What? How? When? Who?
  • 8. What คือ การหาวัตถุประสงค์ของระบบว่าคืออะไร มีแผน งาน ขั้นตอนอย่างไร  How คือ การหาวิธีการทำางาน ต้องใช้เครื่องมือใด เพื่อให้ งานสำาเร็จได้อย่างรวดเร็วย  When คือ การหาช่วงเวลาในการเริมทำางาน การจัดตาราง ่ การทำางานอย่างมีระบบ  Who คือ บุคคลที่มีหน้าที่รับผิดชอบ
  • 9. ลักษณะของระบบ  ระบบปิด (Close System) คือ ระบบที่ไม่มีปฏิสัมพันธ์กับสิ่ง แวดล้อม มีจุดมุ่งหมายในการทำางานภายในตัวเอง โดยไม่ เกี่ยวข้องหรือรับข้อมูลจากสิ่งแวดล้อมใด ๆ  ระบบเปิด (Open System) คือ ระบบที่มีปฏิสัมพันธ์กบสิ่ง ั แวดล้อม มีการแลกเปลี่ยนซึงกันและกันกับสภาพแวดล้อม ่ ที่เป็นอยู่ ด้วยการแลกเปลี่ยนหรือรับ-ส่งข้อมูลเข้ามาใน ระบบ
  • 10. ข้อมูลและสารสนเทศ  ข้อมูล (Data) คือ ข้อมูลดิบ (Raw Data) ที่มีความหมาย ในตัวมันเอง โดยที่ยังไม่กอให้เกิดประโยชน์ ่  สารสนเทศ (Information) คือ การนำาข้อมูลมาผ่านการ ประมวลผลใด ๆ เพื่อให้เกิดสารสนเทศและเป็นประโยชน์ ต่อผู้ใช้
  • 11. การวิเคราะห์ระบบ  เมื่อระบบการทำางานที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน ไม่สามารถบรรลุ วัตถุประสงค์ หรือเป็นไปอย่างไม่มีประสิทธิภาพ ซึ่งอาจเป็น ผลมาจากสภาพสิ่งแวดล้อมที่เกียวข้องกับระบบงานที่ ่ เปลี่ยนแปลงไป จึงต้องมี การวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) ที่เป็นอยู่ว่ามีข้อดี-ข้อเสียประการใด เพื่อจะได้ ทำาการปรับปรุงแก้ไขให้ระบบทำางานได้ดีขึ้น  การวิเคราะห์ระบบงาน เป็นการศึกษาถึงปัญหาที่เกิดขึ้นใน ระบบงานปัจจุบัน (Current System) เพื่อการออกแบบ ระบบการทำางานใหม่ (New System) นอกจากออกแบบ สร้างระบบงานใหม่แล้ว เป้าหมายในการวิเคราะห์ระบบยัง เป็นการปรับปรุง แก้ไขระบบงานเดิมให้ดีขึ้น
  • 12. นักวิเคราะห์ระบบ  นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis: SA) เป็นผู้ที่ประสาน การติดต่อกับบุคคลต่าง ๆ เพื่อรวบรวมข้อมูล ความต้องการ (Requirement) เพื่อสร้างระบบงานใหม่ โดยงานหลักคือ  การวางแผน (Planning)  การวิเคราะห์ความต้องการ (Requirement Analysis)  การเขียนข้อกำาหนดและรายละเอียด (Specification)  กำาหนดความต้องการฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ของระบบ  กำาหนดเทคโนโลยีที่นำามาใช้งาน
  • 13. วงจรการพัฒนาระบบ  วงจรการพัฒนาระบบ (System Development Life Cycle: SDLC) เป็นวงจรที่แสดงถึงกิจกรรมต่าง ๆ แต่ละขั้นตอน ตั้งแต่เริ่มจนกระทั่งสำาเร็จ ในการพัฒนาระบบมีอยู่ 7 ขั้น ตอน คือ  กำาหนดปัญหา (Problem Definition)  วิเคราะห์ (Analysis)  ออกแบบ (Design)  พัฒนา (Development)  ทดสอบ (Test)  ติดตั้ง (Implementation)  บำารุงรักษา (Maintenance)
  • 14. การกำาหนดปัญหา  การกำาหนดปัญหา เป็นขั้นตอนของการกำาหนดขอบเขตของ ปัญหา สาเหตุของปัญหาจากการดำาเนินงานในปัจจุบัน ความเป็นไปได้ในการสร้างระบบงานใหม่ การกำาหนดความ ต้องการ (Requirement) ระหว่างนักวิเคราะห์ระบบกับผู้ใช้ งาน โดยข้อมูลเหล่านี้ได้จากการสัมภาษณ์ การรวบรวม ข้อมูลจากการดำาเนินงาน เพื่อทำาการสรุปเป็นข้อกำาหนด (Requirement Specification) ที่ชัดเจน
  • 15. วิเคราะห์  การวิเคราะห์ เป็นขั้นตอนของการวิเคราะห์การดำาเนินงาน ของระบบปัจจุบัน โดยการนำา Requirement Specification ที่ได้มาจากการกำาหนดปัญหา เพื่อทำาการพัฒนาเป็นแบบ จำาลอง (Logical Model) ซึ่งประกอบด้วย แผนภาพกระแส ข้อมูล (Data Flow Diagram) คำาอธิบายการประมวลผล ข้อมูล (Process Description) และแบบจำาลองข้อมูล (Data Model) ในรูปแบบของ ER-Diagram (Entity Relationship) ทำาให้ทราบถึงรายละเอียดขั้นตอนการ ดำาเนินงานในระบบ มีความเกี่ยวข้องหรือมีความสัมพันธ์กับ สิ่งใด
  • 16. การออกแบบ  การออกแบบ เป็นขั้นตอนของการนำาผลลัพธ์ที่ได้จากการ วิเคราะห์ มาพัฒนาเป็น Physical Model ให้สอดคล้องกัน โดยการออกแบบเริ่มจาก ส่วนของอุปกรณ์และเทคโนโลยี ต่าง ๆ และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่นำามาพัฒนา การ ออกแบบจำาลองข้อมูล (Data Model) การออกแบบรายงาน (Output Design) และการออกแบบจอภาพในการติดต่อกับ ผู้ใช้งาน (User Interface: UI) การจัดทำาพจนานุกรม ข้อมูล (Data Dictionary)
  • 17. พัฒนา  การพัฒนา เป็นขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม ด้วยการสร้าง ชุดคำาสั่งหรือเขียนโปรแกรมเพื่อการสร้างระบบงาน โดย โปรแกรมที่ใช้ในการพัฒนาจะต้องพิจารณาถึงความเหมาะ สมกับเทคโนโลยีที่ใช้งานอยู่
  • 18. ทดสอบ  การทดสอบระบบ เป็นขั้นตอนของการทดสอบระบบก่อนที่ จะนำาไปใช้งานจริง ทีมงานจะทำาการทดสอบข้อมูลเบื้องต้น ก่อน ด้วยการสร้างข้อมูลจำาลองเพื่อตรวจสอบการทำางาน ของระบบ
  • 19. ติดตัง ้  การติดตั้ง เป็นขั้นตอนต่อมาหลังจากที่ทำาการทดสอบ จน มั่นใจแล้วว่าระบบสามารถทำางานได้จริง และตรงกับความ ต้องการของผู้ใช้ระบบ จากนั้นจึงดำาเนินการติดตั้งระบบเพื่อ ใช้งานจริงต่อไป
  • 20. บำารุงรักษา  การบำารุงรักษา เป็นขั้นตอนของการปรับปรุงแก้ไขระบบ หลังจากที่ได้มีการติดตั้งและใช้งานแล้ว ในขั้นตอนนี้อาจจะ เกิดจากปัญหาของโปรแกรม (Bug) ซึ่งโปรแกรมเมอร์จะ ต้องแก้ไขให้ถูกต้อง หรืออาจเกิดจากความต้องการของผู้ ใช้เพิ่มเติม