SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
Download to read offline
อิม มูโ นวิท ยา (Immunology)
ภูม ิคุ้มกันวิท ยา

ระบบภูม ิคมกัน ของมนุษ ย์
ุ้
(Human Immune System)

สิ่งแปลกปลอม (แอนติเ จน) ได้ แก่ อะไรบ้าง?
 เซลล์ม ะเร็ง

 เซลล์ผู้อื่น

อวัยวะผู้อื่น

 จุลินทรีย์ แบคทีเรีย รา ไวรัส พยาธิ โปรโตซั ว
 สารเคมี

 วัสดุ

สารพิษ

ฝุ่นละออง เกษรดอกไม้

วิชาที่ว่า ด้วยเรื่องเกี่ยวกับระบบภูม ิคุ้ม กัน
ของร่า งกายและการตอบสนองทาง
ภูม ิคุ้ม กัน (immune response) ต่อสิ่ง
แปลกปลอมซึ่งเรียกว่า แอนติเ จน
(antigen, Ag)

คุณสมบัต ิของสารท เป็นแอนติเจน
ี่
1. ม ค วามแปลกปลอม (foreigness)
ี

2. ม ล กษณะโครงสร า ง ค ณ สมบ ัต ท างช ีวเคม ทจ าเพาะแตกต างก ัน
ี ั
้
ุ
ิ
ี ี่
่
ไป เช ่น

ประจ ุไฟฟ า ค ณ สมบ ัต ิการละลาย โครงสร ้างโมเลก ุล โดยท วไป
้ ุ
ั่
สารทเป ็นแอนต ิเจนได ้ด มากค อ โปรต ีน รองลงมาค อพวกโพล ี
ี่
ี
ื
ื
แซคคาไรด ์ ไ ขม ัน และกรดน วคล ิอค ตามล าด บ
ิ
ิ
ั
3. ม ขน าด (size) ทใ หญ พ อสมควร
ี
ี่
่

สารทม ขนาดใหญ ่เป ็นแ อนต ิเจนทด กว า สารขน าดเล ็ก
ี่ ี
ี่ ี ่

สารทม ขนาดเล ็กเช ่นยาเพนน ิซ ิล ิน เร ียกว า Hapten ไม ่เป ็น
ี่ ี
่
immunogen ต องรวมต วก ับโปรต ีน อนเร ียกว า carrier
้
ั
ื่
่
protein จ งจะกระตนร า งกาย ได ้
ึ
ุ้ ่

ANT IGENIC DET ERMINANTS (EPITOPE)

คือหน่วยย่อยบนผิวของแอนติเ จนท กระตุ้นให้
ี่
ร่างกายสร้างแอนติบ อดีหรือกระตุ้น
T- lymphocyte ท จาเพาะต่อตาแหน่ง นั้นๆ
ี่

เช่นโปรตีนม หน่วยย่อยเป็นกรดอะม โนท ี่
ี
ิ
เรียงลาดับต่างกัน ดัง นั้นบนแอนติเ จน 1
โมเลกุลจะม ี antigenic determinant
มากมาย

1
ระบบภูมิคุ้ มกัน ประกอบด้วยอะไร?
เซลล์เม็ดเลือ ดขาว
โปรตีน สารน้้า
อวัยวะ
เนื้อ เยื่อ ท้างานเป็นโครงข่าย
ถูกควบคุมโดยยีน

เซลล์ในระบบภูมค ุ้มกัน
ิ
เซลล ์ท สร ้างเม ็ดเล อดล ้วนแล วแต ่ม ีต ้น กาเน ิดมาจากเซลล ตงต ้นท ี่
ี่
ื
้
์ ั้
เร ียกว า pluripotential stem cells สาหร บเซลล ์เม ็ดเล ือดขาว
่
ั
จะเจร ิญแบ ง ออกเป ็น 2 สายค อ
่
ื

1. lymphoid lineage
จะเจร ิญเป ็น lymphoc yte ซ ง จะพ ัฒน าต อเป ็น Tึ่
่
lymphocyte , B-lymphocyte
และ natural killer cell (NK cell)
2. myeloid lineage
จะเจร ิญเป ็น monocyte และ PMN (polymorphonuc lear
cells) ค อ neutrophil, basophil, eosinophil`
ื

Production of blood cells from pluripotent stem cells in the bone marrow.

2
RETICULO ENDOTHELIAL
SYSTEM (RE SYSTEM)
เป็นโครงข่า ย (network) ของ เซลล์ใ นอวัย วะต่างๆท ท า
ี่

หน้าท จบกิน (monocyte, macrophage)
ี่ ั

จะพบใน เล อด ตับ ม า ม ไต ไขก ระดูก ต่อม
ื
้
น้าเหล อง ปอด สมอง ต่อมไทม ส
ื
ั
Major organs in the lymphoid and reticuloendothelial systems

กระบวนการจับกินสิ่งแปลกปลอม
(phagocytosis)
ฟาโกไซด์ ทางาน 4 ขั้นตอน
1. chemotaxis เป็นขบวนการที่เม็ดเลือดขาวพวก phagocyte
ถูกดึงดูดด้ว ยสารเคมีให้มาชุมนุม รอบบริเวณที่มีเชื้อ โรคหรือแอนติเจน
2. Adherance เป็นขั้นตอนที่มีการสัมผัส เกาะติดกันระหว่า งเม็ด
เลือดขาวและเชื้อโรค แบคทีเรีย บางชนิดมีแคฟซูลต่อต้านขั้นตอนนี้
แต่ในร่างกายมีสารที่ช่ว ยขั้นตอนการสัมผัสเกาะติดกันนี้เรีย กว่า
opsonin
3. Ingestion กินเข้า ไปในเซลล์อยู่ในถุงหุ้มเรีย กว่า phagosome
4. Digestion ขั้นตอนการย่อยทาลายเชื้อโรค โดย lysosome



ในไซโตพลาสซึมของเม็ดเลื อดขาวไปรวมตัว กับ phagosome แลัว
ปล่อยเอ็นซัย ม์เช่น lipase ribonuclease protease มาย่อยเชื้อ
โรค รวมทั้งมีสารเคมีห ลายอย่างเกิดจากการทางานของเอ็นซัย ม์ เช่น
singlet oxygen, hydroxyl radical, hydrogen
peroxide, hypochlorus acid ออกมาฆ่าทาลายเชื้อโรค เมื่อ
ย่อยแล้ว จะปล่อยของเสีย ออกมานอกเซลล์และบางส่ว นปรากฏที่ผว
ิ
เซลล์เพื่อกระตุ้นเม็ดเลือดขาวอื่นต่อไป

Macrophages have identified a cancer cell (the large, spiky mass). Upon fusing
with the cancer cell, the macrophages (smaller white cells) will inject toxins that
kill the tumor cell.

3
ระบบน้าเหลือง
THE LYMPHOID SYSTEM
ประกอบด้ว ย lymphocyte , endothelial cells
และเซลล์ใ นอวัยวะต่างๆเช่น ม้าม ต่อมไท มัส

Princ ipal surface markers of lymphocyte
populations. Molecules that serve as receptors are
shown in bold type

อาจแบ่ง ระบบน้าเหลืองเป็น
1. primary lymphoid organs เป็นต้นกาเนิดของเซลล์
ในระบบน้าเหลือง คือ ไขกระดูก ตับ ต่อมไทมัส
2. secondary lymphoid organs เป็นบริเวณท ี่เซลล์
lymphocyte จะพบกับ แอนติเจน คือบริเวณต่อม
น้าเหลือง ต่อมท อนซิล ต่อมน้าเหลืองบริเวณลาไส้
(payer's patch) ม้า ม

แบบของภูมิคุ้มกัน
 แบบไม่จาเพาะ
 แบบจาเพาะ

4
ระบบภูม คมก นแบบไม จาเ พาะ
ิ ุ้ ั
่

1.

(non specific immune response, natural
resistance,




innate immunity หรือ



natural immunity)




2. การอักเสบ (inflammatory response)
บริเ วณทม ีการอักเสบจะม อาการปวด บวม
ี่
ี
ร้อ น แดง
บร ิเวณนันม ีเซลล ์ททาหน้าทในการจ ับกินเร ียกว ่า phagocyte ซงเป ็นพวกเม ็ด
้
ี่
ี่
ึ่
เล ือดขาวช อ neutrophil macrophage และ monocyte เซลล ์พวกนีจะเข ้า
ื่
้
มาจ ับกินแอนต ิเจนย่อย ปล ่อยเอ็นซ ัยม ์ทาลายแอนต ิเจน

เครื่องกีด ขวางธรรมชาติ
(barrier)
ผิวหนัง เยือ เมือก ขนอ่อ น (cilia)
่
เอ็นซัย ม์ lysozyme ในน้าตา น้าลาย
น้ามูก หลอดลม
กรดในกระเพาะอาหาร
spermine ในน้าอสุจ ิ
การไอ การจาม

3. จ ล นทรีย์ประจาถิน (normal flora)
ุ ิ
่
ในทางเดินอาหาร vagina

4. Natural Killer (NK) cell จะฆ่า
ทาลายเซลล ์มะเร็ง เซลล ์แปลกปลอม
5. สารละลายอืนๆ เช่น interferon (IFN),
่
complement (C), C-reactive
protein

ระบบภูมค ุ้มกัน แบบจาเพาะ
ิ
(specific immune response
หรือ
acquired immunity)

5
เซลล์ท ี่ทาหน ้าที่ค ือเม็ดเลือดขาวทีเ่ รีย กชือว่า lymphocyte
่
การตอบสน องทางภูมค ุ้มกัน แบบจ าเพาะแบ่งเป็น
ิ
1. Humoral

immunity

ท างานโดย B-lymphocyte
2. Cell

mediated immunity

ท างานโดย T-lymphocyte

H UMORAL IMMUNITY (HI, HMI)


คือการตอบสนองต่ อแอนติเจนโดยการสร้า ง
สารน้าที่เรี ยกว่า แอนติ บอดี (antibody, Ab)
ที่มีความจาเพาะต่ อแอนติเจนนั้นขึ้นมา



Antibody อาจเรียกว่า antiserum,
immunoglobulin (Ig) เนื่องจากมีคุณ สมบัติ
เป็น glycoprotein อยู่ในซีรั่ มส่วนที่เรียกว่า
gamma globulin

รูป ร่างของแอนติบ อดี



คล้ายตัววาย (Y) ประกอบด้ว ยโพลีเป็ปไทด์ 4 เส้น
สายยาว 2 เส้นเรีย ก heavy chain (H chain)
เส้นสั้น 2 เส้นเรีย ก light chain (L chain)



ท ง สีเส้นยึด กันด้ว ย disulfide bond (-s-s-)
ั้ ่



แอนติบ อดีใ นมนุษย์แบ่ง ออกเป็น 4 ชนิด (class) ตาม
ชนิดของ H-chain




6
IgM เปนแอนต บอด ทสรางข นก่อน class อืน ม ี
็
ิ
ี ี่ ้ ึ้
่
ขนาดใหญ่ผ ่านรกไม ่ได ้อยูเป ็น pentamer
่

IgG สร า งขึน ท หล ง ผ าน รกได ้
้ ้ ี่ ั ่

เป็น Ab ท พบมากท สดใน
ี่
ี่ ุ
เลือด


IgA พบในสารค ัดหลงเช ่นน้านม น้าตา พบตามเยือเม ือก
ั่
่
ต างๆ อยูเ่ ปน dimer
่
็



IgE พบสร ้างข นมากในผป ่วยโรคภ ูม ิแพ ้หร ือต ิดเช อพยาธิ
ึ้
ู้
ื้



IgD พบทผ ิวของ B-lymphocyte ทาหน้าทเป ็นต ัวร ับ
ี่
ี่
แอนต ิเจน (antigen receptor)

การท างานของแอนติบอดี
1.

opsonization

2.

antitoxicity ทาหน้าที่ลบล้ างถทธิ์ พิษ

ท าหน้าที่เคลื อบ
แอนติ เจนเช่ นแบคทีเรีย ท าให้เซลล์ เม็ดเลือด
ขาวจั บ กิ น (phagocytosis) แอนติเจนได้
ง่ายขึ้ น
(toxin)

3. กระตุ้ น complement ท าให้เ ซลล์ท ี่ม ี
แอนติบ อดีจับอยู่เ กิดการแตกสลาย (cell
lysis)
4. Neutralization แอนติ บอดี ไปลบล้าง
ฤทธิ์ ป้องกั นการติดเชื้อไวรัส แบคทีเ รีย

7
CELL MEDIAT ED IMMUNITY (CMI)
 คือการตอบสนองทางภูม ิค ุ้มกันโดย

T-lymphocyte ซึ่ง จะเข้า ไปท าลาย
แอนติเ จนโดยตรง หรื อโดยการหลั่ง สารที่
เรียกว่า lymphokine ออกมากระตุ้นเซลล์
macrophage และเซลล์อื่นที่ทาให้เกิด
การอัก เสบด้วย

ตัวอย่างของ CMI คือ


การเกิ ดภู มิแพ้ แบบช้ า (delayed type
hypersensitivity) เช่ นในการท า tuberculin
test ในการตรวจหาภู มิคุ้ม กั นต่อวั ณโรค



การปฏิ เสธการเปลี่ย นอวั ยวะ (graft rejection)
การท าลายเซลล์ มะเร็ง



ชนิดของ T-lymphocyte


T-helper ( Th)
ท าหน้าที่ช่วยกระตุ้ นการสร้ าง แอนติบ อดี และการ
ตอบสนองทางภูมิคุ้ ม กั นชนิด ผ่า นเซลล์



T-suppressor (Ts)
ท าหน้าที่ควบคุ ม การท างานของ T และ Blymphocytes



T-cytotoxic (Tc)
ท าหน้าที่ฆ่า เซลล์ มะเร็ง และเซลล์ท ี่ติดเชื้อไวรัส

การท างานของ ภูมิคุ้ ม กั นชนิด ผ่า นเซลล์ (CMI)


T-effector หรือ T-delayed type
hypersensitivity (Tdth)
ท าหน้าที่สร้าง และหลั่ง lymphokine ออกมาท าให้ เกิด
ภูมิแพ้ แบบช้าๆ (delayed type hypersensitivity)
และการตอบสนอง แบบ cell mediate immunity

1. lymphokines ชื่อ chemotactic factor ท าให้มี การ
ชุม นุม ของ phagocyte ในบริ เวณที่มี การติด เชื้ อ ท าให้
เกิด การล้ อมเชื้ อไว้ เช่ นในวั ณโรค
2.. lymphokines ชื่อ macrophage activating
factor กระตุ้ น macrophage ให้ดุร้า ย ฆ่า เชื้ อเก่ง ขึ้ น
3. T-cytotoxic (Tc) เข้า ไปท าลายเซลล์ท ี่ติด เชื้ อไวรัส
เซลล์มะเร็ง โดยตรง
4. ควบคุ ม ส่ง เสริม การสร้าง แอนติบ อดี โดย Ts และ Th
5. lymphokine ชื่อ migration inhibition factor จะ
ห้ามเซลล์ macrophage ไม่ให้ เคลื่ อนที่ออกจากบริ เวณ
ที่มีการอั กเสบ

8
Activated macrophage
ขนาดจะใหญ่ขึ้นและผิวหยาบ

ระบบคอมพลีเม นต์
็
(The complement system)
ประกอบด้ วยโปรตี นในกระแสเลือดและบนผิ ว
เซลล์ประมาณ 34 ตัว ซึ่งเรียกว่า
complement component

ซึ่งในภาวะปกติจะไม่ท างาน จะท างานเมื่อถูก
กระตุ้ น (activate)

9
การกระตุ้ นระบบ complement ท าให้เกิด
1. การแตกสลาย ของเซลล์ทเี่ ป็นแอนติเ จน (cell lysis)
2. complement component บางตัว เช่น C3a C5a ท าใ ห้ม ี
การดึง ดูด macrophage เ ข้า มาบริเ วณทีมก ารอักเสบ
่ ี
3. ส่งเ สริมใ ห้เ กิดการอักเสบมากขึน
้
4. complement component บางตัว เช่น C4b เป็น opsonin
ไปเคลือบแอนติเ จน ท าใ ห้ mac rophage จับกินแอนติเ จน ได้งาย
่
ขึ้น

อินเตอร์เฟีย รอน (interferon, IFN)


อินเตอร์เฟีย รอนเป็นสารไกลโคโปรตีนที่เซลล์ของคนหรือสัตว์สร้างขึ้น
เมื่อถูกกระตุ้นด้ว ยจุลินทรีย ์เช่น ไวรัส หรืออาจเป็นสารเคมีเช่น
endotoxin, double stranded RNA อินเตอร์เฟีย รอนที่
สร้างขึ้นจะถูกปล่อยออกมานอกเซลล์ไปกระตุ้นเซลล์อื่นข้างเคีย งให้อยู่
ในสภาวะที่ตานต่อการติดเชื้อไวรัส โดยการสร้างสารที่ย ับยั้งการเพิ่ม
้
จานวนไวรัส อินเตอร์เฟีย รอนไม่มีความจาเพาะต่อชนิดของไวรัส แต่
ออกฤทธิ์ได้เฉพาะ species ที่สร้างมันขึ้นมา





ภาวะภูมแ พ้แบบที่ 1.
ิ
(T ype I Hypersensitivity)

ภาวะภูมิแ พ้
(HYPERSENSITIVITY, ALLERGY)



ภาวะภูมิไวเกิน

ภาวะภูม ิแพ้หรื อ

คือภาวะที่ร่างกายตอบสนองทางภูม ิคุ้ม กัน
มากเกินพอดีต่ อสาร ที่ทาให้เกิดอาการแพ้
ซึ่ง เรียกว่า allergen ท าให้ม ีการ
อักเสบ ท าลายเนื้อเยื่อตนเอง

อินเตอร์เฟีย รอนยังมีผลกับเซลล์ในด้านการ differentiation และ
ควบคุมการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันด้ว ย
อินเตอร์เฟีย รอนแบ่งออกเป็น 3 ชนิดคือ alpha interferon สร้าง
จากเม็ดเลือดขาว, beta interferon สร้างจากเซลล์ fibroblast
และ gamma interferon สร้างจากเซลล์ lymphocyte
ปัจจุบันมีการใช้อินเตอร์เฟีย รอนที่ผลิตด้ว ยวิธีพันธุว ิศวกรรมในการ
รักษาโรคติดเชื้อไวรัสและโรคมะเร็งหลายโรค



allergen คือ ฝุ่น ยา อาหาร เกสรดอกไม้ ซีรั่ม ม้า ซึ่ง
ร่างกายได้รับทาง การสั มผัส กิ น ฉีด หรืดหายใจ
อาการแพ้ท ี่เกิดจะเกิด เร็ว เช่ นแพ้ ฝุ่ นจะมี การไอ จาม
ทันที
กลไก เมื่ อได้ รับ allergen ครั้ง แรก ร่างกายจะสร้ าง
แอนติ บ อดีช นิด IgE ไปเกาะบน mast cell และ
basophil เมื่อได้รั บ allergen ครั้ง ที่สอง allergen
จะข้า ไปเกาะกับ แอนติ บ อดีท ี่อยู่บ นเซลล์ mast cell
และ basophil ท าให้เซลล์หลั่ง สารเคมี ชื่อ
histamine และ สารอื่ นๆที่ท าให้เกิด อาการแพ้
ออกมา

10
HISTAMINE
เป็นสารที่อ อกฤทธิ์ ทาให้ เส้นเลื อดฝอยขยายตัว
ทาให้เกิดการบวม แดง คัน ทาให้เกิด
กล้ามเนื้อเรี ยบหดตัว เกิดการหอบหืดได้


ถ้าการแพ้เกิดมากๆมีผลท าให้ชีพจรเต้น เร็ว
ความดันโลหิตต่า ช็อคได้ เรียกว่าเกิด
anaphylaxis

ภาวะภูมแ พ้แบบที่ 2.
ิ
(T ype II Hypersensitivity)






allergen คือเซลล์ แปลกปลอม เช่ นในการให้ เลื อดผิด
กลุ่ ม การปลู กถ่า ยอวัยวะ
กลไก ร่างกายตอบสนองโดยสร้าง แอนติ บอดีช นิด IgG
และ IgM ไปเกาะกั บเซลล์ แปลกปลอม ท าให้เกิด การ
กระตุ้ นระบบ complement เซลล์จะแตกสลาย มี
phagocyte เข้า มากิ นและหลั่ง เอ็ นซั ยม์ ออกมา ท าให้
การอั กเสบ
ตัวอย่างเช่ น การที่เลื อดแม่ กับลู กไม่เข้า กั น การปฏิ เสธ
การปลู กถ่ายอวั ยวะ

2. มีภ าวะภู มิ แพ้ต่ อตัว เอง เรี ย ก autoimmune
disease เช่ นผู้ ป่วยโรค systemic lupus
erythrematosus (SLE)
3. ผู้ท ี่ได้ รับ แอนติ เจนปริ มาณมากเช่ น ผู้ท ี่ถูกงู กัด และ
ได้ รับซีรั่ มแก้พิ ษงูจ ากม้ า จะเกิด การแพ้ท ี่เรีย ก
serum sickness หรือในผู้ท ี่หายใจเอาสปอร์ ของ
เชื้ อราปริ มาณมากเข้ า ไป
กลไก เมื่ อเกิด antigen-antibody complex ขึ้ น
ปริม าณมากก็จะไปเกาะ ตกตะกอนในอวัยวะต่ างๆ
เช่ นที่ ไต ผนัง เส้นเลื อด ข้อ ท าให้เกิด การกระตุ้ น
ระบบ complement ท าให้เกิด การ อั กเสบที่ ไต
เกิดผื่ นผิ วหนัง เกิด เลื อดออก เช่ นในไข้เลื อดออก

ภาวะภูมิแ พ้แบบที่ 3.
(Type III Hypersensitivity)
allergen คือ ยา ซีรั่ม แก้พิษงู เชื้อจุลินทรี ย์ วัคซีน
แอนติเจนของตัวเองในผู้ ที่มี ภูมิคุ้ มกันต่อ ต้านตนเอง
แอนติบ อดี ที่เกิดเป็น ชนิด IgG ภาวะภู มิแ พ้แบบที่ 3
เกิดได้ใน 3 กรณี
1. กรณีมีการติดเชื้ อ แล้วเกิด antigen antibody
complex เช่นการติดเชื้อ มาเลเรีย การติดเชื้ อไวรัส
ไข้เลือดออก

ภาวะภูม ิแ พ้แ บบท ี่ 4.
(Type IV Hypersensitivity)






อาจเรี ย กว่ า delayed type hypersensitivity
หรือภาวะภู มิแพ้ แบบช้ า เซลล์ท ี่เกี่ ยวข้ องคือ Teffector หรือ Tdth
ตัวอย่างของภูมิแพ้ แบบนี้ เช่ นการแพ้สารเคมีท ี่
ผิวหนัง เช่ นแพ้ ผงซั กฟอก
ในผู้ท ี่เป็ นโรคเรื้ อน
การท า tuberculin test การเกิด ภูมิแพ้ แบบนี้ เกิด
ช้า 48-72 ชั่วโมง

11
การทดสอบ skin testมี 2 วิธีคือ
1. วิธีสะกิด (Skin Prick Test หรือ scratch test) เป็นการ
ทดสอบโดยหยดน้ายาลงบนผิวหนังที่แขน และใช้เข็ม
สะกิดตรงกลางหยดน้ายา ซึ่งทาง่าย, เร็ว, ไม่เจ็บและใช้อุปกรณ์น้อย
เสี่ย งต่อการเกิดอาการแพ้ทั่วร่างกายน้อย
2. วิธีฉ ีดเข้าในผิว หนัง (Intradermal Test) เป็นการฉีดน้ายาเข้า
ใต้ผิว หนังเป็นจุดเล็กๆ ซึ่งทายากกว่า เสีย เวลามากกว่า เจ็บกว่า และต้อง
ใช้อุปกรณ์มากกว่า และเสี่ย งต่อการเกิดอาการแพ้ทั่วร่างกายได้มากกว่า

การรัก ษาภาวะภูม ิแพ้


ถ้าแพ้สารใดต้อ งหลีกเลี่ยงการสั มผั สสารนั้น
ถ้าเลี่ยงไม่ได้เช่น ในผู้แพ้ ฝุ่น



มีการรักษาโดยการฉี ดสารที่แพ้เ ข้าไปกระตุ้น
ทีละน้ อย เรียกว่าวิธี desensitization



ไรฝุ่น Dermatophagoides pteronyssinus และ

วิธีการนี้จะกระตุ้น ให้เกิดแอนติบ อดีชนิด IgG
ต่อ allergen นั้นขึ้นมา เมื่อ สัมผั สกับ
allergen อีก IgG จะแย่งจั บ allergen ก่อน
IgE ทาให้อาการแพ้ล ดลงได้

Dermatophagoides farinae

12
การสร้า งเสริม ภูม คมก นโรค
ิ ุ้ ั
1. Passive immunization การท าให้ร่ างกายมี
ภูมิคุ้ มกั นโรคทันที โดยการฉีดสารที่มีคุ ณสมบัติ ใ น
การป้ อง กั นโรคเข้ า ไปโดยตรงตรงเช่ นการให้ซีรั่ ม
แก้ พิ ษงู แต่ภูมิคุ้ มกั นโรคชนิด นี้ จะอยู่ใ นร่ างกายได้
ไม่ นาน
2. Active immunization หรือ vaccination คือ
การฉีดวั คซี นกระตุ้ นให้ร่ างกายมี การสร้ างภูมิคุ้ มกั น
เกิดขึ้ นด้ วยตั วเอง ซึ่ง ต้องใช้ระยะเวลาในการสร้ าง
ภูมิคุ้ มกั น แต่ ภูมิคุ้ มกั นที่เกิด จะอยู่ ได้ นาน

ประวัติก ารใช้ วัคซีน ในประเทศไทย
ระยะก่อน EPI

Expanded program on
immunization
EPI

Immunization schedule for children
in Thailand

พ.ศ. 2383 - เริ่มสั่งพัน ธุ์หนองฝีป ้องกัน
ไข้ทรพิษ

Age

Vaccine

พ.ศ. 2456 - ใช้กฎหมายบังคับ การปลูกฝี
ป้องกัน ไข้ทรพิษ

Birth
2 months
4 months
6 months
9-12 months
18 months
2 1/2 - 3 years
4-6 years

BCG
HB1
OPV1 DTP1 HB2
OPV2 DTP2
OPV3 DTP3 HB3
MMR1 (or M)
OPV4 DTP4 JE(x2)
JE3
OPV5 DTP5 MMR2

พ.ศ. 2477 - สามารถผสมพัน ธุ์หนองฝีใช้เองในประเทศ

พ.ศ. 2488 - เริ่มใช้วัค ซีนคอตีบและวัค ซีนไอกรน (ชนิดเดี่ยว)
พ.ศ. 2496 - ตั้งโครงการช านัญพิเศษเพื่อรณรงค์การฉีด BCG ในเด็ก
พ.ศ. 2510 - เริ่มใช้วัค ซีน รวม DTP และ OPV

ระยะ EPI (2520 - ปัจจุบัน)

Source: EPI / DDC / MOPH

ANTIGEN-ANTIBOD Y REACTION
ปฏิก ิริยาระหว่า งแอนติเ จนและแอนติบอดี

13
1. Neutralization หรือปฏิกิริยาลบล้างฤทธิ์ เช่น

แอนติบ อดีที่ล บล้างพิ ษ Toxin เรียกว่า
antitoxin
 แอนติบ อดีต่ อไวรั ส ลบล้างฤทธิ์ในการติดเชื้ อไวรั ส
เรียก neutralizing antibody (NT-Ab)
2. Precipitation เป็นปฏิกิริ ยาตกตะกอนของ
แอนติเจนที่ละลายได้ เมื่ อแอนติเจนกับแอนติ บอดี
ในปริมาณที่พ อเหมาะแพร่เข้าหากันจะเกิด เป็น
ตะกอนขุ่น ขาวขึ้น เรียกว่า precipitin band

3.Agglutination
เป็น ปฏิ กิริยาตกตะกอนของ
แอนติ เจนที่เ ป็ นอนุ ภาค
(particle) เช่นเม็ ดเลื อด เซลล์
แบคทีเ รีย เกิด การเกาะกลุ่ ม กัน

4. Complement fixtaion test (CF test) เป็ น
ปฎิ กิริ ยาการตรึง คอมพลี เม็ นท์ (complement)
มี indicator system คือ เม็ด เลื อดแดง แกะผสมกั บ
แอนติ บอดีต่ อเม็ด เลื อดแดง แกะ (SRBC+antiSRBC)
ถ้า มี การตรึง คอมพลี เม็ นท์ และใช้ค อมพลี เม็ นท์ปริ มาณ
จากัดที่ใส่ลง ไปในปฏิ กิริย าหมดไปจะไม่ท าให้
indicator system คือเม็ด เลือดแดง แกะแตก

5. ปฏิกิริยาระหว่างแอนติเจนกับแอนติ บอดี ที่มีการติ ด
ฉลาก (label)
เรียกว่า conjugate เราสามารถติด ฉลากได้ทั้ง
แอนติเจนและแอนติบ อดี ส่วนใหญ่นิย มติดฉลาก
แอนติบ อดี มากกว่า สารที่นิยมใช้ติดฉลากคื อ

-สีฟลูอ อเรสซีน (fluorescein dye) เช่น
fluorescein isothioicyanate (FITC)
-สารกัมมัน ตภาพรังสี เช่น tritium
-เอ็นซัย ม์ เช่น horseradish peroxidase,
alkaline phosphatase, glucose oxidase

14
ตัวอย่างของปฏิ กิริ ยาระหว่าง แอนติเจนกับแอนติบอดีท ี่มีการ
ติดฉลาก
5.1 Immunofluorescence test ตัว อย่าง 2 แบบคือ


Direct immunofluorescence test เช่ นที่ใ ช้ใ นการ
ตรวจวิ นิจ ฉัย โรคพิ ษสุนัขบ้ า



Indirect immunofluorescence test

5.2 ELISA test

(Enzyme Linked Immunosorbent Assay)
ตัวอย่าง 2 แบบคื อ


Double antibody sandwich ELISA (DASELISA) ใช้ตรวจหาแอนติเจน



DAS
ELISA
ตรวจหา
แอนติเจน

Indirect ELISA ใช้ตรวจหาแอนติบ อดี เช่น
ตรวจหาแอนติ บอดีต่ อ HIV

Indirect
ELISA
ตรวจหา
anti-HIV

15
ELISA

ELISA PLAT E READER

ไรฝุ่ น
•

สาหรับสารก่อ ภูมิแพ้ของไรฝุ่น มักอยู่ในรูปของมูลและคราบของไร
ฝุ่นที่มีนาหนักเบา สามารถลอยปะปนในอากาศและสูดดมเข้าไปได้
้
จะมีไรฝุ่นมากหรือ น้อยก็ขึ้นอยู่กับการดูแลรักษาความสะอาด ของ
ผู้ใช้เครือ งนอนและอายุการใช้งานของเครือ งเรือ นเป็นหลัก โดยที่
่
่
นอนหรือฟูกทีทาจากนุ่นและ ใยสังเคราะห์ที่มีอายุการใช้งานนาน
่
กว่า 6 ปีจะมีความเสียงจากไรฝุ่นจนเกิดโรคภูมิแพ้ได้มากที่สด
่
ุ
ขณะทีอ าหารของไรฝุ่นนั้นต้อ งถือว่ามีมากเกินพอ เพราะไรฝุนจะกิน
่
่
เศษขีไ้ คล ขี้รังแค และเศษผิวหนังของคนในบ้านเป็นอาหาร โดยเศษ
ผิวหนังเพียง 1 กรัมก็สามารถเลี้ยงไรฝุ่น 1,000,000 ตัวเป็นเวลาถึง
1 สัปดาห์เต็มๆ แล้ว

ไรฝุ่ น
•

แนวทางการป้อ งกันและกาจัดไรฝุนมีอยู่ 4 ข้อ ง่ายๆ คือ
่
1.การหลีก เลีย งใช้งานเครือ งนอน พรม และเฟอร์นิเจอร์ที่ทาจากเส้น
่
่
ใยซึ่งมีอายุการใช้งานหลายปี เพือ ลดความเสี่ยงทีต้อ งสัมผัสกับไร
่
่
ฝุ่นจานวนมาก
2.การเลือกใช้ข้าวของเครือ งใช้ที่มีเส้นใยสานกันแน่น พลาสติก หรือ
่
เส้นใยไวนิล และไนลอน หรือเคลือ บด้วยสารป้อ งกันไรฝุน เพือ
่ ่
ป้อ งกันไม่ให้ไรฝุ่นเข้ามายุ่มย่ามกับเครือ งนอนภายในบ้าน
่

• 3.การดูด ฝุ่นทาความสะอาด

ก็เป็นอีกวิธีที่สามารถ

ไล่ไรฝุ่นได้ในระดับหนึ่ง
4.การซักเครื่องนอนเป็นประจาด้วยน้าที่มีอุณหภูมิ

อย่างน้อย 55 องศาเซลเซียส เพราะเป็นอุณหภูมิ
ที่สามารถฆ่าไรฝุ่นและกาจัดสารก่อภูมิแพ้จากไร
ฝุ่นได้ดี โดยการตากแดดยังทาให้ไข่ไรฝุ่น ที่ฝังตัว
อยู่กับเครื่องนอนฝ่อได้ด้วย

16

More Related Content

What's hot

Pont มุนี
Pont มุนีPont มุนี
Pont มุนี
mu_nin
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
supreechafkk
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
Thanyamon Chat.
 
เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์
Sukan
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
Takky Pinkgirl
 

What's hot (20)

Doc4
Doc4Doc4
Doc4
 
Pont มุนี
Pont มุนีPont มุนี
Pont มุนี
 
B03
B03B03
B03
 
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system ตอนที่ 2
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system ตอนที่ 2ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system ตอนที่ 2
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system ตอนที่ 2
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
 
เซลล์
เซลล์เซลล์
เซลล์
 
4
44
4
 
ชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 2 general cell
ชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 2 general cellชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 2 general cell
ชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 2 general cell
 
โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์
 
เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์
 
Cell.ppt25 copy
Cell.ppt25   copyCell.ppt25   copy
Cell.ppt25 copy
 
Cell
CellCell
Cell
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
 
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
 
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
 
Powerpoint1
Powerpoint1Powerpoint1
Powerpoint1
 
Cell+&+organelles acr
Cell+&+organelles acrCell+&+organelles acr
Cell+&+organelles acr
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 

Similar to Immune2551

ระบบภูมิคุ้มกัน (1).pptx
ระบบภูมิคุ้มกัน (1).pptxระบบภูมิคุ้มกัน (1).pptx
ระบบภูมิคุ้มกัน (1).pptx
BewwyKh1
 
บทที่ 1เรื่องภูมิคุ้มกัน
บทที่ 1เรื่องภูมิคุ้มกันบทที่ 1เรื่องภูมิคุ้มกัน
บทที่ 1เรื่องภูมิคุ้มกัน
Jurarud Porkhum
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)
Thitaree Samphao
 
Biology bio10
 Biology bio10 Biology bio10
Biology bio10
Bios Logos
 
9789740330530
97897403305309789740330530
9789740330530
CUPress
 

Similar to Immune2551 (20)

ระบบภูมิคุ้มกัน (1).pptx
ระบบภูมิคุ้มกัน (1).pptxระบบภูมิคุ้มกัน (1).pptx
ระบบภูมิคุ้มกัน (1).pptx
 
ชีววิทยาเรื่องระบบภูมิคุ้มกัน Immune system
ชีววิทยาเรื่องระบบภูมิคุ้มกัน Immune systemชีววิทยาเรื่องระบบภูมิคุ้มกัน Immune system
ชีววิทยาเรื่องระบบภูมิคุ้มกัน Immune system
 
ระบบภูมิคุ้มกัน (Immune system) by pitsanu duangkartok
 ระบบภูมิคุ้มกัน (Immune system) by pitsanu duangkartok ระบบภูมิคุ้มกัน (Immune system) by pitsanu duangkartok
ระบบภูมิคุ้มกัน (Immune system) by pitsanu duangkartok
 
บทที่ 1เรื่องภูมิคุ้มกัน
บทที่ 1เรื่องภูมิคุ้มกันบทที่ 1เรื่องภูมิคุ้มกัน
บทที่ 1เรื่องภูมิคุ้มกัน
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
 
ระบบภูมิคุ้มกัน & Transfer factor www.ครูภูมิคุ้มกัน.com
ระบบภูมิคุ้มกัน & Transfer factor www.ครูภูมิคุ้มกัน.comระบบภูมิคุ้มกัน & Transfer factor www.ครูภูมิคุ้มกัน.com
ระบบภูมิคุ้มกัน & Transfer factor www.ครูภูมิคุ้มกัน.com
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)
 
Ppt immunity ชีววิทยา ม.5
Ppt immunity ชีววิทยา ม.5Ppt immunity ชีววิทยา ม.5
Ppt immunity ชีววิทยา ม.5
 
ระบบภูมิคุ้มกัน (mechanism of body defense)
ระบบภูมิคุ้มกัน (mechanism of body defense)ระบบภูมิคุ้มกัน (mechanism of body defense)
ระบบภูมิคุ้มกัน (mechanism of body defense)
 
What is Transfer Factor (TF)?
What is Transfer Factor (TF)?What is Transfer Factor (TF)?
What is Transfer Factor (TF)?
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
Biology bio10
 Biology bio10 Biology bio10
Biology bio10
 
1409adr
1409adr1409adr
1409adr
 
หลักพยาธิบ.5การอักเสบ pptx
หลักพยาธิบ.5การอักเสบ pptx หลักพยาธิบ.5การอักเสบ pptx
หลักพยาธิบ.5การอักเสบ pptx
 
อีโคไลดื้อยา 8 กลุ่ม
อีโคไลดื้อยา 8 กลุ่มอีโคไลดื้อยา 8 กลุ่ม
อีโคไลดื้อยา 8 กลุ่ม
 
Introduction to bacteriology,morphology and classification of bacteria
Introduction to bacteriology,morphology and classification of bacteriaIntroduction to bacteriology,morphology and classification of bacteria
Introduction to bacteriology,morphology and classification of bacteria
 
4
44
4
 
9789740330530
97897403305309789740330530
9789740330530
 
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
 

More from Issara Mo

Responseของพืช
ResponseของพืชResponseของพืช
Responseของพืช
Issara Mo
 
Animal kingdom
Animal kingdomAnimal kingdom
Animal kingdom
Issara Mo
 
Animal kingdom
Animal kingdomAnimal kingdom
Animal kingdom
Issara Mo
 
Calvin cycle
Calvin cycleCalvin cycle
Calvin cycle
Issara Mo
 
Kingdom protista by issara
Kingdom protista by issaraKingdom protista by issara
Kingdom protista by issara
Issara Mo
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
Issara Mo
 
ปฏิกิริยาเคมีในเซลล์สิ่งมีชีวิต
ปฏิกิริยาเคมีในเซลล์สิ่งมีชีวิตปฏิกิริยาเคมีในเซลล์สิ่งมีชีวิต
ปฏิกิริยาเคมีในเซลล์สิ่งมีชีวิต
Issara Mo
 
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
Issara Mo
 
หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิตหลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
Issara Mo
 
Modern bio ii bact,fung,prot
Modern bio ii   bact,fung,protModern bio ii   bact,fung,prot
Modern bio ii bact,fung,prot
Issara Mo
 
การเคลื่อนที่ของสารผ่านเซลล์
การเคลื่อนที่ของสารผ่านเซลล์การเคลื่อนที่ของสารผ่านเซลล์
การเคลื่อนที่ของสารผ่านเซลล์
Issara Mo
 
โครงสร้างของใบ
โครงสร้างของใบโครงสร้างของใบ
โครงสร้างของใบ
Issara Mo
 
รากและลำต้น
รากและลำต้นรากและลำต้น
รากและลำต้น
Issara Mo
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
Issara Mo
 
เนื้อเยื่อพืช Plant tissue
เนื้อเยื่อพืช Plant tissueเนื้อเยื่อพืช Plant tissue
เนื้อเยื่อพืช Plant tissue
Issara Mo
 

More from Issara Mo (19)

การหายใจระดับเซลล์
การหายใจระดับเซลล์การหายใจระดับเซลล์
การหายใจระดับเซลล์
 
ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์
 
natural resources 201114
natural resources 201114 natural resources 201114
natural resources 201114
 
Responseของพืช
ResponseของพืชResponseของพืช
Responseของพืช
 
ประชากร
ประชากรประชากร
ประชากร
 
Animal kingdom
Animal kingdomAnimal kingdom
Animal kingdom
 
Animal kingdom
Animal kingdomAnimal kingdom
Animal kingdom
 
Calvin cycle
Calvin cycleCalvin cycle
Calvin cycle
 
Kingdom protista by issara
Kingdom protista by issaraKingdom protista by issara
Kingdom protista by issara
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
ปฏิกิริยาเคมีในเซลล์สิ่งมีชีวิต
ปฏิกิริยาเคมีในเซลล์สิ่งมีชีวิตปฏิกิริยาเคมีในเซลล์สิ่งมีชีวิต
ปฏิกิริยาเคมีในเซลล์สิ่งมีชีวิต
 
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
 
หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิตหลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
 
Modern bio ii bact,fung,prot
Modern bio ii   bact,fung,protModern bio ii   bact,fung,prot
Modern bio ii bact,fung,prot
 
การเคลื่อนที่ของสารผ่านเซลล์
การเคลื่อนที่ของสารผ่านเซลล์การเคลื่อนที่ของสารผ่านเซลล์
การเคลื่อนที่ของสารผ่านเซลล์
 
โครงสร้างของใบ
โครงสร้างของใบโครงสร้างของใบ
โครงสร้างของใบ
 
รากและลำต้น
รากและลำต้นรากและลำต้น
รากและลำต้น
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
 
เนื้อเยื่อพืช Plant tissue
เนื้อเยื่อพืช Plant tissueเนื้อเยื่อพืช Plant tissue
เนื้อเยื่อพืช Plant tissue
 

Immune2551

  • 1. อิม มูโ นวิท ยา (Immunology) ภูม ิคุ้มกันวิท ยา ระบบภูม ิคมกัน ของมนุษ ย์ ุ้ (Human Immune System) สิ่งแปลกปลอม (แอนติเ จน) ได้ แก่ อะไรบ้าง?  เซลล์ม ะเร็ง  เซลล์ผู้อื่น อวัยวะผู้อื่น  จุลินทรีย์ แบคทีเรีย รา ไวรัส พยาธิ โปรโตซั ว  สารเคมี  วัสดุ สารพิษ ฝุ่นละออง เกษรดอกไม้ วิชาที่ว่า ด้วยเรื่องเกี่ยวกับระบบภูม ิคุ้ม กัน ของร่า งกายและการตอบสนองทาง ภูม ิคุ้ม กัน (immune response) ต่อสิ่ง แปลกปลอมซึ่งเรียกว่า แอนติเ จน (antigen, Ag) คุณสมบัต ิของสารท เป็นแอนติเจน ี่ 1. ม ค วามแปลกปลอม (foreigness) ี 2. ม ล กษณะโครงสร า ง ค ณ สมบ ัต ท างช ีวเคม ทจ าเพาะแตกต างก ัน ี ั ้ ุ ิ ี ี่ ่ ไป เช ่น  ประจ ุไฟฟ า ค ณ สมบ ัต ิการละลาย โครงสร ้างโมเลก ุล โดยท วไป ้ ุ ั่ สารทเป ็นแอนต ิเจนได ้ด มากค อ โปรต ีน รองลงมาค อพวกโพล ี ี่ ี ื ื แซคคาไรด ์ ไ ขม ัน และกรดน วคล ิอค ตามล าด บ ิ ิ ั 3. ม ขน าด (size) ทใ หญ พ อสมควร ี ี่ ่  สารทม ขนาดใหญ ่เป ็นแ อนต ิเจนทด กว า สารขน าดเล ็ก ี่ ี ี่ ี ่  สารทม ขนาดเล ็กเช ่นยาเพนน ิซ ิล ิน เร ียกว า Hapten ไม ่เป ็น ี่ ี ่ immunogen ต องรวมต วก ับโปรต ีน อนเร ียกว า carrier ้ ั ื่ ่ protein จ งจะกระตนร า งกาย ได ้ ึ ุ้ ่ ANT IGENIC DET ERMINANTS (EPITOPE) คือหน่วยย่อยบนผิวของแอนติเ จนท กระตุ้นให้ ี่ ร่างกายสร้างแอนติบ อดีหรือกระตุ้น T- lymphocyte ท จาเพาะต่อตาแหน่ง นั้นๆ ี่ เช่นโปรตีนม หน่วยย่อยเป็นกรดอะม โนท ี่ ี ิ เรียงลาดับต่างกัน ดัง นั้นบนแอนติเ จน 1 โมเลกุลจะม ี antigenic determinant มากมาย 1
  • 2. ระบบภูมิคุ้ มกัน ประกอบด้วยอะไร? เซลล์เม็ดเลือ ดขาว โปรตีน สารน้้า อวัยวะ เนื้อ เยื่อ ท้างานเป็นโครงข่าย ถูกควบคุมโดยยีน เซลล์ในระบบภูมค ุ้มกัน ิ เซลล ์ท สร ้างเม ็ดเล อดล ้วนแล วแต ่ม ีต ้น กาเน ิดมาจากเซลล ตงต ้นท ี่ ี่ ื ้ ์ ั้ เร ียกว า pluripotential stem cells สาหร บเซลล ์เม ็ดเล ือดขาว ่ ั จะเจร ิญแบ ง ออกเป ็น 2 สายค อ ่ ื 1. lymphoid lineage จะเจร ิญเป ็น lymphoc yte ซ ง จะพ ัฒน าต อเป ็น Tึ่ ่ lymphocyte , B-lymphocyte และ natural killer cell (NK cell) 2. myeloid lineage จะเจร ิญเป ็น monocyte และ PMN (polymorphonuc lear cells) ค อ neutrophil, basophil, eosinophil` ื Production of blood cells from pluripotent stem cells in the bone marrow. 2
  • 3. RETICULO ENDOTHELIAL SYSTEM (RE SYSTEM) เป็นโครงข่า ย (network) ของ เซลล์ใ นอวัย วะต่างๆท ท า ี่ หน้าท จบกิน (monocyte, macrophage) ี่ ั จะพบใน เล อด ตับ ม า ม ไต ไขก ระดูก ต่อม ื ้ น้าเหล อง ปอด สมอง ต่อมไทม ส ื ั Major organs in the lymphoid and reticuloendothelial systems กระบวนการจับกินสิ่งแปลกปลอม (phagocytosis) ฟาโกไซด์ ทางาน 4 ขั้นตอน 1. chemotaxis เป็นขบวนการที่เม็ดเลือดขาวพวก phagocyte ถูกดึงดูดด้ว ยสารเคมีให้มาชุมนุม รอบบริเวณที่มีเชื้อ โรคหรือแอนติเจน 2. Adherance เป็นขั้นตอนที่มีการสัมผัส เกาะติดกันระหว่า งเม็ด เลือดขาวและเชื้อโรค แบคทีเรีย บางชนิดมีแคฟซูลต่อต้านขั้นตอนนี้ แต่ในร่างกายมีสารที่ช่ว ยขั้นตอนการสัมผัสเกาะติดกันนี้เรีย กว่า opsonin 3. Ingestion กินเข้า ไปในเซลล์อยู่ในถุงหุ้มเรีย กว่า phagosome 4. Digestion ขั้นตอนการย่อยทาลายเชื้อโรค โดย lysosome  ในไซโตพลาสซึมของเม็ดเลื อดขาวไปรวมตัว กับ phagosome แลัว ปล่อยเอ็นซัย ม์เช่น lipase ribonuclease protease มาย่อยเชื้อ โรค รวมทั้งมีสารเคมีห ลายอย่างเกิดจากการทางานของเอ็นซัย ม์ เช่น singlet oxygen, hydroxyl radical, hydrogen peroxide, hypochlorus acid ออกมาฆ่าทาลายเชื้อโรค เมื่อ ย่อยแล้ว จะปล่อยของเสีย ออกมานอกเซลล์และบางส่ว นปรากฏที่ผว ิ เซลล์เพื่อกระตุ้นเม็ดเลือดขาวอื่นต่อไป Macrophages have identified a cancer cell (the large, spiky mass). Upon fusing with the cancer cell, the macrophages (smaller white cells) will inject toxins that kill the tumor cell. 3
  • 4. ระบบน้าเหลือง THE LYMPHOID SYSTEM ประกอบด้ว ย lymphocyte , endothelial cells และเซลล์ใ นอวัยวะต่างๆเช่น ม้าม ต่อมไท มัส Princ ipal surface markers of lymphocyte populations. Molecules that serve as receptors are shown in bold type อาจแบ่ง ระบบน้าเหลืองเป็น 1. primary lymphoid organs เป็นต้นกาเนิดของเซลล์ ในระบบน้าเหลือง คือ ไขกระดูก ตับ ต่อมไทมัส 2. secondary lymphoid organs เป็นบริเวณท ี่เซลล์ lymphocyte จะพบกับ แอนติเจน คือบริเวณต่อม น้าเหลือง ต่อมท อนซิล ต่อมน้าเหลืองบริเวณลาไส้ (payer's patch) ม้า ม แบบของภูมิคุ้มกัน  แบบไม่จาเพาะ  แบบจาเพาะ 4
  • 5. ระบบภูม คมก นแบบไม จาเ พาะ ิ ุ้ ั ่ 1. (non specific immune response, natural resistance,   innate immunity หรือ  natural immunity)   2. การอักเสบ (inflammatory response) บริเ วณทม ีการอักเสบจะม อาการปวด บวม ี่ ี ร้อ น แดง บร ิเวณนันม ีเซลล ์ททาหน้าทในการจ ับกินเร ียกว ่า phagocyte ซงเป ็นพวกเม ็ด ้ ี่ ี่ ึ่ เล ือดขาวช อ neutrophil macrophage และ monocyte เซลล ์พวกนีจะเข ้า ื่ ้ มาจ ับกินแอนต ิเจนย่อย ปล ่อยเอ็นซ ัยม ์ทาลายแอนต ิเจน เครื่องกีด ขวางธรรมชาติ (barrier) ผิวหนัง เยือ เมือก ขนอ่อ น (cilia) ่ เอ็นซัย ม์ lysozyme ในน้าตา น้าลาย น้ามูก หลอดลม กรดในกระเพาะอาหาร spermine ในน้าอสุจ ิ การไอ การจาม 3. จ ล นทรีย์ประจาถิน (normal flora) ุ ิ ่ ในทางเดินอาหาร vagina 4. Natural Killer (NK) cell จะฆ่า ทาลายเซลล ์มะเร็ง เซลล ์แปลกปลอม 5. สารละลายอืนๆ เช่น interferon (IFN), ่ complement (C), C-reactive protein ระบบภูมค ุ้มกัน แบบจาเพาะ ิ (specific immune response หรือ acquired immunity) 5
  • 6. เซลล์ท ี่ทาหน ้าที่ค ือเม็ดเลือดขาวทีเ่ รีย กชือว่า lymphocyte ่ การตอบสน องทางภูมค ุ้มกัน แบบจ าเพาะแบ่งเป็น ิ 1. Humoral immunity ท างานโดย B-lymphocyte 2. Cell mediated immunity ท างานโดย T-lymphocyte H UMORAL IMMUNITY (HI, HMI)  คือการตอบสนองต่ อแอนติเจนโดยการสร้า ง สารน้าที่เรี ยกว่า แอนติ บอดี (antibody, Ab) ที่มีความจาเพาะต่ อแอนติเจนนั้นขึ้นมา  Antibody อาจเรียกว่า antiserum, immunoglobulin (Ig) เนื่องจากมีคุณ สมบัติ เป็น glycoprotein อยู่ในซีรั่ มส่วนที่เรียกว่า gamma globulin รูป ร่างของแอนติบ อดี  คล้ายตัววาย (Y) ประกอบด้ว ยโพลีเป็ปไทด์ 4 เส้น สายยาว 2 เส้นเรีย ก heavy chain (H chain) เส้นสั้น 2 เส้นเรีย ก light chain (L chain)  ท ง สีเส้นยึด กันด้ว ย disulfide bond (-s-s-) ั้ ่  แอนติบ อดีใ นมนุษย์แบ่ง ออกเป็น 4 ชนิด (class) ตาม ชนิดของ H-chain   6
  • 7. IgM เปนแอนต บอด ทสรางข นก่อน class อืน ม ี ็ ิ ี ี่ ้ ึ้ ่ ขนาดใหญ่ผ ่านรกไม ่ได ้อยูเป ็น pentamer ่ IgG สร า งขึน ท หล ง ผ าน รกได ้ ้ ้ ี่ ั ่ เป็น Ab ท พบมากท สดใน ี่ ี่ ุ เลือด  IgA พบในสารค ัดหลงเช ่นน้านม น้าตา พบตามเยือเม ือก ั่ ่ ต างๆ อยูเ่ ปน dimer ่ ็  IgE พบสร ้างข นมากในผป ่วยโรคภ ูม ิแพ ้หร ือต ิดเช อพยาธิ ึ้ ู้ ื้  IgD พบทผ ิวของ B-lymphocyte ทาหน้าทเป ็นต ัวร ับ ี่ ี่ แอนต ิเจน (antigen receptor) การท างานของแอนติบอดี 1. opsonization 2. antitoxicity ทาหน้าที่ลบล้ างถทธิ์ พิษ ท าหน้าที่เคลื อบ แอนติ เจนเช่ นแบคทีเรีย ท าให้เซลล์ เม็ดเลือด ขาวจั บ กิ น (phagocytosis) แอนติเจนได้ ง่ายขึ้ น (toxin) 3. กระตุ้ น complement ท าให้เ ซลล์ท ี่ม ี แอนติบ อดีจับอยู่เ กิดการแตกสลาย (cell lysis) 4. Neutralization แอนติ บอดี ไปลบล้าง ฤทธิ์ ป้องกั นการติดเชื้อไวรัส แบคทีเ รีย 7
  • 8. CELL MEDIAT ED IMMUNITY (CMI)  คือการตอบสนองทางภูม ิค ุ้มกันโดย T-lymphocyte ซึ่ง จะเข้า ไปท าลาย แอนติเ จนโดยตรง หรื อโดยการหลั่ง สารที่ เรียกว่า lymphokine ออกมากระตุ้นเซลล์ macrophage และเซลล์อื่นที่ทาให้เกิด การอัก เสบด้วย ตัวอย่างของ CMI คือ  การเกิ ดภู มิแพ้ แบบช้ า (delayed type hypersensitivity) เช่ นในการท า tuberculin test ในการตรวจหาภู มิคุ้ม กั นต่อวั ณโรค  การปฏิ เสธการเปลี่ย นอวั ยวะ (graft rejection) การท าลายเซลล์ มะเร็ง  ชนิดของ T-lymphocyte  T-helper ( Th) ท าหน้าที่ช่วยกระตุ้ นการสร้ าง แอนติบ อดี และการ ตอบสนองทางภูมิคุ้ ม กั นชนิด ผ่า นเซลล์  T-suppressor (Ts) ท าหน้าที่ควบคุ ม การท างานของ T และ Blymphocytes  T-cytotoxic (Tc) ท าหน้าที่ฆ่า เซลล์ มะเร็ง และเซลล์ท ี่ติดเชื้อไวรัส การท างานของ ภูมิคุ้ ม กั นชนิด ผ่า นเซลล์ (CMI)  T-effector หรือ T-delayed type hypersensitivity (Tdth) ท าหน้าที่สร้าง และหลั่ง lymphokine ออกมาท าให้ เกิด ภูมิแพ้ แบบช้าๆ (delayed type hypersensitivity) และการตอบสนอง แบบ cell mediate immunity 1. lymphokines ชื่อ chemotactic factor ท าให้มี การ ชุม นุม ของ phagocyte ในบริ เวณที่มี การติด เชื้ อ ท าให้ เกิด การล้ อมเชื้ อไว้ เช่ นในวั ณโรค 2.. lymphokines ชื่อ macrophage activating factor กระตุ้ น macrophage ให้ดุร้า ย ฆ่า เชื้ อเก่ง ขึ้ น 3. T-cytotoxic (Tc) เข้า ไปท าลายเซลล์ท ี่ติด เชื้ อไวรัส เซลล์มะเร็ง โดยตรง 4. ควบคุ ม ส่ง เสริม การสร้าง แอนติบ อดี โดย Ts และ Th 5. lymphokine ชื่อ migration inhibition factor จะ ห้ามเซลล์ macrophage ไม่ให้ เคลื่ อนที่ออกจากบริ เวณ ที่มีการอั กเสบ 8
  • 9. Activated macrophage ขนาดจะใหญ่ขึ้นและผิวหยาบ ระบบคอมพลีเม นต์ ็ (The complement system) ประกอบด้ วยโปรตี นในกระแสเลือดและบนผิ ว เซลล์ประมาณ 34 ตัว ซึ่งเรียกว่า complement component ซึ่งในภาวะปกติจะไม่ท างาน จะท างานเมื่อถูก กระตุ้ น (activate) 9
  • 10. การกระตุ้ นระบบ complement ท าให้เกิด 1. การแตกสลาย ของเซลล์ทเี่ ป็นแอนติเ จน (cell lysis) 2. complement component บางตัว เช่น C3a C5a ท าใ ห้ม ี การดึง ดูด macrophage เ ข้า มาบริเ วณทีมก ารอักเสบ ่ ี 3. ส่งเ สริมใ ห้เ กิดการอักเสบมากขึน ้ 4. complement component บางตัว เช่น C4b เป็น opsonin ไปเคลือบแอนติเ จน ท าใ ห้ mac rophage จับกินแอนติเ จน ได้งาย ่ ขึ้น อินเตอร์เฟีย รอน (interferon, IFN)  อินเตอร์เฟีย รอนเป็นสารไกลโคโปรตีนที่เซลล์ของคนหรือสัตว์สร้างขึ้น เมื่อถูกกระตุ้นด้ว ยจุลินทรีย ์เช่น ไวรัส หรืออาจเป็นสารเคมีเช่น endotoxin, double stranded RNA อินเตอร์เฟีย รอนที่ สร้างขึ้นจะถูกปล่อยออกมานอกเซลล์ไปกระตุ้นเซลล์อื่นข้างเคีย งให้อยู่ ในสภาวะที่ตานต่อการติดเชื้อไวรัส โดยการสร้างสารที่ย ับยั้งการเพิ่ม ้ จานวนไวรัส อินเตอร์เฟีย รอนไม่มีความจาเพาะต่อชนิดของไวรัส แต่ ออกฤทธิ์ได้เฉพาะ species ที่สร้างมันขึ้นมา   ภาวะภูมแ พ้แบบที่ 1. ิ (T ype I Hypersensitivity) ภาวะภูมิแ พ้ (HYPERSENSITIVITY, ALLERGY)  ภาวะภูมิไวเกิน ภาวะภูม ิแพ้หรื อ คือภาวะที่ร่างกายตอบสนองทางภูม ิคุ้ม กัน มากเกินพอดีต่ อสาร ที่ทาให้เกิดอาการแพ้ ซึ่ง เรียกว่า allergen ท าให้ม ีการ อักเสบ ท าลายเนื้อเยื่อตนเอง อินเตอร์เฟีย รอนยังมีผลกับเซลล์ในด้านการ differentiation และ ควบคุมการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันด้ว ย อินเตอร์เฟีย รอนแบ่งออกเป็น 3 ชนิดคือ alpha interferon สร้าง จากเม็ดเลือดขาว, beta interferon สร้างจากเซลล์ fibroblast และ gamma interferon สร้างจากเซลล์ lymphocyte ปัจจุบันมีการใช้อินเตอร์เฟีย รอนที่ผลิตด้ว ยวิธีพันธุว ิศวกรรมในการ รักษาโรคติดเชื้อไวรัสและโรคมะเร็งหลายโรค  allergen คือ ฝุ่น ยา อาหาร เกสรดอกไม้ ซีรั่ม ม้า ซึ่ง ร่างกายได้รับทาง การสั มผัส กิ น ฉีด หรืดหายใจ อาการแพ้ท ี่เกิดจะเกิด เร็ว เช่ นแพ้ ฝุ่ นจะมี การไอ จาม ทันที กลไก เมื่ อได้ รับ allergen ครั้ง แรก ร่างกายจะสร้ าง แอนติ บ อดีช นิด IgE ไปเกาะบน mast cell และ basophil เมื่อได้รั บ allergen ครั้ง ที่สอง allergen จะข้า ไปเกาะกับ แอนติ บ อดีท ี่อยู่บ นเซลล์ mast cell และ basophil ท าให้เซลล์หลั่ง สารเคมี ชื่อ histamine และ สารอื่ นๆที่ท าให้เกิด อาการแพ้ ออกมา 10
  • 11. HISTAMINE เป็นสารที่อ อกฤทธิ์ ทาให้ เส้นเลื อดฝอยขยายตัว ทาให้เกิดการบวม แดง คัน ทาให้เกิด กล้ามเนื้อเรี ยบหดตัว เกิดการหอบหืดได้  ถ้าการแพ้เกิดมากๆมีผลท าให้ชีพจรเต้น เร็ว ความดันโลหิตต่า ช็อคได้ เรียกว่าเกิด anaphylaxis ภาวะภูมแ พ้แบบที่ 2. ิ (T ype II Hypersensitivity)    allergen คือเซลล์ แปลกปลอม เช่ นในการให้ เลื อดผิด กลุ่ ม การปลู กถ่า ยอวัยวะ กลไก ร่างกายตอบสนองโดยสร้าง แอนติ บอดีช นิด IgG และ IgM ไปเกาะกั บเซลล์ แปลกปลอม ท าให้เกิด การ กระตุ้ นระบบ complement เซลล์จะแตกสลาย มี phagocyte เข้า มากิ นและหลั่ง เอ็ นซั ยม์ ออกมา ท าให้ การอั กเสบ ตัวอย่างเช่ น การที่เลื อดแม่ กับลู กไม่เข้า กั น การปฏิ เสธ การปลู กถ่ายอวั ยวะ 2. มีภ าวะภู มิ แพ้ต่ อตัว เอง เรี ย ก autoimmune disease เช่ นผู้ ป่วยโรค systemic lupus erythrematosus (SLE) 3. ผู้ท ี่ได้ รับ แอนติ เจนปริ มาณมากเช่ น ผู้ท ี่ถูกงู กัด และ ได้ รับซีรั่ มแก้พิ ษงูจ ากม้ า จะเกิด การแพ้ท ี่เรีย ก serum sickness หรือในผู้ท ี่หายใจเอาสปอร์ ของ เชื้ อราปริ มาณมากเข้ า ไป กลไก เมื่ อเกิด antigen-antibody complex ขึ้ น ปริม าณมากก็จะไปเกาะ ตกตะกอนในอวัยวะต่ างๆ เช่ นที่ ไต ผนัง เส้นเลื อด ข้อ ท าให้เกิด การกระตุ้ น ระบบ complement ท าให้เกิด การ อั กเสบที่ ไต เกิดผื่ นผิ วหนัง เกิด เลื อดออก เช่ นในไข้เลื อดออก ภาวะภูมิแ พ้แบบที่ 3. (Type III Hypersensitivity) allergen คือ ยา ซีรั่ม แก้พิษงู เชื้อจุลินทรี ย์ วัคซีน แอนติเจนของตัวเองในผู้ ที่มี ภูมิคุ้ มกันต่อ ต้านตนเอง แอนติบ อดี ที่เกิดเป็น ชนิด IgG ภาวะภู มิแ พ้แบบที่ 3 เกิดได้ใน 3 กรณี 1. กรณีมีการติดเชื้ อ แล้วเกิด antigen antibody complex เช่นการติดเชื้อ มาเลเรีย การติดเชื้ อไวรัส ไข้เลือดออก ภาวะภูม ิแ พ้แ บบท ี่ 4. (Type IV Hypersensitivity)     อาจเรี ย กว่ า delayed type hypersensitivity หรือภาวะภู มิแพ้ แบบช้ า เซลล์ท ี่เกี่ ยวข้ องคือ Teffector หรือ Tdth ตัวอย่างของภูมิแพ้ แบบนี้ เช่ นการแพ้สารเคมีท ี่ ผิวหนัง เช่ นแพ้ ผงซั กฟอก ในผู้ท ี่เป็ นโรคเรื้ อน การท า tuberculin test การเกิด ภูมิแพ้ แบบนี้ เกิด ช้า 48-72 ชั่วโมง 11
  • 12. การทดสอบ skin testมี 2 วิธีคือ 1. วิธีสะกิด (Skin Prick Test หรือ scratch test) เป็นการ ทดสอบโดยหยดน้ายาลงบนผิวหนังที่แขน และใช้เข็ม สะกิดตรงกลางหยดน้ายา ซึ่งทาง่าย, เร็ว, ไม่เจ็บและใช้อุปกรณ์น้อย เสี่ย งต่อการเกิดอาการแพ้ทั่วร่างกายน้อย 2. วิธีฉ ีดเข้าในผิว หนัง (Intradermal Test) เป็นการฉีดน้ายาเข้า ใต้ผิว หนังเป็นจุดเล็กๆ ซึ่งทายากกว่า เสีย เวลามากกว่า เจ็บกว่า และต้อง ใช้อุปกรณ์มากกว่า และเสี่ย งต่อการเกิดอาการแพ้ทั่วร่างกายได้มากกว่า การรัก ษาภาวะภูม ิแพ้  ถ้าแพ้สารใดต้อ งหลีกเลี่ยงการสั มผั สสารนั้น ถ้าเลี่ยงไม่ได้เช่น ในผู้แพ้ ฝุ่น  มีการรักษาโดยการฉี ดสารที่แพ้เ ข้าไปกระตุ้น ทีละน้ อย เรียกว่าวิธี desensitization  ไรฝุ่น Dermatophagoides pteronyssinus และ วิธีการนี้จะกระตุ้น ให้เกิดแอนติบ อดีชนิด IgG ต่อ allergen นั้นขึ้นมา เมื่อ สัมผั สกับ allergen อีก IgG จะแย่งจั บ allergen ก่อน IgE ทาให้อาการแพ้ล ดลงได้ Dermatophagoides farinae 12
  • 13. การสร้า งเสริม ภูม คมก นโรค ิ ุ้ ั 1. Passive immunization การท าให้ร่ างกายมี ภูมิคุ้ มกั นโรคทันที โดยการฉีดสารที่มีคุ ณสมบัติ ใ น การป้ อง กั นโรคเข้ า ไปโดยตรงตรงเช่ นการให้ซีรั่ ม แก้ พิ ษงู แต่ภูมิคุ้ มกั นโรคชนิด นี้ จะอยู่ใ นร่ างกายได้ ไม่ นาน 2. Active immunization หรือ vaccination คือ การฉีดวั คซี นกระตุ้ นให้ร่ างกายมี การสร้ างภูมิคุ้ มกั น เกิดขึ้ นด้ วยตั วเอง ซึ่ง ต้องใช้ระยะเวลาในการสร้ าง ภูมิคุ้ มกั น แต่ ภูมิคุ้ มกั นที่เกิด จะอยู่ ได้ นาน ประวัติก ารใช้ วัคซีน ในประเทศไทย ระยะก่อน EPI Expanded program on immunization EPI Immunization schedule for children in Thailand พ.ศ. 2383 - เริ่มสั่งพัน ธุ์หนองฝีป ้องกัน ไข้ทรพิษ Age Vaccine พ.ศ. 2456 - ใช้กฎหมายบังคับ การปลูกฝี ป้องกัน ไข้ทรพิษ Birth 2 months 4 months 6 months 9-12 months 18 months 2 1/2 - 3 years 4-6 years BCG HB1 OPV1 DTP1 HB2 OPV2 DTP2 OPV3 DTP3 HB3 MMR1 (or M) OPV4 DTP4 JE(x2) JE3 OPV5 DTP5 MMR2 พ.ศ. 2477 - สามารถผสมพัน ธุ์หนองฝีใช้เองในประเทศ พ.ศ. 2488 - เริ่มใช้วัค ซีนคอตีบและวัค ซีนไอกรน (ชนิดเดี่ยว) พ.ศ. 2496 - ตั้งโครงการช านัญพิเศษเพื่อรณรงค์การฉีด BCG ในเด็ก พ.ศ. 2510 - เริ่มใช้วัค ซีน รวม DTP และ OPV ระยะ EPI (2520 - ปัจจุบัน) Source: EPI / DDC / MOPH ANTIGEN-ANTIBOD Y REACTION ปฏิก ิริยาระหว่า งแอนติเ จนและแอนติบอดี 13
  • 14. 1. Neutralization หรือปฏิกิริยาลบล้างฤทธิ์ เช่น  แอนติบ อดีที่ล บล้างพิ ษ Toxin เรียกว่า antitoxin  แอนติบ อดีต่ อไวรั ส ลบล้างฤทธิ์ในการติดเชื้ อไวรั ส เรียก neutralizing antibody (NT-Ab) 2. Precipitation เป็นปฏิกิริ ยาตกตะกอนของ แอนติเจนที่ละลายได้ เมื่ อแอนติเจนกับแอนติ บอดี ในปริมาณที่พ อเหมาะแพร่เข้าหากันจะเกิด เป็น ตะกอนขุ่น ขาวขึ้น เรียกว่า precipitin band 3.Agglutination เป็น ปฏิ กิริยาตกตะกอนของ แอนติ เจนที่เ ป็ นอนุ ภาค (particle) เช่นเม็ ดเลื อด เซลล์ แบคทีเ รีย เกิด การเกาะกลุ่ ม กัน 4. Complement fixtaion test (CF test) เป็ น ปฎิ กิริ ยาการตรึง คอมพลี เม็ นท์ (complement) มี indicator system คือ เม็ด เลื อดแดง แกะผสมกั บ แอนติ บอดีต่ อเม็ด เลื อดแดง แกะ (SRBC+antiSRBC) ถ้า มี การตรึง คอมพลี เม็ นท์ และใช้ค อมพลี เม็ นท์ปริ มาณ จากัดที่ใส่ลง ไปในปฏิ กิริย าหมดไปจะไม่ท าให้ indicator system คือเม็ด เลือดแดง แกะแตก 5. ปฏิกิริยาระหว่างแอนติเจนกับแอนติ บอดี ที่มีการติ ด ฉลาก (label) เรียกว่า conjugate เราสามารถติด ฉลากได้ทั้ง แอนติเจนและแอนติบ อดี ส่วนใหญ่นิย มติดฉลาก แอนติบ อดี มากกว่า สารที่นิยมใช้ติดฉลากคื อ -สีฟลูอ อเรสซีน (fluorescein dye) เช่น fluorescein isothioicyanate (FITC) -สารกัมมัน ตภาพรังสี เช่น tritium -เอ็นซัย ม์ เช่น horseradish peroxidase, alkaline phosphatase, glucose oxidase 14
  • 15. ตัวอย่างของปฏิ กิริ ยาระหว่าง แอนติเจนกับแอนติบอดีท ี่มีการ ติดฉลาก 5.1 Immunofluorescence test ตัว อย่าง 2 แบบคือ  Direct immunofluorescence test เช่ นที่ใ ช้ใ นการ ตรวจวิ นิจ ฉัย โรคพิ ษสุนัขบ้ า  Indirect immunofluorescence test 5.2 ELISA test (Enzyme Linked Immunosorbent Assay) ตัวอย่าง 2 แบบคื อ  Double antibody sandwich ELISA (DASELISA) ใช้ตรวจหาแอนติเจน  DAS ELISA ตรวจหา แอนติเจน Indirect ELISA ใช้ตรวจหาแอนติบ อดี เช่น ตรวจหาแอนติ บอดีต่ อ HIV Indirect ELISA ตรวจหา anti-HIV 15
  • 16. ELISA ELISA PLAT E READER ไรฝุ่ น • สาหรับสารก่อ ภูมิแพ้ของไรฝุ่น มักอยู่ในรูปของมูลและคราบของไร ฝุ่นที่มีนาหนักเบา สามารถลอยปะปนในอากาศและสูดดมเข้าไปได้ ้ จะมีไรฝุ่นมากหรือ น้อยก็ขึ้นอยู่กับการดูแลรักษาความสะอาด ของ ผู้ใช้เครือ งนอนและอายุการใช้งานของเครือ งเรือ นเป็นหลัก โดยที่ ่ ่ นอนหรือฟูกทีทาจากนุ่นและ ใยสังเคราะห์ที่มีอายุการใช้งานนาน ่ กว่า 6 ปีจะมีความเสียงจากไรฝุ่นจนเกิดโรคภูมิแพ้ได้มากที่สด ่ ุ ขณะทีอ าหารของไรฝุ่นนั้นต้อ งถือว่ามีมากเกินพอ เพราะไรฝุนจะกิน ่ ่ เศษขีไ้ คล ขี้รังแค และเศษผิวหนังของคนในบ้านเป็นอาหาร โดยเศษ ผิวหนังเพียง 1 กรัมก็สามารถเลี้ยงไรฝุ่น 1,000,000 ตัวเป็นเวลาถึง 1 สัปดาห์เต็มๆ แล้ว ไรฝุ่ น • แนวทางการป้อ งกันและกาจัดไรฝุนมีอยู่ 4 ข้อ ง่ายๆ คือ ่ 1.การหลีก เลีย งใช้งานเครือ งนอน พรม และเฟอร์นิเจอร์ที่ทาจากเส้น ่ ่ ใยซึ่งมีอายุการใช้งานหลายปี เพือ ลดความเสี่ยงทีต้อ งสัมผัสกับไร ่ ่ ฝุ่นจานวนมาก 2.การเลือกใช้ข้าวของเครือ งใช้ที่มีเส้นใยสานกันแน่น พลาสติก หรือ ่ เส้นใยไวนิล และไนลอน หรือเคลือ บด้วยสารป้อ งกันไรฝุน เพือ ่ ่ ป้อ งกันไม่ให้ไรฝุ่นเข้ามายุ่มย่ามกับเครือ งนอนภายในบ้าน ่ • 3.การดูด ฝุ่นทาความสะอาด ก็เป็นอีกวิธีที่สามารถ ไล่ไรฝุ่นได้ในระดับหนึ่ง 4.การซักเครื่องนอนเป็นประจาด้วยน้าที่มีอุณหภูมิ อย่างน้อย 55 องศาเซลเซียส เพราะเป็นอุณหภูมิ ที่สามารถฆ่าไรฝุ่นและกาจัดสารก่อภูมิแพ้จากไร ฝุ่นได้ดี โดยการตากแดดยังทาให้ไข่ไรฝุ่น ที่ฝังตัว อยู่กับเครื่องนอนฝ่อได้ด้วย 16