SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 46
3.ยาที่ใช้ในการรักษา
ความผิดปกติของหัวใจ
อ.ศิรินุช จันทรางกูล
3.ยาที่ใช้รักษาความผิดปกติของหัวใจ
ยาที่ใช้รักษาความผิดปกติของหัวใจ
3.1 ยาที่ใช้รักษาภาวะ angina pectoris
3.2 ยารักษาภาวะหัวใจล้มเหลว
3.3 ยารักษาภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ
3.1 ยาที่ใช้รักษาภาวะ angina pectoris
ปัจจุบันมียา 3 กลุ่มที่นิยมนามาใช้
3.1.1 Nitrates and Nitrite
3.1.2 Calcium channel blocking agents
3.1.3 -blockers
Angina pectoris เป็นอาการเจ็บอกซึ่งเกิดจากความไม่สมดุล
ชั่วคราวระหว่าง
myocardial oxygen demand กับ
myocardial oxygen supply
3.1.1 ยากลุ่มไนเตรท (Nitrates)
และ ไนไตรท (Nitrite)
a.Glyceryl trinitrate (Nitroglycerin)
b.Isosorbide dinitrate: Isordil
กลไกการออกฤทธิ์
 ขยายหลอดเลือดโดยการหลั่ง nitric oxide (NO) เข้าสู่กล้ามเนื้อเรียบของ
หลอดเลือด กระตุ้น guanylate cyclase ใน cytoplasm ทาให้ทาให้เกิด
กล้ามเนื้อเรียบของหลอดเลือดหลอดเลือดดาขยายตัว
 เลือดไหลกลับหัวใจลดลง
 ลดปริมาณเลือดในห้องหัวใจ (preload )
 แรงในการบีบตัวของหัวใจลดลง
 ช่วยลดความต้องการออกซิเจนของร่างกาย
หลอดเลือดแดงหัวใจคลายตัว
ความต้านทานของหลอดเลือดปลายทางลดลง (after load )
ความดันโลหิตลดลง
ลดการทางานของหัวใจ
**ออกฤทธิ์ต่อเลือดดำมำกกว่ำเลือดแดง
การบริหารยา
Isosorbide dinitrate (tablet) อมใต้ลิ้น (sublingual; SL) 5
mg, เริ่มอม 5mg ถ้ายังไม่หายใน 5 นาที ให้อมเม็ดที่ 2 ได้อีก ถ้ายังไม่หาย อมเพิ่ม
เม็ดที่ 3 แล้วรีบไปโรงพยาบาล
ชนิดอมในกระพุ้งแก้ม (3-6 ชั่วโมง)
ยาชนิดแผ่นแปะ (nitroderm TTS 8-10 ชั่วโมง)
ยาชนิดขี้ผึ้ง (ointment) ทา (3-6 ชั่วโมง)
รูปแบบยา ขนาดยาที่ใช้/ครั้ง ความถี่ในการให้ยา
Nitroglycerin
แบบขี้ผึ้ง(ointment) 0.5-2 นิ้ว 2-3 ครั้ง/วัน
แบบปิ ดหน้าอก(transdermal patch) 0.2-0.8มิลลิกรัมต่อชม. ทุก 24 ชม.เอาออกตอนนอน12-14ชม.
แบบอมใต้ลิ้น(sublingual) 0.3-0.6มิลลิกรัม อมเมื่อมีอาการเจ็บหน้าอกห่างกัน 5นาที
แบบสเปรย์(spray) 1-2 ครั้ง พ่นเมื่อมีอาการเจ็บหน้าอกห่างกัน 5นาที
แบบรับประทานออกฤทธิ์ยาว
(oral sustained release)
2.5-6.5มิลลิกรัม 2-3 ครั้ง/วัน
Isosorbide dinitrate
แบบรับประทาน 10-40 มิลลิกรัม วันละ 2-3 ครั้ง
แบบอมใต้ลิ้น(sublingual) 5มิลลิกรัม อมเมื่อมีอาการเจ็บหน้าอกห่างกัน 5นาที
Isosorbide 5-mononitrate
แบบรับประทาน 20 มิลลิกรัม วันละ 2 ครั้ง(ห่างกัน 7-8 ชม.)
แบบรับประทานออกฤทธิ์ยาว 30-240 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง
การนาไปใช้ทางคลีนิก
ใช้ในกรณีเจ็บอกรุนแรงเฉียบพลัน (acute angina attack)
5 mg อมใต้ลิ้น
ใช้ป้ องกันการเกิดอาการเจ็บอก angina (10mg)
อาการข้างเคียง
หัวใจเต้นเร็ว
**ความดันโลหิตลดลงเมื่อเปลี่ยนท่า, เป็ นลม (syncope)
หน้าแดง
ปวดมึนศีรษะ บางรายพบอาการปวดศีรษะคล้ายปวดไมเกรน เนื่องจากฤทธิ์ขยายหลอด
เลือดในสมอง
การใช้ยาชนิดแผ่นแปะ (transdermal) อาจพบผื่นคันบริเวณที่แปะยาได้
การใช้ยาเป็ นระยะเวลานานทาให้เกิดการดื้อยา ควรงดใช้ยาเป็ นระยะ (nitrate-
free peroid) เพื่อป้ องกันการดื้อยา อย่างน้อย 8-12 ชั่วโมง/วัน เช่น อาจงดยา
ในช่วงกลางคืน
อาการข้างเคียง
3.1.2 ยาต้านแคลเซียม
(Calcium channel blocking agents)
ดูรายละเอียดเพิ่มเติมในหัวข้อยาลดความดันโลหิตสูง
Verapamil และ Diltiazem (ดิลไทอะเซม)ออกฤทธิ์ลดการทางานของหัวใจได้
ดี ลดอัตราการเต้นของหัวใจ
Nifedipine ออกฤทธิ์ขยายหลอดเลือดได้ดี มีผลต่อการทางานของหัวใจน้อย
3.1.3 ยาที่ออกฤทธิ์ยับยังเบต้าอะดรีเนอร์จิกรีเซพเตอร์
(-blockers)
ดูรายละเอียดเพิ่มเติมในหัวข้อยาลดความดันโลหิตสูง
propranolol , metoprolol, nadolol
ยากลุ่มนี้ช่วยลดอัตราการเต้นของหัวใจ ลดความดันโลหิต ลดความแรงในการบีบตัวของ
หัวใจ ส่งผลให้กล้ามเนื้อหัวใจต้องการใช้ออกซิเจนลดลง
นิยมใช้ป้ องกันการเกิดอาการเจ็บอก
การพยาบาลผู้ที่ได้รับยารักษาบรรเทาอาการ angina pectoris
ยากลุ่ม Nitrates
ประเมินอาการปวดศีรษะซึ่งอาจพบอาการปวดศีรษะในช่วงแรกของการรับประทาน
nitrates
กรณีได้รับยาชนิดอมใต้ลิ้น แนะนาการใช้ยาเมื่อมีอาการเจ็บอกให้นั่งลงพักอยู่กับที่ **ระวัง
ความดันโลหิตต่าเมื่อเปลี่ยนท่า
อมยาไว้ใต้ลิ้น ไม่ควรเกิน 3 เม็ดในการเจ็บอกแต่ละครั้ง เพราะอาจทาให้เลือดไป
เลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจลดลง และทาให้ความดันโลหิตลดลงได้
แนะนาให้หลีกเลี่ยงการดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ ขณะรับการรักษาด้วย nitrates
เนื่องจากอแอลกอฮอล์จะทาให้เกิดอาการข้างเคียงรุนแรงได้ (ความดันโลหิตตลดลง มึนงง
อ่อนแรง)
แนะนาให้เก็บรักษายาอย่างถูกต้อง เมื่อเปิ ดขวดยาแล้วจะเก็บไว้ได้ไม่เกิน 3 เดือน
แนะนาให้รับประทานยาอย่างสม่าเสมอเพื่อประสิทธิภาพในการรักษา ไม่ควรลด/เพิ่มขนาด
ยา หรือหยุดยาเองโดยเด็ดขาด
3.2 ยารักษาภาวะหัวใจล้มเหลว
3.2.1 Diuretics
3.2.2 ยาที่ออกฤทธิ์ยับยั้งการทางานของระบบเรนินแองจิโอเทนซิน :
ACE inhibitors,ARBs
3.2.3 กลุ่มยาขยายหลอดเลือด (Vasodilators)
3.2.4  blockers
3.2.5 ยาที่ออกฤทธิ์กระตุ้นการบีบตัวของหัวใจ
(Positive inotropics)
- Cardiac glycosides
- Dopamine agonists
- Phosphodiesterase inhibitors
3.2.1 ยาขับปัสสาวะ (Diuretics)
รักษาภาวะหัวใจล้มเหลวเพื่อลดภาวะบวมน้า
ปริมาตรเลือดกลับสู่ปกติ ช่วยลด preload ได้โดยไม่มีผลต่อ cardiac output
การนาไปใช้ทางคลีนิก
loop diuretics ใช้รักษาภาวะหัวใจล้มเหลวเรื้อรังระดับรุนแรง ภาวะหัวใจล้มเหลว
ชนิดเฉียบพลัน และใช้ในผู้ป่ วยที่มีการทางานของไตบกพร่องได้
กลุ่มไธอะไซด์ ใช้รักษาภาวะหัวใจล้มเหลวระดับปานกลาง ที่การทางานของไตปกติ
3.2.2 ยาที่ออกฤทธิ์ยับยั้งการทางาน
ของระบบเรนินแองจิโอเทนซิน
ACEs inhibitors: captopril, enalapril
ARBs: losartan, valsartan
การนาไปใช้ทางคลินิก
ACE Inhibitors นิยมใช้เพื่อช่วยลดความรุนแรงของโรค เพิ่มคุณภาพชีวิตและ
อัตราการรอดชีวิตของผู้ป่ วยที่มีภาวะหัวใจล้มเหลว
ยากลุ่ม ARBs อาจใช้ในกรณีผู้ป่ วยมีอาการข้างเคียงจากการใช้ยาในกลุ่ม
ACE inhibitors
3.2.3 กลุ่มยาขยายหลอดเลือด (Vasodilators)
ช่วยลด preload, afterload ส่งผลช่วยลดการทางานของกล้ามเนื้อหัวใจ
การนาไปใช้ทางคลินิก
Hydralazine และ Isosorbine dinitrate นิยมใช้ในกรณีไม่สามารถใช้ยาในกลุ่ม ACE
Inhibitors ได้
พบว่าช่วยลดอัตราการตายของผู้ป่ วยหัวใจล้มเหลวได้
Glyceryl trinitrate นิยมใช้ในกรณีเกิดอาการหัวใจล้มเหลวชนิดเฉียบพลัน และมีอาการ
ปอดบวมน้าร่วมด้วย เพื่อช่วยลดความดันในช่องปอด
3.2.4 -blockers
Carvidilol, Metropolol, Bisoprolol
 ยาทาให้หัวใจเต้นช้าลง
 นิยมใช้ร่วมกับยาในกลุ่ม ACE inhibitors หรือ ARBs และ diuretics
 จากการศึกษาพบว่าการเริ่มใช้ยากลุ่มนี้ในขนาดต่า ๆ และค่อยๆเพิ่มขนาด ในระยะยาว
มีผลทาให้การทาหน้าที่ของหัวใจห้อง ventricle ดีขึ้น
ลดความรุนแรงของโรค
ลดอัตราการตายของผู้ป่ วยหัวใจล้มเหลวได้
3.2.5 ยาที่ออกฤทธิ์กระตุ้นการบีบตัวของหัวใจ (Positive
inotropics)
 ยากลุ่ม Cardiac glycosides
 สารสกัดจากใบของ foxglove หรือ Digitalis purpurea
 Digitalis (Digoxin) เป็ นยาตัวเดียวในกลุ่ม cardiac glycosides ใช้
ในการรักษาภาวะหัวใจล้มเหลว
กลไกการออกฤทธิ์
ออกฤทธิ์ยับยั้ง Na+,K+-ATPase
มีผลให้ sodium ions ในเซลล์มากขึ้น ส่งผลลดการทางาน Na+/Ca2+
exchanger ลดการขับcalcium ions ออก ทาให้ calcium ionsอยู่ใน
เซลล์กล้ามเนื้อหัวใจ มากขึ้น
และ calcium ions ที่เข้ามาในเซลล์มีผลกระตุ้นการหลั่งของ calcium
ions จาก sarcoplasmic reticulum ในเซลล์ออกมา มีผลเพิ่มความแรง
ในการหดตัวของกล้ามเนื้อหัวใจ
กลไกการออกฤทธิ์
การนาไปใช้ทางคลีนิก
รักษาภาวะหัวใจล้มเหลว มีผลเพิ่มการบีบตัวของหัวใจ
รักษาและป้ องกันการเกิดภาวะน้าท่วมปอด ช่วยให้การทางานของหัวใจดีขึ้น
Digitalis มี half-life ยาวนาน 36-48 ชั่วโมง ทาให้ต้องใช้ระยะเวลานานยาจึงจะ
ถึงระดับในการรักษา
การรักษา โดยปกติจะให้ยาแบบ loading dose ก่อน เมื่อผู้ป่ วย
ตอบสนองต่อยาจึงลดระดับยาลง
ระดับรักษา 0.5-1.5 ng/ml
ระดับที่ก่อให้เกิดพิษ > 2 ng/ml
การนาไปใช้ทางคลีนิก
อาการข้างเคียง
ยา digitalis มีความเป็ นพิษค่อนข้างสูง การใช้ยาเกินขนาด
รักษาเพียงเล็กน้อย อาจก่อให้เกิดความเป็ นพิษได้
การเต้นของหัวใจผิดจังหวะ, หัวใจเต้นเร็ว, ใจสั่น
คลื่นไส้อาเจียน จาก cardiac glycosides กระตุ้น
chemoreceptor trigger zone (CTZ) ในสมอง
ระบบทางเดินอาหาร พบการระคายเคืองทางเดินอาหาร เบื่ออาหาร ท้องเสีย
ระบบประสาทส่วนกลาง:
พบความจาเสื่อม
เห็นภาพหลอน (hallucination),
การมองเห็นผิดปกติ (visual disturbance)
อาจพบ อาการกระสับกระส่าย (agitation)
ชัก (convulsion)
Gynecomastia [พบน้อย]
อาการข้างเคียง
ยาออกฤทธิ์กระตุ้นอะดรีเนอจิกรีเซพเตอร์ (Adrenergic agonists)
• dopamine, dobutamine
กลไกการออกฤทธิ์
Dobutamine ออกฤทธิ์
**กระตุ้นที่ 1 receptor ที่กล้ามเนื้อหัวใจ ส่งผลเพิ่ม
cardiac output
Dopamine
การใช้ใน low dose ออกฤทธิ์กระตุ้นที่ dopaminergic receptor บนกล้ามเนื้อ
เรียบของหลอดเลือด
ทาให้หลอดเลือดคลายตัว
มีผลเพิ่มปริมาณเลือดไปเลี้ยงไต ส่งผลช่วยคงสภาพอัตราการกรองผ่านที่ไต
ใช้ในขนาดปานกลาง (intermidate dose)
**ออกฤทธิ์กระตุ้น 1 receptor ที่กล้ามเนื้อหัวใจ เพิ่มอัตราการเต้นของหัวใจ
กลไกการออกฤทธิ์
การนาไปใช้ทางคลีนิก
• ใช้ในกรณีหัวใจล้มเหลวชนิดเฉียบพลัน หรือใช้ยาชนิดรับประทานไม่ได้ผล โดยใช้ในระยะสั้น
อาการข้างเคียง
อัตราการเต้นของหัวใจเพิ่มขึ้น ความต้องการO2 ของกล้ามเนื้อหัวใจเพิ่มขึ้น
ทาให้เกิดอาการเจ็บอก หรือการเต้นของหัวใจผิดจังหวะ
ต่อผู้ป่ วยที่มีภาวะหัวใจขาดเลือด
ยาออกฤทธิ์ยับยั้งการทางานของเอนไซม์ฟอสโฟไดเอสเทอเรส (Phosphodiesterase
inhibitors)
Milrinone
กลไกการออกฤทธิ์
Milrinone
ยับยั้งการทางานของเอนไซม์ phosphodiesterase
ในหลอดเลือดและกล้ามเนื้อหัวใจ
มีการขยายตัวของหลอดเลือดแดง
» เลือดไปเลี้ยงส่วนต่าง ๆ ได้ดีขึ้น
» ลด vascular resistance
» เพิ่ม cardiac output
การนาไปใช้ทางคลีนิก
โรคหัวใจล้มเหลวระดับรุนแรง ที่ใช้ยาตัวอื่นแล้วไม่ได้ผล
ใช้ในกรณีใช้ dobutamine ไม่ได้ผล (ดื้อยา)
อาการข้างเคียง
หัวใจเต้นผิดจังหวะ, เจ็บอก
ความดันโลหิตต่า
ปวดศีรษะ
การพยาบาลผู้ที่ได้รับยารักษาภาวะหัวใจล้มเหลว
ประเมินสัญญาณชีพ ประเมินจังหวะ ความแรง การเต้นของหัวใจ ก่อนและหลังการให้ยา
หากมีจังหวะและความแรงไม่สม่าเสมอ ควรหยุดยาและรายงานแพทย์ทันที
ประเมินและติดตามการตรวจ electrolyte ประเมินน้าหนักตัว การบวม เช่น แขน
ขา ประเมิน/บันทึกความสมดุลของสารน้า
ประเมินอาการข้างเคียงหลังการให้ยาแต่ละชนิด
ผู้ที่ได้รับยากลุ่ม digitalis
ประเมินอาการข้างเคียงและความเป็ นพิษของยาเช่น คลื่นไส้ อาเจียน เบื่ออาหาร ท้องเสีย การมองเห็น
ผิดปกติ ใจสั่นให้หยุดยา รายงานแพทย์ทันที
ควรดูแลให้รับประทานพร้อมอาหาร เพื่อลดการระคายเคืองกระเพาะอาหาร
ประเมินระดับยาในกระแสเลือด ควรอยู่ในระดับ 0.5-2 ng/ml เนื่องจากยามีช่วงความปลอดภัยในการ
รักษาแคบ กรณีได้รับยาฉีด
ประเมินบริเวณที่ให้ยาว่ามีอาการบวมแดง และมีเลื่อนหลุดของสาย IV fluid หรือไม่ เนื่องจากยามีฤทธิ์
ระคายเคืองเนื้อเยื่ออาจทาให้เกิดเนื้อตายได้
***ประเมินอัตราเต้นชีพจรก่อนให้ยา ถ้าเท่ากับหรือน้อยกว่า 60 ครั้ง/นาที ห้ามให้ยาและ
รายงานแพทย์
ผู้ที่ได้รับยา dopamine, dobutamine
ดูแลการบริหารยาแบบ IV infusion ผ่านหลอดเลือดดาใหญ่โดยใช้ infusion pump
ตามแผนการรักษาของแพทย์
ประเมินระดับความดันโลหิต, การเต้นของหัวใจ และชีพจรอย่างน้อย ทุก 15 นาที ในระยะ
acute phase
หากพบระดับความดันโลหิต diastolic > 100 mm.Hg และ/หรืออัตราการเต้น
ของหัวใจ > 100 ครั้ง/นาที ควรหยุดให้ยาและรายงานแพทย์เพื่อพิจารณาปรับลดขนาดลง
หากผู้รับยามีอาการใจสั่น, เจ็บหน้าอก, agitation, restless ให้ติดตาม EKG และ
รายงานแพทย์
3.3 ยารักษาภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ
(drug used for cardiac arrhythmia)
3.3.1 Class I sodium channel-blockers
1. Class I subgroup 1A : quinidine, procainamide,
disopyramide
2. Class I subgroup 1B: lidocaine, tocainide, mexiletine
3. Class I subgroup 1C: flecainide , propafenone
3.3.2 Class II  blockers : Propranolol Esmolol
3.3.3 Class III Potassium channel blocker : amiodarone,
bretylium (IV), sotalol
3.3.4 Class IV ใช้กลุ่มยาต้านแคลเซียม : verapamil, diltiazem
การแบ่งจาแนกยารักษาภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ
Class I sodium channel-blockers
Quinidine ใช้รักษาภาวะ ventricular arrhythmia
SE: ท้องเสีย เบื่ออาหาร ขมในปาก วิงเวียน ปวดศีรษะ
Lidocaine ใช้รักษาภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ ร่วมกับภาวะกล้ามเนื้อหัวใจตาย
เฉียบพลัน
SE:ความดันโลหิตลดลง อาการสั่น คลื่นไส้ การได้ยินผิดปกติ พูดช้าชัก
Class II  blockers : ช่วยลดอัตราการเต้นของหัวใจ
Esmolol ใช้ในการรักษาภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะเฉียบพลัน
Class III potassium channel blocker มีผลทาให้ระยะพักยาวนานโดยการทาให้มี
ระยะ action potential ยาวนาน
Amiodarone ใช้ในภาวะ ventricular arrhythmia รุนแรง และภาวะ
supraventricular arrhythmia เช่น atrial fibrillation
SE: อาจทาให้เกิดหัวใจเต้นช้าลงเกิด heart block ได้ การทางานของตับ ไต ผิดปกติ
ผิวหนังอักเสบจากการสัมผัสแสงแดด อาจพบภาวะ hypo หรือ hyperthyroidism พบ
ความดันโลหิตลดลงเมื่อเปลี่ยนท่า
Class IV ใช้กลุ่มยาต้านแคลเซียม : verapamil
ทาให้หัวใจเต้นช้าลง โดยยับยั้งที่ SA และ AV node
Verapamil
ภาวะ supraventricular tachycardia
ใช้ลดอัตราการทางานของ ventricular ใน atrial fibrillation
รักษาภาวะ ventricular arrhythmia
SE: การเต้นของหัวใจช้าลง หัวใจหยุดเต้น หัวใจล้มเหลว ความดันโลหิตลดลง ปวดศีรษะ มึนงง
เวียนศีรษะ ท้องผูก อาการบวมของอวัยวะส่วนปลาย เช่น ขา เท้า
การพยาบาลผู้ที่ได้รับยารักษาภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ
ประเมินสัญญาณชีพ ประเมินจังหวะ ความแรง การเต้นของหัวใจ ความดันโลหิต ก่อนและหลังการให้ยา
อัตราการเต้นของหัวใจไม่ควรเกิน 120 ครั้ง/นาที หรือ ไม่ควรต่ากว่า 60 ครั้ง/นาที หากพบอาการดังกล่าวควร
หยุดให้ยา และรายงานแพทย์ทราบ
การให้ยาชนิดฉีดเข้าหลอดเลือดดาควรให้ผู้รับยานอนพักจนกว่าสัญญาณอยู่ในระดับปกติ และควรจัดเตรียม
อุปกรณ์และยาในการช่วยชีวิตให้พร้อมใช้อยู่เสมอ และจัดวางไว้ให้หยิบใช้ได้สะดวก
•
ประเมินอาการข้างเคียงหลังการให้ยาแต่ละชนิด
ประเมินและติดตามการตรวจ electrolyte เช่น ระดับ potassium, magnesium,
phosphate, sodium, น้าหนักตัว การบวม เช่น แขน ขา, ขนาดของ jugular vein,
ประเมิน/บันทึก intake /output
เพราะการเกิดภาวะบวมน้า หรือมี sodium คั่งในร่างกายทาให้หัวใจทางานหนักขึ้น
กรณีรับประทานยาต่อที่บ้านแนะนาให้รับประทานยาอย่างต่อเนื่องสม่าเสมอ ไม่ควรลด/เพิ่มหรือหยุดยาเอง
โดยเด็ดขาด
ไม่ควรซื้อยารับประทานเอง ควรควบคุมน้าหนัก จากัดหรือหลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารรสเค็ม งดสูบบ
หรี่ งดดื่มสุรา งดดื่มเครื่องดื่มที่มี caffeine อาจต้องรับประทานยา potassium เสริม

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

PALS manual 2009
PALS manual 2009PALS manual 2009
PALS manual 2009
taem
 
คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)
Weerawan Ueng-aram
 
Cvp central venous pressure monitoring
Cvp central venous pressure monitoringCvp central venous pressure monitoring
Cvp central venous pressure monitoring
piyarat wongnai
 

Mais procurados (20)

คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุคู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
 
Ppt. HAD
Ppt. HADPpt. HAD
Ppt. HAD
 
PALS manual 2009
PALS manual 2009PALS manual 2009
PALS manual 2009
 
Drug Therapy of Hypertension
Drug Therapy of HypertensionDrug Therapy of Hypertension
Drug Therapy of Hypertension
 
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
 
Drugs used in disorders of coagulation
Drugs used in disorders of coagulationDrugs used in disorders of coagulation
Drugs used in disorders of coagulation
 
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูงคู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
 
การจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นการจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้น
 
Principles of Pharmacotherapy in Chronic Heart Failure 56 01 30
Principles of Pharmacotherapy in Chronic Heart Failure 56 01 30Principles of Pharmacotherapy in Chronic Heart Failure 56 01 30
Principles of Pharmacotherapy in Chronic Heart Failure 56 01 30
 
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชนวิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
 
การพยาบาลแบบองค์รวมในการแก้ไขปัญหาสุขภาพสำหรับบุคคลวัยเด็ก วัยรุ่นวัยผู้ใหญ่แ...
การพยาบาลแบบองค์รวมในการแก้ไขปัญหาสุขภาพสำหรับบุคคลวัยเด็ก วัยรุ่นวัยผู้ใหญ่แ...การพยาบาลแบบองค์รวมในการแก้ไขปัญหาสุขภาพสำหรับบุคคลวัยเด็ก วัยรุ่นวัยผู้ใหญ่แ...
การพยาบาลแบบองค์รวมในการแก้ไขปัญหาสุขภาพสำหรับบุคคลวัยเด็ก วัยรุ่นวัยผู้ใหญ่แ...
 
Low Back Pain
Low Back PainLow Back Pain
Low Back Pain
 
คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)
 
แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557
แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557
แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557
 
แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับยาที่มีความเสี่ยงสูง (High Alert Drugs)
แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับยาที่มีความเสี่ยงสูง (High Alert Drugs)แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับยาที่มีความเสี่ยงสูง (High Alert Drugs)
แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับยาที่มีความเสี่ยงสูง (High Alert Drugs)
 
Ppt. HT
Ppt. HTPpt. HT
Ppt. HT
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวานคู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
 
Cvp central venous pressure monitoring
Cvp central venous pressure monitoringCvp central venous pressure monitoring
Cvp central venous pressure monitoring
 
EKG in ACLS
EKG in ACLSEKG in ACLS
EKG in ACLS
 

Mais de Sirinoot Jantharangkul

Mais de Sirinoot Jantharangkul (11)

Memantine (NAMENDA)
Memantine (NAMENDA)Memantine (NAMENDA)
Memantine (NAMENDA)
 
Vildagliptin
Vildagliptin Vildagliptin
Vildagliptin
 
Rozerem (ramelteon)
Rozerem (ramelteon)Rozerem (ramelteon)
Rozerem (ramelteon)
 
Cymbalta (duloxetine hydrochloride)
Cymbalta (duloxetine hydrochloride) Cymbalta (duloxetine hydrochloride)
Cymbalta (duloxetine hydrochloride)
 
Tarceva ( erlotinib ) 2
Tarceva ( erlotinib ) 2Tarceva ( erlotinib ) 2
Tarceva ( erlotinib ) 2
 
Tarceva ( erlotinib )
Tarceva ( erlotinib )Tarceva ( erlotinib )
Tarceva ( erlotinib )
 
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
 
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
 
Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...
Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...
Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...
 
Antibiotic_1
Antibiotic_1 Antibiotic_1
Antibiotic_1
 
Agent used in hyperlipidemia
Agent used in hyperlipidemiaAgent used in hyperlipidemia
Agent used in hyperlipidemia
 

Cardiovascular drugs