SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
การเปลี่ยนแปลงของ
เทคโนโลยีการศึกษา
1. วิเคราะห์แนวคิดวิธีการจัดการเรียนการสอน และการใช ้สื่อการสอนของครู
สมศรี ตลอดจนวิธีการเรียนรู้ของนักเรียน ว่าสอดคล ้องกับยุคปฏิรูปการศึกษา
ที่เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญหรือไม่ พร ้อมทั้งให ้เหตุผลประกอบ
แนวคิดในการจัดการเรียนการสอนของครูสมศรีเป็นการสอนตามเนื้อหา
โดยการบรรยายให ้นักเรียนจํา สื่อที่ใช ้ในการสอนก็เป็นลักษณะที่เป็นการ
ถ่ายทอดความรู้ด ้วย
แนวคิดของครูสมศรี คือสามารถทําให้นักเรียนสามารถจําเนื้อหา เรื่องราวในบทเรียน
ให้ได้มากที่สุดรอรับความรู้จากครูเพียงผู้เดียว
รอรับความรู้
เพียงผู้เดียว
ซึ่งไม่สอดคล้องกับยุคปฏิรูปการศึกษาที่มีผู้เรียนเป็ นสําคัญเพราะการจัดการ
เรียนการสอนต ้องเน้นให ้ผู้เรียนสามารถแสวงหาความรู้ และพัฒนาความรู้ได ้ตาม
ธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพของตนเอง รวมทั้งสนับสนุนให ้มีการฝึกและปฏิบัติ
ในสภาพจริงของการทํางาน มีการเชื่อมโยงสิ่งที่เรียนกับสังคมและการประยุกต์ใช ้
มีการจัดกิจกรรมและกระบวนการให ้ผู้เรียนได ้คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินและ
สร ้างสรรค์สิ่งต่างๆ โดยไม่เน้นไปที่การท่องจําเพียงเนื้อหา
2. วิเคราะห์เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษามาสู่ยุคปฏิรูปการเรียนรู้ว่ามี
การเปลี่ยนแปลงทางด ้านใดบ ้าง พร ้อมทั้งอธิบายเหตุผลสนับสนุน
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลง
โฉมหน้าทาง
การศึกษา
การ
เปลี่ยนแปลง
ผู้เรียน
การเปลี่ยนแปลงมาสู่
การเรียนที่เน้น
ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
การเปลี่ยนแปลงโฉมหน้าทางการศึกษา
แนวคิดดั้งเดิมเกี่ยวกับการเรียนและการสอน แนวคิดใหม่เกี่ยวกับการเรียนและการสอน
เป็นการเรียนการสอนจะมีครูยืนอยู่หน้าชั้น
เรียน และ ถ่ายทอดเนื้อหา ในขณะที่ผู้เรียน
นั่งฟังและรอรับความรู้จากครู ตาม
แนวความคิดนี้ครูจะเป็นผู้ที่ดําเนินการ กา
กับควบคุมวางแผน ดําเนินการและ
ประเมินผลพฤติกรรมของผู้เรียน ซึ่งน่าจะ
เป็นการสอนที่ผู้เรียนไม่สามารถคิดเกินกว่า
ข้อมูลที่ครูจัดให้ ในบางครั้งอาจเป็นการ
เรียนโดย "เน้นทักษะการจดจา” ท่องจํา
อย่างเดียวเท่านั้น
ต้องปรับเปลี่ยนให้ทันและสอดคล้องกับ กระแส
การเปลี่ยนแปลงของชาติและสังคมโลกอยู่
ตลอดเวลา ซึ่งสภาพสังคมที่เป็นอยู่ในทุกวันนี้
บุคคลที่จะอยู่รอดในสังคมอย่างมีความสุขจะต้อง
เป็นผู้มีประสิทธิภาพของความเป็นมนุษย์ที่
สมบูรณ์ ต้องรู้จักคิด รู้จักทําเป็น รู้จักแก้ปัญหา
ได้และปฏิบัติในวิถีทาง ที่ถูกต้องเหมาะสม จึง
จําเป็นต้องให้การศึกษาที่มีคุณภาพโดยจัด
กระบวนการเรียนรู้ที่ใช้เทคโนโลยีและ
สารสนเทศต่างๆให้เป็นประโยชน
การเปลี่ยนแปลงผู้เรียน
ในโลกปัจจุบันพบว่า ความต้องการเกี่ยวกับตัวผู้เรียนเพิ่มมากขึ้น แม้ว่าครั้งหนึ่ง
อาจจะมี การตอบสนองต่อการเรียนแบบท่องจํามามาก แต่ในปัจจุบันสภาพชีวิตจริง
ต้องการบุคคลที่มี ความสามารถในการใช้ทักษะการให้เหตุผลในระดับที่สูงขึ้น เพื่อ
การแก้ปัญหาที่ซับซ้อน ซึ่งพบว่า ความสามารถในทักษะดังกล่าวที่จะนํามาใช้ใน
การแก้ปัญหาไม่ค่อยปรากฏให้เห็น หรือมีอยู่น้อยมากในปัจจุบัน แนวคิดเกี่ยวกับ
ผู้เรียนจึงต้องเปลี่ยนแปลงมุมมองใหม่
ในปัจจุบันความหลากหลายในสังคม ทําให้ แบบการเรียน (Learning
Styles) พื้นฐานประสบการณ์ที่แตกต่างกัน ความแตกต่างของวิถีชีวิตใน
แต่ละครอบครัวและอื่นๆ ทําให้ห้องเรียนในปัจจุบันมีความหลากหลาย
เป็นเหตุที่ทําให้เกิดปัญหาการเรียนรู้ที่ซับซ้อนสาหรับครูและผู้เรียน
การเปลี่ยนแปลงมาสู่การเรียนที่เน้นผู้เรียนเป็น
ศูนย์กลาง
ในปัจจุบันเป็นยุคที่การส่งข้อมูลมีความรวดเร็วมาก เทคโนโลยีเปิดโอกาสให้แต่ละ บุคคลได้รับ
รวบรวม วิเคราะห์และสื่อสารข้อมูลข่าวสารได้อย่างละเอียดและรวดเร็ว มากกว่าที่ผ่านมา เป็นผลทํา
ให้ความต้องการเกี่ยวกับการศึกษาเพิ่มขึ้น เพื่อที่จะช่วยผู้เรียนทุกคนให้ได้รับทักษะที่เพิ่มมากขึ้น
เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความพร้อมในการวิเคราะห์ ตัดสินใจ และแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในชีวิตจริงที่ซับซ้อน
ผู้สอนควรจะศึกษาเทคนิค วิธีการเทคโนโลยีต่างๆ ที่จะนํามาใช้เพื่อช่วยให้ผู้เรียนได้รับ
ความรู้ใหม่ ซึ่งแต่เดิมมักเป็นการสอนให้ผู้เรียนเรียนโดยการท่องจํา ควรปรับเปลี่ยนมาสู่
การใช้เทคนิควิธีการที่จะช่วยผู้เรียนรับข้อเท็จจริงได้อย่างมีประสิทธิภาพ
การสอนที่ผู้เรียนควรได้รับคือ ทักษะการคิดในระดับสูง (Higher-Order Thinking Skills)
ได้แก่ การคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ตลอดจนการแก้ปัญหา และการถ่ายโยงความรู้ โดยเน้น
การใช้วิธีการต่างๆ อาทิ สถานการณ์จําลอง การค้นพบ การแก้ปัญหา และการเรียนแบบ
ร่วมมือ สําหรับผู้เรียนจะได้รับประสบการณ์การแก้ปัญหาที่สอดคล้องกับสภาพชีวิตจริง
3. ปรับวิธีการสอนและวิธีการใช ้สื่อการสอนของครูสมศรี ให ้เหมาะสมกับยุค
ปฏิรูปการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ
การใช ้สื่อ ในการสอนของครูสมศรีนั้นเป็นการใช ้ที่มีลักษณะที่เป็นการ
ถ่ายทอดความรู้เช่น หนังสือเรียน การสอนบนกระดานหรือแม ้กระทั่งวีดีโอ
ซึ่งถ ้าเปรียบเทียบกับยุคปฏิรูปการศึกษาเน้นผู ้เรียนเป็นสําคัญแล ้ว ครูสมศรี
ควรใช ้สื่อที่ทันสมัยเช่น การเรียนรู้หรือค ้นคว ้าข ้อมูลทางเว็บไซต์ และวิธีการ
สอนของครูสมศรีที่สอนในเนื้อหาที่มีอยู่ เพื่อให ้นักเรียนสามารถจําเนื้อหา
เรื่องราวในบทเรียนให ้ได ้มากที่สุด ควรเปลี่ยนวิธีสอนมาเป็นการเรียนรู้จาก
สภาพจริงและประสบการณ์ตรง การลงมือปฏิบัติด ้วยตนเอง มีโอกาส
แสดงออก และแลกเปลี่ยนความรู ้ร่วมกับผู ้อื่น โดยที่ครูเป็นผู้วางแผนวิธีการ
สอนให ้มีกิจกรรมที่หลากหลาย เรียนแล ้วเกิดความสุข มีการสอดแทรกเกมส์
ต่างๆเข ้าไปในเนื้อหา
สมาชิกในกลุ่ม
นางสาวมินตรา สืบปรุ รหัสนักศึกษา 533050441-9
นางสาวเมขลา กุระขันธ์ รหัสนักศึกษา 533050442-7
นางสาวฉัตรดา มีสุวรรณ์ รหัสนักศึกษา 533050495-6
นางสาวอรอนงค์ เทียบอุดม รหัสนักศึกษา 533050500-9
นักศึกษาชั้นปีที่ 4 คณะศึกษาศาสตร์
สาขาการสอนภาษาจีนในฐานะภาษาต่างประเทศ

More Related Content

What's hot

สื่อเก่ากับสื่อใหม่
สื่อเก่ากับสื่อใหม่สื่อเก่ากับสื่อใหม่
สื่อเก่ากับสื่อใหม่Sand Jutarmart
 
สังเกตชั้นเรียน
สังเกตชั้นเรียนสังเกตชั้นเรียน
สังเกตชั้นเรียนWiparat Khangate
 
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือการเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือMamoss CM
 
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชนภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชนathapol anunthavorasakul
 
ภาษาและวัฒนธรรมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ภาคอีสาน)
ภาษาและวัฒนธรรมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ภาคอีสาน)ภาษาและวัฒนธรรมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ภาคอีสาน)
ภาษาและวัฒนธรรมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ภาคอีสาน)Chainarong Maharak
 
กระบวนการพัฒนาหลักสูตร
กระบวนการพัฒนาหลักสูตรกระบวนการพัฒนาหลักสูตร
กระบวนการพัฒนาหลักสูตรNoawanit Songkram
 
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศบทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศSrion Janeprapapong
 
ขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงานขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงานdgnjamez
 
powerpoint บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อกาารเรียนรู้
powerpoint บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อกาารเรียนรู้powerpoint บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อกาารเรียนรู้
powerpoint บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อกาารเรียนรู้Kanatip Sriwarom
 
การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่
การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่
การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่Natepanna Yavirach
 
การจัดการศึกษาแบบเรียนร่วม
การจัดการศึกษาแบบเรียนร่วมการจัดการศึกษาแบบเรียนร่วม
การจัดการศึกษาแบบเรียนร่วมguest5ec5625
 
หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]
หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]
หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]Sansanee Tooksoon
 
การออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนการออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนguest68e3471
 
เทคนิคการสอนแบบอุปนัย
เทคนิคการสอนแบบอุปนัยเทคนิคการสอนแบบอุปนัย
เทคนิคการสอนแบบอุปนัยFern's Phatchariwan
 
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพ
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพรายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพ
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพZnackiie Rn
 
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้องPochchara Tiamwong
 
9789740329817
97897403298179789740329817
9789740329817CUPress
 
การเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheets
การเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheetsการเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheets
การเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google SheetsDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
3 ตัวแปร,สมมุติฐาน,กรอบแนวคิด
3 ตัวแปร,สมมุติฐาน,กรอบแนวคิด3 ตัวแปร,สมมุติฐาน,กรอบแนวคิด
3 ตัวแปร,สมมุติฐาน,กรอบแนวคิดNitinop Tongwassanasong
 
อารยธรรมกรีก-โรมัน
อารยธรรมกรีก-โรมันอารยธรรมกรีก-โรมัน
อารยธรรมกรีก-โรมันmminmmind
 

What's hot (20)

สื่อเก่ากับสื่อใหม่
สื่อเก่ากับสื่อใหม่สื่อเก่ากับสื่อใหม่
สื่อเก่ากับสื่อใหม่
 
สังเกตชั้นเรียน
สังเกตชั้นเรียนสังเกตชั้นเรียน
สังเกตชั้นเรียน
 
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือการเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
 
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชนภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
 
ภาษาและวัฒนธรรมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ภาคอีสาน)
ภาษาและวัฒนธรรมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ภาคอีสาน)ภาษาและวัฒนธรรมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ภาคอีสาน)
ภาษาและวัฒนธรรมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ภาคอีสาน)
 
กระบวนการพัฒนาหลักสูตร
กระบวนการพัฒนาหลักสูตรกระบวนการพัฒนาหลักสูตร
กระบวนการพัฒนาหลักสูตร
 
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศบทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
 
ขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงานขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงาน
 
powerpoint บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อกาารเรียนรู้
powerpoint บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อกาารเรียนรู้powerpoint บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อกาารเรียนรู้
powerpoint บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อกาารเรียนรู้
 
การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่
การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่
การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่
 
การจัดการศึกษาแบบเรียนร่วม
การจัดการศึกษาแบบเรียนร่วมการจัดการศึกษาแบบเรียนร่วม
การจัดการศึกษาแบบเรียนร่วม
 
หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]
หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]
หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]
 
การออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนการออกแบบการสอน
การออกแบบการสอน
 
เทคนิคการสอนแบบอุปนัย
เทคนิคการสอนแบบอุปนัยเทคนิคการสอนแบบอุปนัย
เทคนิคการสอนแบบอุปนัย
 
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพ
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพรายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพ
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพ
 
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
 
9789740329817
97897403298179789740329817
9789740329817
 
การเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheets
การเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheetsการเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheets
การเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheets
 
3 ตัวแปร,สมมุติฐาน,กรอบแนวคิด
3 ตัวแปร,สมมุติฐาน,กรอบแนวคิด3 ตัวแปร,สมมุติฐาน,กรอบแนวคิด
3 ตัวแปร,สมมุติฐาน,กรอบแนวคิด
 
อารยธรรมกรีก-โรมัน
อารยธรรมกรีก-โรมันอารยธรรมกรีก-โรมัน
อารยธรรมกรีก-โรมัน
 

Viewers also liked

Chapter2การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
Chapter2การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาChapter2การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
Chapter2การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาสาวกปิศาจ Kudo
 
ภาวะผู้นำทางการศึกษา
ภาวะผู้นำทางการศึกษาภาวะผู้นำทางการศึกษา
ภาวะผู้นำทางการศึกษาJack Hades Sense
 
ภาวะผู้นำทางวิชาการ
ภาวะผู้นำทางวิชาการภาวะผู้นำทางวิชาการ
ภาวะผู้นำทางวิชาการTwatchai Tangutairuang
 
ภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำissareening
 
การบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการการบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการTwatchai Tangutairuang
 
Leadership
LeadershipLeadership
Leadershippapatsa
 
How to Make Awesome SlideShares: Tips & Tricks
How to Make Awesome SlideShares: Tips & TricksHow to Make Awesome SlideShares: Tips & Tricks
How to Make Awesome SlideShares: Tips & TricksSlideShare
 
Getting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShareGetting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShareSlideShare
 

Viewers also liked (10)

Chapter2การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
Chapter2การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาChapter2การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
Chapter2การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
 
ภาวะผู้นำทางการศึกษา
ภาวะผู้นำทางการศึกษาภาวะผู้นำทางการศึกษา
ภาวะผู้นำทางการศึกษา
 
ภาวะผู้นำทางวิชาการ
ภาวะผู้นำทางวิชาการภาวะผู้นำทางวิชาการ
ภาวะผู้นำทางวิชาการ
 
ภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำ
 
การบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการการบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการ
 
Leadership
LeadershipLeadership
Leadership
 
บริบทการเปลี่ยนแปลงของประเทศ
บริบทการเปลี่ยนแปลงของประเทศบริบทการเปลี่ยนแปลงของประเทศ
บริบทการเปลี่ยนแปลงของประเทศ
 
บทที่ 3 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับภาวะผู้นำ
บทที่ 3  แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับภาวะผู้นำบทที่ 3  แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับภาวะผู้นำ
บทที่ 3 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับภาวะผู้นำ
 
How to Make Awesome SlideShares: Tips & Tricks
How to Make Awesome SlideShares: Tips & TricksHow to Make Awesome SlideShares: Tips & Tricks
How to Make Awesome SlideShares: Tips & Tricks
 
Getting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShareGetting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShare
 

Similar to การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา

Chapter 2
Chapter 2Chapter 2
Chapter 2FerNews
 
Chapter 2
Chapter 2Chapter 2
Chapter 2beta_t
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาFern's Supakyada
 
งานนวัตกรรมบที่2
งานนวัตกรรมบที่2งานนวัตกรรมบที่2
งานนวัตกรรมบที่2saraprungg
 
Chapter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาChapter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาWuth Chokcharoen
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา Chapter2
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา Chapter2การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา Chapter2
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา Chapter2เนตร นภา
 
งานนำเสนอChapter 2 ^^
งานนำเสนอChapter 2 ^^งานนำเสนอChapter 2 ^^
งานนำเสนอChapter 2 ^^Vi Mengdie
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2Real PN
 
งานนำเสนอนวัตกรรม2
งานนำเสนอนวัตกรรม2งานนำเสนอนวัตกรรม2
งานนำเสนอนวัตกรรม2lalidawan
 
งานนำเสนอ1 การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการศึกษา
งานนำเสนอ1  การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการศึกษางานนำเสนอ1  การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการศึกษา
งานนำเสนอ1 การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการศึกษาAmu P Thaiying
 

Similar to การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา (20)

Chapter 2
Chapter 2Chapter 2
Chapter 2
 
Chapter 2
Chapter 2Chapter 2
Chapter 2
 
Chapter 2
Chapter 2Chapter 2
Chapter 2
 
Chapter 2
Chapter 2Chapter 2
Chapter 2
 
Chapter 2
Chapter 2Chapter 2
Chapter 2
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
 
งานนวัตกรรมบที่2
งานนวัตกรรมบที่2งานนวัตกรรมบที่2
งานนวัตกรรมบที่2
 
Chapter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาChapter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
 
Chapter2
Chapter2Chapter2
Chapter2
 
งาน
งานงาน
งาน
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา Chapter2
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา Chapter2การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา Chapter2
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา Chapter2
 
Chapter 2#
Chapter 2#Chapter 2#
Chapter 2#
 
Chapter 2
Chapter 2Chapter 2
Chapter 2
 
Innovation chapter 2
Innovation chapter 2Innovation chapter 2
Innovation chapter 2
 
Chapter2
Chapter2Chapter2
Chapter2
 
Chapter
Chapter   Chapter
Chapter
 
งานนำเสนอChapter 2 ^^
งานนำเสนอChapter 2 ^^งานนำเสนอChapter 2 ^^
งานนำเสนอChapter 2 ^^
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2
 
งานนำเสนอนวัตกรรม2
งานนำเสนอนวัตกรรม2งานนำเสนอนวัตกรรม2
งานนำเสนอนวัตกรรม2
 
งานนำเสนอ1 การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการศึกษา
งานนำเสนอ1  การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการศึกษางานนำเสนอ1  การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการศึกษา
งานนำเสนอ1 การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการศึกษา
 

More from Mintra Subprue (9)

Chapter 10
Chapter 10Chapter 10
Chapter 10
 
Chapter7
Chapter7Chapter7
Chapter7
 
Chapter 6
Chapter 6Chapter 6
Chapter 6
 
Chapter5
Chapter5Chapter5
Chapter5
 
Chapter4
Chapter4Chapter4
Chapter4
 
Chapter 3
Chapter 3Chapter 3
Chapter 3
 
Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3
 
คอมม
คอมมคอมม
คอมม
 
Chapter 1
Chapter 1Chapter 1
Chapter 1
 

การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา

  • 2. 1. วิเคราะห์แนวคิดวิธีการจัดการเรียนการสอน และการใช ้สื่อการสอนของครู สมศรี ตลอดจนวิธีการเรียนรู้ของนักเรียน ว่าสอดคล ้องกับยุคปฏิรูปการศึกษา ที่เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญหรือไม่ พร ้อมทั้งให ้เหตุผลประกอบ แนวคิดในการจัดการเรียนการสอนของครูสมศรีเป็นการสอนตามเนื้อหา โดยการบรรยายให ้นักเรียนจํา สื่อที่ใช ้ในการสอนก็เป็นลักษณะที่เป็นการ ถ่ายทอดความรู้ด ้วย
  • 3. แนวคิดของครูสมศรี คือสามารถทําให้นักเรียนสามารถจําเนื้อหา เรื่องราวในบทเรียน ให้ได้มากที่สุดรอรับความรู้จากครูเพียงผู้เดียว รอรับความรู้ เพียงผู้เดียว ซึ่งไม่สอดคล้องกับยุคปฏิรูปการศึกษาที่มีผู้เรียนเป็ นสําคัญเพราะการจัดการ เรียนการสอนต ้องเน้นให ้ผู้เรียนสามารถแสวงหาความรู้ และพัฒนาความรู้ได ้ตาม ธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพของตนเอง รวมทั้งสนับสนุนให ้มีการฝึกและปฏิบัติ ในสภาพจริงของการทํางาน มีการเชื่อมโยงสิ่งที่เรียนกับสังคมและการประยุกต์ใช ้ มีการจัดกิจกรรมและกระบวนการให ้ผู้เรียนได ้คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินและ สร ้างสรรค์สิ่งต่างๆ โดยไม่เน้นไปที่การท่องจําเพียงเนื้อหา
  • 4. 2. วิเคราะห์เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษามาสู่ยุคปฏิรูปการเรียนรู้ว่ามี การเปลี่ยนแปลงทางด ้านใดบ ้าง พร ้อมทั้งอธิบายเหตุผลสนับสนุน การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา การเปลี่ยนแปลง โฉมหน้าทาง การศึกษา การ เปลี่ยนแปลง ผู้เรียน การเปลี่ยนแปลงมาสู่ การเรียนที่เน้น ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
  • 5. การเปลี่ยนแปลงโฉมหน้าทางการศึกษา แนวคิดดั้งเดิมเกี่ยวกับการเรียนและการสอน แนวคิดใหม่เกี่ยวกับการเรียนและการสอน เป็นการเรียนการสอนจะมีครูยืนอยู่หน้าชั้น เรียน และ ถ่ายทอดเนื้อหา ในขณะที่ผู้เรียน นั่งฟังและรอรับความรู้จากครู ตาม แนวความคิดนี้ครูจะเป็นผู้ที่ดําเนินการ กา กับควบคุมวางแผน ดําเนินการและ ประเมินผลพฤติกรรมของผู้เรียน ซึ่งน่าจะ เป็นการสอนที่ผู้เรียนไม่สามารถคิดเกินกว่า ข้อมูลที่ครูจัดให้ ในบางครั้งอาจเป็นการ เรียนโดย "เน้นทักษะการจดจา” ท่องจํา อย่างเดียวเท่านั้น ต้องปรับเปลี่ยนให้ทันและสอดคล้องกับ กระแส การเปลี่ยนแปลงของชาติและสังคมโลกอยู่ ตลอดเวลา ซึ่งสภาพสังคมที่เป็นอยู่ในทุกวันนี้ บุคคลที่จะอยู่รอดในสังคมอย่างมีความสุขจะต้อง เป็นผู้มีประสิทธิภาพของความเป็นมนุษย์ที่ สมบูรณ์ ต้องรู้จักคิด รู้จักทําเป็น รู้จักแก้ปัญหา ได้และปฏิบัติในวิถีทาง ที่ถูกต้องเหมาะสม จึง จําเป็นต้องให้การศึกษาที่มีคุณภาพโดยจัด กระบวนการเรียนรู้ที่ใช้เทคโนโลยีและ สารสนเทศต่างๆให้เป็นประโยชน
  • 6. การเปลี่ยนแปลงผู้เรียน ในโลกปัจจุบันพบว่า ความต้องการเกี่ยวกับตัวผู้เรียนเพิ่มมากขึ้น แม้ว่าครั้งหนึ่ง อาจจะมี การตอบสนองต่อการเรียนแบบท่องจํามามาก แต่ในปัจจุบันสภาพชีวิตจริง ต้องการบุคคลที่มี ความสามารถในการใช้ทักษะการให้เหตุผลในระดับที่สูงขึ้น เพื่อ การแก้ปัญหาที่ซับซ้อน ซึ่งพบว่า ความสามารถในทักษะดังกล่าวที่จะนํามาใช้ใน การแก้ปัญหาไม่ค่อยปรากฏให้เห็น หรือมีอยู่น้อยมากในปัจจุบัน แนวคิดเกี่ยวกับ ผู้เรียนจึงต้องเปลี่ยนแปลงมุมมองใหม่ ในปัจจุบันความหลากหลายในสังคม ทําให้ แบบการเรียน (Learning Styles) พื้นฐานประสบการณ์ที่แตกต่างกัน ความแตกต่างของวิถีชีวิตใน แต่ละครอบครัวและอื่นๆ ทําให้ห้องเรียนในปัจจุบันมีความหลากหลาย เป็นเหตุที่ทําให้เกิดปัญหาการเรียนรู้ที่ซับซ้อนสาหรับครูและผู้เรียน
  • 7. การเปลี่ยนแปลงมาสู่การเรียนที่เน้นผู้เรียนเป็น ศูนย์กลาง ในปัจจุบันเป็นยุคที่การส่งข้อมูลมีความรวดเร็วมาก เทคโนโลยีเปิดโอกาสให้แต่ละ บุคคลได้รับ รวบรวม วิเคราะห์และสื่อสารข้อมูลข่าวสารได้อย่างละเอียดและรวดเร็ว มากกว่าที่ผ่านมา เป็นผลทํา ให้ความต้องการเกี่ยวกับการศึกษาเพิ่มขึ้น เพื่อที่จะช่วยผู้เรียนทุกคนให้ได้รับทักษะที่เพิ่มมากขึ้น เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความพร้อมในการวิเคราะห์ ตัดสินใจ และแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในชีวิตจริงที่ซับซ้อน ผู้สอนควรจะศึกษาเทคนิค วิธีการเทคโนโลยีต่างๆ ที่จะนํามาใช้เพื่อช่วยให้ผู้เรียนได้รับ ความรู้ใหม่ ซึ่งแต่เดิมมักเป็นการสอนให้ผู้เรียนเรียนโดยการท่องจํา ควรปรับเปลี่ยนมาสู่ การใช้เทคนิควิธีการที่จะช่วยผู้เรียนรับข้อเท็จจริงได้อย่างมีประสิทธิภาพ การสอนที่ผู้เรียนควรได้รับคือ ทักษะการคิดในระดับสูง (Higher-Order Thinking Skills) ได้แก่ การคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ตลอดจนการแก้ปัญหา และการถ่ายโยงความรู้ โดยเน้น การใช้วิธีการต่างๆ อาทิ สถานการณ์จําลอง การค้นพบ การแก้ปัญหา และการเรียนแบบ ร่วมมือ สําหรับผู้เรียนจะได้รับประสบการณ์การแก้ปัญหาที่สอดคล้องกับสภาพชีวิตจริง
  • 8. 3. ปรับวิธีการสอนและวิธีการใช ้สื่อการสอนของครูสมศรี ให ้เหมาะสมกับยุค ปฏิรูปการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ การใช ้สื่อ ในการสอนของครูสมศรีนั้นเป็นการใช ้ที่มีลักษณะที่เป็นการ ถ่ายทอดความรู้เช่น หนังสือเรียน การสอนบนกระดานหรือแม ้กระทั่งวีดีโอ ซึ่งถ ้าเปรียบเทียบกับยุคปฏิรูปการศึกษาเน้นผู ้เรียนเป็นสําคัญแล ้ว ครูสมศรี ควรใช ้สื่อที่ทันสมัยเช่น การเรียนรู้หรือค ้นคว ้าข ้อมูลทางเว็บไซต์ และวิธีการ สอนของครูสมศรีที่สอนในเนื้อหาที่มีอยู่ เพื่อให ้นักเรียนสามารถจําเนื้อหา เรื่องราวในบทเรียนให ้ได ้มากที่สุด ควรเปลี่ยนวิธีสอนมาเป็นการเรียนรู้จาก สภาพจริงและประสบการณ์ตรง การลงมือปฏิบัติด ้วยตนเอง มีโอกาส แสดงออก และแลกเปลี่ยนความรู ้ร่วมกับผู ้อื่น โดยที่ครูเป็นผู้วางแผนวิธีการ สอนให ้มีกิจกรรมที่หลากหลาย เรียนแล ้วเกิดความสุข มีการสอดแทรกเกมส์ ต่างๆเข ้าไปในเนื้อหา
  • 9. สมาชิกในกลุ่ม นางสาวมินตรา สืบปรุ รหัสนักศึกษา 533050441-9 นางสาวเมขลา กุระขันธ์ รหัสนักศึกษา 533050442-7 นางสาวฉัตรดา มีสุวรรณ์ รหัสนักศึกษา 533050495-6 นางสาวอรอนงค์ เทียบอุดม รหัสนักศึกษา 533050500-9 นักศึกษาชั้นปีที่ 4 คณะศึกษาศาสตร์ สาขาการสอนภาษาจีนในฐานะภาษาต่างประเทศ