SlideShare a Scribd company logo
1 of 54
นำเสนอ 
อำจำรย์ปรำงค์สุวรรณ ศักด์ิโสภณกุล 
จัดทำโดย 
น.ส.นฤภร โชติวงศำนันต์ ม.6.7 เลขที่ 4 
น.ส.พิริยำภรณ์ อำจหำญพิชิต ม.6.7 เลขที่ 10
เป็นการศึกษาเหตุการณ์และพฤติกรรมของมนุษย์ในอดีตที่เกิดใน 
ช่วงเวลาและยุคสมัยต่างกัน 
นักประวัติศำสตร์ แบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ออกเป็น 2สมัย 
• เกณฑ์ที่ใช้ในการแบ่ง คือ หลักฐานที่เป็นตัวอักษร แบ่งเป็น 
สมัยก่อนประวัติศำสตร์ ไม่มีการใช้ตัวอักษร 
สมัยประวัติศำสตร์ มีการใช้ตัวอักษร
ในปัจจุบันองค์การศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่ง 
สหประชาชาติหรือยูเนสโก ได้กาหนดยุคเพิ่มอีก 1 สมัย เรียกว่าสมัยกึ่ง 
ก่อน ประวัติศาสตร์ ซึ่งเป็นยุคที่ยังไม่รู้จักใช้ตัวอักษร แต่มีผู้คนจาก 
สังคมอื่นซึ่งได้เดินทางผ่าน และได้บันทึกเรื่องราวไว้
สมัยก่อนประวัติศาสตร์ 
• คือช่วงเวลาที่มนุษย์ยังไม่รู้จักใช้ตัวหนังสือ จึงยังไม่มีเอกสารที่จดบันทึก 
เรื่องราวให้มนุษย์ในยุคหลังทราบได้ 
• การศึกษาเรื่องราวจึงต้องอาศัยการสันนิษฐานและการตีความจาก 
หลักฐานทางโบราณคดี และหลักฐานทางสิ่งแวดล้อม 
• แบ่งเป็น2ยุค คือยุคหินและโลหะ
ยุคหิน 
• แบ่งออกเป็น3ยุค คือยุคหินเก่า หินกลาง หินใหม่ 
• เป็นสังคมล่าสัตว์ และอยู่กันเป็นครอบครัว ผู้ชายออกล่าสัตว์ ผู้หญิง 
ดูแลเด็กและหาผลไม้ 
• ลักษณะทางสังคมก่อให้เกิดสิ่งสาคัญ คือ เครื่องมือและภาษาพูด ซึ่ง 
นาไปสู่การถ่ายทอด และพัฒนาความรู้ของมนุษย์
ยุคหินเก่า 
• เกิดเมื่อประมาณ2,500,000-10,500 ปีมาแล้ว 
• เริ่มมีการทาเครื่องมือเครื่องใช้ด้วยหินอย่างง่ายก่อน 
• แบ่งออกเป็น 3 ช่วง คือ ยุคหินเก่าตอนต้น ยุคหินเก่าตอนกลางและ 
ยุคหินเก่าตอนปลาย
ยุคหินเก่ำตอนต้น ประมาณ 2,500,000-180,000 ปีมาแล้ว 
เครื่องมือเครื่องใช้ทาจากหินที่มีลักษณะเป็นขวานกะเทาะแบบกาปั้น
ยุคหินเก่ำตอนกลำง ประมาณ 180,000-49,000 ปีมาแล้ว ทาจาก 
หินแหลมคม มีด้ามยาวขึน้ และมีประโยชน์ในการใช้สอยมากขึน้
ยุคหินเก่ำตอนปลำย ประมาณ 49,000-10,500 ปีมาแล้ว เครื่องมือ 
เครื่องใช้มีความหลากหลายหว่ายุคก่อน เช่น เข็มเย็บผ้า ฉมวก หัว 
ลูกศร และเครื่องประดับ
พบว่าในช่วงปลายยุคหินเก่า มนุษย์มีความสามารถทางด้าน 
ศิลปะ ซงึ่พบตามภาพวาดที่ผนังถา้ ที่ใช้ฝุ่นสีต่างๆ โดยภาพที่วาดส่วน 
ใหญ่เป็นภาพสัตว์ป่า ภาพวาดที่มีชื่อเสียง ได้แก่ ภาพวาดที่ถา้ลาสโก 
ประเทศ ฝรั่งเศส
ยุคหินกลาง 
• เกิดเมื่อ10,500-10,000 ปีมาแล้ว 
• เริ่มทาเครื่องจักสาน เช่น ตะกร้าสาน ทารถลาก เครื่องมือเครื่องใช้ที่ทา 
ด้วยหิน ในยุคนีจ้ะมีความประณีตมากขึน้ 
• รู้จักการเลยี้งสัตว์และเริ่มมีการเพาะปลูก 
• มีการนาสุนัขมาเลยี้งเป็นสัตว์เลยี้ง 
• อาชีพหลัก คือการล่าสัตว์ 
• ยังเร่ร่อนไปตามแหล่งที่อุดมสมบูรณ์ เช่นแหล่งนา้ ชายฝั่งทะเล
ยุคหินใหม่ 
• เกิดเมื่อ10,000-4,000 ปีมาแล้ว 
• อาศัยรวมกันเป็นหมู่บ้าน มีการสร้างที่พักอาศัยถาวรเป็นกระท่อมดิน 
เหนียว และตัง้ถิ่นฐานตามบริเวณลุ่มนา้ 
• มีการเพาะปลูก เลยี้งสัตว์และทาการประมง 
• เปลี่ยนจากสังคมล่าสัตว์เป็นสังคมเกษตรกรรม
• มีการประกอบพิธีกรรมรูปแบบต่างๆ เพื่อบูชาสิ่งเหนือธรรมชาติ เช่น 
สโตนเฮนจ์ ในประเทศอังกฤษ ถูกสันนิษฐานว่าเป็นสถานที่ทาพิธีกรรม 
หรือเครื่องมือดาราศาสตร์ในยุคหินใหม่
• ย้ายจากที่สูงมาอยู่ที่ราบใกล้แหล่งนา้ อาศัยรวมกันเป็นหมู่บ้านบนเนิน 
• ดารงชีวิตตามลักษณะเศรษฐกิจใหม่ เมื่อมีผลผลิตมากกว่าที่จะบริโภค 
ก่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนค้าขาย 
• มีการตัง้ถิ่นฐานถาวร ทาให้ประชากรเพิ่มขึน้ สังคมมีความซับซ้อนมาก 
ขึน้ มีการจัดสถานะทางสังคม แบ่งงานกันทา มีการติดต่อแลกเปลี่ยน 
ทางเศรษฐกิจและวัฒนธรรมระหว่างชุมชน
• เครื่องมือสาคัญในยุคนีคื้อ ขวานหินด้ามไม้และเคียวหินเหล็กไฟด้ามไม้
ยุคโลหะ 
• โลหะชนิดแรกที่มนุษย์รู้จักนามาหลอมเป็นเครื่องมือเครื่องใช้คือ 
ทองแดง ซงึ่พบหลักฐานในบริเวณลุ่มแม่นา้ไทกริส ยเูฟรทิส 
• แบ่งออกเป็น 2ยุค คือ ยุคสาริด และ ยุคเหล็ก
ยุคสาริด 
• เกิดเมื่อ 4,000-2,700 ปีมาแล้ว 
• เครื่องมือเครื่องใช้ทาจากสาริด ดินเผา หินและแร่ 
• ชุมชนเกษตรกรรมขยายตัวจนเป็นชุมชนเมือง มีการจัดระเบียบสังคม 
ซงึ่จะนาไปสู่พัฒนาการทางสังคมสู่ความเป็นรัฐในเวลาต่อมา
• ขวาน หอก ภาชนะ กาไล ตุ้มหู ลูกปัด เป็นเครื่องมือเครื่องใช้ที่ทาจาก 
สาริด
• แหล่งอารยธรรมที่สาคัญของโลก เกิดในช่วงยุคนี้เช่นอารยธรรมเมโสโป 
เตเมียในเอเชียตะวันตก แหล่งอารยธรรมลุ่มนา้ไนล์ในอียิปต์ แหล่ง 
อารยธรรมลุ่มแม่นา้หวางเหอในจีน 
อำรยธรรมเมโสโปเตเมียในเอเชียตะวันตก
แหล่งอำรยธรรมลุ่มน้ำไนล์ในอียิปต์
แหล่งอำรยธรรมลุ่มแม่น้ำหวำงเหอในจีน
ยุคเหล็ก 
• เกิด2,700-2,000ปีมาแล้ว 
• มีการหลอมโลหะประเภทเหล็กขึน้มาทาเครื่องมือเครื่องใช้ 
• แหล่งอารยธรรมแห่งแรกที่สามารถผลิตเหล็กได้คือ แหล่งอารยธรรม 
เมโสโปเตเมีย 
• ต่างจากยุคสาริดคือ การผลิตเหล็กทาให้กองทัพมีอาวุธที่แข็งแกร่ง 
นาไปสู่พัฒนาการทางสังคมจนกลายเป็นรัฐที่มีกาลังทหารที่เข้มแข็ง 
เข้ายึดครองสังคมอื่นๆขยายเป็นอาณาจักรในเวลาต่อมา
สมัยประวัติศำสตร์ 
เริ่มมีตัวอักษรสาหรับใช้จดบันทึก 
การศึกษาประวัติศาสตร์สากล แบ่งเป็น 2 อย่าง 
ประวัติศาสตร์ 
ตะวันตก 
ประวัติศาสตร์ 
ตะวันออก
กำรแบ่งยุคสมัยในประวัติศำสตร์ตะวันออก 
• กำรแบ่งยุคสมัยทำงประวัติศำสตร์จีน 
หลักในกำรแบ่งยุคสมัย : พัฒนาการทางอารยธรรมและช่วงเวลาที่ 
ราชวงศ์ต่างๆมีอานาจในการปกครอง 
แบ่งเป็น 
1) ประวัติศาสตร์จีนสมัยโบราณ (1,570ปีก่อนคริสต์ศักราช-ค.ศ.220) 
2) ประวัติศาสตร์จีนสมัยกลาง (ค.ศ.220-1368) 
3) ประวัติศาสตร์จีนสมัยใหม่ (ค.ศ.1368-1911) 
4) ประวัติศาสตร์จีนสมัยปัจจุบัน (ค.ศ.1911-ปัจจุบัน)
การเริ่มต้นรากฐานของอารยธรรมจีนเริ่มตัง้แต่สมัยก่อน 
ประวัติศาสตร์ ที่มีการเกิดวัฒนธรรมหยางเชา และวัฒนธรรมหลงซาน 
ซงึ่เป็นวัฒนธรรมเครื่องปั้นดินเผาและโลหะสาริด 
แบบจำ ลองที่อยู่อำศัยใน 
วัฒนธรรมหยำงเชำ 
หม้อ 3 ขำในวัฒนธรรมหลงซำน
ประวัติศำสตร์จีนสมัยโบรำณ 
สมัยรำชวงศ์ชำง เป็นเวลาที่จีนก่อตัวเป็นรัฐและมีการวางรากฐาน 
ในด้านต่างๆ มีการใช้อักษรจีนโบราณเขียนลงบนกระดองเต่า 
จำรึกบนกระดองเต่ำ
สมัยรำชวงศ์โจว 
-สมัยราชวงศ์โจวตะวันตก 
-สมัยราชวงศ์โจวตะวันออก 
สมัยรำชวงศ์ฉิน 
สุสำนฉินซี่ฮ่องเต้ 
สมัยรำชวงศ์ฮั่น เป็นสมัยที่มีการรวมศูนย์อานาจอย่างชัดเจนเป็น 
จักรวรรดิ
ประวัติศำสตร์จีนสมัยกลำง 
เริ่มต้นด้วยความวุ่นวายจากการล่มสลายของราชวงศ์ฮนั่ เป็นช่วงที่ 
ชาวต่างชาติเข้ามายึดครองจีน 
สมัยรำชวงศ์สุย 
สมัยรำชวงศ์ถัง เป็นช่วงที่จีนมีความเจริญรุ่งเรืองสูงสุด 
เกิดความขัดแย้งในสมัย “ห้าราชวงศ์กับสิบรัฐ” 
สมัยรำชวงศ์ซ่ง เป็นช่วงที่จีนมีความเจริญรุ่งเรืองทาง 
ศิลปวัฒนธรรม 
สมัยรำชวงศ์หยวน มองโกลยึดครองจีน
เจงกิสข่ำน กุบไลข่ำน
ประวัติศำสตร์จีนสมัยใหม่ 
หลังจากที่ชาวจีนขับไล่ชาวมองโกลออกไปก็เกิด 
สมัยรำชวงศ์หมิง 
สมัยรำชวงศ์ชิง แมนจูยึดครองจีน จีนมีความเจริญรุ่งเรือง 
พระนำงซูสีไทเฮำ 
จักรพรรดิซวนถง (ปูยี )
จีนถูกคุกคามจากชาตติะวันตก และจีนแพ้อังกฤษในสงครำมฝิ่น 
(ค.ศ.1866-1925) 
ภำพวำดเรือรบจีนถูกทำลำยในสงครำมฝิ่นครั้งแรก (พ.ศ. 2382 - พ.ศ. 2385)
กำรปะทะที่กว่ำงโจวระหว่ำงสงครำมฝิ่นครั้งที่สอง
ประวัติศำสตร์จีนสมัยปัจจุบัน 
ดร.ซุน ยัตเซน ปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบบ 
สมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบสาธารณรัฐ 
พรรคคอมมิวนิสต์ได้ปฏิวัติและได้ปกครองจีน จึงเปลี่ยนการปกครอง 
เป็นระบอบคอมมิวนิสต์ตัง้แต่ ค.ศ.1949 จนถึงปัจจุบัน 
ดร.ซุน ยัตเซน
วันที่ 1 ตุลำคม 1949 ประธำน 
เหมำเจ๋อตงประกำศสถำปนำ 
สำธำรณรัฐประชำชนจีน ณ 
จัตุรัสเทียนอันเหมิน
• กำรแบ่งยุคสมัยทำงประวัติศำสตร์อินเดีย 
หลักในกำรแบ่งยุคสมัย : พัฒนาการทางอารยธรรมอินเดียและ 
เหตุการณ์สาคัญ 
แบ่งเป็น 
1) ประวัติศาสตร์อินเดียสมัยโบราณ 
2) ประวัติศาสตร์อินเดียสมัยกลาง 
3) ประวัติศาสตร์อินเดียสมัยใหม่ 
4) ประวัติศาสตร์อินเดียสมัยปัจจุบัน
การวางพืน้ฐานของอารยธรรมอินเดีย เริ่มตัง้แต่สมัยอารยธรรมลุ่ม 
แม่นา้สินธุของพวกดราวิเดียน เมื่อ 2,500 ปีก่อนคริสต์ศักราช 
จนกระทงั่เมื่อ 1,500 ปีก่อนคริสต์ศักราช ชาวอารยันเข้ามาตัง้ถิ่นฐาน 
และก่อตัง้หลายอาณาจักรในอินเดีย อารยธรรมนีก้็ล่มสลายไป 
อำรยธรรมลุ่มน้ำสินธุ 
เผ่ำดรำวิเดียน
ประวัติศำสตร์อินเดียสมัยโบรำณ 
สมัยมหำกำพย์ มีการใช้ตัวอักษรอินเดียโบราณ 
สมัยรำชวงศ์มคธ 
สมัยรำชวงศ์เมำรยะ อินเดียเผยแพร่พระพุทธศาสนาไปยังดินแดนต่างๆ 
อักษร บรำมิ ลิปิมหำกำพย์รำมำยณะ หัวสิงห์พระเจ้ำอโศก
สมัยรำชวงศ์คุปตะ พระพุทธศาสนาเสื่อมลงแต่ศาสนาพราหมณ์- 
ฮินดูเจริญรุ่งเรืองขึน้ และเป็นยุคทองของวรรณคดีสันสกฤต 
ภำพเขียนในถ้ำอชันตำ 
ศกุลตลำ 
เหรียญกษำปณ์ 
สมัยพระเจ้ำจันทรคุปต์ที่2
ประวัติศำสตร์อินเดียสมัยกลำง 
สมัยควำมแตกแยกทำงกำรเมือง มีการรุกรานจากต่างชาติ 
โดยเฉพาะชาวมุสลิม 
สมัยสุลต่ำนแห่งเดลี
ประวัติศำสตร์อินเดียสมัยใหม่ 
สมัยจักรวรรดิมุคัล(โมกุล) 
สมัยอังกฤษปกครองอินเดีย ในค.ศ.1858-1947 
ทัชมำฮัล มหำตมะ คำนธี
ประวัติศำสตร์อินเดียสมัยปัจจุบัน 
เป็นช่วงภายหลังที่ได้รับเอกราชจากอังกฤษและถูกแบ่งแยก 
ออกเป็นประเทศต่างได้แก่ อินเดีย ปากีสถานและบังคลาเทศ
กำรแบ่งยุคสมัยในประวัติศำสตร์ตะวันตก 
สามารถแบ่งออกเป็น 4 สมัย ได้แก่ 
1) ประวัติศาสตร์สมัยโบราณ (3,500ปีก่อนคริสต์ศักราช-ค.ศ.476) 
2) ประวัติศาสตร์สมัยกลาง (ค.ศ.476-1453) 
3) ประวัติศาสตร์สมัยใหม่ (ค.ศ.1453-1945) 
4) ประวัติศาสตร์สมัยปัจจุบัน (ค.ศ.1945-ปัจจุบัน)
ประวัติศำสตร์สมัยโบรำณ 
อำรยธรรมตะวันตก เริ่มต้นในลุ่มแม่น้ำไทกริส-ยูเฟรทีส 
อารยธรรมสมัยนีไ้ด้แก่ อารยธรรมเมโสโปเตเมีย อารยธรรม 
อียิปต์โบราณ อารยธรรมกรีก และอารยธรรมโรมัน 
สิน้สุด : เมื่อ ค.ศ.476 จักรวรรดโิรมันตะวันตกล่มสลาย
ประวัติศำสตร์สมัยกลำง 
มีการเปลี่ยนแปลงจากอารยธรรมโรมันไปสู่อารยธรรมคริสต์ 
ศาสนา สังคมในสมัยกลางมีลักษณะเป็นสังคมในระบบฟิวดัล 
(Feudalism) ที่ขุนนางมีอานาจครอบครองพืน้ที่ โดยที่ประชาชนส่วน 
ใหญ่มีฐานะเป็นข้าติดที่ดิน(Serf) 
คริสต์ศาสนาขัดแย้งกับศาสนาอิสลามจนเกิดสงครำมครูเสด 
(ค.ศ.1096-1291) เป็นเวลาราว 200ปี 
สิน้สุด : 1) เมื่อ ค.ศ.1453 พวกออตโตมันเติร์กตีกรุงคอนสแตนติโนเปิล 
แตก 
2) เมื่อ ค.ศ.1492 คริสต์โตเฟอร์ โคลัมบัส ค้นพบทวีปอเมริกา
กำรสวมมงกุฏให้ดำรงตำแหน่ง จักรวรรดิโรมัน 
อันศักดิ์สิทธิ์ จำกพระสันตะปำปำ
ภำพกรุงเยรูซำเลมในสงครำมครูเสดครั้งแรก 
จิตรกรรมสันตะปำปำเออร์แบนที่2 
เรียกประชุมผู้นำทำงศำสนำ 
และขุนนำงร่วมรบเพื่อแย่งชิง 
ดินแดนศักดิ์สิทธิ์
ประวัติศำสตร์สมัยใหม่ 
เป็นสมัยของความเจริญรุ่งเรืองทางศิลปวิทยาการของอารยธรรมตะวันตก มี 
การสารวจเส้นทางเดินเรือทะเลและการเผยแพร่คริสต์ศาสนา เริ่มตัง้แต่ 
• สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา(Renaissance) คริตส์ศตวรรษที่ 15-17 
• ยุคสมัยแห่งการปฏิวัติวิทยาศาสตร์ คริตส์ศตวรรษที่ 16-18 
• ยุคแห่งการรู้แจ้ง คริตส์ศตวรรษที่ 17-18 
• สมัยประชาธิปไตย คริตส์ศตวรรษที่ 17-19 
• สมัยชาตินิยม ค.ศ.1789-1918 
• สมัยจักรวรรดินิยมใหม่ ปลายคริสต์ศตวรรษที่19-สงครามโลกครัง้ที่1 
• สมัยสงครามโลก ค.ศ.1914-1945 
สนิ้สุด : เมื่อ ค.ศ.1945 สงครามโลกครัง้ที่2ยุติลง
รูปสลักเดวิด เมืองฟลอเรนซ์ ประเทศ 
อิตำลี หนึ่งในประติมำกรรมชิ้นเอกของ 
ไมเคิลแอนเจโล ในยุค Renaissance 
กำลิเลโอ กำลิเลอี บิดำแห่ง 
วิทยำศำสตร์สมัยใหม่
สงครำมโลกครั้งที่1
สงครำมโลกครั้งที่2
ประวัติศำสตร์สมัยปัจจุบัน 
เป็นช่วงสมัยหลังสงครามโลกครัง้ที่2 มีผลกระทบรุนแรงทวั่โลก 
และทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทัง้ทางด้าน เศรษฐกิจ สังคม การเมือง 
การปกครองต่อสังคมโลกในปัจจุบัน
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10

More Related Content

What's hot

แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิSurapong Klamboot
 
บทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัย
บทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัยบทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัย
บทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัยairja
 
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการทางสังคมสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการทางสังคมสมัยอยุธยาใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการทางสังคมสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการทางสังคมสมัยอยุธยาPrincess Chulabhon's College Chonburi
 
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้ดีโด้ ดีโด้
 
สรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากล
สรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากลสรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากล
สรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากลKittayaporn Changpan
 
ศิลปะไทย
ศิลปะไทยศิลปะไทย
ศิลปะไทยTonkao Limsila
 
เล่มที่ 9 ชาวบ้านบางระจัน
เล่มที่ 9  ชาวบ้านบางระจันเล่มที่ 9  ชาวบ้านบางระจัน
เล่มที่ 9 ชาวบ้านบางระจันChoengchai Rattanachai
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมniralai
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม Terapong Piriyapan
 
ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์koorimkhong
 
หัวใจชายหนุ่ม
หัวใจชายหนุ่มหัวใจชายหนุ่ม
หัวใจชายหนุ่มkkrunuch
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์sudchaleom
 
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมการวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมWatcharapol Wiboolyasarin
 
ประวัติศาสตร์จีน
ประวัติศาสตร์จีนประวัติศาสตร์จีน
ประวัติศาสตร์จีนKittayaporn Changpan
 
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรีเอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรีพัน พัน
 
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57Pracha Wongsrida
 
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์พัน พัน
 
ภาคผนวกโครงงานกล้อง
ภาคผนวกโครงงานกล้องภาคผนวกโครงงานกล้อง
ภาคผนวกโครงงานกล้องkrupornpana55
 

What's hot (20)

แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
 
บทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัย
บทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัยบทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัย
บทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัย
 
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการทางสังคมสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการทางสังคมสมัยอยุธยาใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการทางสังคมสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการทางสังคมสมัยอยุธยา
 
แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัด
 
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
 
สรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากล
สรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากลสรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากล
สรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากล
 
ศิลปะไทย
ศิลปะไทยศิลปะไทย
ศิลปะไทย
 
เล่มที่ 9 ชาวบ้านบางระจัน
เล่มที่ 9  ชาวบ้านบางระจันเล่มที่ 9  ชาวบ้านบางระจัน
เล่มที่ 9 ชาวบ้านบางระจัน
 
การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
 
ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์
 
หัวใจชายหนุ่ม
หัวใจชายหนุ่มหัวใจชายหนุ่ม
หัวใจชายหนุ่ม
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมการวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
 
ประวัติศาสตร์จีน
ประวัติศาสตร์จีนประวัติศาสตร์จีน
ประวัติศาสตร์จีน
 
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรีเอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
 
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
 
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
 
ภาคผนวกโครงงานกล้อง
ภาคผนวกโครงงานกล้องภาคผนวกโครงงานกล้อง
ภาคผนวกโครงงานกล้อง
 

Similar to การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10

การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์  6.1การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์  6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 6.1Noo Suthina
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1 การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1 Noo Suthina
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์Sununtha Sukarayothin
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์Noo Suthina
 
เรื่องยุคประวัติศาสตร์สมัยโบราณ 1
เรื่องยุคประวัติศาสตร์สมัยโบราณ 1เรื่องยุคประวัติศาสตร์สมัยโบราณ 1
เรื่องยุคประวัติศาสตร์สมัยโบราณ 1cgame002
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)mintmint2540
 
ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2Arom Chumchoengkarn
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์Sununtha Sukarayothin
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์Pannaray Kaewmarueang
 
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2teacherhistory
 
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน1
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน1ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน1
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน1teacherhistory
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์Gob_duangkamon
 
1.2 หลักฐานทางปวศ.
1.2 หลักฐานทางปวศ.1.2 หลักฐานทางปวศ.
1.2 หลักฐานทางปวศ.Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...
Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...
Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...krunrita
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนพัน พัน
 
1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.
1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.
1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.Jitjaree Lertwilaiwittaya
 

Similar to การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10 (20)

การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์  6.1การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์  6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 6.1
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1 การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
 
เรื่องยุคประวัติศาสตร์สมัยโบราณ 1
เรื่องยุคประวัติศาสตร์สมัยโบราณ 1เรื่องยุคประวัติศาสตร์สมัยโบราณ 1
เรื่องยุคประวัติศาสตร์สมัยโบราณ 1
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)
 
ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
Unit2 การสร้างสรรค์อารยธรรม
Unit2 การสร้างสรรค์อารยธรรมUnit2 การสร้างสรรค์อารยธรรม
Unit2 การสร้างสรรค์อารยธรรม
 
A2 thai-history
A2 thai-historyA2 thai-history
A2 thai-history
 
Brands so(o net)
Brands so(o net)Brands so(o net)
Brands so(o net)
 
Japan
JapanJapan
Japan
 
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2
 
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน1
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน1ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน1
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน1
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
1.2 หลักฐานทางปวศ.
1.2 หลักฐานทางปวศ.1.2 หลักฐานทางปวศ.
1.2 หลักฐานทางปวศ.
 
Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...
Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...
Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.
1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.
1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.
 

การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10